Journal of TDC 97

Page 1



แนะน�ำ ผบ.นรด. ท่านใหม่

พลโท วิชิต ศรีประเสริฐ

พลโท วิชติ ศรีประเสริฐ เกิดเมือ่ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๙๗ ทีอ่ ำ� เภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี จบการศึกษาสายสามัญจากโรงเรียนสัตหีบ (ปัจจุบันชื่อ โรงเรียน สิงห์สมุทร) เข้ารับการศึกษาทางทหาร ในปี ๒๕๑๖ ณ โรงเรียนเตรียมทหาร (รุน่ ๑๓) จากนั้นศึกษาต่อ ณ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (รุ่นที่ ๒๔) ตลอดระยะเวลาการรับราชการ ท่านได้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรต่าง ๆ เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ อาทิ หลักสูตรชั้นนายร้อยเหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๕๓, หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ ๖๔ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก, หลักสูตร นายทหารปลัดบัญชีระดับผู้บริหาร รุ่นที่ ๓ และหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๔๗) เริ่มรับราชการครั้งแรกในต�ำแหน่ง ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก กองร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒๑ กองพลทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ เมื่อปี ๒๕๒๐ และเจริญก้าวหน้าเรื่อยมา จนกระทั่งปี ๒๕๔๖ ด� ำรงต�ำแหน่ง รองผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ และต่อมาได้รับต�ำแหน่ง บริหารทีส่ ำ� คัญคือ ผูบ้ ญ ั ชาการมณฑลทหารบกที่ ๑๒, รองแม่ทพั ภาคที่ ๑ และปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งผูบ้ ญ ั ชาการหน่วยบัญชาการ รักษาดินแดน พลโท วิชิต ศรีประเสริฐ ได้รับเหรียญและเครื่องราช อิสริยาภรณ์ อาทิ ประถมาภรณ์ชา้ งเผือก เหรียญราชการชายแดน และเหรียญพิทกั ษ์เสรีชนชัน้ ๒ ซึง่ ถือเป็นเครือ่ งยืนยันในความรู้ ความสามารถ และการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อั น เป็ น ประโยชน์ ยิ่ ง แก่กองทัพ เป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่ก�ำลังพล ด้านชีวิตครอบครัว พลโท วิชิต สมรสกับ นางอนงค์ ศรีประเสริฐ (สกุลเดิม อาบศรีนาค) มีบตุ รธิดาด้วยกัน ๒ คน ได้แก่ ร้อยตรี วรายุทธ ศรีประเสริฐ และนางสาวนุชชาลี ศรีประเสริฐ


รายนามผู้บังคับบัญชา

พลโท วิชิต ศรีประเสริฐ

ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน

พลตรี อิทธิพล ทองดี

พลตรี ทลวงรณ วรชาติ

รองผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (๑)

รองผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (๒)

พลตรี ไพโรจน์ พนาเวศร์

พลตรี อดุลย์ ศิริวัฒน์

ผู้บัญชาการศูนย์การกำ�ลังสำ�รอง

เสนาธิการหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน

พลตรี ยศนันท์ หร่ายเจริญ

ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ ๑๑


“หลักการทำ�งานจาก ผบ.นรด.” มอบให้กับก�ำลังพล ในโอกาสตรวจเยี่ยม ศสร. เมื่อ ๒๖ เม.ย. ๕๕ ต้องการเห็นคนที่คิดแก้ปัญหามากกว่าที่เสนอปัญหา ต้องท�ำให้ต�ำแหน่งของตนเป็นต�ำแหน่งส�ำคัญโดยการท�ำงานให้ดีที่สุด ไม่ฉลาด ไม่เก่ง ไม่เป็นไร แต่ต้องเรียนรู้ ท�ำงาน และทบทวนแก้ไขให้สมบูรณ์ ต้องคิดล่วงหน้าก่อนเสมอว่าจะต้องท�ำอะไร ท�ำอย่างไร งานจึงจะส�ำเร็จ คนที่ประจบสอพลอ ๒ ใน ๑๐ คน เท่านั้นที่เจริญ แต่คนที่ตั้งใจท�ำงาน ๘ ใน ๑๐ คน จะเจริญ คนที่เป็นผู้น�ำเมื่อเห็นผู้ใต้บังคับบัญชาท�ำผิดแล้วไม่ลงโทษ คนคนนั้นไม่ควรเป็นผู้น�ำ คนที่เป็น ผู้นำ� แล้วไม่สนับสนุนผู้ใต้บงั คับบัญชาทีด่ ี ๆ คนคนนั้นไม่ควรเป็นผู้นำ� และไม่ควรเป็นผู้บงั คับบัญชา ถ้าจะเอาใจผู้บังคับบัญชา จงเอาใจด้วยการท�ำงานและไม่ต้องกลัวว่าจะไม่ดี ชื่อเสียง เกียรติยศ ศักดิ์ศรี ที่เกิดจากการท�ำงานเป็นสิ่งที่ยั่งยืน เมื่อถูกต�ำหนิแล้วปรับปรุงตัวให้ดีขึ้น น่าประทับใจกว่าคนที่ไม่ถูกต�ำหนิเสียอีก วิสัยทัศน์ของหน่วยต้องร่วมกันคิดและช่วยกันท�ำ อย่าเขียนเพียงให้สวยหรู ก�ำลังพลทุกนายต้องตั้งใจท�ำงานเพื่อศักดิ์ศรีและชื่อเสียงของหน่วย อย่าท้อแท้แล้วคิดขัดขวางความเจริญของหน่วย เราเป็ น ทหารที่ อ ยู ่ ใ นมรสุ ม แห่ ง การเปลี่ ย นแปลง ต้ อ งมี ค วามรู ้ สึ ก รู ้ ร อบ และท�ำ งานอย่ า ง กระตือรือร้นเสมอ คนเก่งเรียนรู้จากประสบการณ์ คนฉลาดเรียนรู้จากประสบการณ์คนเก่ง ต้องท�ำตัวเป็นขุนศึก คือต้องกล้าอาสาไปรบ เมื่อรบก็ต้องชนะ จงภูมิใจที่ได้เป็นทหารของพระราชา ของแผ่นดิน และของประชาชน การฝึก นศท. เป็นความสามารถพิเศษของเรา ต้องช่วยกันหาวิธีที่ดีที่สุดภายใต้ข้อจ�ำกัดในปัจจุบัน การฝึกวิชาทหาร นศท. ต้องเหนื่อย ล�ำบาก แต่ต้องท�ำอย่างค่อยเป็นค่อยไป สื่อการสอน เครื่องช่วยฝึก ให้ท�ำในสิ่งที่จ�ำเป็นและจัดให้มีจ�ำนวนที่เพียงพอกับ นศท. ครูฝึกทุกนายต้องพัฒนาตนเองให้สามารถท�ำการฝึกสอนให้ได้อย่างน้อย ๓ วิชา การฝึก นศท. คนละเที่ยวแล้วจบ ไม่มีในสารบบ ต้องฝึกแล้วฝึกอีกจนกว่าจะหมดเวลา นศท. ทุกนายต้องฝึกครบ ๘๐ ชั่วโมง มีสิทธิขาดการฝึกได้เท่ากับ ๐ ชั่วโมง นศท. ทุกนายต้องผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกายก่อนเข้ารับการฝึกภาคสนาม ต้องสร้างค่านิยมให้ นศท. เกิดความรู้สึกว่าเมื่อส�ำเร็จการฝึกแล้วจะได้เป็นทหารอย่างเต็มตัว ต้องท�ำให้ นศท. ส่วนกลาง เป็น นศท. เกรด A เป็นเรื่องยากจึงต้องให้คนเก่งท�ำ สิ่งที่มอบเป็นนโยบาย ต้องท�ำอย่างจริงจัง ไม่มีครั้งที่ ๒

รักษาดินแดน

วารสาร

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔. ๒๕. ๒๖.

3


ส า ร บั ญ

C O N T E N T S รั ก ษ า ดิ น แ ด น ว า ร ส า ร

ปีที่ ๑๘ ฉบับที่ ๙๗ ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๕ ISSN 0859-0982

อันเนื่องจากปก

แนะนำ� ผบ.นรด.  รายนามอดีตผู้บังคับบัญชา นรด.  หลักการทำ�งานจาก ผบ.นรด.

