Journal of TDC 95

Page 1

ISSN 0859-0982

วารสาร

ปที่ ๑๘ ฉบับที่ ๙๕ ประจําเดือน ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๕๔


คณะผูจัดทํา กองบรรณาธิการ

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ พล.ท.ปญญา ขวัญอยู พล.ท.ปราโมทย ระงับภัย พล.อ.ชาญวิช ศรีธรรมวุฒิ พล.อ.วิชญ ไขรัศมี พล.อ.มนตรี สังขทรัพย พล.ท.สิงหศึก สิงหไพร

พล.อ.เกรียงไกร เจริญศิริ พล.อ.จําลอง บุญกระพือ พล.อ.ศักดิ์สิน ทิพยเกษร พล.อ.อาทร โลหิตกุล พล.อ.สมเกียรติ สุทธิไวยกิจ พล.ท.ธนดล เผาจินดา

กองอํานวยการ ผูอํานวยการ : รองผูอํานวยการ :

ผูชวยผูอํานวยการ :

ที่ปรึกษา :

เลขานุการ : ผูชวยเลขานุการ√ :

พล.ท.ชูเกียรติ เธียรสุนทร พล.ต.อิทธิพล ทองดี พล.ต.วิชิต ศรีประเสริฐ พล.ต.ไพโรจน พนาเวศร พล.ต.ทลวงรณ วรชาติ พล.ต.ยศนันท หรายเจริญ พ.อ.ณัฏฐพัฒน พริ้งรักษา พ.อ.สุรชัย สินไชย พ.อ.เธียรศักดิ์ รื่นเริง พ.อ.ประจัญ คําแดง พ.อ.ชัยวัฒน แจงประจักษ พ.อ.วิโรจน วิจิตรโท พ.อ.วุฒิไกร คลายทอง พ.อ.สุดยอด พรมแกว æพ.อ.ชาติชาย แจงสี พ.อ.ไตรจักร นาคะไพบูลย พ.อ.สมควร วงษเวียงจันทร พ.อ.อรุณ สนิท∑√Ï æพ.อ.ศักดิ์ชัย ธนศรีสุนีย พ.อ.เกรียงศักดิ์ แยมศิริ พ.อ.สุทัศน เอี่ยมอารมณ

∫√≥บรรณาธิการ√ :

พ.อ.เกรียงศักดิ์ แยมศิริ

ºŸÈ™Ëผูชวยบรรณาธิการ√ :

æพ.อ.สอาด ยศพลเสนีย พ.ท.นรินทรพร ขุมนาคË¡

æ§ผูจัดการ√ :

พ.อ.สุทัศน เอี่ยมอารมณ

ŸÈรองผูจัดการ√ :

พ.ท.นรินทรพร ขุมนาคË¡

กองจัดการ√ :

พ.ท.สุชาติ จิตรอรุณµ√ÏÕÿ≥ จ.ส.อ.ธีรยุทธ ประจักษจิตรµ√Ï

Ëฝายบทความและวิชาการ :

พ.ต.หญิง มาริกา ปาลกะวงศฯ ร.ต.หญิง ญาตาวีมนิ ทร วรณัฏฐากูร

ËÕß ¡∫Ÿ√≥Ï

ร.อ.ดาบชัย แสงชาติÏœ

ΩËฝายออกแบบศิลป :

พ.ต.หญิง มาริกา ปาลกะวงศฯ

และการผลิต

ร.ท.สุชาติ นุชสา จ.ส.อ.จักริน เวชชบุษกร ส.อ.ชาญฤทธิ์ แสงเดือนฉาย

ฝายสมาชิกสัมพันธ∏Ï :

æพ.ท.สุชาติ จิตรอรุณµ√ÏÕÿ≥ จ.ส.อ.สรยุทธ √¬ÿ∑∏ ทองสุข ส.อ.อาภากร เฟองฟู°√ ‡ø◊ËÕߟ

ΩËฝายเหรัญญิก° :

พ.ท.ปยะ จอนสุข

ΩËฝายกฎหมาย¬ :

æพ.ท.อรรถพล แผวพาลชน

พิมพที่Ë :

หจก. อรุณการพิมพ โทร. ๐-๒๒๘๒-๖๐๓๓-๔ โทรสาร ๐-๒๒๘๒-๒๑๘๗-๘

ºŸÈæผูพิมพโฆษณา :

นางสาวชมชนก วงษฐากร°√


ขอพระองคทรงสถิตทิพยวิมาน เสวยสุขพระสําราญแดนสวรรค เหลาทวยราษฎรชาวไทยพรอมใจพลัน สงเสด็จพระองคทานสูสวรรคาลัย ดวยเกลาดวยกระหมอม ขาพระพุทธเจา รักษาดินแดนวารสาร


รักษาดินแดน

วารสาร


แนะนํา ผบ.นรด.

พลโท ชูเกียรติ เธียรสุนทร

รักษาดินแดน

วารสาร

นอมรับพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหรับราชการสนองพระเดชพระคุณ ในตําแหนง ผูบัญชาการหนวยบัญชาการรักษาดินแดน เมื่อวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๔ เปน ผบ.นรด. ลําดับที่ ๓ พล.ท.ชูเกียรติ เธียรสุนทร เกิดเมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๔๙๕ จบการศึกษาจาก รร.อํานวยศิลป (พระนคร) เมื่อป ๒๕๑๑ จากนั้น ได เ ข า รั บ การศึ ก ษา ณ รร.เตรี ย มทหาร (รุ  น ที่ ๑๒) และเข า รั บ การศึกษาตอ ณ รร.นายรอยพระจุลจอมเกลา (รุนที่ ๒๓) เริ่มรับราชการครั้งแรก ในตําแหนง ผูบังคับหมวดปนเล็ก กองรอยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๒ กรมผสมที่ ๒ กองพลทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค เมื่อป ๒๕๑๙ และเจริญกาวหนาเรื่อยมา จนเขารับการศึกษา ณ รร.เสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลักประจําชุดที่ ๖๔ ในป ๒๕๒๘ และหลักสูตร วิทยาลัยการทัพบก ชุดที่ ๓๙ ในป พ.ศ. ๒๕๓๖ พล.ท.ชูเกียรติ เปนนายทหารที่มีความรูความชํานาญในสายงาน สัสดีและระบบกําลังสํารองเปนอยางดี จนไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนง ผูอ าํ นวยการกอง ไดแก ผอ.กองการควบคุมกําลังสํารอง และ ผอ.กองการสัสดี เมื่ อ ครั้ ง ยั ง สั ง กั ด กรมการกํ า ลั ง สํ า รองทหารบก จากนั้ น เมื่ อ มี ก ารรวมหน ว ยเป น หน ว ยบั ญ ชาการกํ า ลั ง สํ า รอง ท า นได ดํ า รงตํ า แหน ง ผอ.กองการเตรี ย มพล เมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๒ และเปน ผูบัญชาการศูนยการกําลังสํารอง ในปเดียวกัน และปจจุบันเปน ผูบัญชาการหนวยบัญชาการรักษาดินแดน


นโยบาย รัฐมนตรีวา การกระทรวงกลาโหม

พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา ๑. นโยบายทั่วไป

รักษาดินแดน

วารสาร

๑.๑ ให ข  า ราชการยึ ด มั่ น ในสถาบั น ชาติ ศาสนา พระมหากษั ต ริ ย  และ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ๑.๒ ให ยึ ด ถื อ กฎหมาย นโยบาย และมติ ข องคณะรั ฐ มนตรี นโยบายและ การสั่งการของอดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมที่ยังมีผลบังคับใช ยุทธศาสตร การปองกันประเทศ รวมทั้งแผนและหลักการสําคัญที่เกี่ยวของ ๑.๓ ให ป รั บ ปรุ ง กฎหมาย ข อ บั ง คั บ ระเบี ย บ ประกาศ คํ า สั่ ง หรื อ มติ คณะรั ฐ มนตรี ที่ เ กี่ ย วข อ งให ทั น สมั ย กระทบสิ ท ธิ เ สรี ภ าพของประชาชนน อ ยที่ สุ ด ใหความสําคัญในการตอบสนองนโยบายเรงดวนของรัฐบาล

๑๑


ต อ เนื่ อ งในการรบ มี ก ารปฏิ บั ติ ก ารร ว มและ พรอมเผชิญความทาทายจากภัยคุกคามรูปแบบ ใหมที่เกิดขึ้น ทั้งภายในประเทศและระดับภูมิภาค ๒.๕ พัฒนาและสงเสริมกิจการอุตสาหกรรม ปองกันประเทศและพลังงานทหาร โดยใหความ สํ า คั ญ กั บ การบู ร ณาการขี ด ความสามารถของ ภาครัฐและเอกชน ใหความรวมมือในการพัฒนา

๒. นโยบายเพื่ อ การรั ก ษาความมั่ น คง แหงชาติ

๑๒ รักษาดินแดน

วารสาร

๒.๑ พิ ทั ก ษ รั ก ษาและเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษัตริย เพื่อใหคงเปนศูนยรวมจิตใจของ ประชาชน และเปนสถาบันหลักที่สําคัญยิ่งในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข ๒.๒ สนับสนุนการสรางความปรองดอง สมานฉันทของคนในชาติ ฟนฟูประชาธิปไตย และ สงเสริมความเขาใจอันดีระหวางทหารกับประชาชน ๒.๓ สนั บ สนุ น การแก ไ ขและยุ ติ ป  ญ หา ความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ให เกิดความสงบเรียบรอยโดยเร็ว โดยถือเปนนโยบาย เรงดวน ดวยการนอมนําแนวทางพระราชทาน “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” มาใชเปนแนวทางในการ แกไขปญหา ๒.๔ พั ฒ นาศั ก ยภาพกองทั พ และระบบ การปองกันประเทศใหมีความพรอมในการพิทักษ รั ก ษาเอกราชอธิ ป ไตย ความมั่ น คงแห ง ราช อาณาจักร และการรักษาผลประโยชนของชาติ มีโครงสรางที่เหมาะสมและทันสมัยทัดเทียมกับ กองทัพของประเทศชั้นนําในอาเซียน โดยในการ ปฏิ บั ติ ก ารทางทหารจะต อ งสามารถยุ ติ ค วาม ขัด แยง ไดอ ยางรวดเร็ว มีความอ อนตัว ความ

อุ ต สาหกรรมป อ งกั น ประเทศในกลุ  ม ประเทศ อาเซียน เพื่อนําไปสูการพึ่งพาตนเองในการผลิต อาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ รวมทั้ ง สนั บ สนุ น การพั ฒ นา พลั ง งานทดแทนจากแหล ง ทรั พ ยากรภายใน ประเทศ ๒.๖ พั ฒ นาความร ว มมื อ ทางทหารกั บ ประเทศเพื่อนบาน ประเทศในกลุมอาเซียน มิตร ประเทศ และองคกรระหวางประเทศ ทั้งในระดับ ทวิภาคีและพหุภาคี เพือ่ จัดระเบียบสภาวะแวดลอม ดานความมัน่ คง ขจัดความหวาดระแวง สรางความ ไวเนือ้ เชือ่ ใจ สรางสันติภาพ เสถียรภาพ ความมัน่ คง ความมัง่ คัง่ ความกาวหนา และความสงบสุขรวมกัน และเพื่ อ ให เ ป น ส ว นหนึ่ ง ในการนํ า ไปสู  ก ารเป น ประชาคมการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน ในป ๒๕๕๘ รวมทัง้ สนับสนุนภารกิจเพือ่ สันติภาพ การปฏิบตั กิ ารเพือ่ มนุษยธรรม และสงเสริมบทบาท


๒.๙ ส ง เสริ ม และกํ า กั บ ดู แ ลข า ราชการ ใหปฏิบตั หิ นาทีไ่ ดอยางมีประสิทธิภาพ โดยกําหนด แนวทางการรับราชการที่ชัดเจน พัฒนาความรู ความสามารถ พัฒนาขวัญกําลังใจ คาตอบแทน สวั ส ดิ ก ารด า นต า ง ๆ โดยพิ จ ารณาปรั บ สิ ท ธิ ประโยชนของกําลังพล ใหสอดคลองกับสภาวะ เศรษฐกิจ เสริมสรางที่ตั้งหนวยทหารใหมีความ

ประชาชน และการพั ฒ นาประเทศ ด ว ยการ สนั บ สนุ น การดํ า เนิ น การตามโครงการอั น เนื่ อ ง มาจากพระราชดําริ การรักษาผลประโยชนของชาติ การพัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคงภายใตปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง การปองกัน บรรเทา และแกไข ปญหาสําคัญของชาติ ไดแก ปญหาทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ภัยพิบัติ ภัยคุกคาม ขามชาติ การกอการราย และอาชญากรรมขามชาติ รูปแบบตาง ๆ ซึง่ รวมถึงปญหายาเสพติด ผูห ลบหนี เขาเมือง แรงงานตางดาวผิดกฎหมาย การคา สิ่งของผิดกฎหมาย การคามนุษย โจรสลัด และ ภัยจากเครือขายอินเทอรเน็ต ๒.๘ ดํ า รงไว ซึ่ ง เกี ย รติ แ ละศั ก ดิ์ ศ รี ข อง สถาบันทหาร ใหเปนทีเ่ ชือ่ มัน่ แกประชาชนในฐานะ องคกรที่มีหนาที่รับผิดชอบหลักในการรักษาความ มั่นคงของชาติ

สมบูรณเหมาะสมตอการปฏิบัติงานในยามปกติ ทั้งในสวนของอาคารสํานักงาน บานพักสวัสดิการ ของหน ว ย ตลอดจนสภาพแวดล อ มภายใน หน ว ยงานและพื้ น ที่ ใ ช ป ระโยชน อื่ น ๆ รวมทั้ ง สรางรายได สนับสนุนการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเปนอยูของกําลังพลและครอบครัว ๒.๑๐ ใหความสําคัญตอทหารผานศึกและ ครอบครัว เพื่อสรางความศรัทธาตอประชาชน รวมทัง้ สรางขวัญกําลังใจตอกําลังพลทีก่ าํ ลังปฏิบตั ิ หนาทีใ่ นการปองกันประเทศ โดยพัฒนาใหมสี ภาพ ชีวิตความเปนอยูที่ดี มีเกียรติ และศักดิ์ศรี รวมทั้ง เชิดชูเกียรติทหารผานศึก ใหทกุ ภาคสวนของสังคม ไดรับรู และยอมรับความสําคัญของทหารผานศึก ที่ไดสละเลือดเนื้อและชีวิตเพื่อปกปองชาติบาน เมืองมาโดยตลอด

รักษาดินแดน

วารสาร

ในการรักษาสันติภาพของโลกภายใตกรอบของ สหประชาชาติ แ ละผลประโยชน ข องประเทศ เปนหลัก ๒.๗ สงเสริมการใชทรัพยากรทั้งปวงของ กระทรวงกลาโหมใหเกิดประโยชนสงู สุดตอประเทศ โดยใช ศั ก ยภาพของกองทั พ ในการพั ฒ นาพลั ง อํานาจแหงชาติดานตาง ๆ ทั้งที่เปนการชวยเหลือ

๑๓


ผูบังคับบัญชาระดับสูง หนวยบัญชาการรักษาดินแดน

พลตรี อิทธิพล ทองดี

พลตรี วิชิต ศรีประเสริฐ

รองผูบัญชาการหนวยบัญชาการรักษาดินแดน (๑)

รองผูบัญชาการหนวยบัญชาการรักษาดินแดน (๒)

พลตรี ไพโรจน พนาเวศร

พลตรี ทลวงรณ วรชาติ

ผูบัญชาการศูนยการกําลังสํารอง

เสนาธิการหนวยบัญชาการรักษาดินแดน

พลตรี ยศนันท หรายเจริญ

รักษาดินแดน

วารสาร

ผูบัญชาการกองพลทหารราบที่ ๑๑


บรรณาธิการแถลง ÂÔ¹´ÕµŒÍ¹ÃѺÊÙ‹ºŒÒ¹ãËÁ‹ “ÃÑ¡ÉҴԹᴹÇÒÃÊÒÔ ÇÒÃÊÒâͧ˹‹ÇºÑÞªÒ¡ÒÃÃÑ¡ÉҴԹᴹ สวัสดีครับทานสมาชิกมิตรรักนักอานทุกทาน ในชวงหลายเดือนที่ผานมาที่ “วารสารเสือป่ า” ไดหายหนาหายตาไป ไมไดไปไหนไกลหรอกครับ แตเนื่องจากเปนนโยบายจาก ผบ.นรด. ที่ประสงค จะมอบประโยชนสูงสุดใหกับสมาชิกทุกกลุมอยางเทาเทียม จึงไดมีการแบงกลุมเปาหมายของวารสาร ออกเปนสองสวน คือ สวนที่เปนขาราชการ นรด. สถานศึกษาวิชาทหาร หนวยงานราชการ และประชาชน ทั่วไปที่ตองการรับทราบขาวสารเกี่ยวกับการฝก นศท. และกําลังพลสํารอง และสวนที่สองคือ ขาราชการ สายงานสัสดีซึ่งมีกระจายอยูทุกหัวระแหงของประเทศ ซึ่งสมาชิกกลุมนี้ตองการรับทราบขาวสารเกี่ยวกับ กฎระเบียบ ขอบังคับ รวมทั้งแนวทางปฏิบัติตาง ๆ ในสายงานสัสดี เพื่อใหสามารถใหคําแนะนํา ในขอกฎหมายเพื่อบริการประชาชนไดอยางถูกตอง เปนไปในทิศทางเดียวกัน และทันเวลา จากเหตุผลที่กลาวมาขางตน จึงสงผลใหมีการแบงวารสารของหนวยออกเปนสองเลม ไดแก “วารสารสัสดี” และ “รักษาดินแดนวารสาร” เพื่อใหความรูในวิทยาการที่เกี่ยวของกับแตละสายงาน ไดอยางเหมาะสม ถูกตอง และชัดเจน ทั้งนี้ก็เพื่อประโยชนสูงสุดของคุณผูอาน สําหรับเพื่อนสมาชิกสายงานสัสดี สมาชิกทั่วไป และสถานศึกษาวิชาทหารที่ไดสมัครหรือตอ อายุสมาชิก “วารสารเสือป่ า” และชําระเงินรายปครบถวนแลว ทางกองบรรณาธิการจะยังคงจัดสงวารสาร ใหทานตามมูลคาที่ทานชําระเงินมา เพียงแตทานจะไดรับวารสารในชื่อ “รักษาดินแดนวารสาร” ครับ ทั้งนี้หากเพื่อนสมาชิกสายงานสัสดีที่ยังคงตองการบอกรับเปนสมาชิก “รั กษาดินแดนวารสาร” เพือ่ เปนกําลังใจใหคณะผูจ ดั ทําและสนับสนุนงานของ นรด. ทานสามารถทําไดงา ย ๆ โดยการกรอกขอมูล ในใบสมัคร (ทีห่ นาสุดทาย) พรอมแนบธนาณัติ และสงกลับมาทีก่ องบรรณาธิการ “รักษาดินแดนวารสาร” ไดทุกเวลาครับ คณะผูจัดทําทุกคนขอกราบขอบพระคุณทุกทานลวงหนาไว ณ ที่นี้ สุดทาย หากทานมีขอคิดเห็นประการใด ขอไดโปรดแนะนํามาไดตามที่อยูในทายเลม ผมและ นอง ๆ ในกองบรรณาธิการ ยินดีนอมรับไปปรับปรุง...พบกันใหมฉบับหนา

(เกรียงศักดิ์ แยมศิริ) บรรณาธิการ

รักษาดินแดน

วารสาร

พ.อ.


ส า ร บั ญ

C O N T E N T S รั ก ษ า ดิ น แ ด น ว า ร ส า ร

ปที่ ๑๘ ฉบับที่ ๙๕ ประจําเดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๕๔

ISSN 0859-0982

อันเนื่องจากปก 

พระประวัติสมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

เกี่ยวเนื่องกับหนวย        

แนะนําผูบังคับบัญชา หนวยบัญชาการรักษาดินแดน ถอนคํา “โรคจิตถาวร” ใน สด.๔๓ ปลดตราบาป สมานแผลใจ สาวประเภทสอง ขาวดวน ถึงวาที่ผูหมวดใหม ครบ ๑๐๐ ป กิจการกําลังสํารอง สุภาพบุรุษนักศึกษาวิชาทหาร ศสร. เปลี่ยนชื่อถนนและเสนทางเขา-ออกในพื้นที่ ปฏิทินการฝกสอน นศท. (สวนกลาง) ประจําปการศึกษา ๒๕๕๔ วิธีการสงหมายเรียกพลและการดําเนินคดี นายทหารสัญญาบัตรกองหนุน

๓ ๒๓ ๓๐ ๓๒ ๓๕ ๓๘ ๖๒ ๗๐

เหลียวแลรอบตัว          

นโยบาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา เมล็ดพันธุแหงความเมตตา “ความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย” คือ การนอมนําแนวพระราชดําริมาสูวิถีชีวิต ความจงรักภักดีตอสถาบันพระมหากษัตริย บทความดีเดน นศท. ปนใหญหนากระทรวงกลาโหม เปนทหารไดอะไร เชฟ...เครื่องแบบสีขาวกับหมวกทรงสูง ๑๐ คําพูดที่ลูกอยากไดยินจากพอแม ๑๐ อันดับภัยรายออนไลน

๑๑ ๑๔ ๑๙ ๒๑ ๓๙ ๔๓ ๕๘ ๗๕ ๗๘ ๘๒

พบกันเปนประจํา     

รักษาดินแดน

วารสาร

มุมพระเครื่อง : พระคงลําพูน ขาวรอบรั้ว นรด. ขาวสั้นทางทหารทันโลก แนะนําอาวุธ : เครื่องบินขับไลรุนใหมแบบกริเพน แนะนําสถานศึกษาวิชาทหาร : โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี ขํา ๆ โดยปาชาติ

๔๗ ๕๒ ๕๖ ๖๐ ๖๕ ๘๕


พระประวั ติ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรั ต นราชสุ ด า สิ ริ โสภาพั ณณวดี

มื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เวลา ๒๐.๐๐ น. สํานักพระราชวังออกประกาศ สํานักพระราชวัง เรื่อง สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม ความวา สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ไดเสด็จประทับ รักษาพระอาการติดเชื้อในกระแสพระโลหิต ณ ตึก ๘๔ ป ชั้น ๕ ดานตะวันออก โรงพยาบาลศิริราช ตั้งแตวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔ แมคณะแพทยไดถวายการรักษาอยางใกลชิดจนสุดความสามารถ พระอาการประชวรไดทรุดลงตามลําดับ และสิ้นพระชนมเมื่อเวลา ๑๖ นาฬกา ๓๗ นาที วันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๔ รวมพระชันษา ๘๕ ป วงศานุ ว งศ และข า ทู ล ละอองธุ ลี พ ระบาทในราช สํ า นั ก ไว ทุ ก ข ถ วายมี กํ า หนด ๑๐๐ วั น ตั้ ง แต วั น สิ้ น พระชนม เ ป น ต น ไป อนึ่ ง ทรงพระกรุ ณ าโปรด เกล า โปรดกระหม อ มพระราชทานพระบรมราชา นุ ญ าตให ป ระชาชนเข า ถวายนํ้ า สรงพระศพหน า พระฉายาลักษณ ซึง่ ประดิษฐาน ณ ศาลาสหทัยสมาคม

รักษาดินแดน

วารสาร

พระบาทสมเด็จ พระเจ าอยู หัว มีพ ระบรม ราชโองการโปรดเกล า โปรดกระหม อ มให สํ า นั ก พระราชวังจัดการพระศพ ถวายพระเกียรติยศสูงสุด ตามราชประเพณี ประดิษฐานพระศพ ณ พระที่นั่ง ดุ สิ ต มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวั ง ทรง พระกรุ ณ าโปรดเกล า โปรดกระหม อ มให พ ระบรม


รักษาดินแดน

วารสาร

ในพระบรมมหาราชวัง ตั้งแตเวลา ๑๓.๐๐ น. ถึงเวลา ๑๖.๐๐ น. วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน เพื่อเปนการถวายอาลัยแดสมเด็จพระเจา ภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ผูทรงเปนองคอุปถัมภกิจการรักษาดินแดน ขอนอมนํา พระประวัติของพระองคทานมาบันทึกไวดวยสํานึก ในพระกรุ ณ าธิ คุ ณ (ข อ มู ล จากนิ ต ยสารสกุ ล ไทย ฉบับวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๔๐) ดังนี้ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราช สุดา สิริโสภาพัณณวดี เปนพระราชธิดาพระองคเดียว ในพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู  หั ว และ พระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติเมื่อวัน อังคารที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ในพระที่นั่ง เทพสถานพิลาส ซึง่ อยูเ บือ้ งหลังของพระทีน่ งั่ จักรพรรดิ พิมาน ในพระบรมมหาราชวัง เพียง ๒ วันที่พระองค ประสู ติ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎ เกล าเจ าอยู หัว ก็เสด็จสวรรคต เมือ่ เวลา ๑ นาฬกา ๔๕ นาที ของวันที่ ๒๖ พฤศจิ ก ายน ณ พระที่ นั่ ง จั ก รพรรดิ พิ ม าน ในพระบรมมหาราชวัง เมื่ อ ทรงพระเยาว ไ ด เ สด็ จ ไปทรงศึ ก ษาที่ โรงเรียนราชินี จนมีพระชันษา ๑๓ ป จึงเสด็จไปทรง ศึกษาในประเทศอังกฤษ เมื่อเดือนมีนาคม ๒๔๘๐ การศึกษาของพระองคในประเทศอังกฤษ เนนไปทาง ภาษาอังกฤษและดนตรี ทรงมีพระอัจฉริยะในการแสดง เปยโนเปนอยางยิง่ สวนวิชาอืน่ ๆ โปรดวิชาภูมศิ าสตร นอกจากนี้ ยังมีความสามารถในการคํานวณปฏิทิน อยางรวดเร็วโดยไมตอ งใชกระดาษเขียน เชน ทูลถามวา วั น ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ ตรงกั บ วั น อะไร จะทรงตอบไดโดยเร็ววา วันเสาร และจะทรงบอกไดวา มี พ.ศ.ใดอีกในวันที่ ๑ มกราคม และจะตรงกับวัน เสารใดในปปจ จุบนั ทรงคํานวณปฏิทนิ ระหวาง ๓๐๐ ๔๐๐ ป ทั้งที่ลวงมาแลวและในอนาคต ทรงมีความจํา แมนยํามากในเรื่องตัวเลข

สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราช สุดา สิริโสภาพัณณวดี ประทับอยูในประเทศอังกฤษ ในชวงที่เกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ และกลับสูกรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๒ รวมเวลาที่ประทับในตางประเทศ ๒๒ ป ทรงสรางวังทีซ่ อยสันติสขุ ถนนสุขมุ วิท ประทาน นามวา วังรื่นฤดีŽ เหมือนชื่อวังแหงแรกที่ถนนสุโขทัย การเสด็ จ กลั บ มาประทั บ ในประเทศไทย นั บ เป น การเปลี่ยนแปลงความเปนอยูครั้งใหญของพระองค ความมีอิสระและเวลาสวนพระองคนอยลง ทรงอุทิศ เวลาใหสังคมและประโยชนสวนรวม พระราชกิจที่ทรง บําเพ็ญอยูแยกได ๓ ทาง คือ ๑. พระราชกิจเนื่องดวยพระบรมชนกนาถ เชน กิจการลูกเสือ เนตรนารี กรมการรักษาดินแดน โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ๒. พระราชกิ จ สื บ เนื่ อ งของสมเด็ จ พระ อัยยิกาเจา สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั กลาวคือ สมเด็ จ พระศรี พั ช ริ น ทราบรมราชิ นี น าถ ทรงสร า ง สถาบั น การศึ ก ษาไว ใ นกรุ ง เทพฯ และต า งจั ง หวั ด หลายแหง ไดแก โรงเรียนราชินี โรงเรียนเสาวภา วิทยาลัยพยาบาลศิรริ าชพยาบาล โรงเรียนจอมสุรางค อุปถัมภ จว.พระนครศรีอยุธยา นอกจากนี้ พระองค ทรงตั้งมูลนิธิสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เพือ่ เปนประโยชนทางการศึกษา โดยใหทนุ แกนกั เรียน ที่เรียนดีในสถาบันดังกลาว


รักษาดินแดน

วารสาร

๓. ทรงเป น องค อุ ป ถั ม ภ กิ จ การเกี่ ย วกั บ สังคมสงเคราะห การศึกษา และการทหาร และพระ ศาสนาประมาณ ๑๘ องคการ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานพระยศทหารเปนพันโท ราชองครักษพเิ ศษ และผูบังคับการพิเศษ กองพันที่ ๒ กรมผสมที่ ๕ จังหวัดนครศรีธรรมราช (ปจจุบัน คือ กองพันที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๑๕) และต อ มา พ.ศ. ๒๕๒๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปนนายทหารพิเศษ ประจํากรมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค ใน พ.ศ. ๒๕๒๘ เมื่ อ พระองค ท รงเจริ ญ พระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินไปในการบําเพ็ญพระราชกุศล พระราชทาน ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ พระราชทานนํ้ า พระมหาสังข และเหรียญรัตนาภรณชั้นที่ ๑ ตลอดจน พระราชทานเลี้ยงพระกระยาหารกลางวันที่พระที่นั่ง บรมพิมาน และทรงรวมโตะเสวยดวย พ.ศ. ๒๕๓๓ ไดรับพระราชทานเลื่อนพระยศ ทหารเปน พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก และ โปรดเกล า ฯ ให เ ป น นายทหารพิ เ ศษประจํ า กรม ทหารม า ที่ ๑ รั ก ษาพระองค ในพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู  หั ว กรมนั ก เรี ย นนายร อ ย

รักษาพระองค โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา กรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค โรงเรียนนายเรือ และกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค โรงเรียน นายเรื อ อากาศ กั บ ได รั บ พระราชทานเครื่ อ งราช อิสริยาภรณอนั เปนสิรยิ งิ่ รามกีรติ ลูกเสือสดุดชี นั้ พิเศษ พ.ศ. ๒๕๓๔ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ถวายปริญญาคหกรรมบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพัฒนา การครอบครัวและเด็ก โดยทีท่ รงบําเพ็ญพระกรณียกิจ ในดานการสงเสริมความสุขของเด็ก และพัฒนาการ ครอบครัวอยางเดนชัด อันไดแก การที่ทรงอุปถัมภ กิจการเนตรนารี อนุกาชาด อาสากาชาด และทรง สงเสริมการศึกษาในสถาบันตาง ๆ สมเด็ จ พระเจ า ภคิ นี เ ธอ เจ า ฟ า เพชรรั ต น ราชสุ ด า สิ ริ โ สภาพั ณ ณวดี มี พ ระจริ ย วั ต รงดงาม ทรงเปยมดวยพระเมตตา ทรงรักษาศีล ๕ ไดอยาง บริสุทธิ์ และที่สําคัญยิ่ง ทรงมีพระกตัญูตอสมเด็จ พระบรมชนกนาถและพระชนนีเปนอยางยิ่ง จะทรงตั้ง เครื่องสังเวยพระกระยาหารกลางวันทุกเวลากลางวัน และทรงจัดดอกไมจุดธูปเทียนบูชา พระบรมทนตและ พระบรมอั ฐิ ส มเด็ จ พระบรมชนกนาถและพระชนนี ทุกเวลาคํ่า สมเด็ จ พระเจ า ภคิ นี เ ธอฯ มี พ ระปณิ ธ าน อันแนวแนในการทรงบําเพ็ญพระกรณียกิจ ดังปรากฏ ในพระดํารัสที่พระราชทานในงานฉลองพระชนมายุ ๖๑ พรรษา เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๙ ณ วชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย ความตอนหนึ่ ง ว า “ฉั น ขอ กลาวตอทานทั้งปวงวา จะพยายามบําเพ็ญตน เพื่อประโยชนแกบานเมือง ดวยความจงรักภักดี ต อ บ า นเกิ ด และต อ องค พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว ผู  ท รงเป น พระประมุ ข ของชาติ ทั้งจะไดรักษาเกียรติศักดิ์แหงความเปนราชนารี ในมหาจักรีบรมราชวงศไวชั่วชีวิต”


62

วารสารเสือป่า


ปวีณา สมคิ ด

รอยยิ้มเล็ก ๆ ของเด็กนอยนักเรียนโรงเรียนราชประชา นุ เ คราะห ฯ ๒๗ จั ง หวั ด หนองคาย หลั ง จากได รั บ ผ า เช็ ด ตั ว สี ม  ว งอ อ น ของพระราชทานจากพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว ที่ ค ณะผู  บ ริ ห าร และเจ า หน า ที่ มู ล นิ ธิร าชประชานุ เ คราะห ในพระบรมราชูปถัมภ ไดนํามาแจกจายแกเด็กนักเรียนโรงเรียน ราชประชานุ เ คราะห ฯ และประชาชนในพื้ น ที่ ภ าคอี ส าน และ ภาคเหนือ ที่ไดทํากิจกรรมเปนประจําทุกป เมื่อยางเขาเดือนแหง ฤดูหนาว หรือเมื่อประสบภัยพิบัติอื่น ๆ

1๔ รักษาดินแดน

วารสาร

ความอบอุ่นใจของเด็กน้อยเหล่านี้ มีเพียง ความอบอุ ่ น จากผ้ า ที่ ห ่ อ หุ ้ ม ตั ว แต่ เ ป็ น ความ ปลาบปลื้มที่เด็ก ๆ ทั้งหลายที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ความเจริญ ได้รับพระราชทานความช่วยเหลือจาก พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว พระมหากษั ต ริ ย ์ ของแผ่นดินไทย โดยมี นายขวัญแก้ว วัชโรทัย


เมื่อแรกเริ่ม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานเงินสามล้านบาท ให้เป็นทุนประเดิม ก่อตั้งมูลนิธิ และพระราชทานนามว่า “มูลนิธิราช ประชานุเคราะห์” และทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้อยู่ใน “พระบรมราชูปถัมภ์” พร้อมกับทรงด�ำรงต�ำแหน่งพระบรมราชูปถัมภก แห่งมูลนิธินี้ด้วย มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรม ราชูปถัมภ์ มีความหมายว่า “พระราชา” และ “ประชาชน” อนุเคราะห์ซงึ่ กันและกัน เป็นการ แสดงน�้ำพระทัยว่า เวลาท�ำงานควรจะได้ให้ ประชาชนมีส่วนร่วมด้วย โดยมู ล นิ ธิร าชประชานุ เ คราะห์ ฯ ได้ ถื อ ก� ำ เนิ ด ขึ้ น จากเหตุ ก ารณ์ ภั ย พิ บั ติ ที่ ต� ำ บล แหลมตะลุ ม พุ ก อ� ำ เภอปากพนั ง จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๐๕ พร้อม กันนี้ได้จัดสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติมแก่โรงเรียน

รักษาดินแดน

วารสาร

นายกมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ และนายดิสธร วัชโรทัย ประธานกรรมการบริหารมูลนิธริ าชประชา นุเคราะห์ฯ ที่ช่วยแบ่งเบาภารกิจ เดินทางกว่า ๘๐๐ กิโลเมตร โดยทางรถยนต์ไปยังจังหวัดต่าง ๆ ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศไทย ทีป่ ระสบภัยพิบตั อิ ากาศหนาว เมือ่ ช่วง ต้นเดือนธันวาคม ๒๕๕๓ เพือ่ เข้าช่วยเหลือผูป้ ระสบ ภั ย พิบัติอ ย่ า งทัน ท่ ว งที ตามพระราโชบายของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ได้พระราชทานไว้ “...ให้ไปให้ความอบอุ่นไปช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ ได้ยากโดยฉับพลัน ท�ำให้ผปู้ ระสบภัยได้รบั การ ช่วยเหลือ มีก�ำลังใจที่จะปฏิบัติงานต่อไป...” “...การช่วยเหลือผู้ประสบภัยนั้นจะต้อง ช่วยในระยะสั้น หมายความว่า เป็นเวลาที่ ฉุกเฉินต้องช่วยโดยเร็ว และต่อไปก็จะต้อง ช่วยให้ต่อเนื่อง...ส่วนเรื่องการช่วยเหลือใน ระยะยาวก็มคี วามจ�ำเป็นเหมือนกัน...เป็นผลว่า เขาได้รบั การดูแลเหลียวแลมาจนกระทัง่ ได้รบั การศึกษาที่สามารถท�ำมาหากินได้โดยสุจริต และโดยมีประสิทธิภาพ เป็นพลเมืองดีของ ประเทศชาติ...”