๑ ๒ ๓

เกี่ยวเนื่องกับหน่วย

๑๖

โอวาท ผบ.ทบ. ให้กับกำ�ลังพลสำ�รอง  ประกาศ ทบ. เรื่อง การเรียกพลเพื่อตรวจสอบและฝึกวิชาทหาร ปี ๒๕๕๕  คิดถึงการฝึกภาคสนาม  การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับเอกสาร

๖ ๗ ๒๑ ๓๗

เหลียวแลรอบตัว

๒๕

ความแตกต่างของพระมหากษัตริย์อังกฤษ และพระมหากษัตริย์ไทย  บทบาทของ นศท. ๓ จชต. ในการสร้างฝายในหลวงเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง  พินัยกรรม คำ�สั่งสุดท้ายของผู้วายชนม์

๙ ๑๖ ๓๐

พบกันเป็นประจำ� 

๓๓

4

รักษาดินแดน

วารสาร

๔๔

กองทัพสิงคโปร์ ๒๐๐๓  มุมพระเครื่อง ตอน พระราหูกะลาตาเดียวแกะหลวงพ่อปิ่น ตะโกทอง วัดศีรษะทอง จังหวัดนครปฐม  ข่าวสั้นทางทหารกลุ่มประเทศอาเซียน  ขำ�ๆ โดย ป๋าชาติ

๒๕ ๓๓ ๔๔ ๔๖


บรรณาธิการแถลง “...ทหารนั้นในฐานะเป็นทหารของชาติ จึงมีหน้าที่อย่างส�ำคัญในด้านการต่อสู้คุ้มกันด้วย แสนยานุภาพ และฐานะที่เป็นคนไทย จึงมีหน้าที่ที่จะต้องคุ้มกันกับทุกคนทุกฝ่าย พัฒนาสร้างสรรค์ ให้เกิดความเจริญร่มเย็นแก่แผ่นดิน การนั้นไม่ว่าจะประพฤติปฏิบัติการใด ทหารจะต้องระมัดระวัง กายใจให้มั่นคง ซื่อตรงในความสัตย์สุจริต และความสมัครสมานสามัคคี มีความกล้าหาญ เข้มแข็ง อดทน และอดกลั้น มุ่งมั่นที่จะปฏิบัติหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์ครบถ้วน ทั้งในฐานะที่เป็นทหาร ทัง้ ในฐานะทีเ่ ป็นคนไทย โดยปรารถนาประโยชน์อนั ยิง่ ใหญ่ของชาติของแผ่นดินเป็นเป้าหมายสูงสุด…” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั พระราชทานแก่นายทหารชัน้ ผูใ้ หญ่ทีเ่ ข้าเฝ้ าฯ และทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ ในพระราชพิธีถวายสัตย์ปฏิ ญาณตนและสวนสนามของเหล่าทหารรักษาพระองค์ เมื อ่ วันเสาร์ ที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๔๙

วัสดีครับทุกท่าน กลับมาพบกันอีกครัง้ กับ “รักษาดินแดนวารสาร” วารสารของหน่วยบัญชาการ รักษาดินแดน วารสารฉบับนีเ้ ป็นฉบับที่ ๙๗ ตรงกับวาระพิเศษ คือ “พิธรี บั -ส่งหน้าที่ ผูบ้ ญ ั ชาการ หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน” ระหว่าง พลเอก ชูเกียรติ เธียรสุนทร และ พลโท วิชิต ศรีประเสริฐ ซึ่งทาง กองบรรณาธิการก็ได้นำ� ภาพบรรยากาศงานพิธี และบทความแนะน�ำ ผบ.นรด. ท่านใหม่ พร้อมทัง้ แนวทาง การท�ำงานที่ท่านได้มอบให้กับก�ำลังพลทุกนาย เพื่อให้ทุกท่านได้ท�ำความรู้จักกับ ผบ.นรด. ท่านนี้ ส� ำ หรั บ สมาชิ ก ที่ มี บ ทความหรื อ ข่ า วสารเพื่ อ การประชาสั ม พั น ธ์ สามารถส่ ง มาได้ ที่ กองบรรณาธิการฯ ตามที่อยู่ท้ายเล่ม ทั้งนี้ ในการส่งบทความ ขอให้ส่งเป็นไฟล์มาทั้งข้อมูลและ ภาพประกอบ พร้อมแนบชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์เพื่อการประสานด้วย...ยินดีรับพิจารณา ทุกบทความครับ พบกันใหม่ฉบับหน้า

พ.อ.

(เกรียงศักดิ์ แย้มศิริ) บรรณาธิการ


โอวาทสำ�หรับกำ�ลังพลสำ�รองที่เข้ารับการเรียกพล เพื่อตรวจสอบและฝึกวิชาทหาร ปี ๒๕๕๕ ของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก

เพื่อนก�ำลังพลส�ำรองที่รัก

ในนามของกองทัพบก ข้าพเจ้าขอต้อนรับก�ำลังพล ส� ำ รองทุ ก นายที่ เ ข้ า รั บ การเรี ย กพล เพื่ อ ตรวจสอบ และฝึกวิชาทหารประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ ด้วยความ ยินดียิ่ง การที่ จ ะท� ำ ให้ ช าติ ข องเรามี ค วามเจริ ญ มั่ น คง ทัดเทียมอารยประเทศได้นั้น จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่คนไทย ทุกคนต้องช่วยกันพัฒนาพลังอ�ำนาจของชาติอันประกอบ ไปด้วย การเมือง, เศรษฐกิจ, สังคมจิตวิทยา, วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการทหาร ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ โลกตลอดเวลา พลังอ�ำนาจของชาติดา้ นการทหารนัน้ เป็นเครือ่ งมือ ส�ำคัญในการปกป้องผลประโยชน์และเกือ้ หนุนพลังอ�ำนาจ ของชาติในด้านอื่น ๆ ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นหลักประกัน ในการด�ำรงรักษาไว้ซงึ่ เอกราชและอธิปไตยของชาติอกี ด้วย การคงก� ำ ลั ง ทหารประจ� ำ การเพื่ อ การป้ อ งกั น ประเทศจ�ำนวนมาก จะไม่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ ในปั จ จุ บั น ดั ง นั้ น การพั ฒ นาระบบก� ำ ลั ง ส� ำ รองให้ มี ประสิทธิภาพจึงเป็นทางออกส�ำหรับยุทธศาสตร์การป้องกัน ประเทศที่ ส� ำ คั ญ และจ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ป ระเทศต่ า ง ๆ น� ำ มาใช้ ส นั บ สนุ น ก� ำ ลั ง ทหารประจ� ำ การในการขยาย อ� ำ นาจก� ำ ลั ง รบหรื อ ในการปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ที่ จ� ำ เป็ น ต้ อ ง ประกอบก�ำลังกองทหารขนาดใหญ่ อีกนัยหนึ่ง การน�ำ

ก�ำลังพลส�ำรองมาบรรจุในหน่วยต่าง ๆ ที่จะต้องปฏิบัติ ตามแผนป้องกันประเทศนั้น ยังเสมือนเป็นการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นในการต่อต้านภัยคุกคามของชาติ ร่วมกันอีกด้วย กองทั พ บก ขอให้ ก� ำ ลั ง พลส� ำ รองที่ เ ข้ า รั บ การ เรียกพลฯ ทุกนายได้ตั้งใจรับการฝึกศึกษา อีกทั้งประพฤติ ปฏิ บั ติ ต นให้ อ ยู ่ ใ นระเบี ย บวิ นั ย เก็ บ เกี่ ย วความรู ้ แ ละ ประสบการณ์ที่ได้รับไว้ให้มากที่สุด เพื่อน�ำไปถ่ายทอดให้ แก่ชมุ ชนของท่าน ทัง้ ขอให้ดำ� รงไว้ซงึ่ เกียรติยศและศักดิศ์ รี แห่งความเป็นก�ำลังพลส�ำรอง มีความรักในชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อันจะเป็นผลให้ประเทศชาติมีความ เจริญรุ่งเรืองต่อไป ในวาระนี้ ข้าพเจ้าขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ในสากลโลกที่ท่านเคารพนับถือ ตลอดจนเดชะพระบารมี แ ห่ ง องค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ โ ปรดดลบั น ดาลพระราชทานพรให้ เ พื่ อ นก� ำ ลั ง พล ส�ำรองทุกท่าน รวมทั้งครอบครัว จงประสบแต่ความสุข ความเจริญ แคล้วคลาดจากภยันตรายทั้งปวง มีสุขภาพ พลานามั ย แข็ ง แรงสมบู ร ณ์ มี จิ ต ใจเข้ ม แข็ ง มั่ น คง พร้อมด้วยสติปัญญาอันเฉียบแหลม เพื่อช่วยกันพัฒนา กองทัพบก และประเทศชาติ ให้วัฒนาถาวรสืบไป

6

รักษาดินแดน

วารสาร

พลเอก

(ประยุทธ์ จันทร์โอชา) ผู้บัญชาการทหารบก


ประกาศกองทัพบก เรื่อง การเรียกพลเพื่อตรวจสอบและฝึกวิชาทหาร ปี ๒๕๕๕ .................................................................