15


ประถมศึกษาบ้านปลายแหลม ต่อมาพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานชื่อโรงเรียน นี้ใหม่ว่า “โรงเรียนราชประชานุเคราะห์” ไม่มี หมายเลข โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ที่สร้างรุ่น แรกจากมหาวาตภัยภาคใต้ทแี่ หลมตะลุมพุก จึงถือ ก�าเนิดขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๐๖ จ�านวน ๑๒ โรงเรียน และต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๕๑๓ เกิด อุทกภัยอย่างหนักที่ต�าบลท่าแฝก อ�าเภอท่าปลา

1๖ รักษาดินแดน

วารสาร

จังหวัดอุตรดิตถ์ จึงได้ก่อสร้างโรงเรียนราชประชา นุ เ คราะห์ ขึ้ น อี ก จนถึ ง ป จ จุ บั น มี โ รงเรี ย นราช ประชานุเคราะห์จัดตั้งทั่วประเทศไทย จ�านวน ๔๔ โรงเรียน พัชรนันท์ อิม่ ทัว่ หรือ น้องนิว เป็นคนพื้นเพจังหวัด ป ต ตานี ป จ จุ บั น ท� า งานใน ต�าแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ มูลนิธริ าชประชานุเคราะห์ ใน

พระบรมราชูปถัมภ์ เป็นนักเรียนทีไ่ ด้รบั พระราชทาน ทุ น ช่ ว ยเหลื อ จากมู ล นิ ธิร าชประชานุ เ คราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สืบเนือ่ งจากบิดาของน้องนิว ประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตจากภัยพิบัติพายุไต้ฝุน “เกย์” เมื่อวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๒ ขณะ ประกอบอาชีพประมงอยู่กลางทะเล ซึ่งในขณะนั้น น้องนิวก�าลังเรียนอยูช่ นั้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน อนุบาลปตตานี ขาดเสาหลักของบ้าน แต่ยงั มุมานะ เรียนต่อในชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น จนกระทัง่ ขณะนี้ จบการศึกษาในระดับปริญญาโท สาขานักสังคม สงเคราะห์ ที่ตั้งใจเลือกเรียนในสาขาวิชานี้ เพราะ อยากที่จะท�างานด้านสังคมสงเคราะห์ ให้ความ ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ด ้ อ ยโอกาสคนอื่ น ๆ พร้ อ มกั น นี้ ภาคภูมิใจมากที่ได้รับทุนพระราชทานจากมูลนิธิ ราชประชานุ เ คราะห์ ฯ จนจบการศึ ก ษาระดั บ ปริญญาโท น้ อ งแพร-นางสาวสุ ค นธ์ ทิ พ ย์ สุ ก สี สาวน้อยจากอ�าเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่ มี โ อกาสได้ ต ามเสด็ จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่หัวอย่างใกล้ชิด เมื่อปี ๒๕๔๔ ในขณะที่เรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ น้องแพรเล่าให้ฟงว่า เป็นความรู้สึกที่ประทับใจ และจดจ�าได้ตลอดชีวิต เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็น


อ่านหนังสือไว เกิดความเข้าใจได้ดี เข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท ปจจุบนั ท�างานให้กบั มูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในต�าแหน่งเจ้าหน้าที่การเงินการธนาคาร นั ก เรี ย นที่ ศึ ก ษาในโรงเรี ย นราชประชา นุเคราะห์ฯ ทุกคน จะใช้ระบบการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมของโรงเรียนวังไกลกังวลฯ เป็นหลัก ส� า คั ญ ในการศึ ก ษาหาความรู ้ ซึ่ ง ที่ ผ ่ า นมา เจ้าหน้าที่มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม จะเข้ า เช็ ก สภาพการส่ ง สั ญ ญาณภาพ ป ญ หา ข้อขัดข้อง การตอบสนองการเรียนการสอนของ นักเรียนในพื้นที่ห่างไกล ซึ่งโรงเรียนวังไกลกังวลฯ อ� า เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ ต้ น ทาง การสอน เป็ น โรงเรี ย นที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระ ปรเมนทรมหาอานันทมหิดล มีพระบรมราชานุญาต ให้จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๔๘๑ เพื่อให้ การศึกษาแก่บตุ รหลานของเจ้าหน้าทีผ่ รู้ กั ษาวังไกล กังวล ซึ่งมีอยู่จ�านวนมากแต่ไม่มีสถานที่เล่าเรียน มีฐานะเป็นโรงเรียนราษฎร์ทไี่ ด้พระราชอุปการะค่า ใช้จ่ายจากเงินพระราชกุศลเป็นรายปี โรงเรียนวังไกลวังกลฯ เปดสอนนักเรียนตัง้ แต่ ชั้นเด็กเล็กขึ้นไปจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ และ เป ด สอนหลั ก สู ต รวิ ช าชี พ ระยะสั้ น เพิ่ ม เติ ม ด้ ว ย

รักษาดินแดน 1๗ วารสาร

ครูส อนเรื่อ งฝนหลวง และประโยชน์ ข องชั้นดิน ที่เขาเต่าด้วยพระองค์เอง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ การบันทึกเทป รายการ “ศึกษาทัศน์” รายการ ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดท�ารายการการศึกษา และได้พระราชทานชื่อรายการ “ศึกษาทัศน์” ขึ้น โดยครั้ ง นี้ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ พระราชด�าเนินเป็นครูสอน และทรงอธิบาย ทรงยก ตัวอย่างให้เกิดความเข้าใจง่ายด้วยพระองค์เอง น้องแพรเป็นนักเรียนทีไ่ ด้รบั ทุนการศึกษาจากมูลนิธิ ราชประชานุเคราะห์ฯ อย่างต่อเนื่องจนถึงระดับ ปริญญาตรี และขณะนีก้ า� ลังศึกษาระดับปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต ซึ่ง ในป จ จุ บั น น้ อ งแพรท� า งานที่ มู ล นิ ธิร าชประชา นุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในต�าแหน่งเจ้า หน้าที่บริหารงานทั่วไป ส่ ว นน้ อ งอ้ อ ย สาวแห่ ง เมื อ งอุ ด รธานี นางสาวสรัลนุช ทองกอง เป็นนักเรียนในโรงเรียน ราชประชานุ เ คราะห์ ฯ ๒๗ จั ง หวั ด หนองคาย ที่ได้รับทุนการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ เรียนระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของ โรงเรี ย นวั ง ไกลกั ง วลฯ ที่ ฝ  ก ให้ ผู ้ เ รี ย นมี ส มาธิ


1๘ รักษาดินแดน

วารสาร

นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการ โดยการประสาน งานจาก นายขวัญแก้ว วัชโรทัย รองเลขาธิการ พระราชวัง เสนอให้กรมสามัญศึกษาจัดการศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อเฉลิมพระเกียรติในปีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี และถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลแด่ ส มเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี ซึ่ ง มี พ ระมหา กรุณาธิคุณใหญ่หลวงต่อการเสริมสร้างยกระดับ การศึกษาและคุณภาพชีวิตของปวงประชาราษฎร์ อย่ า งทั่ ว ถึ ง ตลอดมา การศึ ก ษาทางไกลผ่ า น ดาวเทียม นอกจากจะเป็นประโยชน์ในการท�าให้ นั ก เรี ย นในส่ ว นภู มิ ภ าคหรื อ ชนบทห่ า งไกลได้ มี โอกาสรั บ ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู ้ ที่ มี คุ ณ ภาพ ไม่ด้อยกว่าโรงเรียนที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน แล้ว ยังจะใช้เป็นสื่อในการเผยแพร่แลกเปลี่ยน ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การพั ฒ นา การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย

นี่ เ ป็ น เพี ย งไม่ กี่ ตั ว อย่ า งของเมล็ ด พั น ธุ ์ แห่ ง ความเมตตา ซึ่ ง เด็ ก นั ก เรี ย นเหล่ า นี้ ล ้ ว น ได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ในด้ า นการศึ ก ษาตลอดจนการ พัฒนาคุณภาพชีวิต และยังมีเด็กนักเรียนที่ได้รับ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ในด้ า นการศึ ก ษาจากทุ ก ภูมภิ าคทัว่ ประเทศ พร้อมทีจ่ ะเติบโตเป็นทรัพยากร ทีม่ คี ณ ุ ค่า ดัง่ เมล็ดพันธุแ์ ห่งความเมตตาทีส่ มบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปญญา เพื่อสืบสาน พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ ไ ด้ พ ระราชทานพระราชด� า รั ส ในครั้ ง หนึ่ ง ว่ า ทรัพยากรทีม่ คี า่ ทีส่ ดุ ของประเทศไทย คือประชาชน ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ควรเริม่ ดูแลด้านสุขภาพอนามัย ไม่ให้ เป็นภาระกับสังคม พร้อมกับเน้นการศึกษาให้กับ เยาวชน ให้รู้จักคิดรู้ว่าอะไรดีส�าหรับตัวเอง


“ความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย” คือ การนอมนําแนวพระราชดําริมาสูวิถีชีวิต

แผนกประชาสัมพันธฯ

ผูเขียนเชื่อวาทุกทานรูจักและเขาใจในความหมายของคําวา “ความจงรัก ภักดี” กันอยางแนนอน แตปญหาอยูที่วาแตละทานสามารถอธิบายและยกตัวอยาง การแสดงออกซึ่ ง “ความจงรั ก ภั ก ดี ” โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง “ความจงรั ก ภั ก ดี ต  อ พระมหากษัตริย” ทีแ่ ตละทานมีอยูใ นหัว (ใจ) อยางเปนรูปธรรม ชัดเจน และเขาใจได โดยงายวาอยางไร ทานพระครูกลาววา การรูคุณ คือ การรู ถึงคุณคา รูถึงคุณประโยชน รูถึงคุณความดีที่ มีประจําอยูในสิ่งนั้นหรือในคนนั้น เพื่อที่จะได แสดงพฤติกรรมตาง ๆ ออกมาดวยความรู มิใช แสดงไปตามความรูสึกชอบหรือไมชอบ เมื่อเรา “รู” ความรูจะบอกเราเองถึงความถูก ความผิด ความเหมาะสม ไมเหมาะสม ควรกระทํา หรือ ไม ค วรกระทํ า ฉั น ใดฉั น นั้ น เมื่ อ เราได รู  ใ น พระเมตตา ได รู  ใ นพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่มีตอพสกนิกร ชาวไทย ผ า นทางโครงการพระราชดํ า ริ ก ว า

รักษาดินแดน

วารสาร

ผู  ช  ว ยศาสตราจารย พระครู สุ น ทร ธรรมโสภณ ผูอ าํ นวยการวิทยาลัยศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต สิรนิ ธรราชวิทยาลัย ในพระราชูปถัมภ ไดกลาวถึง “ความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย” ไวอยาง นาสนใจ โดยนําความหมายที่ปรากฏในพจนา นุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ที่กลาววา “ความจงรักภักดี หมายถึง ความ ผูกใจรักดวยความเคารพนับถือ หรือรูคุณ อยางยิ่ง” มาประกอบ และเนนใหเราพิจารณา ที่คําวา “รูคุณอยางยิ่ง”

๑๙


๒๐ รักษาดินแดน

วารสาร

๔,๐๐๐ โครงการ ไดเขาใจในคุณความดีของ พระองคทานอยางถองแท ผานทางพระจริยวัตร อันงดงามและเปยมไปดวยทศพิธราชธรรม แลว นอมนําแนวพระราชดําริและพระราชประสงค ของท า นมาสู  วิ ถี ชี วิ ต ของเรา มาสู  ก ารปฏิ บั ติ ของเรา นั่นคือความจงรักภักดีที่แทจริง และเปน ความจงรักภักดีทมี่ คี ณ ุ ภาพ หาใชความจงรักภักดี แบบพิ ธีก รรม ที่ เ ราต า งก็ ทํ า ตาม ๆ กั น ไป พูดตาม ๆ กันไป แตมิไดออกมาจากมโนธรรม สํานึก คนไทยนั้นมีความจงรักภักดีตอพระมหา กษั ต ริ ย  แ ละพระบรมวงศานุ ว งศ ใ นระดั บ ดี อยูแ ลว แตทา นพระครูอยากใหเราเพิม่ “คุณภาพ”

ลงไปในความจงรักภักดีนั้นดวย ดังนั้น “ความ จงรักภักดีทมี่ คี ณ ุ ภาพ จึงเปนความจงรักภักดี ดวยปญญา มิใชเปนความจงรักภักดีเพียง พิธีกรรม แตตองเปนความจงรักภักดีดวย วิถีชีวิตที่แทจริง เพื่อจะไดเปนความจงรัก ภักดีดวยคุณภาพแบบยั่งยืน” ผู  เ ขี ย นหวั ง ว า ทั ศ นะจากท า นพระครู จะจุดประกายใหคุณผูอานไดมองเห็นแนวทาง ในการแสดงออกซึง่ “ความจงรักภักดีตอ พระมหา กษัตริย” ที่มีคุณภาพ และจะไดนอมนําแนว พระราชดําริมาสูวิถีปฏิบัติในทุก ๆ วันของชีวิต ซึ่งสิ่งนี้เองที่จะเปนการแสดงออกซึ่งความจงรัก ภักดีดวยคุณภาพอยางยั่งยืน


บทความดีเดน นศท.

รางวลั ชนะเลิศ นศท.ณัฐรินทร รัตนะพิบูลย ชั้นปที่ ๓ โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช จังหวัดอุบลราชธานี ศูนยฝกนักศึกษาวิชาทหารมณฑลทหารบกที่ ๒๒

ความจงรักภักดี ตอสถาบันพระมหากษัตริย

รักษาดินแดน

วารสาร

กองทัพบกโดยนรด.มีความ ปรารถนาใหนศท. ้ ไดมี้ สวนร ่ วม ่ ในการแสดงออกถึงการปกปอ ้ งและ เทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตริยจึง์ ได้ จัดการประกวดบทความสําหรับนศท. ทัวประเทศ ่ ในหัวขอ้ “ความจงรัก ภักดีโ”ดยผูไ้ ดรั้ บรางวัลตา่ งๆจะไดรั้ บ การประกาศเกยี รติคุณและเผยแพร่ งานเขยี นในรักษาดินแดนวารสาร

ผมเชือ่ วาคนไทยหลายคนอาจเคยไดอา นหรือไดฟง ความยิ่งใหญของพระราชาจากในนิทาน เราจะเห็นไดวา พระราชาในนิทานนั้นลวนมีคุณธรรม มีความกลาหาญ มีความสามารถมากมาย สิ่งทั้งหลายเหลานี้ ก็เปนเพียง นิทานสอนใจเราถึงแบบอยางกษัตริยที่ทรงไวซึ่งทศพิธ ราชธรรม แต สํ า หรั บ ผมนั้ น ยั ง มี จ อมกษั ต ริ ย  ผู  ท รง พระปรี ช าสามารถอยู  พ ระองค ห นึ่ ง ที่ มิ ใ ช เ ป น เพี ย ง จอมกษัตริยในนิทาน นั่นคือพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดช “พ่ อ” ที่ปวงชนชาวไทยตางรักและภักดี อยางสุดหัวใจ ตลอดเวลาทีพ่ ระองคทรงครองราชยนนั้ ไมมี แมเพียงสักครั้งที่จะไมเห็นพระองคเสด็จพระราชดําเนิน ไปทรงเยี่ ย มประชาชนของพระองค ใ นถิ่ น ทุ ร กั น ดาร จนอาจกลาวไดวาแผนดินไทยตั้งแตเหนือจรดใตยังไมมี ทีใ่ ดทีพ่ ระองคจะเสด็จฯ ไปไมถงึ ความยิง่ ใหญของพระองค จึงมิใชสิ่งที่เราอานพบในนิทานเทานั้น เพราะพระองค ได ท รงเป น แบบอย า งแห ง จอมกษั ต ริ ย  ผู  เ ป  ย มไปด ว ย ทศพิ ธ ราชธรรม ผมจึ ง รู  ซึ้ ง ถึ ง คํ า มั่ น สั ญ ญาที่ พ ระองค ทรงใหไวกบั ปวงชนชาวไทยทีว่ า “เราจะปกครองแผ่ นดิน โดยธรรม เพื�อประโยชน์ สขุ แห่งมหาชนชาวสยาม” บัดนี้ ไดเปนที่ประจักษตอพสกนิกรชาวไทยของพระองคแลววา พระองค ไ ด ท รงกระทํ า ตามคํ า มั่ น สั ญ ญาที่ ไ ด ใ ห ไ ว กั บ พสกนิกรของพระองคมิไดบกพรองแตประการใด

๒๑


เราในฐานะพสกนิกรชาวไทยผู้จงรักภักดี จึงควรถามตนเองได้ แล้ วว่ า จะทําอย่ างไรให้ ประเทศไทยมีความสงบสุข และร่ วมเป็ นกําลังสําคัญ ในการสร้ างสรรค์ ส� ิงดีงามตามแนวพระราชดําริ ของพระองค์ ท่านให้ อยู่ คู่กับผืนแผ่ นดินไทยตราบนานเท่ านาน

๒๒ รักษาดินแดน

วารสาร

สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ทํ า ให ผ มรู  สึ ก รั ก และเทิ ด ทู น พระบาท สมเด็จพระเจาอยูห วั คงไมพน “ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง” ผมมี ค วามชื่ น ชมในแนวคิ ด ของทฤษฎี นี้ เ นื่ อ งจากเป น ทฤษฎีการสรางความสุขใหกับตัวเองไดดํารงชีวิตไดโดย ไมเดือดรอน ประเทศไทยเองก็เคยไดรบั บทเรียนจากวิกฤติ ตมยํากุงมาแลว ก็ควรที่จะนอมรับเอาทฤษฎีนี้ไปปรับใช กับตนเอง คอยเตือนสติตนเองวาวิกฤติที่เกิดขึ้นครั้งนั้น เกิดจากการที่เรากาวไปเร็วเกินไป ความฟุมเฟอยแสวงหา ไม รู  จัก พอเป น ป จ จั ย สําคัญอยางยิ่งที่จะทําใหเราตอ ง เดือดรอน พระองคจึงสอนใหคนไทยมี “ความพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภมู คิ ้ ุมกันที�ด”ี ความพอเพียง พอประมาณก็คือใหเราสํารวจตัวเองวาเรามีกําลังทรัพย เทาไหร ควรพอไดหรือยัง ความมีเหตุผลก็คือการที่เราตอง คิดใหรอบคอบวาสิ่งที่เราตองการนั้นมีความจําเปนมาก นอยเพียงใด สุดทายคือการมีภูมิคุมกันที่ดี รูจักระงับ ยับยั้งความอยากไดอยากมีของตนเอาไว เลือกเดินทาง สายกลาง ซึ่งสิ่งเหลานี้พระองคไดทรงสั่งสอนใหคนไทย ทุกคนไดรับรูรับทราบ โดยทั่วกันแลววาเปนแนวทางการ สรางความสุขใหกับตนเองโดยไมตองแลกมาดวยสิ่งใด นอกจากนี้พระองคยังไดทรงใหความสําคัญกับ “เกษตรทฤษฎีใหม่ ” โดยไดทรงเปลี่ยนพระราชวังของ พระองคเองใหกลายเปนแปลงสาธิตการเกษตร ทรงทําการ ทดลองเลี้ยงโคนม ปลานิล ปลูกขาวดวยพระองคเอง พระองคจึงเปนกษัตริยพระองคเดียวในโลกที่ทรงทําการ เกษตรด ว ยพระองค เ อง และทรงเปลี่ ย นพระราชวั ง ของพระองคใหกลายเปนแปลงสาธิตการเกษตร พระองค

จึงเปนจอมกษัตริยผูอุทิศตนเพื่อปวงชนชาวไทยอยาง แทจริง เมื่อไดความรูใหมมานั้น พระองคก็ยังทรงถายทอด วิทยาการตาง ๆ ที่ทรงไดทดลองมานั้นใหกับเกษตรกร ชาวไทย ส ง เสริ ม ให เ กิ ด โครงการต า ง ๆ ขึ้ น มากมาย สร า งอาชี พ สร า งรายได กระจายสู  สั ง คมอย า งทั่ ว ถึ ง ส ง ผลให ลู ก หลานชาวไทยมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น และ ยังทรงใหความสําคัญกับการแกไขปญหาจากภัยธรรมชาติ อันเกิดจากสภาพแวดลอมในภูมิภาคตาง ๆ ทั่วประเทศ ไม ว  า จะเป น การสร า งฝายชะลอนํ้ า การปลู ก กํ า แพง หญาแฝกพลิกพื้นสภาพดิน การปลูกปาชายเลนปองกัน นํ้ า ทะเลกั ด เซาะ โครงการฝนหลวง การบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ในแมนํ้าดวยผักตบชวา พระอัจฉริยภาพของพระองค ในด า นการสร า งสรรค แ ละแก ไ ขป ญ หาของพระองค จึ ง เป น ที่ ย อมรั บ จากคนทั่ ว ทั้ ง โลกว า พระองค ท รงเป น “ยอดกษัตริ ย์นักพัฒนา ผู้ประสบความสําเร็ จในการ พัฒนามนุษย์ อย่ างยั�งยืน” แมเวลาจะผานลวงเลยมากวา ๖๔ ปที่พระบาท สมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว ทรงงานอย า งหนั ก เพื่ อ พสกนิ ก ร ชาวไทยของพระองค แตพระราชกรณียกิจ พระจริยวัตร อั น งดงามที่ พ ระองค ท รงยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ม าตลอดจะเป น แบบอย า งจอมกษั ต ริ ย  ผู  เ ป  ย มไปด ว ยทศพิ ธ ราชธรรม เราในฐานะพสกนิกรชาวไทยผูจ งรักภักดี จึงควรถามตนเอง ไดแลววาจะทําอยางไรใหประเทศไทยมีความสงบสุข และ รวมเปนกําลังสําคัญในการสรางสรรคสิ่งดีงามตามแนว พระราชดําริของพระองคทานใหอยูคูกับผืนแผนดินไทย ตราบนานเทานาน


ถอนคํา “โรคจิตถาวร” ใน สด.๔๓ ปลดตราบาป สมานแผลใจ สาวประเภทสอง พ.ต.หญิง มาริกา ปาลกะวงศ ณ อยุธยา

ในทุก ๆ ปเมื่อถึงชวงเวลาเกณฑทหาร เราจะไดเห็นภาพสาวสวยนั่งยิ้มหวานอยูทามกลางชายหนุม จํานวนนับรอย บางคนอาจรูสึกแปลกตา บางคนอาจรูสึกขบขันในกิริยาที่พวกเธอแสดงออก มันคือ ความตรงกันขามที่ไมนาจะปรากฏในการเกณฑทหารที่ควรจะมีแตผูชายเทานั้น ดังนั้นพวกเธอจึงกลายเปน จุดสนใจและเปนสีสันใหกับหนวยตรวจเลือกฯ หลายแหงเสมอมา

...พวกเธอเหล่านี้ คือเจ้าของนิยามค�าว่า “สาวประเภทสอง”

รักษาดินแดน

วารสาร

พู ด กั น ตามตรง โดยธรรมชาติ แ ล้ ว สาว ประเภทสองเหล่านี้ คือผู้ที่มเี พศก�าเนิดเป็นชาย หากแต่มจี ติ ใจและความประพฤติค่อนไปทางหญิง ซึ่งในทางกฎหมายรับราชการทหารแล้ว แม้ว่า คนกลุ่มนี้จะมีจิตใจเป็นหญิง และมีสภาพร่างกาย เป็นหญิง แต่ตามเพศก�าเนิดแล้วทุกคนต่างก็ยัง คงมีหน้าที่ของ “ลูกผู้ชายไทย” ที่ต้องปฏิบัติตาม กฎหมายอย่างเคร่งครัด... ชายไทยทุกคนจึงต้องไป เข้ารับการตรวจเลือกทหารฯ

2๓


เมือ่ สาวประเภทสองเข้ารับการตรวจเลือก ทหารฯ

24 รักษาดินแดน

วารสาร

“สาวประเภทสอง” มี อ ยู ่ ด ้ ว ยกั น หลาย ลั ก ษณะ ซึ่ ง สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ แ ต่ ล ะคนมี ค วาม แตกต่างกัน คือ ระดับ ของการปรับ แต่ งสภาพ ร่างกาย บางรายได้ท�ำการปรับแต่งสภาพร่างกาย บางส่วน เช่น การท�ำศัลยกรรมหรือใช้ฮอร์โมนเสริม หน้าอก ให้มีลักษณะละม้ายคล้ายหญิง บางราย มีการปรับแต่งอย่างสมบูรณ์ที่เรารู้จักกันว่าเป็น “การแปลงเพศ” ซึ่ ง ทั้ ง สองกลุ ่ ม นี้ จ ะด� ำ รงชี วิ ต เหมือนผู้หญิงทั่วไป แต่อย่างไรก็ดี ยังมีบางรายที่ จิ ต ใจไปทางหญิ ง แล้ ว แต่ ไ ม่ ไ ด้ แ ปลงเพศ โดย ยังคงสภาพร่างกายปกติเฉกเช่นชายทั่วไป... อะไร จะเกิดขึ้นเมื่อพวกเธอไปเกณฑ์ทหาร? ข้อมูลจากกองการสัสดี นรด. ท�ำให้ทราบว่า ในช่วงสิบปีที่ผ่านมา มีสาวประเภทสองมาเข้ารับ การตรวจเลือกทหารฯ อยู่เนือง ๆ โดยกลุ่มสาว ประเภทสองที่ท�ำศัลยกรรมแปลงเพศแล้วจะพบ ไม่มาก ซึ่งคณะกรรมการตรวจเลือกฯ จะให้เกียรติ และรีบปล่อยตัว ส่วนผูท้ เี่ สริมหน้าอกแต่ยงั ไม่แปลง เพศมีจำ� นวนเฉลีย่ ทัง้ ประเทศประมาณร้อยละ ๐.๕ ทั้งนี้จ�ำนวนของสาวประเภทสองจะพบมากในเขต หรื อ อ� ำ เภอที่ มี ค วามเจริ ญ แล้ ว คื อ ประมาณ ร้ อ ยละ ๑ ของผู ้ เ ข้ า รั บ การตรวจเลื อ กฯ ซึ่ ง ก็ หมายความว่าในแต่ละวันของแต่ละหน่วยจะมี ประมาณ ๔ - ๕ คนเท่านั้น และหากในแต่ละปี มีชายไทยเข้ารับการตรวจเลือกทหารฯ ประมาณ ๔๕๐,๐๐๐ คน ก็จะมีสาวประเภทสองประมาณ ๒,๐๐๐ คนทั่วประเทศ เมื่อถึงเวลาที่สาวประเภทสองจะต้องไปเข้า รับการตรวจเลือกทหารฯ พวกเธอก็ต้องใช้หลัก เกณฑ์เช่นเดียวกับกลุม่ ชายแท้ กล่าวคือ เมือ่ ถึงเดือน

ต.ค. - ก.พ. ของปี ก่อนการตรวจเลือกทหาร กองทัพบก ได้เปิดโอกาสให้ทหารกองเกินที่เห็นว่าตนเองเป็น โรคทีข่ ดั ต่อการรับราชการ เข้ารับการตรวจโรคก่อน การตรวจเลือกฯ ได้ที่ รพ.ทหารบก ๑๙ แห่งทั่ว ประเทศ และน�ำใบส�ำคัญความเห็นแพทย์ไปแสดง ต่อคณะกรรมการตรวจเลือกฯ ในวันตรวจเลือกฯ ได้ ด ้ ว ย ซึ่ ง ในวั น ตรวจเลื อ กฯ คณะกรรมการ ตรวจเลื อ กฯ จะต้ อ งด� ำ เนิ น การตามขั้ น ตอนที่ กฎหมายก�ำหนด ตั้งแต่การเรียกชื่อ ตรวจร่างกาย วัดขนาดร่างกายและจับสลาก ทั้งนี้หากคณะกรรมการตรวจเลือกฯ สังเกต เห็นสาวประเภทสอง โดยประเมินจากรูปลักษณ์ ภายนอก การแต่งกาย หากมีสภาพร่างกาย กิริยา อาการเป็นสาวประเภทสอง คณะกรรมการตรวจ เลือกฯ จะแยกไปตรวจในห้องลับส�ำหรับตรวจโรค โดยแพทย์ประจ�ำคณะกรรมการตรวจเลือกฯ พร้อม กับกรรมการอีก ๑ นาย จะร่วมกันตรวจและลง ความเห็นร่วมกัน หากเห็นว่ามีการดัดแปลง ตัดแต่งอวัยวะร่างกายก็จะพิจารณาก�ำหนด เป็นคนจ�ำพวกที่ไม่ต้องเข้ารับราชการทหาร แต่หากเห็นว่ามีร่างกายสมบูรณ์เป็นปกติเหมือน ชายทั่วไป ก็จะต้องด�ำเนินการในขั้นตอนต่อไป คือ


วัดขนาดร่างกายและจับสลากเช่นเดียวกับชาย ทั่วไป โดยหากจับสลากแดงถูกเข้ากองประจ�ำการ ก็จะแจ้งให้หน่วยทหารดูแลช่วยเหลือต่อไป ทั้งนี้ ภายหลังเสร็จสิ้นการตรวจเลือกฯ แล้ว หากผู้ถูก เข้ า กองประจ�ำ การเห็ น ว่ า คณะกรรมการตั ด สิ น ไม่ถูกต้องหรือไม่ได้รับความเป็นธรรม ก็สามารถ ยื่ น ค� ำ ร้ อ งต่ อ คณะกรรมการชั้ น สู ง ให้ ตั ด สิ น ใหม่ได้ โดยค�ำตัดสินของคณะกรรมการชั้นสูงถือ เป็นที่สุด

“โรคจิตถาวร” ใน สด.๔๓ ...ตราบาป ติดตัว ??

รักษาดินแดน

วารสาร

แม้จะมีการปฏิบตั อิ ย่างเท่าเทียมแล้วก็ตาม แต่ เ นื่อ งจากพวกเธอมีส ภาพร่ า งกายและจิต ใจ เป็นหญิงซึ่งอาจเป็นการไม่เหมาะสมหากต้องใช้ ชีวิตและฝึกร่วมกับพลทหารชายแท้ ดังนั้นจึงได้ มีความพยายามที่จะช่วยเหลือสาวประเภทสอง ให้ผ่านการตรวจเลือกทหารฯ อย่างถูกต้อง โดย หลั ง จากที่ ไ ด้ ต รวจร่ า งกายและลงความเห็ น โดยแพทย์และกรรมการตรวจเลือกฯ แล้ว ขั้นตอน ต่อไปก็คอื การลงบันทึกทางเอกสาร... ขัน้ ตอนนีเ้ อง ที่น�ำมาซึ่งปัญหาใหญ่ เนื่ อ งจากในปั จ จุ บั น ยั ง ไม่ มี ก ฎกระทรวง ที่ ร ะบุ ลั ก ษณะอาการส� ำ หรั บ สาวประเภทสอง ไว้เป็นการเฉพาะ คณะกรรมการตรวจเลือกฯ จึงต้อง เทียบเคียงกับอาการโรคตามกฎกระทรวงที่ไม่ต้อง ส่งเข้ารับราชการทหาร ดังนัน้ ในหลักฐานทางทหาร ของสาวประเภทสองจึงมีถ้อยค�ำ เช่น “โรคจิต ถาวร” หรือ “โรคจิตผิดปกติถาวร” หรือแม้ กระทั่ง “หน้าอกผิดรูป” ฯ ลฯ แม้จะเป็นเจตนาที่ดีในการช่วยเหลือแบบ ไม่ขัดต่อกฎหมาย และไม่ได้มีผลต่อประวัติด้าน สุขภาพแต่อย่างใด แต่ถ้อยค�ำเหล่านี้กลับเป็น เสมือนตราบาปทีต่ ดิ อยูใ่ นประวัตชิ วี ติ ของบุคคลนัน้ และก่อให้เกิดผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจ�ำวัน การศึ ก ษา และการประกอบสั ม มาชี พ ของสาว ประเภทสอง บางรายอาจถึ ง ขั้ น สู ญ เสี ย โอกาส ทางการศึกษาและหน้าที่การงานที่ดี ซึ่งปัจจุบัน นี่คือหลักปฏิบัติที่กระทรวงกลาโหมได้ถือ ก็ ไ ด้ มี ก รณี ตั ว อย่ า งที่ ผู ้ เ สี ย หายยื่ น ฟ้ อ งต่ อ ศาล ปฏิบัติตลอดมา ไม่ว่าจะทั้งกับชายแท้และสาว เพื่อขอแก้ไขหลักฐานทางทหารอยู่หลายกรณี และ ประเภทสอง ทุ ก คนต้ อ งได้ รั บ การปฏิ บั ติ อ ย่ า ง บางกรณี ก็ ไ ด้ เ ป็ น ข่ า วครึ ก โครมทางสื่ อ มวลชน อีกด้วย เท่าเทียมและเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

25


ดังนั้นเพื่อมิให้เป็นการกระทบกระเทือนต่อ สภาพจิตใจและการด�ำเนินชีวิต รวมทั้งยังเป็นการ ให้เกียรติในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน หน่วยงานต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องไม่ว่าจะเป็นส่วนทหาร เช่น กระทรวงกลาโหม กองทัพบก หน่วยบัญชาการ รักษาดินแดน หรือแม้กระทั่งส่วนพลเรือน เช่น กระทรวงมหาดไทย กรมสุขภาพจิต และคณะ กรรมการสิทธิมนุษยชน ฯ ลฯ ต่างก็ให้ความสนใจ ที่จะแก้ไขถ้อยค�ำส�ำหรับระบุในเอกสารทางทหาร ของสาวประเภทสอง

แก้ไขถ้อยค�ำ...ท�ำอย่างไรดี ?