รักษาดินแดน

วารสาร

กองทัพบก จะท�ำการเรียกพลเพื่อตรวจสอบและฝึกวิชาทหาร ประจ�ำปี ๒๕๕๕ โดยเรียกก�ำลังพล ส�ำรองประเภทนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน และนายทหารประทวนกองหนุนทีม่ รี ายชือ่ ในบัญชีบรรจุกำ� ลัง ของหน่วยในระบบก�ำลังส�ำรองต่าง ๆ ทุกกองทัพภาค เพื่อเข้ารับการตรวจสอบและฝึกวิชาทหาร ตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ถึงสิงหาคม ๒๕๕๕ มีรายละเอียด ดังนี้ ๑. การเรียกพลเพื่อฝึกวิชาทหาร ปี ๒๕๕๕ ของกองทัพบก ๑.๑ การเรียกพลเพื่อฝึกวิชาทหารให้กับก�ำลังพลส�ำรอง ขั้นต้น บัญชี ๑/๕๔ : โดยท�ำการ เรียกก�ำลังพลส�ำรอง ขั้นต้น บัญชี ๑/๕๔ ประเภทนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน และนายทหารประทวน กองหนุน จ�ำนวน ๘ หน่วย เข้ารับการเรียกพลเพื่อฝึกวิชาทหารตามยอดการเรียกพลฯ จ�ำนวน ๙๓๓ นาย (นายทหารสัญญาบัตรกองหนุน ๓๕ นาย, นายทหารประทวนกองหนุน ๘๙๘ นาย) ดังนี้ ๑.๑.๑ เข้ารับการฝึกความช�ำนาญการทางทหาร ก�ำหนด ๒ วัน (เสาร์ - อาทิตย์) จ�ำนวน ๒ ครั้ง รวม ๔ วัน ณ หน่วยรับการบรรจุ/หน่วยฝึก ๑.๑.๒ เข้ารับการฝึกเป็นหน่วยทางยุทธวิธรี ะดับกองพัน ก�ำหนด ๑๐ วัน จ�ำนวน ๑ ครัง้ ณ หน่วยรับการบรรจุ/หน่วยฝึก ๑.๒ การเรียกพลเพื่อฝึกวิชาทหารให้กับก�ำลังพลส�ำรอง ขั้นต้น บัญชี ๑/๕๕ : โดยท�ำการ เรียกก�ำลังพลส�ำรอง ขั้นต้น บัญชี ๑/๕๕ ประเภทนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน และนายทหารประทวน กองหนุน จ�ำนวน ๘ หน่วย เข้ารับการฝึกวิชาทหาร ตามยอดการเรียกพลฯ ที่ก�ำหนด จ�ำนวน ๖๒๑ นาย (นายทหารสัญญาบัตรกองหนุน ๒๖ นาย, นายทหารประทวนกองหนุน ๕๙๕ นาย) ดังนี้ ๑.๒.๑ เข้ารับการฝึกความช�ำนาญการทางทหาร ก�ำหนด ๓ วัน (ศุกร์ - เสาร์ - อาทิตย์ หรือเสาร์ - อาทิตย์ - จันทร์) จ�ำนวน ๒ ครั้ง รวม ๖ วัน ณ หน่วยรับการบรรจุ/หน่วยฝึก ๑.๒.๒ เข้ารับการฝึกเป็นหน่วยทางยุทธวิธีระดับกองร้อย ก�ำหนด ๑๐ วัน จ�ำนวน ๑ ครั้ง ณ หน่วยรับการบรรจุ/หน่วยฝึก ๑.๓ การเรียกพลเพือ่ ฝึกวิชาทหาร (พัฒนาสัมพันธ์) : โดยท�ำการเรียกก�ำลังพลส�ำรองพร้อมรบ บัญชี ๒/๕๓ ประเภทนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน และนายทหารประทวนกองหนุน จ�ำนวน ๑๑ หน่วย เพื่อเข้ารับการฝึกวิชาทหาร (พัฒนาสัมพันธ์) จ�ำนวน ๑ ครั้ง ก�ำหนด ๒ วัน (เสาร์ - อาทิตย์) โดยมียอด การเรียกพลฯ จ�ำนวน ๙๗๕ นาย (นายทหารสัญญาบัตรกองหนุน ๖๖ นาย, นายทหารประทวนกองหนุน ๙๐๙ นาย) โดยให้รายงานตัว ณ หน่วยรับการบรรจุ/หน่วยฝึก

7


๒. การเรียกพลเพื่อฝึกวิชาทหาร (ทดแทนเป็นหน่วย) โดยท�ำการเรียกก�ำลังพลส�ำรอง เหล่า ทหารราบ ประเภทนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน, นายทหารประทวนกองหนุน, สิบตรี (กองประจ�ำการ) กองหนุน และพลทหารกองหนุน ที่มีภูมิล�ำเนาในพื้นที่กองทัพภาคที่ ๑ จ�ำนวน ๒๐๗ นาย (นายทหารสัญญา บัตรกองหนุน ๖ นาย, นายทหารประทวนกองหนุน ๕๓ นาย, สิบตรี (กองประจ�ำการ) กองหนุน ๓๖ นาย, พลทหารกองหนุน ๑๑๒ นาย) เข้ารับการฝึกเบื้องต้น ฝึกเฉพาะหน้าที่ และฝึกเป็นหน่วยทางยุทธวิธี ก�ำหนด ๑๖ วัน จ�ำนวน ๑ ครั้ง ณ กองพลทหารราบที่ ๑๑ เพื่อให้มีความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจของกองร้อย อาวุธเบา โดยให้มณฑลทหารบกที่ ๑๔ เป็นหน่วยเรียกพล ๓. การเรียกพลเพื่อฝึกวิชาทหารเพื่อเลื่อนยศ-ฐานะ ก�ำหนด ๓๐ วัน : ท�ำการเรียกก�ำลังพล ส�ำรอง ทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามทีก่ ำ� หนด และมีความสมัครใจเข้ารับการศึกษาตามแนวทางการรับราชการ ของก�ำลังพลส�ำรอง เพื่อเลื่อนยศ-ฐานะ จ�ำนวน ๔๐๐ นาย (นายทหารสัญญาบัตรกองหนุน ๒๕๐ นาย, นายทหารประทวนกองหนุน ๑๕๐ นาย) ณ โรงเรียนการก�ำลังส�ำรอง ศูนย์การก�ำลังส�ำรอง ค่ายธนะรัชต์ อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๔. การเรียกพลเพือ่ ตรวจสอบ ปี ๒๕๕๕ ของกองทัพบก : เป็นการเรียกก�ำลังพลส�ำรอง ตามระบบ ๑ : ๑ : ๑ : ๓ เช่นเดียวกัน โดยจะด�ำเนินการเฉพาะในกรณีที่งบประมาณมีจ�ำกัด ไม่สามารถท�ำการเรียกพล เพื่อฝึกวิชาทหารได้ โดยก�ำหนดการปฏิบัติดังนี้ ๔.๑ ท�ำการเรียกก�ำลังพลส�ำรองขั้นต้น บัญชี ๑/๕๕ ของหน่วยรับการบรรจุ/หน่วยฝึก ประเภทนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน และนายทหารประทวนกองหนุน เพือ่ ตรวจสอบ จ�ำนวน ๑ ครัง้ ก�ำหนด ๑ วัน (เสาร์หรืออาทิตย์) จ�ำนวน ๒๓๑ หน่วย ยอดเรียกพลฯ จ�ำนวน ๑๔,๗๓๗ นาย (นายทหารสัญญาบัตร กองหนุน ๘๗๘ นาย, นายทหารประทวนกองหนุน ๑๓,๘๕๙ นาย) โดยให้รายงานตัว ณ หน่วยรับการบรรจุ/ หน่วยฝึก ๔.๒ ท�ำการเรียกก�ำลังพลส�ำรองเตรียมพร้อม บัญชี ๓/๕๒ ของหน่วย กรมทหารราบที่ ๑๓ กองพันทหารราบที่ ๑ (กองพลทหารราบที่ ๓) เพือ่ ตรวจสอบ จ�ำนวน ๑ ครัง้ ก�ำหนด ๑ วัน (เสาร์หรืออาทิตย์) โดยมียอดการเรียกพลฯ จ�ำนวน ๙๐ นาย (นายทหารสัญญาบัตรกองหนุน ๑๐ นาย, นายทหารประทวน กองหนุน ๘๐ นาย) ก�ำหนดหน่วยเรียกพล โดยมณฑลทหารบกที่ ๒๔ ๕. การเรียกพลฯ สนับสนุนกองบัญชาการกองทัพไทย และเหล่าทัพ เมื่อได้รับการร้องขอ การเรียกพลฯ ในครั้งนี้ กองทัพบกมิได้เรียกก� ำลังพลส�ำรองทุกนาย รายละเอียดต่าง ๆ ก�ำลังพลส�ำรองสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ฝ่ายสรรพก�ำลังมณฑลทหารบกหรือจังหวัดทหารบก (ต้นสังกัด) หรื อ ส� ำ นั ก งานสั ส ดี ก รุ ง เทพมหานคร, ส� ำ นั ก งานสั ส ดี จั ง หวั ด และหน่ ว ยสั ส ดี เ ขต/อ� ำ เภอที่ เ ป็ น ภูมิล�ำเนาทหาร ส�ำหรับผู้ที่ได้รับ “ค�ำสั่งเรียกพล” หรือ “หมายเรียกพล” ขอให้ไปรายงานตัวตามวัน เวลา และสถานที่ที่ก�ำหนดไว้ในเอกสารด้วย ประกาศ ณ วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ พลเอก

8

รักษาดินแดน

วารสาร

หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน

(ประยุทธ์ จันทร์โอชา) ผู้บัญชาการทหารบก


ความแตกต่างของ

ระมหากษัตริย์อังกฤษ และ ระมหากษัตริย์ไทย

พ.ต.มาโนช จุมปามาลา

วามแตกต่างของพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระมหากษัตริย์ไทย ในส่ ว นพระราชฐานะ พระราชอ� ำ นาจ และบทบาทของสถาบั น พระมหากษัตริย์ในปัจจุบัน แบ่งเป็นกรณีได้ดังนี้

พระราชฐานะของพระมหากษัตริย์อังกฤษ และพระมหากษัตริยข์ องไทยนัน้ มีลกั ษณะส�ำคัญ ๆ ทีเ่ หมือนกันคือ ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงเป็นทีม่ า แห่งความยุติธรรม และทรงเป็นที่มาแห่งเกียรติยศ ซึง่ ในหลักการแล้วจะเหมือนกัน จะแตกต่างในส่วน ของแนวคิดที่มาและรายละเอียดปลีกย่อย

แต่ ส ่ ว นของพระราชฐานะที่ แ ตกต่ า งกั น ระหว่ า งพระมหากษัต ริย ์ อัง กฤษ และพระมหา กษัตริย์ไทยที่เห็นได้ชัดเจนก็คือ พระราชฐานะ ประมุขของฝ่ายบริหาร และประมุขของศาสนจักร ในอังกฤษนั้น มีแนวคิดที่ชัดเจนเกี่ยว กับการที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของ ฝ่ายบริหาร อย่างไรก็ตาม พระมหากษัตริยอ์ งั กฤษ ทรงเป็นประมุขฝ่ายบริหารในทางแบบพิธี (Formal)

รักษาดินแดน

วารสาร

๑. พระราชฐานะ

9


รัฐสภาของไทยมีลกั ษณะเป็นแบบอ�ำนาจคู่ (Dualist) ดังเช่นอังกฤษ แต่กระนั้น ในความเป็นจริง กลไก ทีแ่ ท้จริงของระบบการปกครองในระบบรัฐสภาของ ไทยเป็ น แบบอ� ำ นาจเดี่ ย ว (Monist) กล่ า วคื อ ในประเทศไทยนั้นตั้งแต่ช่วงหลังการเปลี่ยนแปลง การปกครองเป็นต้นมา มีลักษณะที่ฝ่ายบริหาร เข้ า มารั บ หน้ า ที่ ซึ่ ง แต่ เ ดิ ม นั้ น เป็ น หน้ า ที่ ข อง พระมหากษัตริย์ไปด�ำเนินการแทนองค์พระมหา กษัตริย์ ความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์ ไทยกั บ คณะรั ฐ บาลเป็ น ไปในแบบพิ ธีเ ท่ า นั้ น คณะรัฐมนตรีรบั ผิดชอบต่อรัฐสภามิใช่ตอ่ พระมหา กษัตริย์

ในกรณีดังกล่าวนี้จะแตกต่างจากประเทศ ไทย กล่าวคือ ในประเทศไทยนั้นไม่มีแนวคิดว่า พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของฝ่ายบริหาร เหมื อ นดั ง ที่ อั ง กฤษมี แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยในแทบจะทุก ฉบั บ ได้ มี ก ารบั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ นแนวทางเดี ย วกั น ว่ า พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอ�ำนาจในการ แต่ ง ตั้ ง และถอดถอนนายกรั ฐ มนตรี แ ละคณะ รัฐมนตรี บทบัญญัติดังกล่าวของรัฐธรรมนูญไทย สะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่ า รู ป แบบการปกครองในระบบ

อาจกล่าวได้โดยสรุปว่าประเทศอังกฤษ และไทยนั้น มีลักษณะเหมือนกันคือ รัฐบาล ไม่ต้องรับผิดชอบต่อพระมหากษัตริย์ แต่ต้อง รั บ ผิ ด ชอบต่ อ รั ฐ สภา ความสั ม พั น ธ์ ข อง พระมหากษัตริย์และรัฐบาลเป็นไปตามแนว แบบพิธีเท่านั้น แต่จะมีส่วนที่แตกต่างกันก็คือ ในประเทศอังกฤษมีแนวคิดว่า พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุขของฝ่ายบริหาร แต่ของไทยมิได้ มีแนวคิดเช่นว่านั้น

10 รักษาดินแดน

วารสาร

เท่านัน้ มิได้ทรงเข้ามามีสว่ นเกีย่ วข้องในการบริหาร ประเทศของฝ่ายบริหารในแง่ของกลไก (Function) แต่อย่างใด ในรูปแบบของการปกครองในระบบ รัฐสภา (Parliamentary system) ของอังกฤษนั้น ในทางรูปแบบ ฝ่ายบริหารต้องรับผิดชอบทั้งต่อ พระมหากษัตริย์และรัฐสภาซึง่ ถือเป็นระบบรัฐสภา แบบอ�ำนาจคู่ (dualist) เนือ่ งจากในทางรูปแบบแล้ว พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี แต่ในความเป็นจริงฝ่ายบริหาร ต้องรับผิดชอบต่อสภาสามัญเท่านัน้ มิได้รบั ผิดชอบ ต่อพระมหากษัตริย์ในฐานะประมุขของฝ่ายบริหาร แต่อย่างใด (monist)