26 รักษาดินแดน

วารสาร

ประเด็นเรื่องถ้อยค�ำที่ระบุใน สด.๔๓ เป็น เรื่องที่ใกล้ตัวประชาชน เป็นปัญหาที่รอการแก้ไข มานาน และยังเป็นที่สนใจของสื่อมวลชน จนมี ส�ำนักข่าวหลายแห่งติดต่อมาเพือ่ ขอสัมภาษณ์และ ขอทราบข้อมูลจาก นรด. ในเรื่ อ งนี้ ผู ้ เ ขี ย นได้ มี โ อกาสเข้ า พบท่ า น ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน พล.ท. ชูเกียรติ เธียรสุนทร โดยท่านได้ให้ความกระจ่าง เกี่ยวกับที่มาที่ไปของปัญหานี้ พร้อมทั้งให้แนวคิด ในการแก้ไขถ้อยค�ำดังกล่าว ด้วยวิธีการที่ช่วยให้ ผู้เขียนเข้าใจได้ง่าย ๆ (เพราะเรื่องนี้ค่อนข้างเข้าใจ ยากส�ำหรับคนที่ไม่รู้ที่มาที่ไป และไม่เข้าใจระบบ การคัดเลือกทหาร...อย่างดิฉัน) ก็เลยจะน�ำมาเล่า ต่อให้คุณผู้อ่านทราบค่ะ ในการแก้ไขถ้อยค�ำส�ำหรับเรียกสาวประเภท สอง ควรค�ำนึงถึงหลัก ๓ ประการ คือ ถูกต้อง ตามหลักการแพทย์ ถูกใจผู้บังคับใช้กฎหมาย และที่ส�ำคัญ “ถูกใจผู้ใช้” ด้วย กล่าวคือ ๑. ถูกต้องตามหลักการแพทย์ : ควร เรียกชื่อให้ถูกต้องตามหลักวิชาการแพทย์สากล

เพื่ อ ให้ ก รรมการแพทย์ ไ ด้ ล งความเห็ น ถู ก ต้ อ ง ตามชื่ อ โรคทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเป็ น ที่ ย อมรั บ ของทุกประเทศได้ ๒. ถูกใจผู้บังคับใช้กฎหมาย : มีความ สะดวกต่อการบังคับใช้กฎหมายโดยเจ้าหน้าที่ และ เกิดความเป็นธรรมกับทุกคน มิใช่ว่าใครที่ไม่อยาก เป็นทหารก็ทำ� ท่ากระตุ้งกระติง้ หรือนุ่งกระโปรงมา กล่ า วคื อ ไม่ เ ป็ น ช่ อ งทางในการหลี ก เลี่ ย งการ รับราชการทหาร ๓. ถูกใจผูใ้ ช้ : ต้องไม่เป็นอุปสรรคในการ ประกอบอาชีพ หรือเป็นปมด้อยทางสังคม สรุปก็คอื จะต้องได้รับการยอมรับจากทุกฝ่าย

กว่าจะมาเป็นค�ำว่า “ภาวะเพศสภาพไม่ตรง กับเพศก�ำเนิด” ส�ำ หรับ ที่ม าของการเปลี่ย นแปลงถ้ อ ยค�ำ ใน สด.๔๓ ส� ำ หรั บ กลุ ่ ม สาวประเภทสองนั้ น พ.อ.สอาด ยศพลเสนี ย ์ ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ อ� ำ นวยการ กองการสัสดี นรด. ได้ให้ข้อมูลกับผู้เขียนว่า ได้ มีความพยายามในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงถ้อยค�ำ ใน สด.๔๓ มาตั้ ง แต่ ป ี ๒๕๔๙ โดยได้ มี ก าร ประชุมหารือโดยภาคส่วนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย (ซึ่งเป็น ผู้รักษากฎหมาย) แพทย์ พร้อมด้วยภาคเอกชน ซึ่งเป็นองค์กรเครือข่ายความหลากหลายทางเพศ เกี่ยวกับเอกสารการตรวจเลือกทหารฯ ของสาว ประเภทสอง และที่ประชุมได้มีความเห็นให้แก้ไข กฎกระทรวง ก�ำหนดโรคและความผิดปกติของ ผู ้ ที่ มี ร ่ า งกายและจิ ต ใจเป็ น หญิ ง โดยเพิ่ ม เติ ม ให้เป็น “คนจ�ำพวก ๒” ซึ่งในที่ประชุมได้มีการ เสนอให้ใช้ขอ้ ความ ซึง่ แปลมาจากชือ่ ภาษาอังกฤษ ที่ว่า “Gender Identity Disorder” อาทิ


สมานแผลใจ สาวประเภทสอง คุณผูอ้ า่ นคงสงสัยว่า แล้วคนทีใ่ นใบ สด.๔๓ ได้ระบุว่าเป็น “โรคจิตถาวร” ไปเสียแล้ว จะแก้ไข อย่างไร? เรื่องนี้ท่าน ผบ.นรด. ไม่ได้นิ่งนอนใจค่ะ ท่ า นได้สั่ง การให้อ อกประกาศหน่ว ยบัญชาการ รักษาดินแดน เพือ่ ชีแ้ จงและแจ้งให้สาวประเภทสอง ที่ ใ นใบ สด.๔๓ ได้ ร ะบุ ถ ้ อ ยค� ำ เช่ น “โรคจิ ต ถาวร” “โรคจิ ต ผิ ด ปกติ ถ าวร” หรื อ “หน้ า อก ผิดรูป” แล้วก่อให้เกิดผลกระทบทางการศึกษาและ การประกอบอาชีพ สามารถมาติดต่อขอรับหนังสือ รับรองประกอบใบ สด.๔๓ ได้ที่ กองการสัสดี

หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ถนนเจริญกรุง เขตพระนคร กรุงเทพฯ หรือโทรศัพท์มาปรึกษา ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่หมายเลข ๐-๒๒๒๓-๓๒๕๙ ๐-๒๒๒๓-๓๔๒๑ ในเวลาราชการ คุ ณ ผู ้ อ ่ า นที่ มี บุ ต รหลานหรื อ รู ้ จั ก ใครที่ มี ปัญหาเช่นนี้ ฝากท่านได้นำ� ข่าวนีไ้ ปบอกต่อกันด้วย นะคะ ทัง้ นีผ้ เู้ ขียนได้แนบประกาศและตัวอย่างของ หนังสือรับรองที่ นรด. จะออกให้มาด้วยแล้วค่ะ นีก่ ใ็ กล้ถงึ เวลาทีจ่ ะต้องเตรียมตัวส�ำหรับการ ตรวจเลือกทหารฯ ในปี ๒๕๕๕ แล้วนะคะ อย่าลืม เตือนลูกหลาน หากเห็นว่าตนเองน่าจะเป็นโรคที่ ขัดต่อการรับราชการ ก็ให้ไปรับการตรวจโรคก่อน การตรวจเลือ กฯ ได้ ที่ รพ.ทหารบก ๑๙ แห่ ง ทั่วประเทศ และอย่าลืมน� ำ ใบส� ำ คัญ ความเห็น แพทย์ ไ ปแสดงต่ อ คณะกรรมการตรวจเลื อ กฯ ในวันตรวจเลือกฯ ด้วย อ๊ะ ๆ นี่ผู้เขียนแนะน�ำเพื่อเป็นประโยชน์ อย่างบริสุทธิ์ใจนะคะ มิได้ชี้ช่องทางให้ท่านพากัน ท�ำผิดกฎหมาย เกิดเป็นชายไทย ต้องไปท�ำหน้าที่ ของลูกผูช้ ายอย่างสมศักดิศ์ รี จับได้สลากแดงจะไป กลัวท�ำไม ชีวิตนี้จะได้เป็นทหารสักกี่ครั้งกัน ที่ ส� ำ คั ญ อย่ า ให้ อ ายสาวประเภทสองเลย แม้ว่าพวกเธอจะปฏิเสธสภาพร่างกายและจิตใจ ที่เป็นชาย แล้วหันมาประพฤติตนเป็นหญิง แต่ พวกเธอยังคงเหลือจิตส�ำนึกการท�ำหน้าที่ลูกผู้ชาย ไทยเท่ า ๆ กั บ ที่ ช ายไทยทั้ ง แท่ ง พึ ง มี . ..พบกั น วันตรวจเลือกทหารฯ นะคะ ขอขอบคุณข้อมูลจาก กองการสัสดี นรด. โดย พ.อ.ชาติชาย แจ้งสี ผอ.กสด.นรด.

รักษาดินแดน 27 วารสาร

๑. “ความผิดปกติในการรับรู้หรือการ ยอมรับเพศทางร่างกายของตน” ๒. “ร่ า งกายผิ ด ปกติ อั น เนื่ อ งมาจาก ความผิดปกติในการรับรู้หรือการยอมรับเพศ ทางร่างกายของตน” ๓. “มีรา่ งกายทีผ่ ดิ ปกติอนั เนือ่ งมาจาก ความผิดปกติในการรับรู้หรือการยอมรับเพศ ทางร่างกายของตน” ๔. “มีร่างกายแตกต่างจากเพศก�ำเนิด ชาย” เป็นที่น่าเสียดายที่ข้อความซึ่งถูกน�ำเสนอ เหล่านี้ได้ถูกคัดค้านจากกลุ่มเครือข่ายองค์กรสิทธิ มนุษยชน เนื่องจากเห็นว่าไม่เหมาะสม เพราะ มีข้อความว่า “ผิดปกติ” รวมอยู่ด้วย จึงมีผู้เสนอ ข้อความใหม่ว่า “ภาวะเพศสภาพไม่ตรงกับเพศ ก�ำเนิด” และใช้ชื่อภาษาอังกฤษ คือ “Gender Identity Disorder” ซึง่ ก็เป็นทีพ่ งึ พอใจของทุกฝ่าย และขณะนี้ อ ยู ่ ใ นขั้ น ตอนการแก้ ไ ขกฎกระทรวง ของคณะกรรมการกฤษฎี ก า โดยคาดว่ า น่ า จะ ประกาศใช้ได้ในการตรวจเลือกทหารฯ ในปี ๒๕๕๕


วารสาร

2๘ รักษาดินแดน


วารสาร

รักษาดินแดน 2๙


ขาวดวน !!! ถึง วาที่ผูหมวดใหม

ขาวนี้สําคัญมาก สําหรับผูที่จะเขารับการประดับเครื่องหมายยศ รอยตรี ประจําป ๒๕๕๕ ขอแจงใหผูที่ไดรับการแตงตั้งยศเปนวาที่รอยตรี ในสวนของกองทัพบก ตามคําสั่ง กระทรวงกลาโหม เรือ่ งแตงตัง้ ยศทหารใหนกั ศึกษาวิชาทหาร เฉพาะปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ทีม่ คี วามประสงคจะเขารวมในพิธปี ระดับเครือ่ งหมาย ยศรอยตรี ในสวนของกองทัพบก ประจําป พ.ศ. ๒๕๕๕ ไดนาํ สําเนาคําสั�งแต่ งตัง� ยศว่ าที� ร้ อยตรี และบัตรประจําตัว ประชาชน มาแสดงความจํานงดวยตนเองที่ กองการเตรียมพล หนวยบัญชาการรักษาดินแดน (สวนเจาเชตุ) ถนนเจริญกรุง เขตพระนคร กทม. ในวันและเวลาราชการ ติดตอไดตั้งแตบัดนี้เปนตนไป จนถึงสิน� เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ หากพนกําหนดแลวไมวาจะกรณีใด ถือวาทานสละสิทธิ์ในการเขารวมในพิธีประดับเครื่องหมาย ยศรอยตรี จาก กองทัพบก ประจําป พ.ศ. ๒๕๕๕ และในปตอ ๆ ไปดวย

๓๐ รักษาดินแดน

วารสาร

รูแลวฝากบอกตอ ๆ กันไปดวย... รับทราบ!!!


วารสาร

รักษาดินแดน

๓๑


พ.อ.อภิชาติ จงเกษม

ใน

๓๒ รักษาดินแดน

วารสาร

วันศุกรที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๔ จะเปนวันครบรอบ ๑๐๐ ป ของการจัดตั้ง กิ จ การเสื อ ป า ขึ้ น ในประเทศไทย เมื่ อ วั น ที่ ๖ พฤษภาคม ๒๔๕๔ และ กองทั พ บกได ถื อ ว า วั น ดั ง กล า วเป น วั น สํ า คั ญ เพื่ อ น อ มระลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ที่ไดทรงจัดตั้งกองเสือปาขึ้น เพื่อเปนหนวยกําลัง ประชาชนสําหรับชวยเหลือกองทัพในยามสงคราม อันเปนตนกําเนิดของกําลังสํารองในปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงจัดตั้งกองเสือปาขึ้นเพื่อปกปองประเทศชาติ จากการลาอาณานิคมของประเทศตะวันตกในสมัยนั้น โดยทุกมณฑลหัวเมืองจะมี กองเสือปา เรียกวา “กรมเสือปาเสนารักษาดินแดนมณฑล” มีดวยกัน ๒๐ มณฑลทั่วประเทศ โดยมี ขาหลวงเทศาภิบาลทําหนาที่ผูบังคับการกรมเสือปาในมณฑลของตน ขึ้นสังกัดโดยตรงตอ พระมหากษัตริย มีหนาที่ชวยเหลือทางราชการรักษาความสงบเรียบรอยของบานเมือง, ถวายอารักขาพระมหากษัตริย และชวยเหลือเพื่อนมนุษยโดยไมหวังผลตอบแทน


รักษาดินแดน ที่ยังคงระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว หนวยบัญชาการรักษาดินแดน ไดขออนุมัติ กองทัพบก ใหวันที่ ๖ พฤษภาคมของทุกป เปน “วันกําลังสํารอง” เมือ่ วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๗ ซึง่ กองทัพบกเห็นวาเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับประชาชน ทั้งประเทศ จึงใหเสนอเรื่องตามสายการบังคับ บัญชาเพื่อเขารับการพิจารณาจากคณะรัฐมนตรี ให กํ า หนดเป น “วั น กํ า ลั ง สํ า รองแห ง ชาติ ” ซึ่ ง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๔๘ ดังกลาว ไดอนุมตั ติ ามมติคณะกรรมการกลัน่ กรอง

เรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี ชุดที่ ๗ (ฝายกฎหมาย พลังงาน ระบบราชการ และประชาสัมพันธ) และ ไดอนุมัติใหกระทรวงกลาโหมกําหนดใหวันที่ ๖ พฤษภาคมของทุกป เปน “วันกําลังสํารอง” โดยยังไมตอ งกําหนดใหเปนวันแหงชาติ แตให ถือเปนวันสําคัญของกระทรวงกลาโหม และจัด กิจกรรมตามความเหมาะสม ทัง้ นีห้ ากดําเนินการ ไประยะหนึ่งแลว สามารถมีกิจกรรมรวมกันกับ กลุ  ม เป า หมายต า ง ๆ ซึ่ ง สะท อ นคุ ณ ค า และ

รักษาดินแดน

วารสาร

หน ว ยบั ญ ชาการรั ก ษาดิ น แดน ในฐานะ หนวยงานกํากับดูแลกิจการกําลังสํารอง ไดจัด การประชุมหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมกันพิจารณา กํ า หนด “วั น กํ า ลั ง สํ า รอง” เพื่ อ น อ มระลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู  หั ว และได ข อความเห็ น ชอบไปยั ง วั ง รื่ น ฤดี เมื่ อ พฤศจิ ก ายน ๒๕๔๗ โดยท า นผู  ห ญิ ง บุ ต รี วี ร ะไวทยะ ผู  บ ริ ห ารงาน ในสมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราช สุดา สิริโสภาพัณณวดี ตอบรับใหทราบวา ทรงมี รับสั่งอนุโมทนายินดีและชื่นชมหนวยบัญชาการ

๓๓


๓๔ รักษาดินแดน

วารสาร

เกิดความเปนปกแผนมากขึ้น อาจกําหนดใหเปน วันสําคัญแหงชาติไดในภายหนา ในการนีห้ นวยบัญชาการรักษาดินแดน จึงได ร ว มกั บ หน ว ยงาน/องค ก รกํ า ลั ง สํ า รอง ได มี การดํ า เนิ น กิ จ กรรม “วั น กํ า ลั ง สํ า รอง” ตั้ ง แต วันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ เปนตนมาจนถึง ปจจุบัน โดยมีกิจกรรมที่สําคัญไดแก การถวาย พานพุ  ม พระบรมราชานุ ส าวรี ย  พ ระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู  หั ว , การบริ จ าคโลหิ ต , การบําเพ็ญสาธารณประโยชน, พิธีสงฆ, การจัด บอรดแสดงนิทรรศการของหนวยงาน/องคกรกําลัง สํารอง สํ า หรั บ วั ต ถุ ป ระสงค ข องการกํ า หนดวั น กําลังสํารอง ประกอบดวย ๓ ประการ คือ ๑. เพือ่ เปนการระลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ และเทิดพระเกียรติ รัชกาลที่ ๖ ที่ไดทรงกอตั้ง กองเสือปา อันเปนตนกําเนิดของกําลังสํารอง

๒. เพื่อ ปลุก จิตสํานึก ในความรับผิดชอบ ตอหนาที่ของการเปนกําลังสํารองของชาติ เพื่อ ช ว ยเหลื อ และสนั บ สนุ น ให ป ระเทศชาติ มี ค วาม เจริญและมั่นคงสืบตอไป ๓. เพือ่ เสริมสรางความสัมพันธอนั ดีระหวาง กําลังสํารอง และกําลังประจําการ อันจะนํามาซึ่ง ความสามัคคีของคนในชาติเปนสวนรวม กําลังสํารอง ตามแผนการระดมสรรพกําลัง ของกระทรวงกลาโหม หมายถึง “กําลังที่มใิ ชกาํ ลัง ประจําการและกองประจําการทีเ่ ตรียมไวใชในยาม สงคราม, ยามประกาศกฎอัยการศึก, ยามประกาศ สถานการณฉกุ เฉิน หรือในยามปฏิบตั กิ ารดวยการ ใชกาํ ลังทหารขนาดใหญ เพือ่ ปกปองคุม ครองรักษา เอกราชและอธิปไตยของชาติ หรือเพื่อรักษาความ สงบเรียบรอยและความมั่นคงภายในประเทศ ซึ่ง ประกอบดวยกําลังตาง ๆ คือ กําลังพลสํารอง กํ า ลั ง กึ่ ง ทหาร กลุ  ม พลั ง มวลชนจั ด ตั้ ง โดยมี กฎหมายรองรับ และกลุมพลังมวลชนอื่น ๆ” สําหรับการจัดกิจกรรม “วันกําลังสํารอง” ในวันศุกรที่ ๖ พ.ค. ๕๔ มีหนวยรับผิดชอบ จํานวน ๕ หนวย คือ นรด., ทภ.๑, ทภ.๒, ทภ.๓ และ ทภ.๔ ซึ่งจะมีกิจกรรมที่สําคัญ ไดแก พิธีวางพานพุม ถวายสักการะพระบรมราชานุสาวรีย (หรือพระบรม ฉายาลั ก ษณ ) พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจาอยูห วั , พิธสี งฆ, การเลีย้ งพระทีโ่ รงพยาบาลสงฆ, การมอบโล แ ละเกี ย รติ บั ต รให กั บ ผู  ส นั บ สนุ น กิจกรรมวันกําลังสํารอง, รับประทานอาหารกลางวัน, การไปเยีย่ มและมอบสิง่ ของใหกบั ทหารและตํารวจ ที่ไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติหนาที่ใน ๓ จชต. ณ โรงพยาบาลเหล า ทั พ , การบริ จ าคโลหิ ต , โครงการคลองสวย-นํ้าใสรวมกับกรุงเทพมหานคร และการลงนามถวายพระพรที่โรงพยาบาลศิริราช


สุภาพบุรุษ

นักศึกษาวิชาทหาร พ.ต.หญิง มาริกา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา

“ขาไมตองการตําราเรียนที่เดินได ที่ขาอยากไดนั้น คือ เยาวชนที่เปนสุภาพบุรุษ ซื่อสัตย สุจริต มีอุปนิสัยใจคอดี” พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว

รักษาดินแดน

วารสาร

ระราชดํารัสของลนเกลาฯ รัชกาลที่ ๖ ดังกลาว เปนเสมือนแนวทางสําคัญทีค่ รูทหารจากทุกศูนยฝก และหนวยฝกนักศึกษาวิชาทหาร ไดนอ มนําใชในการปลูกฝงใหเยาวชนมีจติ สํานึกทีด่ ี รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และมีจติ ใจทีเ่ ปนสุภาพบุรษุ มีจติ สาธารณะ เห็นประโยชนของสวนรวมมากอนประโยชนสว นตัวเสมอ จึงอาจกลาวไดวาการเรียน รด. เปนอีกองคประกอบหนึ่งที่รวมสรางคนดี มีจิตสาธารณะใหแกประเทศชาติ

๓๕


๓๖ รักษาดินแดน

วารสาร

ที่กลาวไปขางตนอาจเปนนามธรรมเกินไป วันนี้ “รักษาดินแดนวารสาร” จึงขอนําเรื่องราว ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ของเยาวชนคนดี ที่ มี ตั ว ตนจริ ง ๆ มาเลาสูกันฟง เพื่อใหทุกทานไดรวมกันสรรเสริญ ในคุณความดีของเด็ก ๆ เหลานั้น เหตุการณนี้เกิดขึ้น ณ สถานีรถไฟหัวลําโพง เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๔ มีคณะนักเรียน จากจังหวัดกระบี่รวม ๒๐๐ คน ซึ่งเดินทางมา ทัศนศึกษายังกรุงเทพมหานคร ไดเกิดอาการปวย ดวยโรคอาหารเปนพิษกะทันหันขณะกําลังเตรียม ตัวขึ้นรถไฟกลับบาน เปนที่อลหมานกันทั้งสถานี ในความสับสนอลหมานนี้เอง มีนักศึกษา วิชาทหารกลุมหนึ่งไดมีนํ้าใจเขาชวยเหลือลําเลียง นอง ๆ ผูปวยและขาวของสัมภาระออกจากขบวน รถไฟโดยไมรงั้ รอและไมนกึ ถึงความเหนือ่ ยยากของ ตนเอง ทําใหการลําเลียงเปนไปดวยความรวดเร็ว บรรดาผู ป วยไดรับ การนํา ส งโรงพยาบาลได ทัน ทวงที เจาหนาที่กูชีพกูภัยไดผูชวยเพิ่มเติม ทําให สถานการณ ที่ สั บ สนวุ  น วายสงบลงได ใ นเวลา อันรวดเร็ว ถือวาเปนการกระทําที่เปนประโยชน ตอสังคมอยางมาก เปนที่ประทับใจตอผูพบเห็น เจ า หน า ที่ กู  ชี พ กู  ภั ย เจ า หน า ที่ ตํ า รวจ รวมทั้ ง คณะครู-นักเรียนผูประสบเหตุ สมควรไดรับการ ยกยองชมเชยอยางจริงใจ

สุภาพบุรุษนักศึกษาวิชาทหารกลุมดังกลาว มีดว ยกัน ๓๒ นาย (ดังรายนามทีป่ รากฏ) ทุกคนเปน นศท. ชั้นปที่ ๓ จากโรงเรียนสีกัน (วัฒนานันท อุปถัมภ) เขตดอนเมือง กทม. ซึ่งเพิ่งกลับจาก การฝกภาคสนามและกําลังรอรถไฟเพื่อกลับบาน การชวยเหลือนอง ๆ ที่ไมสบายในครั้งนี้เกิดขึ้น อยางทันทวงที โดยไมตองใหใครสั่ง ไมตองรองขอ แสดงใหเห็นถึงความมีนํ้าใจของ นศท. กลุมนี้ ซึ่งในการนี้ วาที่รอยโท บัญญัติ เสกนําโชค อาสาสมัครหนวยแพทยกชู วี ติ โรงพยาบาลกลาง ไดเปนตัวแทนของเจาหนาที่ทุกคน มีหนังสือมาถึง หนวยบัญชาการรักษาดินแดนและรักษาดินแดน วารสาร เพือ่ ใหไดชว ยกันประกาศเกียรติคณ ุ ในนํา้ ใจ ดังกลาว ดังมีใจความตอนหนึ่งวา... “ในการนี้ กระผมจึ ง ขอกราบเรี ย นผู  บั ญ ชาการหน ว ย บัญชาการรักษาดินแดน ไดประกาศขอบคุณ และประกาศเกี ย รติ คุ ณ ยกย อ งต อ คุ ณ งาม ความดี นั ก ศึ ก ษาวิ ช าทหารกลุ  ม ดั ง กล า ว ใหสงั คมไดรบั ทราบ เพือ่ เปนกําลังใจให นศท. ดังกลาวไดกระทําความดีสืบตอไปและเปน ตัวอยางที่ดีแก นศท. อื่น ๆ อีกทั้งยังเปน การสงเสริมให นศท. มีจิตสาธารณะในการ ชวยเหลือสังคม แมภายนอกจะแตงกายดวย เครื่ อ งแบบที่ น  า เกรงขาม แต ภ ายในจิ ต ใจ


จะตองมีจติ ใจทีโ่ อบออมอารี มีนาํ้ ใจ ถึงจะเปน ชายชาติทหารทีแ่ ทจริง อันเปนการสรางความ ภาคภู มิ ใ จต อ นศท. และเป น ภาพลั ก ษณ ที่ดีของการเปนนักศึกษาวิชาทหารตอไปใน อนาคตอีกดวย” แมวา ขณะนีน้ อ ง ๆ ผูป ว ยทุกคนจะไดเดินทาง กลั บ ถึ ง บ า นอย า งปลอดภั ย แล ว แต เ รื่ อ งราว ความมีนํ้าใจชวยเหลือสังคมโดยไมนิ่งดูดายของ

สุภาพบุรุษ นศท. กลุมนี้ จะเปนอีกหนึ่งตัวอยาง ที่ดีให นศท. อื่น ๆ ไดปฏิบัติตาม อีกทั้งยังเปนการ สงเสริมใหคนที่ทําความดี มีจิตสํานึกสาธารณะ อยูแลว ไดมีกําลังใจในการทําความดีตอไป ซึ่งคุณ ความดีเหลานีล้ ว นเปนสิง่ ทีเ่ รา ๆ ทาน ๆ ปรารถนา ที่จะเห็นเปนอยางยิ่งในสภาพสังคมที่ผูคนหลงลืม การมีนํ้าใจชวยเหลือกันเชนทุกวันนี้

หนวยบัญชาการรักษาดินแดน

ขอยกยองชมเชย “สุภาพบุรุษจากโรงเรียนสีกัน (วัฒนานันทอุปถัมภ) นักศึกษาวิชาทหาร” ทั้ง ๓๒ นาย ดังรายนามตอไปนี้ คุนผลิน กองนฤต คธาชาง ทองทิพย พารวย สียางนอก วงศนพรัตน พันธนาเสวี ยอดเจริญ ตุมเลียง จิตตหาญ

นศท.เกริกไกร นศท.กิตติชัย นศท.ณัฐวุฒิ นศท.อานุภาพ นศท.ชาคริต นศท.ณัฐวัฒน นศท.สุพีศิน นศท.ภาณุเดช นศท.อนุชา นศท.จรูญวิทย นศท.ธีรพัชร

สุขชาติ ทับทอง มะแปนไพร อาทิเวช ชูชาติ แตมเกิด สุขโร ศักดิ์ดี วรรักษ โมกจวานนท ใจเดช

นศท.โชติเวทย นศท.เสกสรรค นศท.อพิเชษฐ นศท.สุพรเทพ นศท.วันครู นศท.ปยสวัสดิ์ นศท.นราดร นศท.กิตติกร นศท.นันพิพัฒน นศท.รุงทิวา

กูโปรง ชะพลพรรค หนูแกว ศรีศักดิ์ ชูพุทธพงษ สินทรัพย สงสังข พึ่งตน เลิศยุทธนาชัย หานกาน

รักษาดินแดน ๓๗ วารสาร

นศท.ติณณ นศท.ภัทรนนท นศท.ธนวัตร นศท.ณัฐพล นศท.หัตถพงศ นศท.พุฒิพงษ นศท.ณัฐนนท นศท.นิธินันท นศท.อารินทร นศท.ประวิทย นศท.ณัฐวุฒิ


ศสร. เปลี่ยนชื่อถนนและเสนทางเขา-ออกในพื้นที่ กยข.ศสร.

ดวย พล.ต.ไพโรจน พนาเวศร ผูบัญชาการศูนยการกําลังสํารอง (ผบ.ศสร.) ไดกรุณาอนุมัติ ใหตั้งชื่อถนนและเสนทางเขา-ออก ภายในพื้นที่ ศูนยการกําลังสํารอง (ศสร.) ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพฯ เพื่อใหขาราชการ ศสร. นักศึกษาวิชาทหาร และประชาชนทั่วไปที่มา ติดตอราชการ ไดทราบถึงเสนทางตาง ๆ ดังนี้

๓๘ รักษาดินแดน

วารสาร

๑. “ถนนเสือปา” : เริม่ ตัง้ แตถนนดานหนา คลัง สป.๕ - เสาธง รร.รด.ศสร. - สวนวชิรญาณ ลานวรรณสมิต - สนามเด็กเลนขางแฟลต ป.๓ ๒. “ถนน รด.” : เริ่มตั้งแตถนนดานหนา คลัง สป.๓ - โรงอาหาร รร.รด.ศสร. - แผนกขนสง - โรงกรองนํ้า - แฟลต ป.๔ ๓. “ถนนเสือปาเหนือ” : เริ่มตั้งแตถนน ดานหนาสนามเด็กเลนขางแฟลต ป.๓ - แฟลต ป.๒ - แฟลต ป.๑ - สนามเด็ ก เล น ด า นหน า แฟลต น.๑ ๔. “ถนนเสือปาใต” : เริ่มตั้งแตถนนดาน หนาคลัง สป.๕ - สนามยิงปนวิภา ๑ - คลังแผนก สนับสนุน รร.รด.ศสร. - หองเรียน ๕

๕. “ซอยเสื อ ป า ๑” : เริ่ ม ตั้ ง แต ซ อย ดานหนาสวนวชิรญาณ - คลังอาวุธ รร.รด.ศสร. แผนกขนสง ๖. “ซอยเสื อ ป า ๒” : เริ่ ม ตั้ ง แต ซ อย ดานหนาคลัง สป.๕ - หองเรียน ๒ - หองเรียน ๑ สนามกีฬาเปตอง ๗. “ถนนประตู แ ดง” : ถนนด า นหน า กองรักษาการณ ๘. “ถนนประตู เ ขี ย ว” : ถนนด า นหน า แฟลต ป.๑ ๙. “ถนนประตูดํา” : ถนนดานหลังคลัง สป.๓ - ดานหลังโรงอาหาร รร.รด.ศสร. จึงขอแจงมาใหทราบโดยทั่วกัน


บทความดีเดน นศท.

““แม”

นศท.หญิง อังกฤษ บุรกสิกร ชั้นปที่ ๔ กองรอย ๔๐๑ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

ภายใตก ารเติบ โตที่พบเห็น แตการ ปกครองของผู  นํ า ที่ เ ป น ชาย ทํ า ให เ กิ ด คําถามขึ้นภายในใจของฉันวาจะมีหญิงใด ที่ ยิ่ ง ใหญ แ ละเป  ย มด ว ยความเสี ย สละ ยิ่งกวาผูนําชายหรือไม? ซึ่งฉันก็ไดคนพบ คําตอบของคําถามวาคงจะมีแตหญิงคนนี้ คนเดียวเทานั้นก็คือ “แม” นั้นเอง สําหรับฉันแลว “แม” มิใชเพียงผูหญิงผูให กําเนิดเทานั้น หากแตทานยังเปนหญิงผูเสียสละ แรงกายแรงใจและหยาดเหงือ่ เพือ่ เลีย้ งดูและอบรม สั่งสอน ฉันจึงเติบโตเปนคนดีอีกคนหนึ่งในสังคม

เนื่องในโอกาสวันคลายวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ และยังเปน “วันแมแหงชาติ” หนวยบัญชาการรักษาดินแดน โดย ศูนยการกําลังสํารอง ไดจัดกิจกรรม “นศท. ซาบซึ้งพระคุณแม” ไดจัดประกวดบทความเทิดทูน พระคุณแม และยังเชิญคูแมลูกตัวแทนสถานศึกษา ตาง ๆ มาพบปะกัน เมื่อ ๒๓ ก.ค. ๕๔ โดยมี พล.ต.ไพโรจน พนาเวศร ผบ.ศสร. เปนประธานในพิธี

ไมวา จะดือ้ รัน้ เพียงใด แมกไ็ มเคยละความพยายาม ที่อบรมบมนิสัยใหฉันใหฉันเปนคนดี ยามที่ลูก อยางเราถึงคราวหิวโซ แมของเราก็จัดการหุงหา อาหารดูแลความเปนอยูของเรากอนจนลืมใสใจ

รักษาดินแดน

วารสาร

รางวัลชนะเลิศ

๓๙


๔๐ รักษาดินแดน

วารสาร

ก็แตตัวเราเองเทานั้น ที่ ตัวทานเอง เห็นเปนเชนนี้ แลวฉันคงไมอาจปฏิเสธ “คงไมยากเย็นแสนเข็ญเกินไป จะลึกซึ้งตระหนักถึงความ ได เ ลยวายอดหญิงเพียง หากเราจะหวนกลั บ ไปเป น หมายของคํ า ว า “แม ” ที่ มี ต  อ ลู ก ได เ ป น อย า งดี หนึ่ ง เดี ย วที่ ทุ ม เทเพื่ อ ฉั น ฝ า ยให แ ละดู แ ลท า นบ า งไม ใ ช เกินกวาใคร ๆ มานานเกือบ ๒๐ ป และ หญิงเพียงคนเดียว สามารถทํ า หน า ที่ ข อง เฉพาะวันแม...” ที่เลี้ยงดูและมอบสิ่งดี ๆ แม ไ ด อ ย า งไม ข าดตก บกพรอง ก็คงมีแต “แมของฉัน” เทานั้น ซึ่งทาน ให เ รามาตั้ ง แต ถื อ กํ า เนิ ด คงไม คิ ด หวั ง สิ่ ง ใด ยังเปนแบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตนดังคํากลาว ตอบแทนเพียงปรารถนาใหเราเปนคนดีคนหนึ่ง ของสั ง คม เพี ย งเท า นี้ ที่ ท  า นต อ งการ มี ห รื อ ที่วา สิบคําสอนไมเทาปฏิบัติเปนแบบอยาง จะมี ห ญิ ง ใดนางใดอี ก เล า ที่ จ ะยอมเหน็ ด เราจะใหทานบางไมได? และมันคงไมยากเย็น เหนื่อย เมื่อยลา ทุมเทและเสียสละใหแกเราโดย แสนเข็ญเกินไป หากเราจะหวนกลับไปเปนฝายให ไมหวังสิ่งตอบแทนไดอยางแมของเรา จะมีหญิงใด และดูแลทานบาง มิใชเพียงเฉพาะวันแม แตจงรัก ยอมเจ็บปวดเพือ่ ใหเราไดถอื กําเนิดและดืม่ กินเลือด และดูแลทานในทุกวัน ที่เรายังมีแม เชนนั้นแลว จากอกที่กลั่นเปนนํ้านมอุน ๆ นอกจากคนเปนแม เราคงไดรูสึกดีมีคุณคาเมื่อไดตอบแทนพระคุณ จะมีมือคูใดคอยประคับประคองเราดวยปรารถนา ของทานบางอยางที่ลูกนอย ๑ คน พอจะทําได ดีอนั เปย มไปดวยความรักความเอ็นดู นอกเสียจาก สิ่ ง ที่ เ ราให ท  า นไปเพี ย งสิ่ ง ที่ เ ล็ ก น อ ยและเที ย ม มื อ คู  นี้ ข องแม เ รานี่ เ อง เมื่ อ ยิ่ ง พิ นิ จ พิ เ คราะห ไมตดิ ฝุน เลยสักนิดกับสิง่ ทีท่ า นทําเพือ่ เรามา ซึง่ นัน้ ใหละเอียดถีถ่ ว นถึงพระคุณอันยิง่ ใหญนแี้ ลว เห็นที ควรทําใหเราทุกคนยอมรับกันถวนหนาวาหญิง คําจํากัดความของคําวา “แม” ดูจะละเอียดลออ ผูย งิ่ ใหญในชีวติ ของเราทุกคนนัน้ ก็คอื คนคนนีน้ เี่ อง และลึกซึ้งเกินกวาจะเรียงรอยเปนถอยคําได คงมี “แมของเรา”


บทความดีเดน นศท.