จุ ด มุ ่ ง หมายของการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (Constitutional Monarchy) นั่นคือ การที่จะท�ำให้ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมือง แต่อย่างไร ก็ตาม ด้วยวิวฒ ั นาการของสถาบันพระมหากษัตริย์ วิวฒ ั นาการของระบอบการปกครอง รวมทัง้ ขอบเขต ของรัฐธรรมนูญ ท�ำให้พระราชอ�ำนาจและบทบาท ตามรัฐธรรมนูญของพระมหากษัตริย์อังกฤษและ พระมหากษัตริย์ไทยมีความแตกต่างกันในเนื้อหา พระมหากษัตริยอ์ งั กฤษยังทรงมีพระราช อ�ำนาจในการที่จะทรงใช้พระราชวินิจฉัยส่วน พระองค์ในกรณีของการแต่งตัง้ นายกรัฐมนตรี และในกรณีวิกฤติการณ์ของชาติ และแนวโน้ม ของการเพิ่มพูนพระราชอ�ำนาจดังกล่าวก็มีมากขึ้น ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากการเปลี่ ย นแปลงของระบบพรรค การเมือง จากรูปแบบของพรรคการเมืองแบบสอง พรรค ไปเป็นแบบหลายพรรคการเมือง (multi-party system) อันก่อให้เกิดปัญหาหลังจากการเลือกตั้ง ทั่วไปแล้วไม่มีพรรคการเมืองใดได้คะแนนเสียง ในสภาสามัญเกินกว่ากึ่งหนึ่ง (hung Parliament) ขึ้นได้ง่าย

กรณีของประเทศอังกฤษดังกล่าวไม่ปรากฏ ในประเทศไทย เนือ่ งจากประเทศไทยมีรฐั ธรรมนูญ เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร หากได้ ศึ ก ษาถึ ง ประวั ติ รัฐธรรมนูญไทยในฉบับต่าง ๆ ทีผ่ า่ นมาจะเห็นได้วา่ มีลกั ษณะตรงกันข้ามอังกฤษ กล่าวคือรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยบางฉบับที่มีลักษณะที่ ถวายพระราชอ�ำนาจแก่องค์พระมหากษัตริย์ มากขึน้ แต่อย่างไรก็ตาม ด้วยพระอัจฉริยภาพ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท�ำให้ทรง วางพระองค์อยูเ่ หนือการเมืองตลอดมา จะทรง ลดพระองค์เข้ายุ่งเกี่ยวก็เฉพาะกับกรณีที่เกิด เหตุการณ์วิกฤติของประเทศชาติเท่านั้น อย่างไรก็ตาม แม้พระมหากษัตริยไ์ ทยจะทรง ไว้ซงึ่ พระราชอ�ำนาจดัง้ เดิมทีจ่ ะทรงใช้ในกรณีวกิ ฤติ ของบ้านเมือง ซึง่ ก็มลี กั ษณะคล้ายคลึงกับพระราช อ�ำนาจของพระมหากษัตริย์อังกฤษแต่ก็มีส่วนที่ แตกต่างกันอยู่ในรายละเอียด กล่าวคือ ๑. พระมหากษัตริย์อังกฤษทรงใช้พระราช อ�ำนาจโดยพระองค์เองในกรณีการแต่งตั้งนายก รัฐมนตรีและทรงใช้พระราชอ�ำนาจโดยพระราช วินิจฉัยส่วนพระองค์ในกรณีบ้านเมืองอยู่ในภาวะ

รักษาดินแดน

วารสาร

๒. พระราชอ�ำนาจ

11


12 รักษาดินแดน

วารสาร

วิกฤติทางรัฐธรรมนูญหรือทางเศรษฐกิจ ดังเช่น กรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดได้รับคะแนนเสียงใน สภาสามัญได้เกินกว่ากึ่งหนึ่งหรือการชะงักงันของ สภาสามัญ (Hung Parliament) หรือในกรณีที่ในปี ๑๙๓๑ พระเจ้าจอร์จที่ ๕ ทรงไม่ต้องการให้นาย MacDonald ลาออกในช่วงวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ตกต�ำ่ จึงได้ทรงพยายามทีจ่ ะแก้ไขสถานการณ์โดย พยายามจะให้มีการตั้งรัฐบาลแห่งชาติ (National Government) ขึ้นภายใต้การน�ำของนาย MacDonal โดยทรงพยายามเกลี้ ย กล่ อ มให้ หั ว หน้ า พรรค คอนเซอร์เวทีฟ และหัวหน้าพรรคลิเบอรัลเข้าร่วม ในรัฐบาลแห่งชาติ ซึ่งหัวหน้าพรรคทั้งสองยินยอม ให้มีการตั้งรัฐบาลแห่งชาติขึ้น กรณี ข องวิ ก ฤติ ก ารณ์ ท างรั ฐ ธรรมนู ญ ดั ง กล่ า วนี้ ถื อ เป็ น กรณี ที่ เ ป็ น ข้ อ พิ พ าทในทาง การเมืองที่ประชาชนมิได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง หรือได้รับผลกระทบโดยตรงแต่อย่างใด ซึ่งจะต่าง

จากกรณีการใช้พระราชอ�ำนาจดัง้ เดิมของพระมหา กษัตริย์ไทยที่เป็นการใช้พระราชอ� ำนาจในกรณี เกิดเหตุการณ์วิกฤติที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง ของประชาชนกับรัฐบาล ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรง ต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ดังเช่นกรณี ๑๔ ตุลา หรือพฤษภาทมิฬ เป็นต้น การที่พระมหา กษัตริย์ไทยไม่เคยทรงลดพระองค์ลงมายุ่งเกี่ยว กับปัญหาการต่อสู้ทางการเมืองดังเช่นในอังกฤษ อาจแสดงให้เห็นว่าพระมหากษัตริย์ไทยทรงด�ำรง พระองค์อยู่เหนือการเมืองอย่างแท้จริงยิ่งกว่าพระ มหากษัตริย์อังกฤษที่เป็นต้นแบบของการปกครอง ในระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ทรงเป็นประมุข ๒. การใช้ พ ระราชอ� ำ นาจของพระมหา กษัตริย์อังกฤษในกรณีดังกล่าวข้างต้น เป็นการใช้ พระราชอ�ำนาจทีม่ ขี อ้ โต้แย้งในทางวิชาการเสมอว่า พระมหากษัตริย์อังกฤษทรงสามารถใช้พระราช อ�ำนาจดังกล่าวได้หรือไม่เพียงใด และเป็นการใช้ พระราชอ�ำนาจเกินขอบเขตของรัฐธรรมนูญหรือไม่ แต่ในการใช้พระราชอ�ำนาจของพระมหากษัตริย์ ไทยนั้น ถือเป็นการใช้พระราชอ�ำนาจดั้งเดิมของ พระมหากษัตริย์ที่ทรงมีอยู่ก่อนที่จะมีการประกาศ ใช้รฐั ธรรมนูญ เมือ่ มีการประกาศใช้รฐั ธรรมนูญแล้ว พระราชอ�ำนาจดั้งเดิมดังกล่าวจะยังคงมีอยู่มาก หรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับพระบรมเดชานุภาพของ พระมหากษัตริย์แต่ละพระองค์ เมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทยแล้วอาจท�ำให้มีการมองว่าพระราช อ�ำนาจของพระมหากษัตริย์ของไทยนั้น คงมีอยู่ เท่าที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่แท้จริงแล้ว พระ ราชอ�ำนาจของพระมหากษัตริย์ไทยที่แต่เดิมมีอยู่ อย่างล้นพ้นนั้นก็ยังคงมีอยู่ เพียงแต่ว่าจะสามารถ น�ำมาใช้ได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับว่าการใช้


พระราชอ�ำนาจดังกล่าวสอดคล้องกับหลักการของ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริยท์ รงเป็นประมุขหรือไม่เพียงใด รวมทัง้ ขึน้ อยู่ กับพระบรมเดชานุภาพส่วนพระองค์ของพระมหา กษัตริย์แต่ละพระองค์ (Royal Charisma)