“พระคุณใด..เทาพระคุณแม”

นศท.อรรถกร เทพสิทธิ์ ชั้นปที่ ๓ โรงเรียนเทพศิรินทร

มาแมทายาให...ทุกครั้งที่เจอหนาแมมักจะถามวา หิ ว หรื อ ยั ง อยากกิ น อะไรเดี๋ ย วแม ทํ า ให กิ น ... แมถามไถเรื่องราวตาง ๆ ในแตละวัน ถึงวันไหน เราไมมีเวลาจะคุยกับทาน ทานก็มีความสุขที่แค จะไดถามวาเรามีความสุขดีหรือเปลา...วันไหนที่มี เรื่องทุกขรอนนอนไมหลับ แมก็จะรองเพลงกลอม จนนอนหลับฝนดี... แลววันนีเ้ ราไดยอ นกลับไปถาม แมของเราบางหรือยังวา คุณแมกินขาวแลวรึยัง แมอยากกินอะไรไหม หรือวันนีแ้ มไปไหนมา บางที การใหเวลาใสใจในคําพูดอะไรเล็ก ๆ นอย ๆ เหลานี้ เปนการสรางความสุขทีย่ งิ่ ใหญได แตทมี่ ากไปกวา นั้นคือ การทําสิ่งเหลานี้จนเปนนิสัยในทุก ๆ วัน และใชชีวิตทุกวินาทีอยูกับการใหความรักกับคน ในครอบครัว นี่แหละ คําวา “แม” ของผม ดังนั้น วันแมของผมจึงมีตลอดทั้งปหรือ ๓๖๕ วัน เพราะ แมมีความสําคัญตอผมมาก

รักษาดินแดน

วารสาร

ทุ

กชีวติ ทีเ่ กิดมาบนโลกใบนีย้ อ มมี “แม” เปนผูเลี้ยงดู ฟูมฟก ใหเราดําเนินชีวิต ไปในแนวทางที่ถูกที่ควร “แม” ยอมเสียสละทุกสิ่ง ทุกอยางใดเพือ่ ลูกตนมีชวี ติ ทีด่ ี มีความสุข ถึงแมวา จะตองเหนือ่ ย ทอแทมากแคไหนก็ตาม การที่ “แม” ทําทุกอยางเชนนี้ไดก็เพราะ ความรัก ความเปน หวงที่มีตอลูก ซึ่งความรักเชนนี้ไมมีความรักใดมา เทียบเทียมรักอันยิ่งใหญของ “แม” ได ถึงแมวา เราจะตองอยูหางไกล “แม” สักเพียงใด เขาก็ยัง คงรัก คิดถึงและเปนหวงเสมอ และไมมีวันลดนอย ลงไปกวาเดิมเลย สํ า หรั บ ผมคํ า ว า “แม ” นั้ น หมายถึ ง คน คนหนึ่ง ซึ่งใชชีวิตธรรมดาทั่วไป และพรอมจะเปน ทุกอยางใหกับผม ทานเปนผูที่คอยประคองเราทุก เมื่อ ไมวาเราจะเปนอยางไร ในทุก ๆ วัน ทุกยาง กาวที่เราเดินไปในโลกใบนี้ เมื่อยามที่ผมหกลม แม ข องผมจะเดิ น มาพร อ มยาเสมอแล ว บอกว า

รางวัล รองชนะเลิศ

๔๑


“ดอกมะลิที่ผมเตรียมมาดวยใจในวันนี้ จึงเปนนิมิตอันดียิ่ง ที่ผมตองการนํามากราบทาน เพื่อขอพรจากทานและนําความ เปนสิริมงคลแหงชีวิตใหกับตนเอง” ในวันนี้ เราไดหันกลับมามองตนเองบาง ไหมวาเราไดทําอะไรให “แม” ตองเสียใจ ตอง เหน็ดเหนือ่ ยหรือทุกขใจมากเพียงใด แตจะอยางไร หรือมากไปกวานี้ ผมคิดวา “แม” ของทุกคนก็ยัง ยิ้มและพรอมที่จะใหอภัยผูเปนลูกเสมอ นั่นแสดง ใหเห็นวา สิ่งที่ผูเปนลูกตองกระทําตอผูเปน “แม”

๔๒ รักษาดินแดน

วารสาร

พระคุณใดไหนเลาเทาคุณแม เฝาปลอบโยนลูกรักใหบรรเทา คอยปรนเปรอลูกดั่งดวงแกว คอยปองปกลูกรักยามซุกซน สรางทุกอยางเพื่อใหลูกพบสุขสันต เพียงแคใหลูกนอยรอดปลอดภัย

นั้นควรจะทําอยางไรบาง เพียงแคเราพูดออกไปวา “แม” เหนื่อยไหม หรือ รัก “แม” จัง แคนี้มันก็ดี กวาที่เราไมไดทําอะไรเลย ไมมีรักใด ยิ่งใหญเทา รักของ “แม” และไมมีความคิดถึงใด ยิ่งใหญเทา ความคิดถึงของ “แม” ดังนั้นบทสรุปของแมที่ผม อยากมอบใหแมของทุกคนในวันนี้ จึงเปนดังนี้ เปนรักแทบริสุทธิ์ดุจเมฆขาว หายโศกเศรา เหงาใจ คลายกังวล ใหคาดแคลวแผวพาลหายสับสน แมยอมทนเพราะรักลูกดั่งดวงใจ แมนชีวันก็พลีไดมิเหือดหาย ทั่วแดนไตรคุณแมเลิศประเสริฐเอย


ปนใหญ หนากระทรวงกลาโหม

พ.ท.นรินทรพร ขุมนาค

มีโอกาสผานไปทางวัดพระศรีรัตนศาสดารามหลายตอหลายครั้ง ทุกครั้งที่มองศาลาวาการ กระทรวงกลาโหมรูสึกไดเสมอมาวา อาคารเกาแกหลังนี้สวยงามสมกับเปนที่ทําการของหนวยงานดาน ความมั่นคงของชาติ ยิ่งไปกวานั้นเมื่อเห็น “ปนใหญ” ที่ตั้งเรียงรายไวบริเวณสนามดานหนารอบเสา ธงดวยแลว บงบอกไดเลยวาแสนยานุภาพของกองทัพไทยในอดีตนาเกรงขามไมแพชาติใดในภูมิภาคนี้  ในอดีต

“ปืนใหญ่” เปนอาวุธที่มีบทบาท ส�าคัญต่อกองทัพไทยเพียงใด

รักษาดินแดน

วารสาร

รำชพงศำวดำรเมื อ งเหนื อ ได้ ก ล่ ำ วถึ ง “ปืนใหญ่” ของไทยไว้ว่ำพระยาเมืองพสุจราช ศรีสัชนาลัย ทรงมีรำชสำสน์ไปถึงพระเจ้ำกรุงจีน เพือ่ ทูลขอช่ำงหล่อสัมฤทธิ์ ถม ปัด จ�ำนวน ๑๐ คน มำท�ำกำรหล่อปืนใหญ่ จ�ำนวน ๑๒๐ กระบอก ทั้งนี้มีหลักฐำนกำรตั้งป้อมค่ำยที่มีช่องปืนใหญ่

4๓


อยูร่ อบก�ำแพงเมืองศรีสชั นาลัยตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๑๕๙๕ ทั้ ง ปรากฏหลัก ฐานว่ า มี ก ารใช้ ป ื น ใหญ่ ค รั้ ง แรก ในสงครามระหว่ า งโยนกเชี ย งแสนของพระเจ้ า พรหมมหาราช กับศรีสชั นาลัยของพระเจ้าพสุจราช ในปี พ.ศ. ๑๕๙๙ ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามี ก ารใช้ ป ื น ใหญ่ เพื่อการรบอย่างกว้างขวาง เช่น มีการวางปืนใหญ่ ไว้รอบก�ำแพงเป็นระยะ ๆ ห่างกันราว ๕ วา เป็น ระยะทางถึง ๑๒ กม. เพื่อการป้องกันพระนคร ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ต่อมาเมื่อคราว เสียกรุง ครั้งที่ ๒ พม่าได้ขนปืนใหญ่กลับหงสาวดี ไปจ�ำนวนหนึง่ ทีเ่ หลือได้ทำ� ลายจนเสียหายทัง้ หมด ครั้ น ในสมั ย กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ มี ก าร ใช้ ป ระโยชน์ จ ากปื น ใหญ่ ม ากที่ สุ ด เห็ น จะเป็ น ในปี พ.ศ. ๒๓๒๘ ครั้งสงครามเก้าทัพ คราวนั้น กรมพระราชวั ง บวรมหาสุ ร สิ ง หนาทได้ มี พระบัณฑูรให้เอาปืนใหญ่และปืนปากกว้างที่ใช้ ท่ อ นไม้ เ ป็ น ลู ก กระสุ น ยิ ง ต่ อ สู ้ กั บ กองทั พ พม่ า จนสามารถท�ำลายป้อมค่ายและหอรบของพม่า พังลงราบคาบ ทัง้ ไพร่พลของพม่ายังถูกลูกปืนใหญ่ กองทั พ ไทยที่ ท� ำ ด้ ว ยไม้ ล ้ ม ตายจ� ำ นวนมาก จนท�ำให้ไม่กล้าออกนอกค่าย

44 รักษาดินแดน

วารสาร

เสือร้ายเผ่นทะยาน

 ปืนใหญ่หน้าศาลาว่าการกระทรวงกลาโหม

ได้มาจากไหน

ปืนใหญ่ทตี่ งั้ ไว้บริเวณหน้ากระทรวงกลาโหม นั้นมีอยู่ด้วยกัน ๔๒ กระบอก มีทั้งสร้างมาตั้งแต่ ในสมัยอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ กลุ่ม ประกอบด้วย ๑. ปืนที่หล่อในประเทศไทย มีอยู่ด้วย กัน ๒ ประเภท ได้แก่  ปื น ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธ ยอดฟ้าจุฬาโลกทรงโปรดให้สร้าง  ปืนที่หลวงบรรจงรจนาเป็นผู้สร้าง ๒. ปื น ที่ ซื้ อ หรื อ สั่ ง หล่ อ มาจากต่ า ง ประเทศ ได้แก่ สเปน ฝรั่งเศส และโปรตุเกส ส�ำหรับช่างหล่อปืนชาวต่างประเทศที่มีชื่อเสียง ในขณะนั้นคือ ยาเดอร์ ลาครัวซ์ และเจ เบอร์ รังเยร์ ๓. ปืนที่ได้มาจากการท�ำศึกสงคราม ๔. ปืนที่ไม่ปรากฏที่มา ชือ่ ของปืนก็เป็นสิง่ ทีน่ า่ สนใจ บางกระบอก ได้รบั การตัง้ ชือ่ อย่างวิจติ รพิสดาร เช่น ไตรภพพ่าย พระพิรุณแสนห่า หรือคนธรรพแผลงฤทธิ์ ตั้งชื่อ เพื่อให้ไพร่พลให้เกิดความฮึกเหิมก็มี เช่น พรหม มาศปราบมาร ถอนพระสุเมรุ หรือเสือร้ายเผ่น ทะยาน ตั้งชื่อที่คล้องจองกันอย่างเช่น นารายณ์ สังหาญ มารประไลย ไหวอรนพ เป็นต้น นอกจากนี้ ชื่อของปืนบางกระบอกยังบ่ง บอกถึงอาณาเขตของประเทศในสมัยโบราณว่า แผ่ ข ยายออกไปไกลเพี ย งใดด้ ว ย ตั ว อย่ า งเช่ น มุหงิดหลวงฟัน (มุงิด คือชาวชวาพวกหนึ่งอาศัย อยูแ่ ถว ๆ เกาะเชลีเบส) มักกะสันแหกค่าย (มักกะสัน คื อ ชาวมุ ส ลิ ม ที่ ม าจากประเทศอิ น โดนี เ ซี ย )


นารายณ์สังหาญ ปืนใหญ่พระมหาฤกษ์ หูจับยกท�ำเป็นลายกนก หน้าสิงห์ เพลา ล�ำกล้องสลักรูปราชสีหเ์ ผ่น พญานาค กินรี ดอกไม้ รูส�ำหรับจุดชนวนก็ท�ำเป็นรูปหนุมาน, นก, ใบไม้ และคนมีปีก เป็นต้น  มารู ้ จั ก ปื น ใหญ่ ห น้ า กระทรวงกลาโหม

ที่ส�ำคัญกันเถอะ

ปืนพระมหาฤกษ์ และปืนพระมหาชัย เป็นปืนคู่แฝดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุ ฬ าโลกทรงโปรดให้ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ อื่ น ในกองทั พ นอกจากการใช้ เ ป็ น อาวุ ธ โดยปื น พระมหาฤกษ์ ใช้ยงิ เพือ่ เป็นสัญญาณในการยกทัพ ส่ ว นปื น พระมหาชั ย นั้ น ใช้ ยิ ง เพื่ อ เป็ น สั ญ ญาณ ให้ ไ พร่ พ ลทราบว่ า กองทัพ มีชัย เหนือ ข้ า ศึก แล้ ว ปืนใหญ่ทั้งสองกระบอกมีขนาดเท่ากัน คือ ยาว ๒ เมตร ๒๐ เซนติเมตร ปากล�ำกล้องกว้าง ๑๑๕ มิลลิเมตร หล่อด้วยสัมฤทธิ์ ปืนอัคนิรุท เป็นปืนที่เก่าแก่ที่สุดในกลุ่ม ปื น ใหญ่ ที่ ตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณหน้ า กระทรวงกลาโหม สันนิษฐานว่าหล่อขึน้ ใน ปี พ.ศ. ๒๑๖๗ จากประเทศ สเปน สร้างด้วยทองสัมฤทธิ์ ล�ำกล้องปืนมีรูปปีก และดาวซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของประเทศสเปน

รักษาดินแดน

วารสาร

ยวนง่ า ง้ า ว (ยวน หมายถึ ง ประเทศเวี ย ดนาม ในปั จ จุ บั น ) หรื อ ตั้ ง ชื่ อ ตามแหล่ ง ที่ ไ ด้ ป ื น ใหญ่ กลับมาจากการท�ำศึกสงคราม เช่น ชะนะหงษา ปราบอังวะ (หมายถึงเมืองหงษาวดี และเมือง อังวะ ในประเทศพม่า) โดยทั่ ว ไปปื น ส่ ว นใหญ่ มั ก หล่ อ ด้ ว ยทอง สัมฤทธิ์ ซึ่งเป็นโลหะที่คนโบราณมักน�ำมาใช้หล่อ พระพุ ท ธรู ป ด้ ว ยเพราะคุ ณ สมบั ติ ท างเคมี ที่ มี เนื้อละเอียดเป็นมันวาว เหนียว และทนความร้อน พอสมควร เมื่อหล่อออกมาแล้วท�ำให้ได้ชิ้นงานที่มี ความสวยงาม ถึง แม้ป ืนจะถูกสร้ างขึ้นเพื่อวัตถุป ระสงค์ ในการท�ำลายล้าง หรือประหัตประหารกันก็ตามที ผู้สร้างก็ยังบรรจงสลักเสลาลวดลายอย่างงดงาม ลงในทุกส่วนของตัวปืน ถ้าเป็นปืนที่หล่อในประเทศไทย โดยมาก ผู้สร้างจะใช้ลวดลายแบบไทย เช่น ลายคร�่ำเงิน คร�่ำทองบนล�ำกล้องปืน ส่วนปืนที่หล่อจากต่าง ประเทศก็จะท�ำเป็นรูปมงกุฎ รูปนก หรือไม่ก็เป็น สัญลักษณ์ของประเทศผู้ผลิตนั้น ๆ รังเพลิงท้ายล�ำกล้องก็เป็นส่วนส�ำคัญอีก แห่งหนึ่งที่ช่างท�ำปืนใหญ่สมัยโบราณใช้สังสรรค์ งานศิลป์ส่วนมากจะท�ำเป็นรูปสังข์ หรือเขางอน ประกอบลายต่าง ๆ เช่น กระจัง ลูกฟัก หรือบ้าง ก็ท�ำเป็นรูปดอกไม้

45


ปืนอัคนิรุท

ปืนพิรุณแสนห่า

ปืนพระอิศรปราบจักวาฬ

ปืนพญาตานี

46 รักษาดินแดน

วารสาร

ปืนพิรุณแสนห่า เป็นปืนที่สมเด็จพระเจ้า ตากสินมหาราช ทรงให้หล่อขึ้นที่วังหลัง (บริเวณ สวนมังคุด) เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๓๒๐ ในพระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ บันทึก ไว้วา่ อ�ำนวยการสร้างโดยเจ้าพระยามหากษัตริยศ์ กึ สร้างด้วยทองสัมฤทธิ์ ประดับลวดลายบนล�ำกล้อง ปืน รูชนวนมีรูปกนกหน้าสิงห์ขบ ส่วนท้ายเป็น รูปลูกฟัก มีห่วงส�ำหรับยก ๔ ห่วง ปืนอิศวรปราบจักรวาฬ พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงโปรดให้หล่อขึน้ ทีห่ น้า โรงละครใหญ่ บริเวณประตูวเิ ศษไชยศรีเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๓๓๐ สร้างด้วยทองสัมฤทธิ์ ล�ำกล้องประดับด้วย ลวดลายกนกหน้าสิงห์สวยงามมาก รูชนวนเป็น รูปคนมีปีก และมีรูปกินรีอยู่เพลาทั้งสองข้าง ปืนพญาตานี ปืนที่กระบอกใหญ่และยาว ที่สุด ทั้งประวัติก็น่าสนใจ ปืนพญาตานีหล่อด้วย ทองสัมฤทธิ์ ยาว ๓ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๒ นิ้วครึ่ง

ปากกระบอกกว้าง ๑๑ นิ้ว ล�ำกล้องปืนเกลี้ยงไม่มี การประดับลวดลาย ส่วนท้ายล�ำกล้องท�ำเป็นเครือ่ ง ประกอบรูปสังข์ เพลาสลักเป็นรูปราชสีห์สวยงาม มาก มีห่วงจับยกขนาดใหญ่ ๔ ห่วง น่าเกรงขาม ตามประวัตเิ มืองปัตตานีกล่าวว่า นางพญาปัตตานี ศรี วั ญ เจ้ า เมื อ งปั ต ตานี ใ นสมั ย นั้ น ได้ สั่ ง ให้ ชาวจี น ฮกเกี้ ย นชื่ อ ลิ้ ม โต๊ ะ เคี่ ย ม หล่ อ ขึ้ น เพื่ อ ป้องกันการรุกรานของกองทัพสยาม จ�ำนวน ๓ กระบอก ได้แก่ พญาตานี ศรีนาครี และมหาเลลา ปื น พญาตานี ได้ เ ดิ น ทางมาถึ ง กรุ ง เทพ มหานคร โดยกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ทรงเป็นผู้น�ำกลับมา เมื่อครั้งเสด็จน�ำทัพไปรบกับ พม่าซึ่งยกมาตีหัวเมืองทางใต้ เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๒๙ จากนั้นก็เสด็จไปปราบหัวเมืองทางมาลายูที่มัก เอาใจออกห่างจากไทยอยู่เสมอ เมื่อได้รับชัยชนะ จึงทรงด�ำริที่จะน�ำปืนใหญ่กลับมาถวายพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก จ�ำนวน ๒ กระบอก ได้แก่ ปืนพญาตานี และปืนศรีนาครี แต่ระหว่าง ขนขึ้ น เรื อ รบหลวง เรื อ ที่ บ รรทุ ก ปื น ศรี น าครี เกิดอุบัติเหตุล่มท�ำให้ปืนจมหายในอ่าวปัตตานี จึงน�ำกลับมาได้เพียงปืนพญาตานีเท่านั้น แม้ในปัจจุบัน วิทยาการสมัยใหม่จะท�ำให้ ปืนหน้ากระทรวงกลาโหมหมดหน้าทีใ่ นการป้องกัน ประเทศไปแล้วก็ตาม ก็ยังหวังว่าเมื่อใดที่เราท่าน เดินผ่านในครัง้ ต่อ ๆ ไป ปืนทัง้ ๔๒ กระบอก จะได้ มีโอกาสบอกเล่าถึงความกล้าหาญ ความเสียสละ ของบรรพชนไทยในอดีตที่ยอมสละชีวิตเลือดเนื้อ รักษาผืนแผ่นดินไทยเอาไว้ด้วยความเหนื่อยยาก เพือ่ เตือนใจอนุชนรุน่ หลังให้มคี วามรัก ความสามัคคี และหวงแหนในแผ่ น ดิ น ... นอกเหนื อ จากการ ท�ำหน้าที่เป็น “ปืนใหญ่” วัตถุโบราณของชาติ แต่เพียงอย่างเดียว


มุมจพระเครื ่อง า ทาพระจันทร

www.thaprachan.com

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทรงบรรจุพระเครื่อง ๒ องคไวที่ยอด ธงชัยเฉลิมพล (ธงปราบฮอ) หนึง่ ในนัน้ คือ “พระคงดํา” หรือ “พระลําพูนดํา” การทีพ่ ระองคทรงเลือก พระลําพูนดําไวในยอดธงชัยเฉลิมพลนี้ พระองคจะตองทรงทราบถึงอภินิหารและพุทธานุภาพของ พระลําพูนดําเปนแนแท มุมพระเครือ่ งฉบับนีจ้ งึ ขอนําทานไปรูจ กั กับ “พระคงดํา” หรือ “พระลําพูนดํา” พระศักดสิทธิ์แหงเมืองหริภุญชัย พ อ ขุ น เม็ ง รายมหาราช ผู  ร วบรวมแว น แคว น ทางเหนือเขาเปนอาณาจักรลานนา เมื อ งลํ า พู น ถึ ง แม ว  า จะตกอยู  ภ ายใต การปกครองของอาณาจั ก รล า นนาแต ก็ ไ ด เ ป น ผู  ถ  า ยทอดมรดกทางศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมให แกผูที่เขามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไป ใน เวียงกุมกาม เชียงใหมและเชียงราย เมือง ลํ า พู น จึ ง ยั ง คงความสํ า คั ญ ในทางศิ ล ปะและ วั ฒ นธรรมของอาณาจั ก รล า นนา จนกระทั่ ง สมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช เมืองลําพูน จึงไดเขามาอยูในราชอาณาจักรไทย มีผูครองนคร สืบตอกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร ตอมา ภายหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕

รักษาดินแดน ๔๗ วารสาร

แตกอนอื่นผมขอแนะนําประวัติของจังหวัด ลําพูนใหทานไดทราบกอน ดังตอไปนี้ครับ... จังหวัดลําพูน เดิมชื่อ “เมืองหริภุญชัย” เปนเมืองโบราณ มีอายุประมาณ ๑,๓๔๒ ป ตามพงศาวดารโยนกเลาสืบตอกันถึงการ สรางเมืองหริภุญชัยวา ฤๅษีวาสุเทพเปนผูเกณฑ พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสรางเมือง นี้ขึ้น ในพื้นที่ระหวางแมนํ้าสองสายคือ แมนํ้า กวงและแมนาํ้ ปง เมือ่ มาสรางเสร็จไดสง ทูตไปเชิญ ราชธิดากษัตริยเมืองละโว พระนาม “จามเทวี” มาเป น ปฐมกษั ต ริ ย  ป กครองเมื อ งหริ ภุ ญ ชั ย สืบราชวงศกษัตริยตอมาหลายพระองค จนกระทั่ง ถึงสมัยพระยายีบาจึงไดเสียการปกครองใหแก


พระคงลําพูน

พระบางลําพูน

๔๘ รักษาดินแดน

วารสาร

เมือ่ เจาผูค รองนครองคสดุ ทาย คือ พลตรี เจาจักรคํา ขจรศักดิ์ ถึงแกพิราลัย เมืองลําพูนจึงเปลี่ยนเปน จังหวัด มีผูวาราชการจังหวัดเปนผูปกครองสืบมา จนกระทั่งถึงปจจุบัน ทุกวันนี้เรารูจักลําพูนในฐานะที่เปนจังหวัด ที่มีขนาดเล็กที่สุดของภาคเหนือ ดวยขนาดพื้นที่ ประมาณ ๔,๕๐๕.๘๘๒ ตร.กม. และอยูในกลุม จั ง หวั ด ภาคเหนื อ ตอนบน แต ที่ สํ า คั ญ ลํ า พู น ได ก ลายเป น พื้ น ที่ ที่ มี ศั ก ยภาพในการพั ฒ นา เป น ศู น ย ก ลางความเจริ ญ ของภาคเหนื อ ตอน บน และอนุภูมิภาคลุมนํ้าโขง หรือพื้นที่สี่เหลี่ยม เศรษฐกิจ รวมกับจังหวัดเชียงใหม สั ญ ลั ก ษณ ป ระจํา จัง หวัด ลํา พู น คือ รู ป พระธาตุหริภุญชัย จากภาพ เจดียในดวงตรา หมายถึ ง พระธาตุ ห ริ ภุ ญ ชั ย ซึ่ ง กล า วกั น ว า มี พ ระบรมธาตุ ข องพระพุ ท ธเจ า ประดิ ษ ฐานอยู  นั บ เป น ปู ช นี ย สถานสํ า คั ญ เป น ที่ เ คารพนั บ ถื อ ของชาวเมืองและจังหวัดใกลเคียง ส ว นคํ า ขวั ญ ประจํ า จั ง หวั ด กล า วว า “พระธาตุเดน พระรอดขลัง ลําไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย”

พระคงดํา กรุวัดมหาวัน จว.ลําพูน

รูจักกับจังหวัดลําพูนกันคราว ๆ แลว กลับ มาคุยกันตอถึงเรื่องประวัติแหง “พระคงดํา” หรือ “พระลําพูนดํา” กันดีกวา ในแผ น ดิ น ของสมเด็ จ พระพุ ท ธเจ า หลวง พระป ย มหาราชเจ า แห ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร มี พระเครื่อ งปรากฏอยู ห ลายชนิด แตละชนิดก็มี อานุ ภ าพและพุ ท ธานุ ภ าพมากมายแตกต า งกั น เชน พระรวง, พระหูยาน, พระนารายณทรงปน, เขมรขนนก, พระนางพญา, พระผงสุพรรณ, พระ รอด, พระกําแพง, ปรุหนง, เหยี่ยวดํา, เหยี่ยวแดง, พระชินราช, นางตรา, ทาเรือ, ยอดธง, ทากระดาน ฯลฯ แตพระองคกลับทรงเลือกเอาพระจากเมือง หริ ภุ ญ ชั ย (ลํ า พู น ) โดยทรงเลื อ กที่ จ ะบรรจุ พระลําพูนคงดําไวที่ยอดธงชัยเฉลิมพลธงแรก ของกองทัพไทย และทหารหาญไทยก็นําธงชัย เฉลิ ม พลธงนี้ ไ ปรบและปราบปรามอริ ร าชศั ต รู จนสงครามสงบราบคาบ จึ ง เป น ที่ เ ชื่ อ ได ว  า พระป ย มหาราชเจ า จะตองทรงรูซึ้งถึงอภินิหารและพุทธานุภาพของ พระลําพูนดําวามีมากกวาพระเครื่องหลายชนิด และทรงไววางใจในอานุภาพของพระลําพูนดําได จึงไดทรงนําไปบรรจุไวในยอดธงชัยเฉลิมพล


การที่ไดเขียนเรื่องนี้ขึ้นมา ก็เพื่อใหทาน ทั้งหลายทราบวา พระคงดํา (พระลําพูน) มี มหิทธานุภาพ อภินิหาร และพุทธานุภาพแนแท อยางหาที่สงสัยมิได ตํานาน “จามเทวี” ประวัติเดิมแตโบราณ กลาวไววา มีฤๅษีสี่องคนามวา พระสุเทวฤๅษี พระ สุกกทันตฤๅษี พระสุพรหมฤๅษี พระสุมนนารทฤๅษี พระฤๅษีทั้งสี่ไดรวมมือรวมใจกันสรางเมือง “หริภญ ุ ชัย” ในป พ.ศ. ๑๒๓๐ เมือ่ สรางเมืองเสร็จ ก็ตกลงใจเชิญ “พระนางจามเทวี” พระราชธิดา ของพญาจั ก รวั ติ ผู  เ ป น ราชาครองเมื อ งละโว มาครอง “หริภุญชัย” พระนางจามเทวี ทรงยินยอมตามคําเชิญของ พระฤๅษี กอนออกเดินทางจากละโวสูหริภุญชัย พระนางได ทู ล ต อ พระยาจั ก รวั ติ พ ระบิ ด าของ พระนาง โดยขอนําชางในกิจการตาง ๆ หลายแบบ อย า งละห า ร อ ยคน และพระที่ เ ก ง ในทางธรรม และเวทยคาถา อีกหารอยรูป ขบวนทีพ่ ระนางจามเทวีเสด็จขึน้ เหนือเพือ่ ไป ครองหริภุญชัยเชื่อวาเปนขบวนเดินทางที่ยิ่งใหญ

พระรอดเนื้อเขียวกรุวัดมหาวัน จว.ลําพูน

ช า งในกิ จ การต า ง ๆ หลายแบบอย า งที่ ออกเดินทางในขบวนแตละคนยอมมีครอบครัว ติดไปดวย แตละครอบครัวของชางคนหนึ่งยอมมี หลายคน พระที่ เ ก ง อี ก ห า ร อ ยรู ป ย อ มมี ลู ก ศิ ษ ย หลายคนติดตามไป ขบวนทหารที่อารักขาพระนาง และคุมครองผูเดินทางสูหริภุญชัยตองมีจํานวน นับพันคน และทหารแตละคนมีครอบครัวของตน รวมเดินทางไปดวย ในสมัยนัน้ ราชธานี “ละโว” เปน เมืองใหญริมทะเล การเริ่มเสด็จออกเดินทางคงใช เรือแลนเลียบริมฝงทะเลเขาปากนํ้าซึ่งในสมัยนั้น คงอยู  แ ถวนครสวรรค จวบจนอี ก สองป ต  อ มา ใน พ.ศ. ๑๒๐๕ ไดเสด็จถึงหริภุญชัย (ลําพูน) เมื่อพระนางจามเทวีไดครองหริภุญชัยนคร ที่ฤๅษีทั้งสี่สรางขึ้นแลว จึงมีโองการใหสถาปนา พระอารามใหญขนึ้ สีท่ ศิ เรียกวา “จตุรพุทธอาราม” เพื่อใหเปนพุทธปราการ คุมครองนครหริภุญชัยให อยูเย็นเปนสุข และปลอดภัยจากอันตรายตาง ๆ และพระฤๅษีทั้งสี่ที่มาจากทิศใด ก็ประจําอาราม ดังกลาวในทิศของตน เมื่ อ ได ส ถาปนาจตุ ร พุ ท ธอารามแล ว พระฤๅษี ทั้ ง สี่ ต  า งก็ ส ร า งพระเครื่ อ งหลายแบบ

รักษาดินแดน ๔๙ วารสาร

พระบางเนือ้ เขียว กรุวดั มหาวัน จว.ลําพูน


๕๐ รักษาดินแดน

วารสาร

หลากหลายชนิดบรรจุไวยังอารามของตน เพื่อเปน อนุสรณ และปองกันเมืองในยามมีภัย พระฤๅษี ทั้ ง สี่ ส ร า งพระของตน แต ล ะ พระอารามนั้ น ย อ มมี ก ารแลกเปลี่ ย นและแบ ง พระเครื่ อ งซึ่ ง กั น และกั น และนํ า พระเครื่ อ งนั้ น มาบรรจุในอาราม ในทิศประจําของตน หนึ่งใน จตุรพุทธอารามทีส่ รางมีชอื่ วา “อาพัทธาราม” คํา วา อาพัทธาราม มีความหมายวา วัดทีแ่ ข็งแรงถาวร ซึ่ ง อาพัท ธารามที่ก ล า วถึ ง นี้ ก็ คื อ “วั ด พระคง” ในปจจุบัน ศาสตราจารยยอรช เซเดส นักโบราณคดี กลาวถึงวัดพระคงนี้วา “...วัดพระคงตั้งอยูนอก ประตูเมืองหางจากประตูเมืองประมาณสามเสน โบสถ และวิ ห ารที่ เ ห็ น อยู  ทุ ก วั น นี้ เ ป น ของใหม แต โ ครงร า งเป น เหมื อ นเก า แต ค รั้ ง พวกมอญ ยังปกครองเมืองลําพูนอยู...” อีกตอนหนึง่ เขียนไววา “...สมัยของพระพิมพ ชนิดนี้เปนการยากที่จะกําหนดใหแนนอนลงได แตประเภทหนึ่งเปนของเกาแกมากที่สุดคือ ชนิด ที่เรียกวา “พระอยูคง” (หรือยิงไมออกแทงไมเขา) ไดทําขึ้นที่วัดหนึ่งในเมืองลําพูนชื่อ วัดพระคง...” ฯลฯ “...โบสถและวิหารของวัดนี้คงจะเปนปูชนีย สถานแหงหนึ่งในครั้งโบราณ เพราะยังมีพระพิมพ เล็ก ๆ นับจํานวนพัน ซึ่งเปนรูปพระพุทธเจานั่ง อยูใตตนโพธิ์พฤกษ อันไดทําขึ้นที่นั่นเปนเวลานาน แลว ขุดไดบริเวณวัดนี้หลายรอยหลายพัน แมจน ทุกวันนี้...” แตพระพิมพยังมีอยูเสมอ จนกลาว กันเปนสามัญวา ถาใครมีบุญแลวเปนแตคุยเขี่ย แผนดินที่นั่นเพื่อหาพระ เปนตองไดเสมอทีเดียว “พระลําพูน” หรือพระคง มิใชมีอยูที่วัด พระคง (อาพัทธาราม) ทีเ่ ดียว พระลําพูนมีอยูใ นกรุ หลายวัด เชน ทีว่ ดั ดอนแกว (อรัญญิกสัมมการาม) ทีว่ ดั ประตูลี้ (มหารัตตาราม) ทีว่ ดั ดอยคํา จังหวัด เชียงใหม ก็มีผูพบพระคง และพระคงแหงวัดดอย