๓. บทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ ในปัจจุบัน

ประโยชน์ขององค์กรหรือสถาบันนั้น ๆ เป็นองค์กร หรือสถาบันที่มีมานานแล้วเท่านั้น หากองค์กรหรือ สถาบันใดไม่สามารถพิสจู น์ได้ ก็จ�ำเป็นต้องยกเลิก หรือมีการปรับปรุงโครงสร้างใหม่ นโยบายดังกล่าว แม้ไม่ได้กระทบต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์อังกฤษโดยตรงก็ตาม แต่ก็มีผล กระทบในทางอ้อมที่ทำ� ให้สถาบันพระมหากษัตริย์ อังกฤษ พยายามทีจ่ ะปรับเปลีย่ นสถาบันให้มคี วาม ทันสมัยขึน้ โดยพยายามจะปรับเปลีย่ นภาพลักษณ์ จากสถาบั น ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยความรู ้ สึ ก เทพนิ ย าย (magic) ไปสู่สถาบันที่ทรงไว้ซึ่งประโยชน์ (practical) ซึ่ ง ในกรณี ดั ง กล่ า วสถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ อั ง กฤษจ� ำ เป็ น จะต้ อ งลดระยะห่ า งของสถาบั น กับประชาชนลง และพยายามเข้าไปเป็นส่วนหนึ่ง ในชีวิตประชาชน สถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษในปัจจุบัน ปรั บ เปลี่ ย นบทบาทจากสถาบั น ที่ ห ่ า งไกลจาก ประชาชนมาเป็นสถาบันทีใ่ กล้ชดิ ประชาชนมากขึน้ โดยการประกอบพระราชกรณียกิจเพือ่ สังคม รวมทัง้ การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ กลุ ่ ม คนที่ ไ ด้ รั บ การดู แ ล จากรัฐบาลไม่ทั่วถึง ลักษณะดังกล่าวเป็นบทบาท ในยุ ค ใหม่ ข องสถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ อั ง กฤษ โดยอาจจะกล่าวได้ว่าเป็นบทบาทที่มีแนวคิดแบบ

รักษาดินแดน

วารสาร

เป็ น ที่ ย อมรั บ กั น โดยทั่ ว ไปว่ า สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ ใ นระบอบประชาธิ ป ไตย ทั้ ง อังกฤษและไทย ไม่มีภารกิจหลักในการบริหาร ปกครองประเทศเหมื อ นดั ง ที่ ต ้ อ งท� ำ ในระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ คงเหลือไว้แต่ภารกิจใน ฐานะทีพ่ ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุขของประเทศ เป็นสัญลักษณ์กบั นานาประเทศ เป็นผูใ้ ห้ค�ำปรึกษา แนะน�ำรัฐบาลและเป็นศูนย์กลางประสานประโยชน์ ของคนทุกฝ่ายในชาติ ตั้งแต่ในยุคโบราณสถาบันพระมหากษัตริย์ อังกฤษถูกมองว่า เป็นสถาบันที่ลึกลับและเต็มไป ด้วยความรู้สึกแห่งเทพนิยาย (magic) ได้เคยมีการ ส�ำรวจความเห็นของประชาชนเกี่ยวกับราชวงศ์ อังกฤษในปี ๑๙๕๖ หลังจากการขึ้นครองราชย์ ของสมเด็ จ พระราชิ นี อ ลิ ซ าเบธที่ ๒ เป็ น เวลา ๔ ปี ผลปรากฏว่าร้อยละ ๓๕ เชื่อว่าพระมหา กษัตริย์ได้ถูกเลือกโดยพระเจ้า จนกระทั่งในช่วงปี ๑๙๙๐ ความรู้สึกของประชาชนที่มีต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์เริ่มเปลี่ยนไป เนื่องจากทัศนคติ ของประชาชนได้ เ ปลี่ ย นแปลงตามสภาพสั ง คม ยุคใหม่ เริม่ มีการปรับเปลีย่ นไปอย่างมากโดยเฉพาะ ในช่วงปี ๑๙๙๐ เป็นช่วงทีน่ างมาร์กาเร็ต แทชเชอร์ (Margaret Thatcher) เป็นนายกรัฐมนตรี นโยบาย ของนางแทชเชอร์ ได้ส่งผลกระทบต่อสถาบันและ องค์ ก รต่ า ง ๆ จะต้ อ งพิ สู จ น์ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ความมี

13


14 รักษาดินแดน

วารสาร

สังคมสงเคราะห์ (welfare conception) ซึ่งแนวคิด ดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากสมเด็จพระราชินี อลิซาเบธที่ ๒ และเจ้าฟ้าชายชาร์ล ซึง่ อุทศิ พระองค์ ในการช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคม เช่น คนพิการ คนว่างงาน และคนกลุ่มน้อย เป็นต้น ซึ่งลักษณะ ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น เป็ น ไปในแนวทางเดี ย วกั น กั บ บทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยในยุคปัจจุบัน บทบาทหน้าทีท่ างการ ทีส่ ถาบันพระมหา กษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยมอบหมายให้ สถาบันอื่นใดปฏิบัติแทนไม่ได้ มีหลายกรณีคือ กิจกรรมที่เกี่ยวกับพระราชพิธีตามประเพณีของ ราชส�ำนัก อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมชั้นสูงของ สังคมไทยมาแต่โบราณกาล พระราชพิธีที่เป็นการ ภายในส่ ว นพระองค์ ข องพระมหากษั ต ริ ย ์ แ ละ พระราชวงศ์นั้นจะคงอยู่หรือเปลี่ยนแปลงไปตาม พระราชอัธยาศัยโดยตรง แต่ในส่วนพระราชพิธี ที่มีส่วนเป็นการสาธารณะของชาติให้ประชาชน

ทัว่ ไปในสังคมมีสว่ นร่วม เป็นงานใหญ่ ที่ต้องใช้ทรัพยากรมาก รัฐบาลต้อง จัดงบประมาณสนับสนุนเพื่อแบ่งเบา พระราชภาระ เช่น พระราชพิธีจรด พระนังคัลแรกนาขวัญ เพือ่ ความสมบูรณ์ ของเกษตรกรรมที่ ผ ลิ ต อาหารเลี้ ย ง ประชาชนในชาติหรือพระราชพิธใี หญ่ ๆ ในโอกาสส�ำคัญพิเศษทีม่ นี าน ๆ ครัง้ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราช พิธเี สด็จทางชลมารค เฉลิมฉลองระยะ เวลาครองราชสมบั ติ ห รื อ รอบพระ ชนมายุที่ยาวนาน ซึ่งพิธีการเหล่านี้ มี อ งค์ พ ระมหากษั ต ริ ย ์ เ ป็ น ประธาน ที่มาของงาน และพสกนิกรร่วมฉลอง แสดงความปติ แ ละภั ก ดี กิ จ กรรม เหล่านีส้ ถาบันพระมหากษัตริยเ์ ป็น สัญลักษณ์แสดงความรักสามัคคี และศักดิ์ศรี เกี ย รติ ย ศของประเทศชาติ ที่ เ ป็ น ความสื บ เนื่องของอารยธรรมไทย เป็นการสืบสานและ อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยในแบบจารีตประเพณี ดั้งเดิมที่ไม่มีสถาบันอื่นใดในสังคมจะแบ่งเบา ภารกิจนี้ไปได้ พระราชกรณี ย กิ จ ในด้ า นการส่ ง เสริ ม คุณภาพของประชาชนพลเมือง ด้วยการเสด็จฯ เยี่ยมเยียนทุกข์สุขของราษฎรโดยตรงด้วยพระองค์ เองของพระมหากษัตริยแ์ ละพระราชวงศ์ ในรัชกาล ปัจจุบันความสัมพันธ์ดังกล่าวนับได้ว่ามีมากกว่า ยุคสมัยใด ๆ ของประวัติศาสตร์ไทย จากการ ประพาสในทุกสภาพภูมิประเทศทั่วทุกภาคเพื่อ รับรู้ความทุกข์ยากของราษฎร ที่รัฐบาลผู้บริหาร ปกครองในระบอบประชาธิปไตยยังดูแลบริการ ได้ไม่ทั่วถึงเพราะความจ�ำกัดของทรัพยากรวัตถุ และบุ ค คล โครงการช่ ว ยเหลื อ บรรเทาปั ญ หา