คํามิใชเปนพระคงฝากกรุ เปนพระคงของกรุดอย คําเอง!! แมแตกรุหางไกลจากลําพูน เชนทีว่ ัดราง วัดหนึ่งแถวจังหวัดแพร ก็มีผูพบกรุพระลําพูน!! ที่ “ทุงกูราง” ซึ่งอยูไมหางจากวัดประตูลี้ มากนัก เปนสถานที่ที่มีซากวัดโบราณ ก็มีผูขุดได พระลําพูน (พระคง) ฉะนั้น พระลําพูนจึงมิไดมีแตที่แหลงกําเนิด ของตน (ที่วัดพระคง) เทานั้น จึงมีกระเซ็นกระสาย อยูในกรุหรือลานดินวัดอื่นได พระลํ า พู น (พระคง) ได ส ร า งขึ้ น ครั้ ง แรกในสมั ย “พระนางจามเทวี ” จากนั้ น มา ไดสรางอีกหลายยุคหลายสมัย เชน สรางขึน้ ในสมัย พญามหันตยศ สรางขึ้นในสมัยพญาสรรพสิทธิ์ และตอมาก็สรางขึ้นอีกหลายครั้งหลายหน แมแต ในปจจุบนั ก็ไดจดั สรางขึน้ แตนกั เลงพระหรือนักเลง นิยมพระเครื่อง ยอมดูออกไดวา พระลําพูนองคนี้ เปนพระลําพูนที่สรางแตครั้งสมัยพระนางจามเทวี หรือสรางในสมัยพญามหันตภัย หรือสมัยพญา สรรพสิทธิ์ หรือไดสรางในสมัยตอมา ในดานพิมพทรง ทั้งพระลําพูนกรุเกากรุใหม มีพิมพคลายกันจนแยกไมออก พระลําพูน (พระ คง) กรุใหมมีเนื้อหยาบกวาพระลําพูนกรุเกา สวน พระลําพูนกรุเกาเนื้อจะละเอียดแนนกวา ความ นิย มของนัก พระเครื่อ งจึง นิย มพระลําพู น (พระ คง) กรุเการุนจามเทวียิ่งกวากรุใหม และเชื่อวา พระลําพูน (พระคง) ที่สรางโดยพระฤๅษีในสมัย พระนางจามเทวี มีพุทธานุภาพและอภินิหารดีกวา รุนที่สรางในสมัยตอมา พระคงวัดดอยคําแหงจังหวัดเชียงใหม เปนพระคงของกรุดอยคําโดยตรง พระคงกรุวัด ดอยคํา มีใบโพธิ์ที่โปรงกวาใบโพธิ์ของพระลําพูน (พระคงแห ง วั ด พระคง) และองค พ ระแบนกว า ดานหลังนูนนอยกวาพระลําพูนแหงวัดพระคง


เชน พระรอด พระคง พระบาง พระสิบสอง พระสาม เปนจํานวนมาก รุงขึ้นอีกปคือ ป พ.ศ. ๒๔๙๘ ทางวัดได รื้ อ บั น ไดกุ ฏิ ท  า นสมภารวั ด โดยขุ ด รื้ อ ถอน รากฐานบันไดเกา และขุดดินลงรากฐานบันไดทีจ่ ะ สร า งใหม ในกาลยุค ครั้ง นี้ไ ด พ บพระรอดพิม พ ตาง ๆ กวาสองรอยองค และยังไดพบพระสกุลลําพูน หลายแบบอยางเชน พระรอดหลวง พระรอดพิมพ (ใหญ) พิเศษ พระจามเทวี (เปนพระเล็กขนาดใบ มะขาม มีลกั ษณะเดียวกับพระรอด เปนพระทีห่ าได ยากยิง่ ) พระคง พระบาง พระเลีย่ ง พระลือ พระสาม พระแปด พระสิบสอง พระยีส่ บิ แปด พระงบนํา้ ออย พระกลวย พระกวาง รูปปนฤๅษี (นารอด) รูป นางสุชาดา (พระนางจามเทวี) รูปยักษ รูปคนธรรพ เปนตน ทานผูอานจะเห็นไดวา ที่วัดมหาวัน (มหา วนาราม) นอกจากมีพระรอดแลวก็มีพระอีกหลาย แบบหลายชนิด และมีพระลําพูน (พระคง) อยูด ว ย! พระลําพูนแหงวัดมหาวัน (มหาวนาราม) เนื้ อ ของพระละเอี ย ดนุ  ม เป น เนื้ อ อย า งเดี ย วกั บ พระรอดแหงวัดมหาวัน พระลํ า พู น นั้ น ใช แ ทนพระรอดมหาวั น ได พุ ท ธคุ ณ มิ ไ ด ยิ่ ง หย อ นไปกว า กั น ผู  ส ร า งคื อ คนคนเดียวกัน แตราคายังหางกันมาก ใครมีไว ตองหวงแหนเปนธรรมดา... พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ

รักษาดินแดน

วารสาร

เนื้อพระคงกรุวัดดอยคํา จะแหงและมีราดํา ขึ้นเปนแหง มีแรปรากฏในเนื้อพระใหเห็นทุกองค เมือ่ ไมกปี่ ท ผี่ า นมา ไดมกี ารซอมแซมบริเวณในโบสถ ที่วัดพระคง ผูซอมไดขุดพื้นโบสถลึกลงไปหลาย เมตร ไดพบพระคงรวมพันองค และมีพระตาง ๆ อีกหลายแบบอยูในโคลนที่ขุดขึ้น ในการขุดซอม โบสถในครั้งนี้ ไดพบพระลําพูนชินเงิน!!! ส ว นใหญ พ ระลํ า พู น ชิ น เงิ น ถู ก ฝ ง อยู  ใ น ดินโคลน ทําใหผุกรอน เมื่อจับตองเขาก็รวน มี นอยองคที่อยูในบริเวณที่มีทรายหนาแนน ยังอยู ในสภาพดี ไมผุ ดังรูปที่นํามาใหทานชม พระลําพูนเนื้อชิน (เงิน) ไมเคยปรากฏพบที่ วัดอืน่ นอกจากวัดพระคง (อาพัทธาราม) พระลําพูน เนื้อชินเปนพระที่หาไดยากยิ่ง... เปนพระที่ยากยิ่ง จะพบเห็น... นาน ๆ ครั้งถึงจะพบ ในหมูนักเลงเลนพระ พระลําพูน (พระคง) ที่ แ พงที่ สุ ด และหายากคื อ พระลํ า พู น แห ง วัดมหาวัน (มหาวนาราม) นักเลงพระที่อยูภาคเหนือ เรียกพระลําพูน แหงวัดมหาวันวา...“พระคงแหงกรุวัดมหาวัน” หรือ “พระคงแหงวัดมหาวัน” นักเลงพระหลายคนเชื่อวา “พระคงแหง วัดมหาวัน” มิใชเปนพระคงแหงวัดพระคงนํามา ฝากกรุไวที่วัดมหาวัน และเชื่ออยางมั่นใจวา พระคงแห ง วั ด มหาวั น ได ส ร า งขึ้ น ในคราว เดียวกันกับพระรอดรุน จามเทวีแหงวัดมหาวัน! บางคนบอกว า พระคงแห ง วั ด มหาวั น สรางกอนพระรอด เพราะมีลักษณะเล็กเกือบเทา พระรอด...จากลักษณะของพระคงแหงวัดมหาวัน ที่เล็กจึงไดกลายเปนพระรอดในขั้นตอมา! เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗ ทางวัดมหาวันไดขยาย พระวิหาร ใหกวางออกไปทางทิศตะวันตก ไดขุด พืน้ ดินปกเสา ในการขุดพืน้ ทีค่ รัง้ นี้ ไดพบพระเครือ่ ง

๕๑


พ.ท.อุทัย กาวี และทีมงาน

สวัสดี

ครับทุกทาน ยินดีตอนรับสูบานหลังใหม “รักษาดินแดนวารสาร” ...การยายครั้งนี้ เหมือนยายกลับสูบานเดิม ทานสมาชิกที่อยูกับเรามานานเกิน ๗ ป จะทราบกันดีวา “รักษาดินแดนวารสาร” คือ วารสารประจํา “กรมการรักษาดินแดน” ที่ไดมีการปรับปรุง เปลี่ยนโฉมไป และสุดทาย เพื่ อ ประโยชน สู ง สุ ด ของผู  อ  า น จึ ง ต อ งมี ก ารปรั บ โฉมอี ก ครั้ ง ซึ่ ง ผมและที ม งาน ก็ ยั ง มุ  ง มั่ น ตั้ ง ใจรวบรวม ขาวสารความเปนไปของกําลังพลภายในหนวยมาฝากทานเหมือนเดิม หางหายไปพักใหญ มีเรื่องราวเกิดขึ้นมากมาย ขาวสารในฉบับนี้จึงมีคอนขางมาก คอย ๆ อานกันไปนะครับ เอา...มาอัพเดตความเปนไปของเพื่อนรวมงานในหนวยเราตั้งแตตนป ๕๔ กันเลยครับ

ข อ แ ส ด ง ค ว า ม ยิ น ดี กั บ นายทหารสั ญ ญาบั ต รระดั บ พั น เอกที่ ไ ด้ รั บ การประดั บ เครื่ อ งหมายโลหะสี ท องรู ป คทา ไขว้ ป ระกอบช่ อ ชั ย พฤกษ์ ดั ง รายนามต่ อ ไปนี้ ิ นั ธ์ ฐานะจาโร, พ.อ.วรภพ ถาวรแก้ ว, พ.อ.ธิตพ พ.อ.พณิชย์ ศิริพละ, พ.อ.เกษียร ยืนยง, พ.อ. วุฒชิ ยั เจริญรื่น และ พ.อ.ทัฐเมธา ปั ญญเบกษา ข่าวที่ ๒ ขอแสดงความยินดีกับนาย  ทหารสัญญาบัตรที่ได้รับการเลื่อนยศสูงขึ้น ดังนี้ พ.ท.วินิจ อ้ วนโพธิ์กลาง เป็น พ.อ. พ.ท. ศักดาวุธ รัตนโสภา เป็น ว่ าที่ พ.อ. พ.ต.ราเชล เชื่องสุวรรณ, พ.ต.กริชทอง ฤกษ์ กรี เป็น พ.ท. พ.ต.ไตรรัตน์ เวชโช, พ.ต.อรรถพล แก้วค�าแสน เป็น ว่ าที่ พ.ท. ร.ท.สุรเชษฐ์ ทองขาว, ร.ท.

5๒ รักษาดินแดน

วารสาร

ข่าวที่ ๑ 

ภาณุวัตน์ บัวงาม เป็น ว่ าที่ ร.อ. ร.ต.นที เทพสิทธิ์, ร.ต.นฤทธิ์ ยิม้ ภักดี, ร.ต.บุญถิ่น กองค�า เป็น ว่ าที่ ร.ท. ร.ต.สิทธิชยั ศรีแก้ วช่ วง เป็น ว่ าที่ ร.ท. ส่วนนายทหารประทวนก็มผี ทู้ ไี่ ด้รบั การเลือ่ น ยศสูงขึน้ ดังต่อไปนี้ จ.ส.ท.สุพงษ์ พิริยะพฤนท์ และ จ.ส.ท.โสธร อุรารั กษ์ เป็น ว่ าที่ จ.ส.อ. จ.ส.ต.ส�าเริง ศรีบ้าน เป็น จ.ส.ท. ส.อ.สุเทพ เชิงหอม, ส.อ.สมชาย บุญรั กษ์ เป็น จ.ส.ต. ส.อ.หญิง สิริเพ็ญ นงค์ สงู เนิน เป็น จ.ส.ต.หญิง ส.ต.หญิง ภาราดา มหาสมบัติ เป็น ส.ท.หญิง ั ธ์ มั่นวิง, พลฯ ส�ารวจ ชูช่วย, พลฯ พุทธิพน พลฯ อิศรา เพาะนาไร่ , พลฯ สุวพัฒน์ ศรีสว่ าง เป็น ส.ต.


ย้ายมาจาก พล.๑ รอ. ส่วนกลุ่มนายทหารประทวนก็มีท่านที่ย้าย เข้ามารับราชการ ณ นรด. ดังนี้ ส.อ.จิตตินันท์ ศรีเมฆ ย้ายมาจาก ศร. ส.อ.ประพันธ์ ไพฑูรย์ ย้ายมาจาก ร.๒๙ พัน.๒ ส.อ.สุเทพ เชิงหอม ย้ายมาจาก พล.๑ รอ. ...ชาวรอบรั้ว นรด. ยินดี ข่าวที่ ๓ มี น ายทหารสั ญ ญาบั ต ร ต้อนรับทุกท่านเป็นอย่างยิ่ง มีความสุขกับงานใหม่  ย้ายมารับราชการ ณ นรด. ดังรายนามต่อไปนี้ นะครับ ิ นั ธ์ ฐานะจาโร ย้ายมาจาก พล.๑ รอ. พ.อ.ธิตพ พ.อ.วินิจ อ้ วนโพธิ์กลาง ย้ายมาจาก สลก.ทบ. พ.ท.สุ ทินา พงษ์ ศิริพันธ์ ย้ายมาจาก ศร. พ.ต.สมชาย ลิม้ จ�ำลอง ย้ายมาจาก สพ.ทบ. พ.ต.ไพโรจน์ จันทร์ ทนา ย้ายมาจาก รพ.ค่าย ธนะรัชต์ ร.อ.สาโรจน์ เกือ้ กูล ย้ายมาจาก ม.พัน.๑ รอ.ร.อ.ณรง ค์ ภัทรกมลวุฒิ ย้ายมาจาก พล.ช.ร.อ.วิเชียร แตงผึ่ง ย้ายมาจาก ม.พัน.๓ รอ. ข่าวที่ ๔ มีเพือ่ นนายทหารสัญญาบัตร ร.อ.สมศักดิ์ กุลมา ย้ายมาจาก ร.๑๑ พัน.๒ รอ.  ร.อ.ธี ร พล บุ ญ ญานุ ส นธิ์ ย้ า ยมาจาก ย้ายไปรับราชการนอกหน่วย ดังนี้ พ.อ.บรรเทิง ม.พัน.๒๙ รอ. ร.อ.ธรรมสถิตย์ หลวงสิทธิ์ จุ้ยวงศ์ ย้ายไป จทบ.อ.ต. พ.ท.อิทธิกร ศิริวลั ย์ ย้ายมาจาก ร.๑ พัน.๔ รอ. ร.อ.นิวัช สังขดี ย้ายไป สลก.ทบ.พ.ท.อุทยั กาวี ย้ายไป สลก.ทบ. ย้ายมาจาก ร.๑ พัน.๔ รอ. ร.อ.สุรชัย หล�่ำชู พ.ท.วรรธ อุ บ ลเดชประชารั ก ษ์ ย้ า ยไป ย้ายมาจาก ร.๗ พัน.๕ ร.ท.เกษมวิช โลหิตกุล ทน.๑ พ.ท.สายั ณ ห์ เกี ย รติบุ ต ร ย้ายไป ย้ายมาจาก ยศ.ทบ. ร.ท.นพดล ปาละประเสริฐ รร.การบิน ทบ. พ.ท.อดิศักดิ์ โพธิ์หริ ัญ ย้ายไป ย้ายมาจาก รร.นส.ทบ. ร.ต.สิทธิพงษ์ สุทธิ ทน.๓ พ.ท.หญิง ยุพาพร เอี่ยมละออ ย้ายไป

รักษาดินแดน

วารสาร

นอกจากนี้ ยังมีก�ำลังพลได้รับการเลื่อนยศ สูงขึน้ และเลือ่ นฐานะเป็นนายทหารสัญญาบัตร คือ ร.ต.เชษฐา ปากขันตี เลื่อนฐานะเป็น ผบ.มว. ปล.ร้ อยอาวุธเบา พัน.ร.ศสร. ...ขอแสดงความ ยินดีกับทุกท่านด้วยครับ

53


กสห.กห. พ.ท.หญิง ต้ องใจ ชาญชัยศึก ย้ายไป สลก.ทบ. พ.ต.เกรี ยงศักดิ์ ชัยชนะกิจพงษ์ ย้ายไป จบ. พ.ต.ศิริพน โพธิอาภา ย้ายไป พล.ร.๑๑ พ.ต.นคร บุ ญ นฤมิ ต ร ย้ายไป ขส.ทบ. ร.อ.คชพงศ์ ฐิตพ ิ ชิ ญาวัฒน์ ย้ายไป ร.๒๑ พัน.๓ รอ. ร.ท.รณกฤต สุคันธนาค ย้ายไป กทก.กกล.กห. นอกจากนี้ยังมีนายทหารประทวนย้ายไปรับ ราชการนอกหน่วย ดังนี้ จ.ส.อ.ไสว สวัสดิ์ศรี ย้ายไป รร.นส.ทบ.ส.อ.ณัฐพงษ์ มณีน่วม ย้ายไป ศรภ. ส.อ.ณภัทร อภิชาตสกุล ย้ายไป ดย.ทบ. ส.อ.กฤษดา มณี รั ต น์ ย้ า ยไป สบ.ทหาร ส.อ.หญิง นุชรี มหาชัย ย้ายไป รร.นส.ทบ. ...เพือ่ นร่วมงานทางนี้ ขอให้ทกุ ท่านทีจ่ ะย้ายไปทาง โน้น มีความสุขความเจริญในหน้าที่การงานใหม่ ครับ...เราจะคิดถึงท่านทุกคน

หลับให้สบายนะครับ สุดท้าย จบเรือ่ งเศร้า มาสูเ่ รือ่ งน่ายินดี  คือ มีกำ� ลังพลมาบรรจุใหม่จาก นนส.ทบ. ดังต่อไปนี้ ิ ธิ์ แสงแก้ว, ส.ต.อิศรา อิ่มอารมณ์ , ส.ต.ศักดิ์สท ส.ต.ณัฐวุฒิ ทาเกตุ, ส.ต.จีรวุฒิ ค้ าแฟง, ส.ต. มงคล พรมมะยา, ส.ต.สุริยัน นกแก้ ว, ส.ต. ยุทธพงษ์ พรหมศิระ, ส.ต.ณัฐวัฒน์ บุญประคอง, ส.ต.วิสทุ ธิ์ เจริญหลาย, ส.ต.อภิวฒ ั น์ อ่ วมเอี่ยม, ส.ต.ธีระยุทธ อินทะยศ, ส.ต.น�ำโชค สาค�ำ, ส.ต. พรสยาม กวนหอบ, ส.ต.พัศวุฒิ โกมุทฉาย, ส.ต.วันชัย วาระนุช, ส.ต.วศิน ดวงสิทธิชัย, ส.ต.วัลลภ ฤทธิ์อร่ าม, ส.ต.อดิศักดิ์ สายยาโน และ ส.ต.เอกวิทย์ ทองน่ วม ส่วนก�ำลังพลที่มาบรรจุใหม่ ทั้งจากทหาร กองประจ�ำการและพลเรือน ก็มีรายชื่อดังต่อไปนี้

ข่ า วที่ ๕ มาถึงข่าวเศร้าส�ำหรับเพื่อน พลฯ อังคาร ทาทอง บรรจุเป็น พลขับ กบร.ศสร. 

54 รักษาดินแดน

วารสาร

ร่ ว มงานและครอบครั ว กล่ า วคื อ มี ช าว นรด. เสียชีวิต ๒ ท่าน ได้แก่ พ.ต.สุทธิพนั ธ์ พยุงวงษ์ เสียชีวิตด้วยโรคติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด และ จ.ส.อ.สมศักดิ์ อินทกูล เสียชีวิตด้วยอาการ เลือดออกในกระเพาะอาหาร ...ชาว นรด. ทุกคน ขอแสดงความเสียใจกับครอบครัวของทั้งสองท่าน

พลฯ ณัฐพงศ์ นามวงศ์ พรหม และ พลฯ อภิชยั

อิ น ต๊ ะแสน บรรจุ เ ป็ น เสมี ย น รร.รด.ศสร. พลฯ ณัฐพล ฉัตรแก้ ว และ พลฯ อภิชาต รุ่งเรือง บรรจุเป็น ช่างยานยนต์ พัน.ร.ศสร. พลฯ สัญญา เที่ ย งพลู ว งศ์ บรรจุ เ ป็ น พลขั บ รร.กสร.ศสร. พลฯ อรรณพ เพ็ชรดี บรรจุเป็น พลขับ ศสร.


พลฯ วัฒนา ขมสวัสดิ์ บรรจุเป็น พลขับรถ ร.๑๑๑ พลฯ วงศรั ตน์ บุญรั กษา บรรจุเป็น ช่างวิทยุ ร.๑๑๒ พลฯ พันทวี สียา บรรจุเป็น เสมียนส่งก�ำลัง ร.๑๑๒ พลฯ สมมาตร ดิศวรรณี บรรจุเป็น พลขับรถ พัน.ร.ศสร. พลฯ จักรกฤษณ์

เชยแสง บรรจุ เ ป็ น เสมี ย น รร.กสร.ศสร. พลฯ เฉลิมพล พลตือ้ บรรจุเป็น พลขับรถ รร.กสร.ศสร.

ยังไม่หมดนะครับ ยังมีมาบรรจุอีก ได้แก่ พลฯ อิศรา เพาะนาไร่ บรรจุเป็น เสมียน กตพ.นรด. พลฯ สุวพัฒน์ ศรี สว่ าง บรรจุเป็น เสมียน กฝศ.นรด.พลฯ สีชยั สุขสงวน บรรจุเป็น

เสมียน กกพ.ศสร. พลฯ ณัฐพล ตะเภาน้ อย บรรจุ เ ป็ น เสมี ย น กยข.ศสร. นายวั ช รกร รกไพร และ น.ส.ฉั นทนา สาคูณ บรรจุเป็น เสมียน รร.รด.ศสร. พลฯ เดชา ชูเชิด บรรจุ เป็น พลขับ ผขส.กบร.ศสร. น.ส.เกศราภรณ์ อ�ำนวยผล บรรจุเป็น พนักงานบริการ กยข.นรด. น.ส.ณั ฐ สุ ด า บุ ญ ชิ ด บรรจุเป็น พนักงาน บริการ กตพ.นรด. น.ส.สุภาภัสส์ สุดสวาท และ น.ส.พรเพ็ญ หวังกุศล บรรจุเป็น พนักงาน บริ ก าร รร.กสร.ศสร. นายธนพงษ์ เภรี ว งษ์ บรรจุเป็น พลดุริยางค์ รร.กสร.ศสร. ...ชาว นรด. ยินดีต้อนรับน้องใหม่ทุกท่าน ขอให้ปรับตัวเข้ากับ สังคมใหม่ได้อย่างสบาย ๆ นะครับ

รักษาดินแดน

วารสาร

เอาละครับ หวังว่าข้อมูลข่าวสารจะไม่มากจนล้นเกินความอดทน และหากท่านมีข้อสงสัย ข้องใจ หรือมีข่าวสาร อะไรจะให้กองบรรณาธิการ ช่วยประชาสัมพันธ์ ติดต่อเจ้าหน้าที่ กอง บก. ได้ที่ กกร.นรด. โทร. ๐-๒๒๒๑-๒๘๗๑ หรือ ๙๑๙๕๕ นะครับ ฉบับนี้คงต้องลาไปก่อน พบกันใหม่ใน “รักษาดินแดนวารสาร” ฉบับหน้า... สวัสดี

55


เอ็มดีหนุม

 กองทั พ มาเลเซี ย ได รั บ งบประมาณทาง ทหารป พ.ศ. ๒๕๕๔ เปนเงิน ๔.๕ พันลานเหรียญสหรัฐ มีโครงการจัดหาอาวุธหลักที่สําคัญรอการรับมอบคือ เครือ่ งบินเฮลิคอปเตอรคน หาและกูภ ยั ทางทะเล (SAR) อีซี-๗๒๕ (EC-725) จํานวน ๑๒ เครื่อง จะไดรับมอบ เครื่องบินชุดแรกในป พ.ศ. ๒๕๕๕ เครื่องบินมีนักบิน ๒ นาย บรรทุกทหารได ๒๘ นาย เครื่องยนตเทอรโบ ชารฟ ขนาด ๒,๔๑๓ แรงมา (๒ เครื่อง) มีความเร็ว สูงสุด ๓๒๔ กิโลเมตรตอชั่วโมง และพิสัยบินไกลสุด

๕๖ รักษาดินแดน

วารสาร

EC-725

๘๕๗ กิ โ ลเมตร เพื่ อ จะนํ า เข า ประจํ า การทดแทน เครื่องบินเฮลิคอปเตอรรุนเกาแบบนูรี่ (Nuri S-61A-4 ของฝูงบินที่ ๓ และฝูงบินที่ ๕) และเครื่องบินขนสง ทางทหารขนาดใหญ เอ๔๐๐เอ็ม (A400M) จํานวน ๔ เครือ่ ง จะไดรบั มอบเครือ่ งบินชุดแรกในป พ.ศ. ๒๕๕๘ เจ า หน า ที่ ป ระจํ า เครื่ อ งบิ น ๔ นาย เครื่ อ งยนต เทอร โ บพร็ อ พ ให แ รงขั บ ขนาด ๑๑,๐๔๐ แรงม า (๔ เครื่อง) ความเร็วเดินทาง ๗๘๐ กิโลเมตรตอชั่วโมง พิสัยบินไกลสุด ๓,๒๙๘ กิโลเมตร และบรรทุกทหาร ได ๑๑๖ นาย  กองทั พ อากาศอิ น โดนี เ ซี ย ได จั ด ซื้ อ เครื่ อ งบิ น ฝ ก ไอพ น ขั้ น ก า วหน า แบบใหม ที - ๕๐ โกลเดนอีเกิ้ล (GoldenEagle) จํานวน ๑๖ เครื่อง มีมลู คา ๔๐๐ ลานเหรียญสหรัฐ จากประเทศเกาหลีใต เพื่ อ ทดแทนเครื่ อ งบิ น ฝ ก ขั้ น ก า วหน า รุ  น เก า แบบ ฮอรค เอ็มเค.๕๓ จะไดรับมอบเครื่องบินชุดแรกในป พ.ศ. ๒๕๕๕ เครื่องบินฝกไอพนขั้นกาวหนาชนิดสอง ที่นั่ง ที-๕๐ ขนาดยาว ๑๒.๙๘ เมตร นํ้าหนักบินขึ้น สูงสุด ๑๓,๕๐๐ กิโลกรัม เครื่องยนตเทอรโบแฟน


GoldenEagle

ใหแรงขับเมือ่ ใชสนั ดาปทาย ๑๗,๗๐๐ ปอนด ความเร็ว สูงสุด ๑.๕ มัค พิสยั บิน ๑,๘๕๑ กิโลเมตร ปนกลอากาศ ขนาด ๒๐ มิลลิเมตร และติดตัง้ อาวุธไดตามภารกิจบิน (ภารกิจตอสูทางอากาศและภารกิจโจมตีภาคพื้นดิน)  กองทัพอากาศอินโดนีเซียมีโครงการจัดหา เครื่องบินฝกใบพัดขั้นกาวหนาซูเปอรทูคาโน (Super Tucano) จํานวน ๘ เครื่อง จากประเทศบราซิล เมื่อ วันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ใชในภารกิจโจมตี เบาเพื่อทดแทนเครื่องบินโจมตีรุนเกาแบบโอวี-๑๐ บรองโก (OV-10 Bronco) ทีป่ ระจําการมานาน เครือ่ งบิน ซู เ ปอร ทู ค าโนมี นํ้ า หนั ก ปกติ ๒,๔๒๐ กิ โ ลกรั ม เครื่ อ งยนต เ ทอร โ บพร็ อ ฟ ขนาด ๑,๖๐๐ แรงม า ความเร็ ว สู ง สุ ด ๕๕๗ กิ โ ลเมตร พิ สั ย บิ น ไกลสุ ด ๑,๕๖๘ กิ โ ลเมตร และติ ด อาวุ ธ ได ห นั ก ๑,๕๐๐ กิโลกรัม (ตําบลติดตั้งอาวุธไดหาจุด) กองทัพอากาศ อิ น โดนี เ ซี ย จะได รั บ มอบเครื่ อ งบิ น ชุ ด แรกปลายป พ.ศ. ๒๕๕๔

 กองทั พ อากาศอิ น เดี ย กํ า ลั ง ปรั บ ปรุ ง เครื่องบินขับไล มิก-๒๙ ฟลครั่ม จํานวน ๖๙ เครื่อง ประจําการมาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๒๓ มีมูลคาในสัญญา ๙๖๕ ลานเหรียญสหรัฐ ดําเนินการโดยประเทศรัสเซีย ปรับปรุงดานระบบเครือ่ งยนต ระบบอะวิโอนิกส ระบบ เรดาร และระบบอาวุธ เมือ่ ปรับปรุงเสร็จแลวจะเรียกวา มิก-๒๙ ยูพีจี (MiG-29 UPG) กองทัพอากาศอินเดีย จะไดรับมอบเครื่องบินชุดแรกในป พ.ศ. ๒๕๕๖

MiG-29 UPG  กองทัพอากาศไทยรับมอบเครือ่ งบินขับไล แบบกริเพน เจเอเอส ซี/ดี จํานวน ๖ เครือ่ ง เปนรุน ฝกสอง ที่นั่ง ๔ เครื่อง และรุนที่นั่งเดี่ยว ๒ เครื่อง ณ กองบิน ๗ ฐานทัพอากาศสุราษฎรธานี เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๔ ทําการฝกของนักบินและเจาหนาที่ภาค พื้นดินเพื่อใหสามารถทําการบินไดทุกภารกิจบินหรือ ใหมีความพรอมรบของฝูงบินในปลายป พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกอบกับสภาพภูมิประเทศทางดานภาคใตเปน ชายฝงทะเลทั้งสองดาน และตองเตรียมความพรอม ที่จะรับมอบเครื่องบินขับไลแบบกริเพน ในเฟสที่ ๒ จํานวน ๖ เครื่อง เปนรุนที่นั่งเดี่ยว โดยกองทัพอากาศ ไทยจะไดรับมอบเครื่องบินในป พ.ศ. ๒๕๕๖ เครื �องบิ นขับไล่แบบกริ เพ่น เจเอเอส ซี /ดี

Super Tucano วารสาร

รักษาดินแดน ๕๗


พล.อ.อาทร โลหิตกุล

เปลี่ยนศักราชใหมไดไมนานก็ถึงเดือนเมษายน ซึ่งเดิมทีถือวาเปนเดือนแรกแหงปใหม ของไทย ปจจุบันแมวาจะไมใชเดือนแรกของปใหม แตก็เปนเดือนที่มีความสําคัญกับทหาร โดยเฉพาะอยางยิ่งชายไทยที่มีหนาที่ที่ตองรับใชชาติตามพระราชบัญญัติรับราชการทหาร เฉพาะตั้งแตวันที่ ๑ เม.ย.ก็จะมีการตรวจเลือกทหารกองเกินเขาเปนทหารกองประจําการ หรือ ที่ชาวบานเรียกวา “การเกณฑทหาร”

5๘ รักษาดินแดน

วารสาร

กรรมวิธกี ารเกณฑ์ทหารนัน้ ก็มตี งั้ แต่การวัด ขนาดร่างกาย การตรวจโรค การตรวจหลักฐาน ฯลฯ และสุดท้ายเมือ่ ได้จา� นวนคนทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วน แล้วหากเกินจ�านวนที่ทางราชการต้องการ ซึ่งตาม ข้อเท็จจริง หรือการปฏิบัติที่ผ่าน ๆ มา ยอดของ ทหารกองเกินมีคุณสมบัติครบถ้วนก็จะมีมากกว่า ยอดที่ทางราชการต้องการเข้ามาเป็นทหารกอง ประจ�าการ จึงจ�าเป็นต้องมีวิธีการคัดเลือก ซึ่งวิธี การคัดเลือกที่ใช้กันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันคือ “การจับฉลาก” หรือที่พูดกันว่า จับใบด�าใบแดง

นั่นเอง คนที่ได้รับใบแดง ก็ต้องเข้าไปรับใช้ชาติ ด้วยการเป็นทหาร ๒ ปี ส่วนคนได้ใบด�า ก็ไม่ต้อง เข้ารับราชการ ห้วงเวลาที่มีส�าคัญและตื่นเต้นที่สุด เห็ น จะเป็ น ห้ ว งเวลาจั บ ใบด� า -ใบแดงนี่ แ หละ ในอดี ต ที่ ผ ่ า นมาคนกลั ว การเป็ น ทหารกั น มาก เวลาจับฉลากใครได้ใบด�าก็ดีอกดีใจอย่างลิงโลด กระโดดโลดเต้ น จนตั ว ลอย ส่ ว นคนได้ ใ บแดง ก็ห่อเหี่ยวเศร้าสร้อย บางคนถึงกับร้องห่มร้องไห้ หมดอาลัยในชีวติ ยังกับต้องไปตกระก�าล�าบาก หรือ หมดอิสรภาพอะไรท�านองนั้น


รามค�ำแหงมาหลายปี ยังไม่มที า่ ทีวา่ จะจบ บางครัง้ ไปสร้างปัญหาให้กับพ่อแม่ต้องเสียเงินเสียทอง ท�ำความหนักใจให้กับพ่อ-แม่ตลอดเวลา แต่ทุกคน ก็ยังให้อภัย ให้ความรักและตามอกตามใจ ด้วย เห็นว่าเป็นลูกชาย หลานชายคนเดียวของตระกูล พ่อ-แม่เองหนักใจไม่รวู้ า่ ลูกจะมีอนาคตเป็นอย่างไร โดยเฉพาะผู ้เป็น แม่ต้อ งไปแอบร้อ งไห้อ ยู ่เสมอ เมื่อเปรียบเทียบลูกของตนกับลูกของเพื่อน ๆ ที่อยู่ ในวัยใกล้เคียงกัน แก้ ว ต้ อ งถู ก เกณฑ์ ท หารเพราะไม่ เ รี ย น รด. พ่ อ -แม่ ไ ปเยี่ ย มที่ ก องร้ อ ย ขณะที่ แ ก้ ว ฝึ ก แม่เห็นลูกชายหน้าด�ำ ผมเกรียน กลับมาบ้านก็ ร้องไห้สงสารลูก เพราะไม่เคยเห็นลูกชายล�ำบาก และต้องถูกสัง่ ถูกบังคับ ปัจจุบนั แก้วเป็นทหารเกือบ ๒ ปีแล้วเป็นหัวหน้าทีมฟุตบอลของหน่วย แก้วเป็น ผู้นำ� ของเพื่อน ๆ เพราะมีความรู้ดีกว่า เป็นผู้มีวินัย ปฏิ บั ติ ต ามค� ำ สั่ ง โดยเคร่ ง ครั ด เสาร์ อาทิ ต ย์ ที่ได้ลากลับบ้าน แก้วเปลี่ยนเป็นคนละคน ต่างกับ แก้วคนเดิม เลิกบุหรี่ ช่วยท�ำงานบ้าน ท�ำสวน ปลูก-รดน�ำ้ ต้นไม้ อ่านหนังสือ และขออนุญาตหน่วย ไปสอบ เมื่อถึงฤดูสอบ แบ่งเงินให้แม่เดือนละ ๕๐๐ บาท ทุกเดือน แม่รับเงินแล้วแอบร้องไห้ ด้วยความดีใจ ตื้นตันใจที่เห็นลูกชายเปลี่ยนไป เป็นคนละคน อีกไม่กี่เดือน แก้วก็จะเป็นทหารกองหนุน และหลังจากนัน้ ไม่นาน แก้วก็ได้เป็นบัณฑิตมีอาชีพ การงานที่มั่นคง ผมว่ า แม่ มั น ต้ อ งร้ อ งไห้ อี ก แต่ น�้ ำ ตาที่ ร้องไห้ครั้งนี้จะเป็นน�ำ้ ตาแห่งความปลื้มปีติ ความ ภาคภูมิใจในตัวลูก รวมทั้งความสมหวัง เป็นค�ำตอบที่ชัดเจนว่า “เป็นทหารได้

อะไร”

รักษาดินแดน 59 วารสาร

แต่อนั ทีจ่ ริงแล้ว เป็นการเข้าใจทีค่ าดเคลือ่ น ของคนที่ไม่รู้จริงหรือคนที่อยู่นอกกองทัพ เพราะ การได้ เ ปลี่ ย นชี วิ ต จากบุ ค คลพลเรื อ นมาเป็ น ทหารรับใช้ชาตินั้น นับว่าเป็นโอกาสดีเป็นที่น่า ภาคภู มิ ใ จ นั บ เป็ น เกี ย รติ ย ศเป็ น ชื่ อ เสี ย งเชิ ด ชู วงศ์ ต ระกู ล มากกว่า และยิ่งในปั จ จุบันกองทัพ ได้ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของ ทหารกองประจ�ำการให้มีการกินดีอยู่ดี มีเงินเดือน มีเบีย้ เลีย้ งในอัตราสูงขึน้ มีสวัสดิการ มีการเพิม่ พูน ความรู ้ ทั ก ษะวิ ช าชี พ สมดั ง ค� ำ ขวั ญ ที่ ก ล่ า วว่ า “เป็นทหาร ได้อะไรมากกว่าทีค่ ดิ ” ในกรมกองที่ ทหารเข้ามาสังกัดอยู่ นอกจากมีการฝึก-การหัด ทางทหารแล้ว ยังมีการสั่งสอนอบรมใครที่มีนิสัย เกเร ไม่เคารพกฎกติกาของสังคม หรือเป็นคนที่ไม่ ค่อยมีระเบียบในชีวิตของตนเองก็จะปรับเปลี่ยน ไปเป็นคนละคน มีผู้ปกครองหลายท่านเคยพูดให้ ฟังว่า คนเกเรที่เข้ามาเป็นทหาร เมื่อปลดออกไป ก็จะดีขึ้น ส่วนคนที่เป็นคนดีอยู่แล้ว ก็จะดีขึ้นอีก ผูท้ ผี่ า่ นการเป็นทหารจะมีลกั ษณะ “ผูน้ ำ� ” มากกว่า ผู้ที่ไม่เคยผ่านการเป็นทหาร จะมีความเด็ดเดี่ยว กล้าหาญ กล้าคิด กล้าพูด กล้าท�ำ กล้าตัดสินใจ ซึ่งจะได้รับการยอมรับและยกย่องมากกว่า ดังนั้น ค�ำพูดทีว่ า่ “การเป็นทหารได้อะไรมากกว่าทีค่ ดิ ” นั้นเป็นจริงแท้แน่นอน ผมมีหลานชายคนหนึ่งชื่อ “แก้ว” ซึ่งเป็น ลูกโทนของพ่อแม่ ที่มีฐานะดีครอบครัวหนึ่ง แก้ว เกิดมาอยูท่ า่ มกลางความอบอุน่ มีคนพะเน้าพะนอ เอาอกเอาใจเพราะมีทั้งพ่อ-แม่-ป้า และอาที่คอย ดูแลเอาใจใส่ให้ความรัก ความเอ็นดู แก้วเป็นผูช้ าย คนเดียวในบ้าน (หากไม่นับพ่อของเขา) ชีวิตที่บ้าน ของแก้วแสนสุขสบาย กิน เทีย่ ว เล่น (ฟุตบอล กีฬา โปรดของเขา) สูบบุหรี่ ขับรถพาสาวเที่ยว เรียน


เครื่องบินขับไลรุนใหม

แบบกริเพน

พล.ท.ทรงพล ไพนุพงศ

เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล แ บบกริ เ พ น (JAS 39 Gripen) ได พั ฒ นาขึ้ น ในยุ ค ปลายของสงครามเย็ น ของสองชาติอภิมหาอํานาจทางทหารของโลก โดยประเทศสวีเดนวิจัยพัฒนาโครงอากาศยานขึ้นเองภายใน ประเทศและระบบอาวุธตามมาตรฐานนาโต เครื่องบินตนแบบทําการบินครั้งแรก เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ เพื่อนําเขาประจําการทดแทนเครื่องบินขับไลรุนเกาแบบ ซาบ ๓๗ วิจเจน (Saab 37 Viggen) ที่กําลังลาสมัย กองทัพอากาศสวีเดนมีความตองการ ๒๐๔ เครือ่ ง เครือ่ งบินใชเครือ่ งยนตเทอรโบแฟน ใหแรงขับ ๑๒,๑๐๐ ปอนด เมื่อใชสันดาปทายใหแรงขับ ๑๘,๑๐๐ ปอนด ความเร็ว ๒.๐ มัค รัศมีทําการรบ ๘๐๐ กิโลเมตร เพดานบิน ๕๐,๐๐๐ ฟุต ปนกลอากาศเมาเซอร บีเค-๒๗ ขนาด ๒๗ มิลลิเมตร (มีลูกกระสุน ๑๒๐ นัด) ติดอาวุธภายนอก ลําตัว ๘ จุด นํ้าหนักวิ่งขึ้นสูงสุด ๑๔,๐๐๐ กิโลกรัม ปริมาณนํ้ามันเชื้อเพลิงภายในลําตัว ๓,๐๐๐ ลิตร ระยะทาง วิ่งขึ้น ๔๐๐ เมตร ระยะทางรอนลง ๖๐๐ เมตร และระบบเรดาร พีเอส-๐๕/เอ

๖๐ รักษาดินแดน

วารสาร

กองทั พ อากาศสวี เ ดนได ป ระจํ า การด ว ย เครื่องบินขับไลที่นั่งเดี่ยว เจเอเอส ๓๙ เอ ชุดแรก เมือ่ วันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ณ กองบิน เอฟ ๗ ที่เมืองเซทีนาส (Satenas) และกองบิน เอฟ ๑๗ ที่ เ มื อ งรอนนี บี (Ronneby) นั ก บิ น ของกองทั พ อากาศไทยไดรับการฝกเปลี่ยนแบบกับเครื่องบิน

ขับไลแบบกริเพน ที่กองบิน เอฟ ๗ พรอมดวย เจาหนาที่ภาคพื้นดิน เครื่องบินขับไลแบบกริเพน ๓๙ ซี/ดี มีความทันสมัยและเปนเครื่องบินขับไล ในยุคที่ ๔.๕ กองทัพอากาศไทยไดจัดซื้อเครื่องบินขับไล แบบกริเพน ๓๙ ซี/ดี จํานวน ๖ เครือ่ ง ป พ.ศ. ๒๕๕๑


ไดรับมอบเขาประจําการฝูงบิน ๗๐๑ กองบิน ๗ ฐานทั พ อากาศสุ ร าษฎร ธ านี เพื่ อ จะทดแทน เครื่องบินขับไลรุนเกาแบบ เอฟ-๕อี/เอฟ ที่กําลัง จะหมดอายุ ก ารใช ง าน ประจํ า การเฟสที่ ห นึ่ ง จํานวน ๖ เครื่อง (รุนที่นั่งเดี่ยว ๒ เครื่อง และ รุนฝกสองที่นั่ง ๖ เครื่อง) ทําการบินตรงมาจาก ประเทศสวีเดนถึงที่ตั้งเมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ

เครื �องบิ นขับไล่กริ เพ่น ติ ดตัง� ระบบเรดาร์ พีเอส-๐๕/เอ มีระยะตรวจการณ์ไกล ๑๒๐ กิโลเมตร มี ปื นกลอากาศ ขนาด ๒๗ มิ ล ลิ เ มตร พร้ อ ม ลูกกระสุน ๑๒๐ นัด ติ ดตัง� อาวุธภายนอกได้ ๘ จุด ภารกิ จต่อสูท้ างอากาศติ ดตัง� จรวดนําวิ ถีพิสยั กลาง ก้าวหน้า เอไอเอ็ม-๑๒๐, จรวดนํ าวิ ถีพิสยั ใกล้ เอไอเอ็ม-๙ ไซไวเดอร์ ภารกิ จโจมตี เรื อรบติ ดตัง� จรวดนําวิ ถี อากาศสู่เรื อ อาร์ บีเอส-๑๕เอฟ

รักษาดินแดน

วารสาร

เครื �องบิ นขับไล่กริ เพ่น ขนาดยาว ๑๔.๑ เมตร ช่วงปี ก ๘.๔ เมตร พืน� ทีป� ี ก ๓๐.๐ ตารางเมตร สูง ๔.๕ เมตร นํ�าหนัก ตัวเปล่า ๖,๘๐๐ กิ โลกรัม นํ�าหนักบินขึ�นสูงสุด ๑๔,๐๐๐ กิ โลกรัม เครื � องยนต์ วอลโว เทอร์ โบแฟน ให้แรงขับ ๑๒,๑๐๐ ปอนด์ ให้แรงขับเมือ� ใช้สนั ดาปท้าย ๑๘,๑๐๐ ปอนด์ ความเร็ว ๒.๐ มัค เพดานบิ น ๑๕,๒๔๐ เมตร รัศมี ทําการรบ ๘๐๐ กิ โลเมตร และ พิ สยั บิ น ๓,๒๐๐ กิ โลเมตร (เมื อ� ติ ดถังนํ�ามันอะไหล่) ประจํ า การฝูง บิ น ๗๐๑ กองบิ น ๗ ฐานทัพอากาศสุราษฎร์ ธานี (ในภาพเป็ นเครื � องบิ นกริ เพ่น ของฝูงบิ น ๗๐๑ พร้ อมด้วย สัญลักษณ์ ปลาฉลาม)

พ.ศ. ๒๕๕๔ พื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารบริ เ วณภาคใต มีชายฝงทะเลทั้งสองดาน คือ มหาสมุทรแปซิฟก และมหาสมุ ท รอิ น เดี ย และเตรี ย มการรั บ มอบ เครื่องบินกริเพน ในเฟสที่สอง จํานวน ๖ เครื่อง เปนรุนที่นั่งเดี่ยว ในป พ.ศ. ๒๕๕๖ เมื่อถึงเวลานั้น เครือ่ งบินขับไล เจเอเอส ๓๙ ซี/ดี รวมทัง้ สิน้ ๑๒ เครือ่ ง จะชวยใหการคุม ครองผลประโยชนของชาติในพืน้ ที่ ภาคใต ตลอดจนแหลงกาซธรรมชาติในอาวไทยที่ นําขึ้นมาใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา สําหรับใหแสงสวางตามบาน พรอมดวยเครื่องใช ไฟฟาตามสํานักงานและโรงงานอุตสาหกรรมใหมี ความมั่นคงเพิ่มมากขึ้น ภัยคุกคามทางดานทหารจากเครือ่ งบินขับไล ทีส่ าํ คัญคือกองทัพอากาศมาเลเซีย เครือ่ งบินขับไล โจมตีพิสัยไกลชนิดที่นั่งคู ซู-๓๐ เอ็มเคเอ็ม จํานวน ๑๘ เครือ่ ง ของฝูงบินที่ ๑๑ ฐานทัพอากาศกองเคดัค เครื่องบินขับไลที่นั่งเดี่ยว มิก-๒๙ ฟลครั่ม จํานวน ๑๖ เครื่อง ของฝูงบินที่ ๑๙ ฐานทัพอากาศควนตัน และเครื่องบินขับไลโจมตีชนิดที่นั่งคู เอฟ/เอ-๑๘ ดี ฮอรเน็ต จํานวน ๘ เครื่อง ของฝูงบินที่ ๑๘ ฐานทัพ อากาศบัตเตอรเวิรธ กองทัพอากาศพมา เครื่องบิน ขับไลที่นั่งเดี่ยว มิก-๒๙ ฟลครั่ม จํานวน ๓๐ เครื่อง (บางสวนรอการรับมอบจากรัสเซีย)

๖๑


ปฏิทินการฝกสอน นศท. (สวนกลาง) ประจําปการศึกษา ๒๕๕๔ สัปดาห

เสาร

อาทิตย

จันทร

อังคาร

พุธ

พฤหัสบดี

ศุกร

หมายเหตุ

ปฐมนิเทศ ๑๘ มิ.ย. ๑๙ มิ.ย. ๒๐ มิ.ย. ๒๑ มิ.ย. ๒๒ มิ.ย. ๒๓ มิ.ย. ๒๔ มิ.ย. สัปดาหการปฐมนิเทศ นศท. ทุกศูนยฝก

การฝก-สอน ตามหลักสูตร นศท. ๒๕ มิ.ย. ๒๖ มิ.ย. ๒๗ มิ.ย. ๒๘ มิ.ย. ๒๙ มิ.ย. ๓๐ มิ.ย. ๑ ก.ค. เริจํา่มนวน ๒๐ สัปดาห ๒ ก.ค. ๓ ก.ค. ๔ ก.ค. ๕ ก.ค. ๖ ก.ค. ๗ ก.ค. ๘ ก.ค.

ก.ค. วันอาสาฬหบูชา ๙ ก.ค. ๑๐ ก.ค. ๑๑ ก.ค. ๑๒ ก.ค. ๑๓ ก.ค. ๑๔ ก.ค. ๑๕ ก.ค. ๑๕ เรียนชดเชยในวันเสารที่ ๒๓ ก.ค.

ก.ค. วันเขาพรรษาเรียนชดเชยวันอาทิตยที่ ๑๖ ก.ค. ๑๗ ก.ค. ๑๘ ก.ค. ๑๙ ก.ค. ๒๐ ก.ค. ๒๑ ก.ค. ๒๒ ก.ค. ๑๖ ๑๗ ก.ค. (ศฝ.จว.ส.ป./รร.ชท.สปท.) ๑๘ ก.ค. หยุดชดเชยวันเขาพรรษา เรียนชดเชยในวันเสารที่ ๓๐ ก.ค.

๒๓ ก.ค. ๒๔ ก.ค. ๒๕ ก.ค. ๒๖ ก.ค. ๒๗ ก.ค. ๒๘ ก.ค. ๒๙ ก.ค.

๓๐ ก.ค. ๓๑ ก.ค. ๑ ส.ค. ๒ ส.ค.

๖ ส.ค.

๑๓ ส.ค. ๑๔ ส.ค. ๑๕ ส.ค. ๑๖ ส.ค. ๑๗ ส.ค. ๑๘ ส.ค. ๑๙ ส.ค.

๒๐ ส.ค. ๒๑ ส.ค. ๒๒ ส.ค. ๒๓ ส.ค. ๒๔ ส.ค. ๒๕ ส.ค. ๒๖ ส.ค.

๑๐

๒๗ ส.ค. ๒๘ ส.ค. ๒๙ ส.ค. ๓๐ ส.ค. ๓๑ ส.ค. ๑ ก.ย.

๑๑

๓ ก.ย.

๑๒

๑๐ ก.ย. ๑๑ ก.ย. ๑๒ ก.ย. ๑๓ ก.ย. ๑๔ ก.ย. ๑๕ ก.ย. ๑๖ ก.ย.

๑๓

๑๗ ก.ย. ๑๘ ก.ย. ๑๙ ก.ย. ๒๐ ก.ย. ๒๑ ก.ย. ๒๒ ก.ย. ๒๓ ก.ย.

๑๔

๒๔ ก.ย. ๒๕ ก.ย. ๒๖ ก.ย. ๒๗ ก.ย. ๒๘ ก.ย. ๒๙ ก.ย. ๓๐ ก.ย.

๑๕

๑ ต.ค.

๒ ต.ค. ๓ ต.ค. ๔ ต.ค.

๑๖

๘ ต.ค.

๙ ต.ค. ๑๐ ต.ค. ๑๑ ต.ค. ๑๒ ต.ค. ๑๓ ต.ค. ๑๔ ต.ค.

๑๗

สัปดาหการบริจาคโลหิตครั้งที่ ๔ (รอบเชา) ๒๓ ต.ค. วันปยมหาราช เรียนชดเชย ๒๒ ต.ค. ๒๓ ต.ค. ๒๔ ต.ค. ๒๕ ต.ค. ๒๖ ต.ค. ๒๗ ต.ค. ๒๘ ต.ค. วันเสารที่ ๒๒ ต.ค. (นศท. เรียนวันอาทิตย) ๒๔ ต.ค. หยุดชดเชยวันปยมหาราช เรียนชดเชยในวันเสารที่ ๒๙ ต.ค. นศท.ที่ไดอนุมัติตาม ๒๙ ต.ค. ๓๐ ต.ค. ๓๑ ต.ค. ๑ พ.ย. ๒ พ.ย. ๓ พ.ย. ๔ พ.ย. ฝหลักชดเชยให กเกณฑครั้งที่ ๒ (๓๑ ต.ค. - ๔ พ.ย.) ก-สอน ตามหลักสูตร ๕ พ.ย. ๖ พ.ย. ๗ พ.ย. ๘ พ.ย. ๙ พ.ย. ๑๐ พ.ย. ๑๑ พ.ย. จบการฝ นศท. จํานวน ๒๐ สัปดาห

๑๙ ๒๐

๔ ก.ย.

๘ ส.ค.

๕ ก.ย.

๖ ก.ย.

๒ ก.ย.

๖๒ รักษาดินแดน

สัปดาหการบริจาคโลหิตครั้งที่ ๒ (รอบเชา)

๗ ก.ย. ๘ ก.ย. ๙ ก.ย.

๕ ต.ค. ๖ ต.ค.

สัปดาหการบริจาคโลหิตครั้งที่ ๓ (รอบบาย) ฝ ก ชดเชยให นศท.ที่ไดอนุมัติ ๗ ต.ค. ตามหลักเกณฑ ครั้งที่ ๑ (๓ - ๗ ต.ค.)

๑๕ ต.ค. ๑๖ ต.ค. ๑๗ ต.ค. ๑๘ ต.ค. ๑๙ ต.ค. ๒๐ ต.ค. ๒๑ ต.ค.

วารสาร

๑๘

๗ ส.ค.

สัปดาหการบริจาคโลหิตครั้งที่ ๑ (รอบบาย),๔ ส.ค. พิธไี หวครูของ นศท. ส.ค. วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ ๙ ส.ค. ๑๐ ส.ค. ๑๑ ส.ค. ๑๒ ส.ค. ๑๒ เรียนชดเชยในวันเสารที่ ๒๑ ส.ค.

๓ ส.ค. ๔ ส.ค. ๕ ส.ค.


การสอบภาคปฏิบัติ, ภาคทฤษฎี นศท. ประจําปการศึกษา ๒๕๕๔ สัปดาห

๒๑

๒๒

๒๓

เสาร

อาทิตย

จันทร

อังคาร

พุธ

พฤหัสบดี

ศุกร

หมายเหตุ

พ.ย. สอบภาคปฏิบัติป ๑ - ๓ ชาย ๑๒ พ.ย. ๑๓ พ.ย. ๑๔ พ.ย. ๑๕ พ.ย. ๑๖ พ.ย. ๑๗ พ.ย. ๑๘ พ.ย. ๑๒ (ศฝ.จว.สมุทรปราการ/รร.ชท.สปท.)

๑๓ พ.ย. สอบภาคปฏิบัติป ๑ - ๕ หญิง, ๓ - ๕ ชาย (ศฝ.รร.รด.ศสร./ศฝ.ยอย) ๑๔ - ๑๘ สอบภาคปฏิบัติป ๑ - ๓ ชาย (ศฝ.รร.รด.ศสร./ศฝ.ยอย) พ.ย. สอบภาคทฤษฎีป ๑ - ๒ ชาย ๑๙ พ.ย. ๒๐ พ.ย. ๒๑ พ.ย. ๒๒ พ.ย. ๒๓ พ.ย. ๒๔ พ.ย. ๒๕ พ.ย. ๑๙ (ศฝ.จว.สมุทรปราการ) ๑๙ พ.ย. สอบภาคทฤษฎีป ๑, ๒, ๔ หญิง, ๔ ชาย (สวนกลาง) ๒๐ พ.ย. สอบกลางภาคทฤษฎีป ๓, ๕ ชาย, หญิง (ทั่วประเทศ) ๒๑ - ๒๕ พ.ย.สอบภาคทฤษฎีป ๑ - ๒ ชาย (ศฝ.รร.รด.ศสร./ศฝ.ยอย) พ.ย. สอบเก็บตกภาคทฤษฎีป ๓, ๕ ๒๖ พ.ย. ๒๗ พ.ย. ๒๘ พ.ย. ๒๙ พ.ย. ๓๐ พ.ย. ๑ ธ.ค. ๒ ธ.ค. ๒๗ ชาย, หญิง (ทั่วประเทศ) ๒๘ พ.ย. สอบเก็บตกภาคปฏิบัติป ๑ - ๕ ชาย, หญิง (สวนกลาง) ๓๐ พ.ย. สอบเก็บตกภาคทฤษฎีป ๑, ๒, ๔ ชาย, หญิง (สวนกลาง)

๒๔

๓ ธ.ค.

๒๕

๑๐ ธ.ค. ๑๑ ธ.ค. ๑๒ ธ.ค. ๑๓ ธ.ค. ๑๔ ธ.ค. ๑๕ ธ.ค. ๑๖ ธ.ค.

๒๖

อมภาคทฤษฎี (๑๙ ธ.ค. ป ๑, ๒, ๔ ๑๗ ธ.ค. ๑๘ ธ.ค. ๑๙ ธ.ค. ๒๐ ธ.ค. ๒๑ ธ.ค. ๒๒ ธ.ค. ๒๓ ธ.ค. สอบซ ชาย, หญิง) (๒๐ ธ.ค. ป ๓, ๕ ชาย, หญิง) ๒๔ ธ.ค. ๒๕ ธ.ค. ๒๖ ธ.ค. ๒๗ ธ.ค. ๒๘ ธ.ค. ๒๙ ธ.ค. ๓๐ ธ.ค.

หมายเหตุ วันหยุดราชการ

การเรี ยนชดเชย การสอบประจําปี

๕ ธ.ค.

๖ ธ.ค.

๗ ธ.ค. ๘ ธ.ค.

๙ ธ.ค. ๘ ธ.ค. วันนักศึกษาวิชาทหาร

๑๕ ก.ค. วันอาสาฬหบูชา ใหมาเรียนชดเชยวันเสารที่ ๒๓ ก.ค. ๕๔ ๑๘ ก.ค. หยุดชดเชยวันเขาพรรษา ใหมาเรียนชดเชยวันเสารที่ ๓๐ ก.ค. ๕๔ ๑๒ ส.ค. วันเฉลิมพระชนมพรรษา ใหมาเรียนชดเชยวันเสารที่ ๒๐ ส.ค. ๕๔ ๒๔ ต.ค. หยุดชดเชยวันปยมหาราช ใหมาเรียนชดเชยวันเสารที่ ๒๙ ส.ค. ๕๔ นศท. ที่ขอเรียนชดเชยถูกตองตามหลักเกณฑ และไดรับอนุมัติใหเรียนชดเชยตามกําหนด ดังนี้ ครั้งที่ ๑ สัปดาหที่ ๑๕, วันจันทรที่ ๓ ต.ค. - วันศุกรที่ ๗ ต.ค. ๕๔ (รอบเชา - รอบบาย) ครั้งที่ ๒ สัปดาหที่ ๑๙, วันจันทรที่ ๓๑ ต.ค. - วันศุกรที่ ๔ พ.ย. ๕๔ (รอบเชา - รอบบาย) ๑๒ พ.ย. สอบภาคปฏิบัติป ๑ - ๓ ชาย (ศฝ.จว.สมุทรปราการ/ศฝ.รร.ชางฝมือทหาร) ๑๓ พ.ย. สอบภาคปฏิบัติป ๑ - ๕ หญิง, ๓ - ๕ ชาย (ศฝ.รร.รด.ศสร./ศฝ.ยอย นศท.สวนกลางที่เรียนวันอาทิตย) ๑๔ - ๑๘ พ.ย. สอบภาคปฏิบัติป ๑ - ๓ ชาย (ศฝ.รร.รด.ศสร./ศฝ.ยอย นศท.) ๑๙ พ.ย. สอบภาคทฤษฎีป ๑ - ๒ ชาย (ศฝ.จว.สมุทรปราการ)

รักษาดินแดน

วารสาร

๒๗

๔ ธ.ค.

๖๓


๑๙ พ.ย. สอบภาคทฤษฎีป ๑, ๒, ๔ หญิง, ๔ ชาย (นศท.สวนกลาง) *๒๐ พ.ย. สอบภาคทฤษฎีป ๓, ๕ ชาย, หญิง (ทั่วประเทศ) ๒๑ - ๒๕ พ.ย. สอบภาคทฤษฎีป ๑, ๒ ชาย (ศฝ.รร.รด.ศสร./ศฝ.ยอย นศท.) *๒๗ พ.ย. สอบเก็บตกภาคทฤษฎีป ๓, ๕ ชาย, หญิง (ทั่วประเทศ) (รวมพลเวลา ๐๗.๔๕ น.) *๒๘ พ.ย. สอบเก็บตกภาคทฤษฎีป ๑ - ๕ ชาย, หญิง (สวนกลาง) (รวมพลเวลา ๐๗.๔๕ น. ที่ รร.รด.ศสร.) *๓๐ พ.ย. สอบเก็บตกภาคทฤษฎีป ๑, ๒, ๔ ชาย, หญิง (สวนกลาง) (รวมพลเวลา ๐๗.๔๕ น. ที่ รร.รด.ศสร.) ๘ ธ.ค. วันนักศึกษาวิชาทหาร ๑๙ ธ.ค. สอบซอมภาคทฤษฎีป ๑, ๒, ๔ ชาย, หญิง (สวนกลาง) (รวมพลเวลา ๐๗.๔๕ น. ที่ รร.รด.ศสร.) ๒๐ ธ.ค. สอบซอมภาคทฤษฎีป ๓, ๕ ชาย, หญิง (สวนกลาง) (รวมพลเวลา ๐๗.๔๕ น. ที่ รร.รด.ศสร.) หลักเกณฑ์ การขอผ่ อนผันให้ นศท. เรี ยนชดเชย กรณีเข้ าร่ วมโครงการต่ าง ๆ ดังนี � ๑. โครงการเพื่อสงเสริมสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ซึ่งจัดโดยหนวยงานราชการหรือองคกรตาง ๆ ๒. โครงการของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ๓. โครงการสงเสริมโอลิมปควิชาการ และมาตรฐานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร (สอวน.) ๔. โครงการประเมินผลคุณภาพการศึกษาระดับประเทศ (GAT/PAT) การสอบตรงเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาและ การแขงขันการตอบปญหาทางการศึกษาระดับชาติ ๕. โครงการตอตานยาเสพติด ซึ่งจัดโดยหนวยงานราชการหรือองคกรตาง ๆ ๖. โครงการมูลนิธิการศึกษาและวัฒนธรรมสัมพันธไทย - นานาชาติ (เอเอฟเอส ประเทศไทย) ๗. โครงการแลกเปลี่ยนเยาวชนไทย - นานาชาติ โดยใชทุนการศึกษาของรัฐหรือหนวยงานเอกชน ๘. การเป น ผู  แ ทนของประเทศ เขา รว มการแขง ขันระหวางประเทศ และกีฬาแหงชาติ หรือตัวแทนรวมกิจกรรม ในตางประเทศ หมายเหตุ ตองมีหนังสือจากสถานศึกษาวิชาทหารพรอมหลักฐานการเขารวมโครงการ (โดยหัวหนาสถานศึกษาวิชาทหาร เปนผูล งนามถึงผูบ งั คับบัญชาการโรงเรียนรักษาดินแดน) สงหนังสือดังกลาวทีแ่ ผนกเตรียมการ โรงเรียนรักษาดินแดน ศูนยการกําลังสํารอง โดยตรง

๖๔ รักษาดินแดน

วารสาร

แผนกเตรี ยมการ โรงเรี ยนรักษาดิ นแดน ศูนย์การกําลังสํารอง โทร./โทรสาร ๐-๒๒๗๕-๒๑๗๕ (โทรทหาร ๙๐๖๕๐)


แนะนํา สถานศึกษา

โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี

เลขที่ ๕๔ ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวง/เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรสาร ๐ ๒๒๗๖ ๖๒๗๖ โทรศัพท ๐ ๒๒๗๗ ๙๑๑๐ วิ ท ยฐานะ รั บ นั ก เรี ย นที่ เ ป น บุ ต รข า ราชการ กองทัพบก และบุตรบุคคลอื่นทั่วไปเขาเรียน ภายหลังกองทัพบกพิจารณาเห็นวา การ จัดการศึกษาแกเยาวชนควรมอบใหเปนหนาที่ของ กระทรวงศึกษาธิการ และดวยปญหาการขาดแคลน ผูชํานาญในการจัดการศึกษา จึงไดโอนโรงเรี ยน บุ ต รข้ า ราชการกองทั พ บกส่ ว นกลางให้ แ ก่ กระทรวงศึกษาธิการ เมื�อวันที� ๑๘ มีนาคม ๒๕๑๗ หลั ง จากที่ ก องทั พ บกดํ า เนิ น การมาได ๖ ป การโอนโรงเรียนบุตรขาราชการกองทัพบก สวนกลางใหเปนโรงเรียนของกรมสามัญศึกษานั้น กองทัพบกไดเสนอชือ่ “จอมพล มหาอํามาตย์ เอก เจ้ าพระยาสุรศักดิ�มนตรี ” ผูบัญชาการทหารบก คนแรก ที่กองทัพบกภาคภูมิใจในเกียรติประวัติ ใหกรมสามัญศึกษาใชเปนชื่อของโรงเรียน โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรีจัดการศึกษาระดับ มัธยมศึกษา จัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียน เปนสําคัญ จัดศูนยการเรียนรูโดยใชสื่ออุปกรณ และเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย เน น กิ จ กรรมที่ ห ลาก หลายรวมทั้งมีความเจริญกาวหนาทางดานอาคาร สถานที่ และสิ่ ง แวดล อ มที่ เ หมาะแก ก ารเรี ย นรู  จึ ง ได รั บ รางวั ล “โรงเรี ย นดี เ ด่ น รั บ รางวั ล พระราชทานประจําปี การศึกษา ๒๕๔๒” โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรีในปแรกนั้น มีอาคาร ๕ หลัง โรงอาหาร ๑ หลัง หอนอน ๑ หลัง และ โรงพลศึกษา ๑ หลัง บัดนี้ โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี มี ค วามเจริ ญ ก า วหน า ทางด า นอาคารสถานที่

รักษาดินแดน

วารสาร

โรงเรี ย นสุ ร ศั ก ดิ์ ม นตรี เดิ ม คื อ โรงเรี ย น บุตรข้ าราชการกองทัพบก สรางขึ้นเพื่อเปนการ แบงเบาภาระการจัดการศึกษาของชาติ และเปนการ ตอบแทนขาราชการสังกัดกองทัพบก ซึง่ ตองปฏิบตั ิ หนาที่ดวยความเสียสละจะไดไมตองวิตกกังวล ในเรือ่ งการจัดหาโรงเรียนใหบตุ รหลาน ในป ๒๔๙๒ ฯพณฯ จอมพล ผิน ชุณหะวัน รองผูบัญชาการ ทหารบก ในขณะนัน้ จึงชักชวนขาราชการกองทัพบก ทุกทาน ใหเสียสละเงินรายไดปล ะ ๑ วันใหกองทัพบก เพื่ อ รวบรวมสมทบทุ น ในการก อ สร า งโรงเรี ย น บุตรขาราชการกองทัพบก และไดดําเนินการสะสม เงินจํานวนนี้ ตั้งแตวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๔๙๒ เปนตนมา วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๐๙ เริม่ การกอสราง โรงเรียนบุตรขาราชการกองทัพบกสวนกลางขึน้ โดย ฯพณฯ จอมพล ประภาส จารุเสถียร ผูบ ญ ั ชาการ ทหารบก ในขณะนัน้ ไดมอบหมายให พลเอก เต็ม หอมเศรษฐี เปนประธานอนุกรรมการการจัดตั้ง และกอสราง ซึง่ สรางเสร็จในเดือนพฤษภาคม ๒๕๑๑ บนเนื้อที่ ๕๘ ไร ริมถนนวิภาวดีรังสิต โดยนายก รัฐมนตรีสมัยนั้นคือ ฯพณฯ จอมพล ถนอม และ ท่ านผู้หญิงจงกล กิตติขจร เปนผูใหการอุปถัมภ โรงเรียน โรงเรียนบุตรขาราชการกองทัพบก จัดการ ศึกษาตั้งแตอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา แผนกพาณิชยการ และชางกล เปน โรงเรี ย นราษฎร ที่ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารรั บ รอง

๖๕


๖๖ รักษาดินแดน

วารสาร

มีการกอสรางอาคารเพิม่ เติมหลายหลัง อาคารของ โรงเรียนประกอบดวย อาคาร ๑ ชือ่ “ตึกจอมพลถนอม กิตติขจร” เปนอาคาร ๔ ชัน้ เปนทีต่ งั้ ของสํานักงานกลุม บริหาร วิชาการ หองสารสนเทศ สํานักงานกลุมบริหาร การเงินสินทรัพยและบริหารงานบุคคล สํานักงาน ผูอ าํ นวยการ หองประชุม “เห็นแกลกู ” หองจริยธรรม หองคอมพิวเตอร หองการเงิน หองโสตทัศนศึกษา บริภัณฑ หองปฏิบัติการทางภาษา หองมัลติมีเดีย และหองศูนยวิชาภาษาอังกฤษ อาคาร ๒ ชื่อ “ตึกจอมพลผิน ชุณหะวัน” เปนอาคาร ๓ ชั้น เปนที่ตั้งของกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระ การเรียนรูภาษาตางประเทศ หองศูนยวัฒนธรรม โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี “ภูมปิ ั ญญาไทย” หองศูนย วิชาสังคมศึกษา และใชเปนหองเรียนจํานวน ๑๕ หอง อาคาร ๓ ชื่ อ “ตึ ก จอมพลประภาส จารุ เ สถี ย ร” เป น อาคาร ๓ ชั้ น เป น ที่ ตั้ ง ของ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร หองศูนยวิชา วิ ท ยาศาสตร ห อ งเรี ย นสี เ ขี ย ว ห อ งปฏิ บั ติ ก าร ทางวิทยาศาสตร และหองนวัตกรรมกาญจนาภิเษก และใชเปนหองเรียน ๑๒ หอง อาคาร ๔ ชื่อ “ตึกสํานักงานสลากกินแบ่ ง รั ฐบาล” เปนอาคาร ๓ ชั้น เปนที่ตั้งของกลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทย หองศูนยวิชาภาษาไทย และ ใชเปนหองเรียนจํานวน ๑๔ หอง อาคาร ๕ ชื่อ “ตึกพลเอกทวิช เสนีย์วงศ์ ” เปนอาคาร ๓ ชั้น เปนที่ตั้งของกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร หองศูนยวิชาคณิตศาสตร กลุมสาระ การเรี ย นรู  สุ ข ศึ ก ษาและพลศึ ก ษา และใช เ ป น หองเรียนจํานวน ๑๕ หอง อาคาร ๖ ชื่อ “ตึกเฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา” เปนอาคาร ๔ ชั้น เปนที่ตั้งของโรงอาหาร หองศูนยเพื่อนใจวัยรุน หอประชุม หองปฏิบัติการ

ทางวิทยาศาสตร และใชเปนหองเรียนจํานวน ๒๘ หอง อาคาร ๗ ชือ่ “ตึกพลเอกเต็ม หอมเศรษฐี” เปนโรงพลศึกษา อาคาร ๘ ชือ่ “ตึกพลเอกกฤษณ์ สีวะรา” เปน อาคารหอนอน เปนที่ตั้งของหองโยธวาทิตวาทยา อาคาร ๙ ชือ่ “ตึกพลเอกอาทิตย์ กําลังเอก” เปนที่ตั้งของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ เทคโนโลยีและศิลปะ หองปฏิบัติการของวิชาการ งานอาชีพและศิลปะ และใชเปนหองเรียน ๑๓ หอง อาคาร ๑๐ ชือ่ “ตึกจอมพลมหาอํามาตย์เอก เจ้ า พระยาสุ ร ศั ก ดิ� ม นตรี ” เป น อาคาร ๓ ชั้ น เปนทีต่ งั้ ศูนยวทิ ยบริการ ประกอบดวย หองหนังสือ ทั่วไปและอางอิง หองศูนยพัฒนาสูความเปนเลิศ (Resource Center) หอง Internet หองนานา นวัตกรรม หองศึกษาคนควาดวยตนเอง หองวีดทิ ศั น หองพิพธิ ภัณฑโรงเรียน หองกีฬาในรม งานแนะแนว อาคาร ๑๑ ชื่อ “ตึกเจริ ญ พูลวรลักษณ์ ” เป น อาคาร ๓ ชั้ น เป น ที่ ตั้ง ของสํ านั ก งานกลุ  ม บริ ห ารงานทั่ ว ไป สํ า นั ก งานสมาคมผู  ป กครอง และครูโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี สํานักงานสมาคม ศิษยเกาบุตร ทบ.-สุรศักดิ์มนตรี และหองประชุม โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี นอกจากนี ย� ังมีอาคารประกอบจํานวน ๔ หลัง ประกอบด้ วย ๑. อาคารปกครอง เปนที่ตั้งของสํานักงาน กลุมบริหารกิจการนักเรียน งานประชาสัมพันธ สํานักงานเครือขายผูปกครองฯ ๒. อาคารพยาบาล ๓. อาคารกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๔. ศาลาฉัฏฐมงคล เปนเรือนไมทรงไทย ใชเปนที่จัดกิจกรรมสงเสริมและอนุรักษวัฒนธรรม ไทย ๕. สนามกี ฬ าจํ า นวน ๖ สนาม และ สระวายนํ้า ๑ สระ


นายธีระพงศ นิยมทอง

ผูอํานวยการโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี

๑. ประวัติสวนตัว

เกิดวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๔๙๘ ปจจุบันอายุ ๕๖ ป ตําแหนงปจจุบัน ผูอํานวยการโรงเรียน สุรศักดิ์มนตรี สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒ คุณวุฒิ ประโยคมัธยมศึกษาวิชาชีพชั้นสูง (ปม.ช.) ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นศ.ม.) การบริหารการศึกษา (ป.บัณฑิต)

๓. ประวัติการทํางาน

๒๕๒๐ ๒๕๒๑ - ๒๕๓๕ ๒๕๓๕ - ๒๕๓๗ ๒๕๓๗ - ๒๕๓๙ ๒๕๔๐ - ๒๕๔๓ ๒๕๔๓ - ๒๕๔๕ ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙ ๒๕๔๙ - ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ - ปจจุบัน

สาขา/วิชาเอก ดนตรีสากล พลศึกษา การประชาสัมพันธ บริหารการศึกษา

สถานศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลป วิทยาลัยครูจันทรเกษม มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ครูโรงเรียนสตรีนนทบุรี อาจารยโรงเรียนนนทบุรี ผูชวยอาจารยใหญ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวังนนทบุรี ผูชวยผูอํานวยการโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวังนนทบุรี ผูอํานวยการโรงเรียนไทรนอย จังหวัดนนทบุรี ผูอํานวยการโรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย กทม. ผูอํานวยการโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย กทม. ผูอํานวยการโรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภฯ ผูอํานวยการโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี

รักษาดินแดน ๖๗ วารสาร

๒. ประวัติการศึกษา


๔. การฝกอบรม/ศึกษาดูงาน ๒๕๔๓ ๒๕๔๕ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒

หลักสูตรการปฏิบัติงานจิตวิทยาเพื่อความมั่นคง (สจว.) หลักสูตรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุน ๑ หลักสูตรการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงรองรับการกระจายอํานาจทางการศึกษา หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บยส.๑๓) ศาลยุติธรรม หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๒ (ปรอ.รุนที่ ๒๒)

๕. ประสบการณดานการบริหารงานบุคคล

๖๘ รักษาดินแดน

วารสาร

๑. ประธานอนุกรรมการฝายดุริยางคเนื่องในงาน ๕ ธันวา มหาราช และงาน ๑๒ สิงหา มหาราชินี มูลนิธิ ๕ ธันวา มหาราช ๒. กรรมการฝายกิจกรรมงานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ ๒๐ ป ๒๕๔๕ - ๒๕๔๖ ๓. ประธานศูนยพัฒนาคุณภาพวิชาภาษาจีน (โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย) ๔. ประธานศูนยพัฒนาคุณภาพวิชาภาษาญี่ปุน (โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภฯ) ๕. ประธานศูนยพัฒนาคุณภาพวิชาสังคมศึกษา (โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี) ๖. กรรมการบริหารสมาคมจักรยานแหงประเทศไทย ในพระอุปถัมภฯ ๗. ผูทรงคุณวุฒิใน อ.ก.ค.ศ. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ๘. กรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจกรุงเทพมหานคร (สถานีตาํ รวจนครบาลพญาไท และสถานีตํารวจนครบาลดินแดง) ๙. คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติ สถาบันพัฒนศิลป ๑๐. กรรมการประเมินการเลื่อนวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ, ครูเชี่ยวชาญ ๑๑. ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและการคุมครองผูบริโภค วุฒสิ ภา


ผกท.สุพจน รักธรรม

รองผูอํานวยการโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี ฝายบริหารงานบุคคล หัวหนางานรักษาดินแดน ผูอํานวยการโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี ประวัติการรับราชการ   

  

เริ่มรับราชการตั้งแตวันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล จังหวัดอุดรธานี ๑ ตุลาคม ๒๕๒๔ โรงเรียนเบญจมราชาลัย กรุงเทพมหานคร ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐ ผูช ว ยผูอ าํ นวยการโรงเรียนกาญจนาภิเษก นครปฐม (พระตําหนักสวนกุหลาบมัธยม) จังหวัดนครปฐม ๑ ตุลาคม ๒๕๔๖ รองผูอํานวยการโรงเรียนจันทรประดิษฐารามวิทยาคม สังกัด สพท.กทม.๓ กรุงเทพมหานคร ๑ ตุลาคม ๒๕๔๘ รองผูอํานวยการโรงเรียนโยธินบูรณะ สังกัด สพท.กทม. กรุงเทพมหานคร ๑ เมษายน ๒๕๕๑ รองผูอ าํ นวยการโรงเรียนพระโขนงพิทยาลัย สังกัด สพท.กทม.๑ กรุงเทพมหานคร ๑ เมษายน ๒๕๕๓ รองผูอํานวยการโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี สังกัด สพม.เขต ๒ กรุงเทพมหานคร

วุฒิการศึกษา  

ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาตรี การศึกษาบัณฑิต วิชาเอกพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (พลศึกษา)

เกี่ยวกับงานนักศึกษาวิชาทหาร 

สําเร็จการฝกอบรมตามหลักสูตรผูกํากับนักศึกษาวิชาทหารของกองทัพบก ระยะเวลาตั้งแตวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๔๒ ถึงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๔๒ กอตัง้ สถานศึกษานักศึกษาวิชาทหารโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยนครปฐม (พระตําหนักสวนกุหลาบ มัธยม) พ.ศ. ๒๕๔๒

รักษาดินแดน ๖๙ วารสาร


วิธีการสงหมายเรียกพลและ

การดําเนินคดีนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน

กองการเตรียมพล นรด.

วั ส ดี ค รั บ เพื่ อ นข า ราชการและสมาชิ ก รั ก ษาดิ น แดนวารสารทุ ก ท า น สํ า หรั บ ฉบั บ นี้ กองการเตรียมพลฯ ไดนําวิธีการปฏิบัติในเรื่องการสงหมายเรียกพล และการดําเนินคดีตอ นายทหารสัญญาบัตรกองหนุนที่ขัดขืนการเรียกพล เพื่อใหขาราชการสายงานสัสดีใชเปนแนวทางปฏิบัติ ซึ่งวิธีการดังกลาวนั้นเปนคําชี้แจงในการปฏิบัติงานที่ทาน พล.อ.ศักดิ์สิน ทิพยเกษร เคยดํารงตําแหนง ผูอํานวยการกองการกําลังสํารอง กรมการกําลังสํารองทหารบก (ผอ.กสร.กสร.ทบ.) ในขณะนั้น และ ไดเคยพิมพลงในวารสารสัสดีมาแลว โดย กองการกําลังสํารอง กรมการกําลังสํารองทหารบก (กสร.กสร.ทบ.) ซึ่งตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปน กองการเตรียมพล หนวยบัญชาการกําลังสํารอง (กตพ.นสร.) ตั้งแตการ รวมหนวย รด. กับ กสร.ทบ. เมื่อ ๑๐ พ.ค. ๔๕ และเปลี่ยนชื่อเปน กองการเตรียมพล หนวยบัญชาการ รักษาดินแดน (กตพ.นรด.) ตั้งแต ๑ เม.ย. ๕๒

๗๐ รักษาดินแดน

วารสาร

สําหรับแนวทางการปฏิบัติงานในเรื่องวิธี การสงหมายเรียกพลและแนวทางการดําเนินคดีฯ ตามที่เผยแพรในวารสารฉบับนี้ ไดมีกําหนดไวใน แผนการเรียกพลเพื่อตรวจสอบและฝกวิชาทหาร ประจําปของ ทบ. เชนกัน มีขอกําหนดเพิ่มเติม การปฏิบัติของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของไวดังตอไปนี้

๑. ขั้นการเตรียมการเรียกพล

ให ห น ว ยเรี ย กพล (มทบ./จทบ.) จั ด ทํ า ชุ ด เอกสารการเรี ย กพล (คํ า สั่ ง เรี ย กพล, หมายเรียกพล, บัญชีเรียกพล ฯลฯ) ตามรายชื่อ กํ า ลั ง พลสํ า รองที่ บ รรจุ อ ยู  ใ นบั ญ ชี บ รรจุ กํ า ลั ง (ตพ.๕) ของหนวยตาง ๆ ซึง่ ไดผ่านการตรวจสอบ


๒. ขั้นปฏิบัติการเรียกพล

การเรียกพลเพื�อฝึ กวิชาทหาร ตาม ระบบ ๑ : ๑ : ๑ : ๓ ซึง่ จะตองทําการเรียกพล ๔ ครัง้ ในปงบประมาณแรก (ฝกเฉพาะหนาที่ใน พ.ค., มิ.ย., ก.ค. เดือนละ ๒ วัน รวม ๖ วัน และฝกเปน หนวยกองรอยใน ส.ค. ๑๐ วัน) และเรี ยกพล อี ก ๓ ครั �ง ในปงบประมาณถัดไป (ฝกเฉพาะ หนาที่ใน ม.ค., ก.พ. เดือนละ ๒ วัน รวม ๔ วัน และฝกเปนหนวยกองพันใน มี.ค. ๑๐ วัน) ใหสัสดี อําเภอประสานกับนายอําเภอลงนามในเอกสาร การเรียกพล (ตพ.๑๓) พรอมกันทีเดียว เนื่องจาก จะไม มี การเปลี่ ยนตัว กํา ลังพลสํา รองไดอีกและ เพื่ อ ความสะดวกในการส ง มอบให กั บ กํ า ลั ง พล สํารอง โดยกําหนดให้ สัสดีอาํ เภอส่ งชุดเอกสาร

การเรียกพลถึงกําลังพลสํารองเฉพาะในครัง� แรก เท่ านัน� สําหรับชุดเอกสารการเรียกพลครั้งตอไป ใหนําสง มทบ./จทบ. เพื่อมอบใหกําลังพลสํารอง ในวั น ปลดปล อ ยพลแต ล ะครั้ ง (กรณี กํ า ลั ง พล สํารองที่ไมมารายงานตัว ใหนําสงคืนสัสดีอําเภอ เพื่อดําเนินการสงชุดเอกสารการเรียกพลเชนเดียว กับครั้งแรก) สําหรับการเรียกพลเพือ่ ตรวจสอบ กําหนด ๑ วั น หรื อ การเรี ย กพลเพื่ อ ฝ ก วิ ช าทหารเพื่ อ เลื่อนยศ-ฐานะ กําหนด ๓๐ วัน (รร.กสร.ศสร.) จะสงชุดเอกสารการเรียกพลใหกับกําลังพลสํารอง เพี ย งครั้ ง เดี ย ว คงจะไม มี ป  ญ หาในการปฏิ บั ติ แตอยางใด จึงขอใหเจาหนาที่สายงานสัสดี และหนวย ที่เกี่ยวของไดยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน ถาหากเพือ่ นสมาชิกทานใดมีปญ  หาขอขัดของ หรือ ขอเสนอแนะตาง ๆ กรุณาติดตอไดที่ พ.ต.คมจักร ชัยชนะ แผนกเรียกพลและระดมพล กตพ.นรด. โทรศัพท ๐-๒๒๒๓-๓๒๕๔ โทร.ทบ. ๙๑๙๙๓ ไดในวันและเวลาราชการ

รักษาดินแดน ๗๑ วารสาร

สภาพทหารกองหนุ นมาแล้ วเป็ นอย่ างดี และ สามารถที่จะเรียกกําลังพลสํารองเหลานั้นได ทั้งนี้ ตองจัดทําใหแลวเสร็จกอนวัน ต.-๑๐ และใหเริ่ม สงชุดเอกสารการเรียกพลถึง ผวจ.ในทองที่ หรือ สงถึงกําลังพลสํารองประเภทนายทหารสัญญาบัตร กองหนุน ไดตั้งแตวัน ต.-๑๐


การปฏิบัติในการสงหมายเรียกพลและการดําเนินคดี ตอทหารสัญญาบัตรกองหนุนที่ขัดขืนคําสั่งเรียกพล

๗๒ รักษาดินแดน

วารสาร

การเรียกพลเพื่อฝกวิชาทหารของ ทบ. คือ การเรียกกําลังพลสํารองที่มีรายชื่อบรรจุในบัญชีบรรจุ กําลังของหนวยตาง ๆ ตามแผนปองกันประเทศ เขามารับการฝกทบทวนวิชาทหาร โดยมีความมุงหมาย เพื่อใหกําลังพลสํารองเกิดความคุนเคย และสามารถปฏิบัติการรบรวมกับกําลังประจําการอยางมี ประสิทธิภาพ แตในการเรียกพลฯ ดังกลาว ยังมีปญหาและอุปสรรคในหลายดาน ที่สําคัญที่สุดก็เรื่อง ของคน ไดแก กําลังพลสํารอง (ส.และ พลฯ) พยายามทุกวิถีทางที่จะไมใหถูกเรียกพล โดยไมยอมรับ หมายเรียกพล ทําใหทางราชการไมสามารถเรียกพลไดครบตามจํานวน สําหรับผูที่หลีกเลี่ยงหรือ ขัดขืนการเรียกพล ก็ไมสามารถลงโทษตามกระบวนการยุตธิ รรมได เนือ่ งจากจับตัวไมได หรือจับตัวได แต อัยการ/ศาลสั่งไมฟองเพราะพยานหลักฐานออน ดังนั้น เพื่อใหการสงหมายเรียกพลและการดําเนินคดีฯ มีผลในทางปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม กองการกําลังสํารอง จึงไดกําหนดแนวทางฯ เพื่อใหเจาหนาที่ สายงานสัสดีนําไปปฏิบัติ ดังนี้ ๑. การส่ งหมายเรี ยกพล สําหรั บนายทหารประทวนกองหนุ นและพลทหารกองหนุ น ให้ ปฏิบตั เิ ป็ น ๓ ขัน� คือ ๑.๑ ขัน� ที� ๑ ใหสัสดีอําเภอ/กิ่งอําเภอ/เขต ไปสงหมายเรียกพล (ตพ.๑๓) ใหกําลังพล สํารอง ณ ภูมิลําเนาทหารภายในวัน ต.+ ๑ โดยใหกําลังพลสํารองเซ็นรับหมายเรียกพลในบัญชีเรียกพล (ตพ.๘) กําลังพลสํารองในสวนนี้จะไมมีปญหาในการมารายงานตัว สวนกําลังพลสํารองที่ไมอยูใน ภูมิลําเนาทหารหรือปฏิเสธการรับหมายเรียกพลดวยประการใด ๆ ก็ตาม ใหนําหมายเรียกพลกลับมา แลวดําเนินการสงอยางเปนทางการในขั้นที่ ๒ ๑.๒ ขัน� ที� ๒ การส ง หมายเรี ย กพลในขั้ น นี้ ต อ งดํ า เนิ น การให เ สร็ จ ภายในวั น ต.+ ๒ โดยจัดเปนชุดเจาหนาที่ประกอบดวย ๓ ฝาย คือ ฝายปกครอง (กํานัน/ผูใหญบาน/สารวัตรกํานัน/ผช. ผูใหญบาน), ฝายพนักงานสอบสวน (เจาหนาที่ตํารวจ) และฝายทหาร (สัสดี) โดยชุดเจาหนาที่ดังกลาว จะนําหมายเรียกพลฉบับนั้นไปสงใหกําลังพลสํารองที่มีปญหา (สงซํ้า ณ ภูมิลําเนาทหาร) หากยังไมยอม เซ็นรับอีก ก็แจงใหกําลังพลสํารอง หรือผูปกครอง (ญาติ) ทราบถึงโทษของการไมรับหมายเรียกพล แลวบันทึกรายละเอียดของการดําเนินการทั้งหมดพรอมเหตุผลใหครบถวนสมบูรณลงในแบบบันทึก ปค.๑๔ และขอใหฝา ยปกครอง (กํานัน) ลงนามเปนผูบ นั ทึกดังกลาว โดยมีพนักงานสอบสวนและฝายทหาร ลงนามเปนพยานดวย หลังจากนั้นใหนําหมายเรียกพลกลับมาเพื่อดําเนินการสงในขั้นที่ ๓ ๑.๓ ขัน� ที� ๓ ใหสัสดีนําหมายเรียกพลที่สงไมไดในขั้นที่ ๒ นําสงทางไปรษณียลงทะเบียน ตอบรับอีกครั้งหนึ่ง โดยสงไปยังภูมิลําเนาทหารหรือภูมิลําเนาประกอบอาชีพ ตองดําเนินการใหแลวเสร็จ ภายในวัน ต.+ ๔ เมื่อดําเนินการครบทั้ง ๓ ขั้นตอนแลว ในวัน ต.+ ๒๐ หากกําลังพลสํารองไมมารายงานตัว ตามวัน เวลา และสถานที่ที่ทางราชการกําหนดไวในหมายเรียกพล ให มทบ./จทบ.รวบรวมรายชื่อและ


หลักฐานของกําลังพลสํารองผูนั้น เพื่อดําเนินคดีในขอหาหลีกเลี่ยงหรือขัดขืนการเรียกพลฯ ตาม พ.ร.บ. รับราชการทหาร พ.ศ. ๒๔๙๗ มาตรา ๔๖ หรือ ๔๗ แลวแตกรณี หลักฐานดังกลาวประกอบดวย - สําเนาหมายเรียกพล - สําเนาการบันทึกฯ ใน ปค.๑๔ - หลักฐานการตอบรับทางไปรษณีย ตามกฎหมายใหถือวาทางราชการทหารไดพยายามทุกวิถีทาง ที่จะใหกําลังพลสํารอง ไดรบั หมายเรียกพล และทางไปรษณียก ไ็ ดสง กอนวันรายงานตัวถึง ๑๗ วัน ดังนัน้ ใหถอื วากําลังพลสํารอง ผูนั้นไดรับทราบหมายเรียกพลนั้นแลว แตเพื่อใหการดําเนินการทั้ง ๓ ขั้น มีเวลาเพียงพอ อาจจะเริ่มสง หมายเรียกพลไดกอน วัน ต. ประมาณ ๕ - ๗ วัน ๒. การดําเนินคดีต่อผู้ขัดขืนคําสั�งเรี ยกพล สําหรั บนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน ๒.๑ นายทหารสั ญ ญาบั ต รกองหนุ น เข า รั บ การเรี ย กพลตามคํ า สั่ ง ของผู  บั ง คั บ บั ญ ชา โดยใชคาํ สัง่ เรียกพล (ตพ.๑๗) ดังนัน้ ผูท ขี่ าดการเรียกพลจะมีความผิดฐานขัดขืนหรือละเลยมิกระทําตาม คําสั่งฯ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๐ ใหลงอาญาจําคุกไมเกิน ๕ ป และคดีดังกลาวใหอยูใน อํานาจศาลทหารตาม พ.ร.บ.ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ โดยมาตราที่เกี่ยวของในการปฏิบัติมีดังนี้ - มาตรา ๑๖ นายทหารชั้นสัญญาบัตรนอกประจําการเปนบุคคลที่อยูในอํานาจศาลทหาร - มาตรา ๔๗ นายทหารพระธรรมนูญหรืออัยการทหาร มีอํานาจทําการสอบสวนคดีอาญา ทั้งปวง ซึ่งอยูในอํานาจศาลทหาร แตถามีเหตุอันสมควร ผูบังคับบัญชาจะสั่งใหนายทหารชั้นสัญญา บัตร ทําการสอบสวนก็ได ทั้งนี้ไมตัดอํานาจของพนักงานสอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา การสอบสวนดังกลาวในวรรคกอน ใหถือวาเปนการสอบสวนตามประมวลกฎหมายตาม วิธีพิจารณาความอาญาดวย เพือ่ ประโยชนแกการสอบสวน ใหผมู หี นาทีท่ าํ การสอบสวนมีอาํ นาจออกหมายเรียกใหบคุ คลใด มาใหถอยคํา หรือสงสิ่งใดที่จะใชเปนพยานหลักฐานได - มาตรา ๔๙ อัยการทหารมีอํานาจทําการสอบสวนเพิ่มเติม หรือจะสงใหผูที่มีหนาที่ สอบสวน ทําการสอบสวนเพิ่มเติมก็ได ๒.๒ การดําเนินการ ควรใหพนักงานสอบสวน (ตํารวจ) ทําการสอบสวนและดําเนินคดี จะสะดวกกวาฝายทหาร แตขอใหผูที่ไดรับมอบอํานาจไปรองทุกขกลาวโทษ มีการประสานการปฏิบัติ กับพนักงานสอบสวนไดเขาใจขั้นตอนของการปฏิบัติ กลาวคือ เมื่อเสร็จสิ้นในการรับรายงานตัวของ การเรียกพลแตละครั้งภายใน ๗ วัน หนวยเรียกพลจะตองตรวจสอบจากบัญชีเรียกพล (ตพ.๘) และ หนวยฝก (บางคนอาจไปรายงานตัว ณ หนวยฝกโดยตรง) แลวรวบรวมรายชื่อและหลักฐานตาง ๆ ใหพนักงานสอบสวน ที่เปนภูมิลําเนาทหารของนายทหารสัญญาบัตรกองหนุนที่ขาดการเรียกพล โดยมี หลักฐาน ดังนี้.๒.๒.๑ หนังสือขอใหสอบสวนจับกุม จะตองระบุผรู บั มอบอํานาจ ยศ-ชือ่ และตําแหนง ของผูที่จะมารองทุกขกลาวโทษดําเนินคดีใหชัดเจน

วารสาร

รักษาดินแดน ๗๓


ใหเรียบรอย

๒.๒.๒ สํ า เนาคํ า สั่ ง เรี ย กพล (ตพ.๑๗) จะต อ งถ า ยเอกสารและรั บ รองสํ า เนา

๒.๒.๓ บัญชีรายชื่อนายทหารสัญญาบัตรกองหนุนที่ขาดการเรียกพล มีรายละเอียด เกี่ยวกับ ยศ-ชื่อ หมายเลขประจําตัว ภูมิลําเนาทหาร ชื่อบิดา มารดา ขาดการเรียกพลเมื่อใด ครั้งที่เทาใด หมายเหตุใหทราบการสงคําสั่งเรียกพลไปใหที่ไหน ๒.๒.๔ สําเนาไปรษณียต อบรับภายในประเทศ จะตองถายเอกสารทัง้ ดานหนา - หลัง และรับรองสําเนาดวย ๒.๒.๕ สําเนาหนังสือที่ รมว.กห. อนุมตั ใิ หเรียกนายทหารสัญญาบัตรกองหนุนเขารับ การเรียกพล ตามที่ กสร.ทบ. (นรด.) สําเนาเรื่องให ๒.๓ เมื่อรองทุกขกลา วโทษและแจ ง ข อ หาให พนั ก งานสอบสวนทราบแล ว ต อ งชี้ แจง การใหประกันตัวผูต อ งหาใหพนักงานสอบสวนทราบดวย เพราะสารวัตรใหญมอี าํ นาจใหประกันตัวผูต อ งหา ซึ่งตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓๐ (๓) กําหนดโทษจําคุกไมเกิน ๕ ป ตองมีหลักทรัพยประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท เปนหลักประกันชั้นสอบสวน ถาจังหวัดทหารบกเปนเจาของเรื่อง แจงเปนผูกลาวหา นายทหารสัญญาบัตรกองหนุนในพื้นที่ แตศาลจังหวัดทหารบกในพื้นที่ไมมีอํานาจที่จะดําเนินคดี นายทหารสัญญาบัตรกองหนุนดังกลาวได จะตองสงสํานวนการสอบสวนไปยังเขตอํานาจตามพื้นที่ ศาลมณฑลทหารบก เมื่อไดสงสํานวนการสอบสวนไปใหอัยการพิจารณาแลว อัยการเสนอให ผบ.มทบ. พิจารณาสั่งฟองหรือไมฟอง หรือจะสั่งใหพนักงานสอบสวนสอบสวนเพิ่มก็ได ซึ่งสรุปดังนี้.๒.๓.๑ คําสั่งไมฟอง ทางอัยการจะตองมีหนังสือแจงใหทางพนักงานสอบสวนทราบ เพื่อใหผูตองหาลงชื่อทราบสั่งไมฟอง และถอนการประกัน การดําเนินคดีก็เสร็จสิ้น ๒.๓.๒ คําสั่งฟอง พนักงานสอบสวนจะตองสงตัวผูตองหาไปยังอัยการ เพื่อดําเนิน การควบคุม หรือทางอัยการจะใหประกันตัวชัน้ อัยการก็ได โดยใชหลักทรัพยจาํ นวนเทากับในชัน้ สอบสวน เมื่อดําเนินคดีไปแลวผลเปนประการใด จะตองแจงใหพนักงานสอบสวนและ จทบ. ที่กลาวหาทราบ เพื่อ จทบ. จะไดรายงานให ทบ. (ผาน กสร.ทบ.) ทราบตอไป ๒.๔ การดําเนินการอยางจริงจัง ในการดําเนินคดีตอกําลังพลสํารองที่หลีกเลี่ยงขัดขืน การเรียกพลทุกนาย ยอมมีผลใหกาํ ลังพลสํารองคนอื่น ๆ ไมกลากระทําความผิดอีก ถึงแมวาจะไดรับโทษ เพี ย งแค ใ ห ร อการลงอาญา หรื อ ศาลสั่ ง ไม ฟ  อ งก็ ต าม เมื่ อ ถู ก เรี ย กพลอี ก ก็ จ ะรี บ มารายงานตั ว โดยไมขาดการเรียกพลเพราะไดรับบทเรียนในการถูกดําเนินคดีมาแลว... จึงขอใหเจาหนาที่สายงานสัสดีทุกระดับนําแนวทางดังกลาวฯ ไปปฏิบัติเพื่อใหการเรียกพล เพื่อฝกวิชาทหารของ ทบ. ไดกําลังพลสํารองครบตามจํานวนที่ไดกําหนดไวในแผนการเรียกพลเพื่อฝก วิชาทหาร ประจําปของ ทบ. อันจะทําใหเกิดผลดีตอการพัฒนาระบบกําลังสํารองของกองทัพไทยตอไป

๗๔ รักษาดินแดน

วารสาร

(ลงชื่อ) พ.อ.ศักดิ์สิน ทิพยเกสร (ศักดิ์สิน ทิพยเกสร) ผอ.กสร.กสร.ทบ.


เชฟ ...

เครือ่ งแบบสีขาว กับหมวกทรงสูง หลายคนคงมองวาตนกําเนิดของหมวกเชฟ สีขาวทรงสูง (Toque Blanche) มีแรงบันดาลใจ มาจากแฟชั่น แตความจริงแลวหมวกเชฟที่ตองสูง เดงขนาดนี้มีเหตุผลจากการใชงานลวน ๆ เพราะ ในชวงแรกหมวกเชฟเปนเพียงหมวกทรงแบนเทานัน้ ตอมาในชวงศตวรรษที่ ๑๘ อังตวน คาแรม (Antoine Careme) เชฟชื่ อ ก อ งโลกได พั ฒ นา หมวกเชฟสูงขึ้น เพราะคิดวาการใสหมวกทรงแบน ทําใหอากาศภายในหัวระบายออกไดไมดีในหอง ครัวที่รอนระอุแบบนี้ เขาจึงใสไมกระดานเพื่อให หมวกตั้งขึ้น (วากันวาหมวกของคาแรมดันสูงถึง ๑๘ นิ้วเลยทีเดียว เพื่อใหสมฐานะที่เปนเชฟใหญ) ก อ นจะเปลี่ ย นวิ ธี ม าใช ผ  า ชุ บ นํ้ า ผสมกั บ แป ง มันสําปะหลังเพื่อใหผาแข็งตัวแทน

รักษาดินแดน ๗๕ วารสาร

“เครือ่ งแบบสีขาวสะอาดตา หมวก ทรงสูง และผากันเปอน” สัญลักษณ สากลที่เรามองปราดเดียวก็รูแลววา ผู  ที่ ส วมชุ ด นี้ จ ะเป น ใครไปไม ไ ด นอกจาก “เชฟ” (Chef) และเชือ่ วาคงมี อีกหลายคนที่กําลังเกาศีรษะสงสัยวา ทําไมเชฟจึงตองแตงตัวแบบนีด้ ว ย?…

ถาไมอยากหัวขาด....ก็จงใสหมวก !


ส ว นคํ า ถามที่ ว  า ทํ า ไมเชฟต อ งใส ห มวก คงตองยอนไปในสมัยพระเจาเฮนรีท่ ี่ ๘ ของอังกฤษ (ค.ศ. ๑๔๙๑ - ๑๕๔๗) เมื่อพระองคทรงพบกับ ฝนรายเจอเสนผมในซุป เหตุการณในครัง้ นัน้ ทําเอา พระองคกริ้วมาก ถึงกับทรงสั่งประหารเชฟที่ทําซุป ทันที หลังจากนั้นพระองคยังทรงมีพระราชโองการ ให “เชฟทุกคนตองใสหมวก” ตั้งแตนั้นมาบรรดา เชฟนอยใหญกเ็ ลยตองหาหมวกมาใสกนั เพือ่ รักษา ความสะอาดและรักษาชีวิตของตัวเอง

ทําไมตองเปนชุดสีขาว ?

หากจะพูดถึงเรื่องสีของชุด เราคงตองยอน กลับไปในศตวรรษที่ ๑๖ ซึ่งเปนชวงที่กลุมประเทศ แถบยุโรปมีความเขมงวดในเรื่องของความเชื่อเปน อยางมาก ถาใครมีความเชื่อตางจากคริสตจักร มักถูกมองวาเปนพวกนอกคอก ทําใหในชวงนั้น บรรดาศิลปนผูมีความคิดสรางสรรค ซึ่งรวมถึง อาชีพเชฟดวย บางก็ถูกจับกุม บางถูกประหารชีวิต เลยก็มี ทําใหเชฟตางพากันหลบซอนตัว ทําตัว กลมกลืนกับพวกบาทหลวงนิกายกรีกออโธดอกซ (Orthodox Church) เครือ่ งแบบของเชฟจึงใชสเี ทา หรือสีดาํ ใหดแู ลวไมตา งจากบรรดาพระมาตัง้ แตนนั้

จนกระทัง่ เวลาผานไป อังตวน คาแรม เจาเกา คนเดิม ก็ไดปฏิวตั สิ ขี องชุดใหเปนสีขาว เพราะคิดวา เปนสีที่มีความเหมาะสมมากกวา ซึ่งความคิดนี้ ออกุ ส เอสคอฟฟ น เยร (Auguste Escoffier) เชฟรุ  น น อ งที่ โ ด ง ดั ง ไม แ พ กั น ก็ ส นั บ สนุ น เต็ ม ที่ เนื่องจากเขามองวาความสะอาดของเครื่องแบบ เป น สิ่ ง สํ า คั ญ และเป น การแสดงถึ ง ความเป น มืออาชีพในตัวเชฟเองอีกดวย

ปดรอยเปอนไดสนิทดวยกระดุม ๒ แถว

๗๖ รักษาดินแดน

วารสาร

เสื้อของเชฟมีลักษณะพิเศษไปจากเสื้อผา อื่น ๆ คือ แผงกระดุม ๒ แถวซายขวาบนหนาอก เพื่อใหเชฟสามารถสลับกลับเปลี่ยนดานนอกและ ในได หากทําเสื้อเลอะเทอะเมื่อไร สามารถซอนได ทันใจ สวนมากนิยมทําจากผาฝายที่สามารถทน ความรอนไดดี บุ ๒ ชั้น เพื่อใหเชฟปลอดภัยจาก ของรอนที่กระเด็นเขามาไดทุกเมื่อ


กางเกงหลวม ๆ ใสสบาย

แมกางเกงสีขาวตามแบบของคาแรมจะเปน ที่นิยม แตจริง ๆ แลวกางเกงเชฟมีไดหลายสี โดย สีมาตรฐานเปนกางเกงลายทางหรือลายหมากรุก สีนาํ้ เงิน-ขาว และสีดาํ -ขาว เพราะกางเกงลายหมาก รุกสามารถอําพรางรองรอยเปรอะเปอนบนตัวเชฟ ไดเปนอยางดี ซึง่ กางเกงทีด่ ไี มควรจะคับหรือหลวม จนเกินไป เพื่อใหเชฟเคลื่อนไหวรางกายสะดวก

ปองกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งมีเชฟจํานวนไม นอยเลือกรองเทาคล็อกแบบไม เพราะเขาสามารถ เตะรองเทาทิ้งไดเลยเมื่อเกิดสถานการณฉุกเฉิน อยางหมอนํา้ รอนหกใสเทา และเมือ่ ใสแลวไมทาํ ให สะดุดงาย ๆ นอกจากนี้เชฟยังมีเครื่องแตงกายอื่น ๆ อีก ไมวาจะเปน “เนกไท” ซึ่งแทจริงแลวเปรียบเสมือน กับผาพันคอเพื่อใหเชฟเช็ดเหงื่อเมื่อตองอยูหนา เตารอน ๆ และ “ผากันเปอ น” ทีม่ หี ลากสีหลายแบบ ก็เหมือนเปนเกราะปองกันชุดเชฟใหคงความขาว สะอาดทั้งยังชวยปองกันอันตรายอื่น ๆ อยางความ รอนไดอีกชั้นหนึ่ง ในปจจุบันเครื่องแบบเชฟไมไดมีกฎตายตัว แลวคะ เพราะมีเชฟหลายคนทีด่ ไี ซน และตัดชุดเชฟ ออกมาเอง เชน เชฟอเล็กซิส โซเยอร (Alexis Soyer ค.ศ. ๑๘๑๐ - ๑๘๕๘) เชฟชาวฝรั่งเศสที่โดงดัง ในอั งกฤษ ในฐานะเป นผู  ปรุ ง อาหารให กองทั พ สมัยพระราชินนี าถวิกตอเรีย ก็ไดสรางสรรคชดุ เชฟ ของตนใหมีหมวกบาเรตสีแดง (คลายกับหมวก ทหารสมัยกอน) และแจ็กเก็ตที่มีปกและแขนเสื้อ ใหญเบิ้ม ซึ่งเขาเรียกสไตลของเขาวา “la zougzoug”

รองเทาคล็อกกันลื่นไถล

แมเครื่องแบบเชฟจะสามารถเปลี่ยนแปลงได เรามักจะเห็นเชฟสวนใหญใสรองเทาหัวโต ๆ สนหนา ๆ รองเทาทีว่ า นัน้ คือ “รองเทาคล็อก” (Clog) แตเชฟสวนใหญก็ยังคงมองวาเครื่องแบบสีขาว ซึง่ เปนรองเทาแตะทําจากไมทชี่ าวยุโรปในสมัยกอน ที่สืบทอดกันมารอยกวาปนั้นเปนสิ่งที่มีคุณคา ใสทาํ งานในไร เพราะใสสบาย มีความทนทาน แถม และควรภูมิใจนั่นเอง ยังยึดเกาะพื้นไดดี เชฟจึงเลือกใสรองเทาชนิดนี้กัน รองเทาคล็อกของเชฟในปจจุบัน สวนหัว แหลงขอมูล มักทําดวยวัสดุออนนุมและยืดหยุน เชน หนังนิ่ม ๆ  www.chefolio.com บางก็ทาํ จากยาง เพราะขึน้ รูปไดงา ยและยังสามารถ  www.ezinearticles.com ออกแบบไดพอดีกับเทา แตที่สําคัญที่สุดรองเทา  http://en.wikipedia.org  www.tallyrad.info/historychefs/chef-whites.shtm/ ต อ งมี ก ารออกแบบกั น ลื่ น ด ว ยไม ห รื อ ยางเพื่ อ วารสาร

รักษาดินแดน ๗๗


๑๐พคํอาพูแมด

ที่ลูกอยากไดยินจาก

Ë

ÅÒ¤¹ÁÑ¡¾Ù´Ç‹Ò “¡ÒáÃзíÒÊíÒ¤ÑÞ¡Ç‹Ò¤íÒ¾Ù´” ᵋºÒ§¤¹¡çÁÑÇᵋ¡ÃзíÒ¨¹ÅÐàŤíÒ¾Ù´ÍÂÙ‹ äÁ‹¹ŒÍ â´Â੾ÒФ¹ã¹¤Ãͺ¤ÃÑÇà´ÕÂǡѹ àÁ×è;‹ÍáÁ‹ ¡çÍÂÒ¡ä´ŒÂÔ¹ÅÙ¡ºÍ¡ÃÑ¡ ÍÂÒ¡ãËŒÅÙ¡¡Í´ ËÍÁ ËÃ×ÍÁÕᵋ ¤íÒ¾Ù´´Õ æ ᵋ㹷ҧ¡ÅѺ¡Ñ¹¤¹à»š¹ÅÙ¡àͧ¡çäÁ‹ä´ŒÁÕ¤ÇÒÁ µŒÍ§¡Ò÷Õèᵡµ‹Ò§¨Ò¡¾‹ÍáÁ‹à·‹Ò㴹ѡ

๗๘ รักษาดินแดน

วารสาร

นอกจากอวัจนภาษา เชน การกอด การหอม ฯลฯ ทีท่ กุ คนรับรูวาเปนการแสดงออกเพือ่ ความรัก แลว วัจนภาษาก็ไมควรมองขามไปเชนกัน พอแม ทุกคนจึงพยายามที่จะพูดดวยนํ้าเสียงที่นุมนวล และพูดแตสิ่งดี ๆ กับลูก นอยคนนักที่จะพูดจา ราย ๆ หรือพูดคําสบถกับลูก ทีเ่ ปนเชนนัน้ เพราะมัน คือสัญชาตญาณของคนเปนพอและแม

คําพูดดี ๆ เหลานี้จะซึมเขาสูจิตใจของลูก โดยพวกเขาจะรับรูไดถึงความรักจากพอและแม ซึ่งมันจะเปนภูมิคุมกันจิตใจใหลูกเจริญเติบโตเปน ผูใหญที่ดีได ดังนั้นลองมาดูกันวา ๑๐ คําพูดดี ๆ ที่ลูกอยากไดยินจากพอแมนั้นมีอะไรกันบาง


๑. พอกับแม “รัก” ลูกมากนะ

แนนอนวาลูกคือดวงใจของพอแม แตการที่ ละเลยคําพูดงาย ๆ และมีคาขนาดนี้มันก็เปนสิ่ง ผิดพลาดที่ยิ่งใหญพอควร เพราะคนหลายคนไมมี โอกาสที่จะบอกรักลูกในวินาทีสุดทายเลยดวยซํ้า ในทางกลับกันไมวา จะเปนลูก หรือพอแม รวมไปถึง คนทุกคน ก็ควรใหความสําคัญกับความรักและ คําพูดไปพรอม ๆ กัน กอนที่พอแมจะไมมีลูก ใหบอกรัก หรือลูกบอกรักในวันที่สายเกินไป ทั้งนี้ อยามัวแตแสดงความรัก และเชื่อวาลูกรูอยูแลววา พอแมรักลูกมากแคไหน เพราะบางเวลาคําพูดก็ สําคัญไมแพการกระทําเชนกัน ดังนัน้ บอกรักลูกบาง เขาจะไดรูวาจริง ๆ แลว พอแมรักลูกมากแคไหน ๓. พอกับแม “สนับสนุน” ลูกเสมอนะ พ อ แม ทุ ก คนควรตระหนั ก อยู  เ สมอว า ๒. พอกับแม “ภูมิใจ” ในตัวลูกมากนะ “ลูกไมใชเรา เราไมใชลูก” เพราะฉะนั้นอยาเอาลูก มั น อาจมี บ างอย า งที่ ลู ก ทํ า ให พ  อ แม รู  สึ ก ไปเปรียบเทียบกับตัวเองสมัยเด็ก ๆ บางอยางที่ ภูมิใจมากเปนพิเศษ ไมวาจะเปนการแสดงความ พอแมชอบ ลูกอาจไมชอบ มุมมองที่ตางกัน ถาไม เปนสุภาพบุรุษ มีนํ้าใจ หรือแสดงความสามารถ เขาใจกันก็ทาํ ใหมปี ญ  หากันได และถาหากเด็กบาง พิเศษใหเห็นอยูเสมอ พอแมทุกคนควรลองนึกดู คนถูกบังคับมาก ๆ ก็จะรูสึกวาเขาไมมีความเปน ดี ๆ วา จุดเดนของลูกคืออะไร แลวสิ่งใดที่ทําให สวนตัว ไรอสิ ระ ทอแท และไมมคี วามมัน่ ใจในตัวเอง พอแมภูมิใจในตัวเขา ก็ใชชวงเวลาดี ๆ บอกใหลูก ขณะที่บางคนโตมาในครอบครัวนักกฎหมาย แต ไดรับรูบางวา “พอกับแมภูมิใจในตัวลูกมากนอย ตองการเปนนักเขียน หรือบางคนมีความตองการ แคไหน” เพราะคําพูดเพียงไมกี่คํานี้มันจะเปลี่ยน ใชชีวิตอยางที่อยากเปน เปนพลังและกําลังใจใหลกู ไดอยางมหัศจรรยทเี ดียว ไมวาเขาจะเลือกเปนอยางไร หากสิ่งที่เขา ตัดสินใจนัน้ เปนสิง่ ทีด่ ี พอแมกค็ วรสนับสนุนพวกเขา เพียงแคบอกวา “พอกับแมยงั คงเขาใจและสนับสนุน ลูกทุกเมื่อ ถาสิ่งนั้นมันเปนสิ่งที่ดีและลูกตองการ”

๔. พอกับแม “เชื่อมั่น” ในตัวลูกเสมอนะ

ชวงระยะเวลาหนึ่งโดยเฉพาะเมื่อลูกเริ่มเขา สูวัยรุน ความเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ อยางอาจเขา มาจนพอแมตงั้ ตัวไมตดิ ลูกอาจสูญเสียความมัน่ ใจ ในการตัดสินใจหรือลงมือทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หากใคร วารสาร

รักษาดินแดน ๗๙


เคยเจอปญหาลูกอยูในชวงสับสนแบบนี้ลองถาม ๖. ลูกเปน “เด็กดี” ของพอกับแม พอแมทุกคนควรทําความเขาใจธรรมชาติ ตัวเองดูวา เคยสละเวลาบอกลูกบางหรือไมวา “พอกับแมเชื่อมั่นในตัวลูกมากนอยแคไหน ไมวา ของเด็กกอนวา เด็กทุกคนอยากไดรบั คําชมเชยและ ไดยินคํายืนยันจากพอแมอีกสักครั้งวา เขาเปน จะเกิดอะไรขึ้น พอและแมก็จะอยูขางลูกเสมอ” ลูกทีด่ พี อหรือไม ดังนัน้ หากลูกเปนเด็กดี มีนาํ้ ใจ นารักกับทุกคน พอแมก็ควรชมเชยลูกบางวา “ลูกเปนเด็กดีของพอและแมมาก” เพราะการที่ เขาได ยิน คํา พู ด เหล า นี้ มัน จะทํา ให ลู ก เห็น คุณ ค า ในตัว เองมากขึ้น และเป น การสร า ง ความสัมพันธที่ดีในครอบครัวอีกดวย

๕. พอกับแม “ขอโทษ”

๘๐ รักษาดินแดน

วารสาร

บางครั้งการขอโทษมันอาจจะเปนสิ่งที่ยาก ทีส่ ดุ ทีจ่ ะพูด แลวยิง่ คนสวนใหญมกั ใหความสําคัญ กับความเปนพอและแมคอนขางสูง ดังนั้นหาก พอแมทําผิด ก็จะคิดกันแตเพียงวา พอแมไมควรที่ จะขอโทษลูก ยิง่ คนเปนพอดวยแลว อาจจะยากขึน้ ไปอีกที่จะกลาวคําวา “ขอโทษ” กับลูก อยางไรก็ดี คําขอโทษจากพอแมนั้น ลูก ๆ เองก็ควรมีเหตุผลและรูจักบาปบุญคุณโทษดวย เพราะลู ก ไม มี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะขึ้ น เสี ย งหรื อ ออกคํ า สั่ ง กั บ พ อ แม ไ ม ว  า จะประการใดก็ ต าม ทั้ ง นี้ ก ารที่ พอแมกลาวคําขอโทษกับลูกเมื่อทําผิดพลาดนั้น ไมไดหมายความวา ลูกจะดูถกู ความเปนพอเปนแม ในทางกลับกันการที่พอแมยอมรับและกลาขอโทษ นัน้ มันยังทําใหทกุ คนเรียนรูท จี่ ะเคารพตัวเองเพราะ กลาที่จะยอมรับในสิ่งที่ทําลงไป อีกทั้งยังเคารพ ความรูสึกของผูอื่นดวย

๗. แมเลิกกัน แตลูกไมตองเลือกรัก

ขอนี้จะดีสําหรับครอบครัวที่พอแมมีเหตุที่ ตองเลิกรากันไป ทําใหเด็กตกอยูในภาวะสับสน เลือกวาจะตองอยูกับใคร ซึ่งในระหวางชวงเวลา สับสนกับการเลือกฝงของพอและแมแลว ลูกบาง คนที่ตกอยูในเหตุการณแบบนั้นอาจจะตองเลือก ดวยวาจะรักใคร ซึ่งพอแมสวนใหญมักจะกีดกัน ลูกไมใหพบอีกฝายหนึ่ง เชน หากลูกอยูกับแม


แมมกั จะสอนใหรกั แม แตเกลียดพอ หรือหากอยูก บั พอก็ตองรักพอและเกลียดแม เปนตน ดังนั้นไมวา จะเปนพอหรือแม แมในที่สุดจะไมไดอยูดวยกัน แตก็ไมควรบังคับลูกใหรักใครคนใดคนหนึ่งเทานั้น เพราะยังไงพอกับแมก็คือบุคคลที่สําคัญที่สุดใน ชีวิตของเขา

๙. พอกับแม “ไมไดหมายความวาอยางนั้น” นะลูก

รักษาดินแดน

วารสาร

บางครั้งพอแมอาจจะพูดอะไรบางอยางที่ ลูกฟงแลวรูสึกเสียใจกับคําพูดเหลานั้น ทั้ง ๆ ที่ ในความเป น จริ ง แล ว พ อ แม อ าจพู ด ไปโดยที่ ไมไดคิดวาลูกจะเสียใจกับสิ่งที่พูดออกไป ดังนั้น หากพอแมทราบวาลูกเสียใจกับสิ่งที่ไดพูดออกไป ก็ควรอธิบายใหเขาเขาใจวา หมายความวาอยางไร ๘. พอกับแม “ยอมรับ” ในสิ่งที่ลูกเปน เมื่อลูกเริ่มโตขึ้นมากเทาไหร เขายิ่งตองการ กันแน อยาใหลูกเขาใจผิด ๆ แตทางที่ดีก็ควร การยอมรับจากพอและแมมากขึ้นเทานั้น ในความ พูดจาใหชัดเจนตั้งแตแรกจะดีกวา เปนจริงแลวลูกมักจะพยายามทําทุกอยางเพือ่ ใหพอ แมยอมรับในตัวเขา ไมวาจะเปนเรื่องการตัดสินใจ ๑๐. ลูกคือ “คนสําคัญ” ของพอกับแมนะ จริ ง ๆ แล ว ข อ นี้ อ าจเป น คํ า ที่ สํ า คั ญ ในความรักวัยเด็ก หรือการกระทําตาง ๆ ที่ลูก อาจมี พ ฤติ ก รรมเบี่ ย งเบน แม พ  อ แม จ ะคอยดู อันดับแรก ๆ เสียดวยซํ้า เมื่อในความเปนจริงแลว อยูหาง ๆ และการที่ลูกรูวาพอแมยอมรับในสิ่งที่ ลูกคือคนสําคัญและคนพิเศษสําหรับพอแม แตจะมี ลูกเปน และเลือกแลวนั้น แสดงใหเห็นวาพอแมไม สักกี่ครั้งที่พอแมไดบอกใหลูกรับรูจากปากของพอ ไดละเลยแตอยางใด อีกทั้งยังคงรักและเขาใจอยู แมเองบาง เชือ่ เถอะวาหากไดพดู ใหลกู รู สิง่ ทีจ่ ะได เสมอดวย เพียงแคพอแมบอกกับลูกวา “พอแม กลับมานัน้ มันยอมมีคา มหาศาลมากกวาเปนไหน ๆ เขาใจและยอมรับลูกเสมอ ไมวาลูกจะเปนอยางไร เพราะนัน่ คือสายใยความรักระหวางพอแม และลูก ทั้งนี้ พอแมทุกคนควรกอดลูกบางโดยเฉพาะเมื่อ ก็ตาม” ลูกเริม่ โตขึน้ อยาใหวยั ทีเ่ ปลีย่ นไปมาทําใหระยะหาง พอ แม ลูก หางกันจนรูสึกวาการกอดนั้นเปนเรื่อง แปลก ดังนั้นการกอดลูกแนน ๆ และบอกวาเขา สําคัญมากแคไหน แมจะใชเวลาเพียงไมกี่นาที แตมันจะเปนความทรงจําที่คนเปนพอ แม และ ลูกจะไมมีวันลืมไดเลย อยางไรก็ตาม สิ่งเหลานี้อาจดูเหมือนเปน ประโยคธรรมดา จนหลายคนมองขามมันไป แต ในความเปนจริงแลว ไมมีใครปฏิเสธสิ่งเหลานี้ ไดเลย แมการกระทําจะสําคัญมากเพียงใด แตคาํ พูด ก็ไมไดสาํ คัญนอยไปกวา อยาลืมวา ในขณะทีพ่ อ แม ตองการไดยินลูกบอกรัก เขาก็อยากไดยินจากคุณ เชนกัน

๘๑


๑๐ อันดับ ภั ย ร า ยออนไลน ที่ผูใชงานอินเทอรเน็ตตองระวัง

ายเจค โซเรียโน ฝายสือ่ สารดานเทคนิค ศูนยวจิ ยั ขอมูลเทรนดแล็บส เปดเผยวาอาชญากรไซเบอร จะใชเทคนิคกลลวงทางสังคมที่แตกตางกันเพื่อหลอกลอเหยื่อ เช น การคลิ ก ลิ ง ค ที่ ส แปม, การดาวน โ หลดไฟล ห รื อ การกรอก แบบฟอรมโดยใสขอมูลสวนตัวที่เปนความลับ สิ่งเหลานี้จะกอใหเกิด ผลประโยชนทางการเงินแกอาชญากรไซเบอร ซึง่ พยายามจะหาผลประโยชน ช ว งเทศกาลวั น หยุ ด เนื่ อ งจากมี จํ า นวนผู  ใ ช ง านอิ น เทอร เ น็ ต มากขึ้ น เพื่อคนหารานคา เลือกซื้อสินคา และบริการตาง ๆ ผานทางเว็บไซต เทรนด ไมโคร ไดจัดทําสรุป ๑๐ อันดับ ภัยรายออนไลนที่ผูใชงาน อินเทอรเน็ตตองระวัง

อันดับ ๑๐ - ภัยลวงนักลาของถูก

๘๒ รักษาดินแดน

วารสาร

: อาชญากรไซเบอร จ ะใช ส  ว นลดและ โปรโมชั่ น เพื่ อ หลอกล อ เหยื่ อ ให ค ลิ ก ลิ ง ค ที่ เ ป น อันตรายหรือใสขอมูลที่เปนความลับของตนเอง ในเว็บไซตหลอกลวง โดยทั่วไปแลวผลิตภัณฑ

ที่ นํ า มาใช ล  อ เหยื่ อ จะเป น สิ น ค า ยอดนิ ย มและ สิ น ค า ขายดี ซึ่ ง อาจทํ า ให ผู  ใ ช อ ดใจไม ไ ด ที่ จ ะ คลิกลิงคที่ปรากฏ และในปนี้เทรนด ไมโคร พบวา โทรจัน TRO_AYFONE.A ใชประโยชนจากการเปดตัว Apple iPhone โดยมัลแวรจะแสดงในรูปโฆษณาลวง


เหมือนกับการสรางเว็บไซตลวงของรานคาออนไลน ที่สามารถซื้อผลิตภัณฑดังกลาวได

อันดับ ๙ - เว็บไซตการกุศลจอมปลอม

: ภัยพิบัติตาง ๆ ที่เกิดขึ้นทั่วโลก เชน เหตุการณแผนดินไหว ไฟปา นํ้าทวม ลวนถูก อาชญากรไซเบอรนํามาใชประโยชนเพื่อลอลวง โดยเฉพาะเทศกาลวั น หยุ ด เป น ช ว งเวลาที่ ผู  ใ ช อินเทอรเน็ตสวนใหญเกิดความรูสึก “อยากทําบุญ และตองการบริจาค” อยูแลว ซึ่งนับเปนชวงเวลา ที่ ดี ที่ สุ ด สํ า หรั บ อาชญากรไซเบอร ที่ จ ะบรรลุ ตามแผนที่ ว างไว นอกจากผู  ใ จบุ ญ ที่ ต อบกลั บ ข อ ความอี เ มลลวงหรื อ เว็ บ ไซต ล วงซึ่ ง ไม ไ ด ใ ห ความชวยเหลือแกผูใดแลว ยังจะตองสูญเสียเงิน หรือขอมูลที่เปนความลับไปแทนอีกดวย

อันดับที่ ๗ - โฆษณามัลแวร (Malver tisements)

: อาชญากรไซเบอร จ ะใช โ ฆษณาและ โปรโมชั่นของปลอม (เลียนแบบโฆษณาของจริง) เพื่ อ แพร ก ระจายมั ล แวร โ ดยอาศั ย ความเชื่ อ ใจ ของผู  ซื้ อ สิ น ค า ออนไลน ที่ มั ก สนใจเรื่ อ งสิ น ค า ราคาพิเศษ โฆษณาที่แสดงอยูในเว็บไซตที่มีการ เขาชมสู ง จะถู ก ใชเปน ตัวกระตุน ใหดาวนโ หลด มั ล แวร โ ดยเว็ บ ไซต ย อดนิ ย ม เช น Google, Expedia.com, Rhapsody.com, Blick.com และแมแต MySpace มั ก ถู ก ใช เ ป น ที่ แ ฝงตั ว ของแบนเนอร โฆษณาที่เปนอันตราย ซึ่งเมื่อคลิกเขาไปดูก็จะ ดาวนโหลดมัลแวรลงไปในระบบของผูใชงานได แสดงให เ ห็ น ว า โฆษณาที่ เ ป น อั น ตรายเหล า นี้ ถูกฝงตัวอยูแทบจะทุกหนทุกแหงบนโลกไซเบอร

อั น ดั บ ที่ ๘ - บั ต รอวยพรอิ เ ล็ ก อันดับที่ ๖ - ผลการคนหาแหลง ทรอนิกส (อีการด) ชอปปงชวงคริสตมาส (ที่เปนอันตราย)

: ผลลั พ ธ คํ า ตอบที่ ม ากั บ สคริ ป ต ที่ เ ป น อันตราย ทําใหเกิดภัยคุกคามหลากหลายรูปแบบ เชน มัลแวร ฟชชิ่งไซต ยูอารแอลอันตราย โดย ผูเขียนมัลแวรจะเลือกชวงเทศกาลตาง ๆ ที่จะนํา ผู  ใ ช ง านไปยั ง ผลลั พ ธ ที่ เ ป น อั น ตรายของตนได ในป ๒๕๕๐ ผลของการคนหาคําวา “Christmas gift shopping” ถูกพบวานําไปสูมัลแวรหลากหลาย ชนิดทีเ่ ปนอันตราย และเมือ่ เร็วนี้ ผลของการคนหา คําวา “ Halloween costumes” ถูกพบวาแอบซอน ซอฟตแวรปองกันไวรัสของปลอมไว

รักษาดินแดน

วารสาร

: อาชญากรไซเบอรมักจะใชบัตรอวยพร อิเล็กทรอนิกสหรืออีการดเพื่อลอลวงเหยื่อใหคลิก ลิงคที่เปนอันตรายในขอความสแปม และนั่นอาจ ทําใหเครือ่ งคอมพิวเตอรของเหยือ่ ตกอยูใ นอันตราย ได การโจมตีประเภทนีม้ กั ใชประโยชนของเทศกาล วันหยุด เมือ่ มีผใู ชสง อีการดมากขึน้ และคาดหวังวา อีการดที่ไดรับนั้นจะมาจากเพื่อนหรือญาติสนิท

๘๓


อันดับที่ ๕ - เว็บไซตสุดฮิต

: จัดเปนภัยคุกคามสําหรับผูใชออนไลน เพราะเปาหมายหลักของการติดเชื้อ จะเกิดขึ้น บนเว็ บ ไซต ที่ ค าดว า ปลอดภั ย และน า เชื่ อ ถื อ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ช ว งวั น หยุ ด เทศกาลที่ กํ า ลั ง จะมาถึง ซึ่งผูซื้อนิยมซื้อสินคาผานทางออนไลน เชน รานอาหารออนไลน เว็บไซตประมูล เว็บไซต อีคอมเมิรซ อาชญากรไซเบอรจะแพรกระจายเชื้อ ไปยังเหยื่อ โดยการเลือกเว็บไซตยอดนิยม และ มีการเขาชมสูง

อั น ดั บ ที่ ๔ - ข อ มู ล ส ว นบุ ค คลบัตรของขวัญและโปรโมชั่น (ของปลอม)

: ผูใ ชทชี่ อบคนหาของฟรีหรือโปรโมชัน่ พิเศษ บนเว็บนั้น เสี่ยงตอการถูกโจมตีในลักษณะนี้ได แบบสํารวจขอมูลที่ดูเหมือนจะปลอดภัยนี้มักจะ ถูกใชเก็บขอมูลสวนบุคคลโดยของรางวัล บัตร ของขวัญ หรือแมแตเงินสดจะถูกใชเพือ่ ลอเหยือ่ ให กรอกแบบสํารวจของปลอม โดยทีเ่ หยือ่ จะไมทราบวา นั่นคือ ฟชชิ่งไซต และเปนสวนหนึ่งของแผนการ ขโมยขอมูลสวนตัวที่เปนความลับ

อันดับที่ ๓ - อีคอมเมิรซฟชชิ่ง

๘๔ รักษาดินแดน

วารสาร

: อีเบย (eBay) ถูกจัดอันดับใหเปนรานคา ปลีกออนไลนที่ไดรับความนิยมสูงสุดในป ๒๕๕๐ มีผูใชบริการมากกวา ๑๒๔ ลานคน และอีเบย ยังติดอันดับสูงสุดของเว็บไซตที่แฮกเกอรนิยมใช ทําเปนเว็บไซตลวงดวย นับจากการขโมยขอมูล ส ว นบุ ค คลจนถึ ง การจั ด อั น ดั บ ความน า เชื่ อ ถื อ อาชญากรไซเบอรจะใชแผนการทีช่ าญฉลาดเพือ่ ให ไดขอมูลของผูใชเพื่อเพิ่มผลประโยชนทางการเงิน

อันดับที่ ๒ - โทรจันทีม่ าพรอมใบรับ สินคา (ของปลอม)

: ขอความตาง ๆ จากผูจ ดั สงสินคายอดนิยม ซึง่ แจงทางอีเมลวาไมสามารถสงมอบของใหผรู บั ได พร อ มแนบไฟล ข  อ มู ล ที่ ดู เ หมื อ นเป น ใบแจ ง หนี้ แตจริง ๆ แลวเปนขอความสแปม ที่จะลอลวงผูใช ใหติดตั้งโทรจันลงในเครื่องคอมพิวเตอร ปญหา ดังกลาวคอนขางแยกแยะลําบากสําหรับนักชอป ออนไลนที่กําลังรอการจัดสงสินคาในชวงเทศกาล ทั้งนี้ UPS และ FedEx เปนตัวอยางของบริษัท ผูจัดสงสินคาที่อาชญากรไซเบอรนิยมใชเปนเหยื่อ ลอผูซื้อสินคาออนไลนมากที่สุด

อันดับที่ ๑ - ใบแจงราคาสินคา (ปลอม)

: บางครัง้ ผูใ ชงานอาจจะไดรบั ขอความอีเมล ทีแ่ จงใหพวกเขาเปด และพิมพ...? ทีไ่ ดแนบมา ไฟล ที่แนบมานั้นไมใชใบแจงราคาสินคาของจริง แตวา เปนโทรจัน ผูที่ซื้อสินคาออนไลนบอย ๆ จะไดรับ ใบแจงราคาสินคาอยูแ ลว และถือเปนเปาหมายหลัก ของภัยคุกคามประเภทนี้ แตในทางกลับกันผูใช ที่ไมเคยซื้อสินคาออนไลนและแนใจวาไมไดทํา การสั่งซื้อสินคาใด ๆ ก็อาจจะสงสัยและเปดไฟล แนบทายดังกลาว สแปมก็จะแพรกระจายไปทั่ว ลาสุดที่พบคือหนอนไวรัส WORM_OTORUN.C ดั ง นั้ น ผู  ใ ช อิ น เทอร เ น็ ต หรื อ ผู  ซื้ อ สิ น ค า ออนไลน จึงตองระมัดระวังและคํานึงถึงความปลอดภัยมาก ขึ้นระหวางเลือกซื้อสินคาออนไลน

ขอบคุณเนื้อหาบทความดี ๆ จาก www.quickpc.co.th


“ ¢íÒæ ” โดย ปาชาติ

๒๐ อาการ ที่บงบอกวา

คุณเมา

๑๑. คุ ณ ตั้ ง ชื่ อ สุ นั ข สองตั ว โปรดที่ บ  า นว า “วิสกี้” และ “โซดา” ๑๒. คุณคนพบวาเบียร ๕ แกว ใหพลังงานคิด เปนแคลอรีเทากับขาวแกงจานโต ดังนัน้ เพือ่ เห็นแก สุขภาพ คุณจึงควรงดขาวเย็น ๑๓. ทุกครั้งที่คิดหาคําสนทนาที่เหมาะสมไมทัน คุณไมคั่นจังหวะดวย “เออ” แตจะพูดวา “เอิ๊ก” ๑๔. คุณมักหาปากไมเจอ บอยครั้งที่ดื่มโดย ใชจมูก ๑๕. ยุงที่กัดคุณเปนตองตีลังกาตกทอทุกตัวไป ๑๖. คุณเดินอยางมีจงั หวะจะโคน อันเปนรูปแบบ เฉพาะตัวคือ กาวไปซาย ยายไปขวา เดินไปหนา และถอยหลัง ๑๗. คุณเห็นเสื้อตัวเองถอดไวที่เตียง กางเกง อยูในอางอาบนํ้า แตปราการดานสุดทายกลับ ตกอยูนอกบาน ๑๘. คุณพบวาสาวงามที่คุณกอดไวในวงแขน และพากลับบาน ที่แทคือ กรวยยางจราจร ๑๙. เพื่อนคุณไลคุณกลับบาน คุณจําเปนตอง บอกใหเขารูบอย ๆ วา “โผม…มาย…มาว…” ๒๐. คุณคิดวา “รัฐบาลทําทุกเรื่อง ดีที่สุดแลว”

รักษาดินแดน

วารสาร

๑. คุณ ชอบมีป ากเสีย งกั บ สิ่ง ไม มี ชี วิ ต เช น ปายรถเมล เสาไฟฟา ถังขยะ ฯลฯ ๒. ผลการตรวจเลือดของคุณ แพทยระบุวา พบปริมาณเลือดเจือจางในกระแสเหลา ๓. คุณเขาใจผิดวา อาหารหาหมูประกอบดวย โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต วิตามิน และเหลา ๔. คําพูดที่บอยที่สุดเวลานั่งคนเดียวคือ เบียร อีก แกว หรือ เหลาอีกแก ว เบียร อีกแก ว เหล า อีกแกว ๕. คุณตองเกาะสนามหญาไวแนนเพราะกลัว ตกจากโลก ๖. ศี ร ษะของคุ ณ เป น แผลบ อ ยที่ บ ริ เ วณ ทายทอยและหนาผากโดยไมทราบสาเหตุ แพทย สันนิษฐานวามันอาจกระแทกกับขอบโถสวม ๗. คุณมองเห็นภาพชัดกวา ถาหลับตาขางหนึง่ และจะเห็นชัดมากขึ้นถาคุณหลับตาทั้งสองขาง ๘. รูกุญแจสตารตรถเคลื่อนที่ได แถมถนน สายนัน้ แผไปมาเหมือนงู ทําใหคณ ุ ขับรถดวยความ ยากลําบาก ๙. คุณมีปญหาเพียงอยางเดียวที่นากลัวที่สุด ของการดื่มเหลาคือ ไมมีเหลาดื่ม ๑๐. ผูห ญิงทุกคนทีค่ ณ ุ เห็นจะมีฝาแฝดคูเ หมือน ยืนอยูขาง ๆ

๘๕


โทษของสุรา

๘๖ รักษาดินแดน

วารสาร

อันสุราเมรัย ใครเสพติด พาชีวติ มืดมน จนฉิบหาย หนึง่ ...สินทรัพย ของตนนัน้ พลันวอดวาย สอง...อาจตาย ดวยทะเลาะ เพราะความเมา สาม...เจ็บปวย ดวยโรคาพยาธิ สี.่ ..คนตําหนิ นินทาพาอับเฉา หา...หนาดาน หนักหนาเวลาเมา หก...โง ...โงเขลา ปญญาหด หมดสิน้ เอย


ó ¤Ò¶Ò¢Í§¤¹·íÒ§Ò¹ ñ. ¤Ò¶Ò¤¹·íÒ§Ò¹ ¢Ñé¹áá...·‹Í§¹ÐâÁ ó ¨º¡‹Í¹ áŌǨ֧¤‹Í·‹Í§¤Ò¶Ò¹Ð... ÍÒ¨¨ÐÁÕ...à«ç§ä»ºŒÒ§...㹺ҧ¤ÃÑé§ ÍÒ¨¨ÐÁÕ...àº×è͡ѹºŒÒ§...㹺ҧ˹ ÍÒ¨¨ÐÁÕ...àËÁç¹¢Õé˹ŒÒ...¡ÑººÒ§¤¹ ¾ÂÒÂÒÁ·¹ ·íÒ§Ò¹ä» à¾ÃÒÐä´Œµ§Ñ ¤

ò. ¤Ò¶Ò»Å‹ÍÂÇÒ§ ¡Ù Ç‹ÒáÅŒÇã¹âÅ¡¹ÕéÁÕ»˜ÞËÒ à¢Ò äÁ‹´‹Ò ¡çª×蹪Á ËÃ×Íà©Â æ ÊÒÁ »ÃÐàÀ··ÕèÇ‹Ò¹Õé ÁÔà»ÅÕè¹àÅ ¨§ ÇÒ§à©Â ã¤Ã¶×ÍÊÒ໚¹ºŒÒµÒÂ

ó. ¤íÒÊ͹¢Í§¾Ãоط¸à¨ŒÒ ÍÂ‹Ò ä»¹Ö¡Ç‹Ò “¤¹Í×è¹” à˹×Í ¡Ç‹ÒàÃÒ à¾ÃÒзíÒãËŒà¡Ô´»Á´ŒÍ ÍÂ‹Ò ä»¹Ö¡Ç‹Ò “¤¹Í×è¹” µíèÒ ¡Ç‹ÒàÃÒ à¾ÃÒзíÒãËŒà¡Ô´·Ô°Ô ÍÂ‹Ò ä»¹Ö¡Ç‹Ò “¤¹Í×è¹” àÊÁÍ ¡Ç‹ÒàÃÒ à¾ÃÒзíÒãËŒà¡Ô´¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹

วารสาร

รักษาดินแดน ๘๗


โรงเรียนชางฝมือปญจวิทยา

สรางคนสูงาน เชี่ยวชาญทักษะ ปญจมีวินัย

เปดสอน ระดับ ปวช. ปวส. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม : สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานยานยนต สาขางานเทคนิคยานยนต

กระทรวงศึกษาธิการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา โทร. ๐-๒๒๗๒-๕๕๖๐, ๐-๒๖๑๗-๗๗๘๑-๒ โทรสาร ๐-๒๒๗๒-๕๕๖๔ ๙๔๒/๑ ซอย ๑๘ ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐

รวมสนับสนุนการจัดทํา

ดวยการประชาสัมพันธองคกรในวารสารเสือปา (ราย ๓ เดือน) สูผูอานทั่วประเทศ

สนใจติดตอ พันตรีหญิง มาริกา ปาลกะวงศ ณ อยุธยา หรือ จาสิบเอก ธีรยุทธ ประจักษจิตร โทร. ๐-๒๒๒๑-๒๘๗๑, ๐-๒๒๒๒-๔๘๔๐ โทรสาร ๐-๒๒๒๑-๗๙๙๐ ÇÒÃÊÒÃàÊ×Í»èÒ

51


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.