และพระวิริยอุตสาหะในการที่จะให้เกิดความอยู่ดี มีสุขของอาณาประชาราษฎร์ทั้งด้านรูปธรรมและ ทางด้านจิตใจ ในทางรูปธรรมนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงพยายามที่จะชี้แนะหนทาง ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ที่ ถู ก ต้ อ ง ดั ง จะเห็ น ได้ จ าก การที่ทรงพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนก เพื่อ ช่ ว ยชี้ น� ำ ทางประชาชนให้ มี ค วามมานะอดทน ต่อการกระท�ำในสิ่งต่าง ๆ นอกจากนั้น ยังทรง พระราชทานแนวพระราชด�ำริในเรื่องของเศรษฐกิจ พอเพียง เพือ่ ช่วยชีน้ ำ� ประชาชนให้ทราบถึงแนวทาง การด�ำเนินชีวิตที่ถูกต้องและเหมาะสม บทบาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวดังกล่าวถือได้ว่า เป็นบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ยุคใหม่ที่ ลงมาสัมผัสใกล้ชดิ กับประชาชน บทบาทดังกล่าวนี้ เพิ่ ง เริ่ ม เป็ น บทบาทที่ พ ระมหากษั ต ริ ย ์ อั ง กฤษ หั น มาให้ ค วามสนใจ โดยในช่ ว งไม่ กี่ ป ี ที่ ผ ่ า น มานี้พระราชวงศ์อังกฤษได้เริ่มที่จะลงมาสัมผัส ประชาชนอย่างใกล้ชิด รวมทั้งได้เริ่มแสดงบทบาท ในทางสังคมสงเคราะห์มากขึ้นเช่นกัน จากที่ไ ด้ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น เป็ น สิ่ง ที่แ สดง ให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็น พระมหากษัตริยท์ เี่ ปรียบเสมือนหนึง่ ศูนย์รวมจิตใจ ของคนไทยทัง้ ชาติ พระบรมเดชานุภาพของพระองค์ มี ม ากล้ น จนเกิ น กว่ า จะสามารถบั ญ ญั ติ ไ ว้ เ ป็ น ถ้อยค�ำใด ๆ ในกฎหมายได้ ไม่มีความจ�ำเป็น อันใดที่จะต้องมีการบันทึกหรือบัญญัติถึงพระบรม เดชานุ ภ าพของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ไว้เป็นตัวบทกฎหมาย เพราะพระบรมเดชานุภาพ และพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระองค์ นั้ น เป็ น ที่ ซาบซึ้งและสถิตอยู่ในจิตใจของชนชาวไทยทุกคน โดยเสมอมา เรียบเรียงจาก “พระราชอ�ำนาจของพระมหากษัตริย์ ประเทศไทยกับประเทศอังกฤษ” ของ เจษฎา พรไชยา

รักษาดินแดน

วารสาร

ด้านสุขภาพอนามัยและการศึกษาของประชาชน ผู้ยากไร้ และด้อยโอกาสในถิ่นทุรกันดาร ด้วย บุคลากรอาสาสมัครสนองพระราชประสงค์ และ ทุ น ทรั พ ย์ ส ่ ว นพระองค์ ซึ่ ง เมื่ อ เวลาล่ ว งไปก็ มี โครงการอื่น ๆ เพิ่มขึ้น เป็นโครงการส่วนพระองค์ เพื่ อ ช่ ว ยพั ฒ นาอาชี พ ของราษฎร และอนุ รั ก ษ์ สภาพแวดล้อมธรรมชาติในทุกภาคของประเทศ ที่ เริ่มจากการทดลองศึกษาค้นคว้าด้วยพระองค์เอง และผูเ้ ชีย่ วชาญในพระบรมราชูปถัมภ์ และด้วยเงิน บริจาคสมทบโดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราช อัธยาศัยของประชาชนผู้ศรัทธา แล้วน�ำไปแนะน�ำ ให้ราษฎรกลุ่มเป้าหมายปฏิบัติเพื่อพัฒนาอาชีพ และชีวติ ความเป็นอยูข่ องตนได้อย่างเหมาะสมและ ยัง่ ยืน รวมถึงโครงการตามพระราชด�ำริเสนอแนะให้ รัฐบาลร่วมด�ำเนินการแก้ปญ ั หาฝนแล้งน�ำ้ ท่วม ดิน เสื่อมโทรม การขาดแคลนน�้ำ ทั้งในเขตชนบทและ เขตเมือง หรือปัญหาการท�ำลายป่าและภาวะมลพิษ ของสิ่งแวดล้อมโดยทั่วไป ซึ่งสรุปแล้วคือพระราช กรณี ย กิ จ ด้ า นการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม ทุกแง่มุมอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการที่แสดงถึง พระเมตตา และพระปัญญาบารมี อาจกล่ า วโดยสรุ ป ว่ า บทบาทของพระ มหากษั ต ริ ย ์ ใ นยุ ค ของการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยมีแนวโน้มที่จะต้องเข้าไปมีส่วนร่วม กับประชาชนในสังคมมากขึ้น ทั้งในลักษณะที่เป็น การช่วยเหลือดูแลทุกข์สขุ ของราษฎรทีเ่ ป็นรูปธรรม และในลักษณะของการพระราชทานก�ำลังใจในการ ด�ำเนินชีวติ ซึง่ มีลกั ษณะเป็นเสมือนศูนย์รวมใจของ คนทั้งชาติ ซึ่งบทบาทในสองลักษณะดังกล่าวนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลปัจจุบนั ได้ทรง ถือเป็นพระราชภารกิจของพระองค์เสมอมา นับแต่ พระองค์ได้ทรงขึน้ ครองราชย์เมือ่ กว่า ๖๐ ปี ทีผ่ า่ นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงทุม่ เทพระวรกาย

15


นศท. ๓ จชต.

บทบาทของ ในการสร้างฝายในหลวงเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง นักศึกษาวิชาทหาร ไซฟูเลาะ อับดุลเลาะ ประธานชมรมนักศึกษาวิชาทหารจังหวัดทหารบกปัตตานี

ายกับการแก้ปญ ั หาภัยแล้ง พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั

พระราชทาน เมื่ อ วั น ที่ ๑๗ มี น าคม ๒๕๒๙ ความว่ า “...หลั ก ส� ำ คั ญ ว่ า ต้องมีน�้ำบริโภค น�้ำใช้ น�้ำเพื่อการเพาะปลูก เพราะว่าชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามีน�้ ำ คนอยู่ได้ ถ้าไม่มน ี ำ�้ คนอยูไ่ ม่ได้...” การทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั ทรงเปรียบไว้วา่ “น�ำ้ คือชีวติ ” เมื่อมี น�้ำ มี ชี วิ ต และเป็นชีวิตที่อุดมสมบู รณ์ ด ้ ว ยอาหาร ข้ า ว ปลา พื ชผั ก ความสุ ข ความสามัคคี และความอบอุ่นของชาวบ้านย่อมเกิดขึ้น ดังนั้น แนวทางการแก้ไขปัญหา ภัยแล้งที่ส�ำคัญจึงเป็นเรื่องของการบริหารจัดการน�้ำ

16 รักษาดินแดน

วารสาร

จะเห็นได้ว่าพระอัจฉริยภาพและน�ำ้ พระราช หฤทัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการ พระราชทานแนวทางการแก้ปญ ั หาต่าง ๆ เมือ่ ทุกคน ได้ น� ำ ไปปฏิ บั ติ ส นองตามแนวพระราชด� ำ ริ ห รื อ พระราชด� ำ รัส แล้วย่ อมประสบความส� ำเร็จ และ ราษฎรต่างได้รับประโยชน์อย่างนานัปการ

ปั ญ หาของการบริ ห ารจั ด การน�้ ำ ก็ เ ช่ น เดียวกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงท�ำให้ ราษฎรของพระองค์เห็นเป็นตัวอย่าง และแนวทาง ในการบริหารจัดการน�้ำในช่วงหน้าแล้ง โดยการ สร้าง “ฝาย” ซึ่งรูปแบบและลักษณะของฝายนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หัว ได้พระราชทาน


มองมาทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้... ปัญหา ในจังหวัดชายแดนภาคใต้มิใช่การขาดแคลนน�้ำ แต่ท�ำอย่างไรจะน�ำน�้ำที่มีอยู่ตามแหล่งน�้ำ ล�ำธาร ต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ และประโยชน์ ในการสร้างฝาย มิใช่เพียงการแก้ปัญหาความแห้ง แล้งเท่านั้น แต่เมื่อเกิดฝนตกหนัก สามารถชะลอ ความรุนแรงของน�้ำ ป้องกันการเกิดอุทกภัยได้ นี่คือหัวใจส�ำคัญของการสร้าง “ฝายกั้นน�้ำ เฉลิมพระเกียรติ” ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามแนวคิ ด ของ พลเอก พิ เ ชษฐ์ วิ สั ย จร ผูช้ ว่ ยผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก อดีตแม่ทพั ภาคที่ ๔/ ผู ้ อ� ำ นวยการรั ก ษาความมั่ น คงภายในภาค ๔ ซึ่งต้องการสร้างประโยชน์ให้แก่พี่น้องประชาชน ในพื้นที่ โดยมีอาจารย์เพทาย ประทุมทอง ผู ้ อ� ำ นวยการโครงการฝายในหลวงฯ เป็ น ที่ ป รึ ก ษาส� ำ คั ญ จุ ด ประสงค์ ห ลั ก ของโครงการ เพื่อส่งเสริมการท�ำการเกษตร และฟื้นฟูการท�ำนา, เป็นการฟืน้ ฟูระบบนิเวศในพืน้ ที,่ สร้างความสามัคคี และการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ระหว่างพี่น้อง ประชาชนทั้ ง ที่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ และศาสนา อิสลาม รวมทั้งเพื่อเป็นการช่วยเหลือประชาชนที่มี รายได้น้อยและให้ประโยชน์ในพื้นที่ท�ำกิน โครงการสร้างฝายกั้นน�้ำเฉลิมพระเกียรติ ของกองอ�ำนวยการรักษาความมัน่ คงภายในภาค ๔

รักษาดินแดน 17 วารสาร

แนวพระราชด�ำริว่า “ให้พิจารณาด�ำเนินการสร้าง ฝายราคาประหยัด โดยใช้วัสดุราคาถูกและหาง่าย ในท้องถิ่น เช่น แบบหินทิ้งคลุมด้วยตาข่าย ปิดกั้น ร่องน�ำ้ กับล�ำธารขนาดเล็กเป็นระยะ ๆ เพื่อใช้เก็บ กักน�้ำและตะกอนดินไว้บางส่วน โดยน�้ำที่กักเก็บ ไว้จะซึมเข้าไปในดินท� ำให้ความชุ่มชื้นแผ่ขยาย ออกไปทั้งสองข้าง ต่อไปก็จะสามารถปลูกพันธุ์ไม้ ป้องกันไฟ พันธุ์ไม้โตเร็ว และพันธุ์ไม้ไม่ทิ้งใบ เพื่อ ฟื ้ น ฟู พื้น ที่ต ้ น น�้ ำ ล� ำ ธารให้ มี ส ภาพเขี ย วชอุ ่ ม ขึ้น เป็นล�ำดับ” “ฝาย” สิ่งก่อสร้างขวางหรือกั้นทางน�้ำ ซึ่ง ปกติมักจะกั้นล�ำห้วยล�ำธารขนาดเล็กในบริเวณ เป็นต้นน�ำ้ หรือพืน้ ทีท่ มี่ คี วามลาดชันสูงให้สามารถ กักตะกอนอยูไ่ ด้ และหากช่วงทีน่ ำ�้ ไหลแรงก็สามารถ ชะลอการไหลของน�้ำให้ช้าลง และกักเก็บตะกอน ไม่ให้ไหลลงไปทับถมล�ำน�้ำตอนล่าง ซึ่งเป็นวิธีการ อนุรักษ์ดินและน�้ำได้ดีมากวิธีหนึ่ง ส่วนชื่อที่ใช้ เรียกจะแตกต่างกันไป บ้างเรียกฝายแม้ว เรียก ฝายกั้นน�้ำบ้าง ฝายทดน�้ำ ฝายน�้ำล้น ฝาย เฉลิมพระเกียรติ ฝายในหลวง และฝายชะลอน�ำ้ ตามแนวพระราชด�ำริ เป็นต้น


18 รักษาดินแดน

วารสาร

ส่วนหน้า ขณะนี้ก�ำลังด�ำเนินการในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ โดยมี ห น่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบ โครงการ ประกอบด้วย - กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ภาค ๔ ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค ๔ สน.) - กองบัญชาการผสมพลเรือน ต�ำรวจ ทหาร (พตท.) - ชมรมนักศึกษาวิชาทหารจังหวัดทหารบก ปัตตานี - หน่วยเฉพาะกิจในพื้นที่ การด�ำเนินการจะเริม่ ต้นด้วยหน่วยเฉพาะกิจ ในพื้ น ที่ ท� ำ หน้ า ที่ ต รวจสอบพื้ น ที่ ก ารก่ อ สร้ า ง โดยการประสานกับพี่น้องประชาชนในพื้นที่เพื่อ ให้ทราบปัญหาและความต้องการด้านทรัพยากรน�ำ้ ที่ในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นทุรกันดาร

มีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น รวมทั้งสามารถ สร้างสามัคคี และการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขของ พี่น้องประชาชนในพื้นที่ การสร้างฝายด้วยภูมิปัญญาแบบชาวบ้าน ไม่ ต ้ อ งใช้ ง บประมาณหรื อ ใช้ ก็ ไ ม่ ม ากนั ก เป็ น โครงการที่ประหยัดแต่ได้ประโยชน์สูงสุด ด้วยวัสดุ ตามธรรมชาติ อันได้แก่ ไม้ไผ่ เศษไม้ ก้อนหิน


ทั้ ง เล็ ก และใหญ่ ใ นชุ ม ชน ถ้ า ต้ อ งการให้ ฝ าย แข็ ง แรงมากยิ่ ง ขึ้ น ก็ ใ ช้ ค อนกรี ต เป็ น ส่ ว นผสม เพิ่มเติมมากั้นแหล่งน�้ำล�ำธาร เพื่อชะลอการไหล ของน�้ำ เก็บกักน�ำ้ ไว้ และเป็นการป้องกันน�้ำหลาก เข้าท่วมหมู่บ้าน

ท�ำให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง เกิดความมั่นคงของ ประเทศชาติอย่างยั่งยืน หรือการหาวิธีการน�ำน�้ำ มาใช้ประโยชน์ แต่การจะสร้างฝายให้สำ� เร็จได้นั้น จะอาศัย เพี ย งหน่ ว ยทหารฝ่ า ยเดี ย วคงไม่ ไ ด้ ประชาชน ต้องเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งปัญหาดังกล่าวนี้ ชมรม นักศึกษาจังหวัดทหารบกปัตตานีเห็นว่าถึงเวลาแล้ว ทีค่ วรจัดระบบฝายให้เป็นลักษณะของกระบวนการ โดยเป้าหมายที่ทางกองอ� ำนวยการรักษาความ มัน่ คงภายในภาค ๔ ส่วนหน้าตัง้ ไว้คอื ในปี ๒๕๕๓ จะสร้างฝายกั้นน�้ำเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทั้ง ๓ จังหวัดชายแดน ภาคใต้ และ ๔ อ�ำเภอของจังหวัดสงขลาให้ได้ จ�ำนวน ๒๘๒ ฝาย ซึ่งในรอบ ๖ เดือนที่ผ่านมา (ระหว่าง ต.ค. ๕๒ - มี.ค. ๕๓) มีความก้าวหน้า ในการด�ำเนินโครงการสร้างฝายฯ โดยกองอ�ำนวย การรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ ส่วนหน้า ได้ มอบนโยบายให้กับทางประธานชมรมนักศึกษา วิชาทหารจังหวัดทหารบกปัตตานีให้น�ำนักศึกษา วิชาทหาร ๓ จชต. เข้ามามีสว่ นร่วมในการสร้างฝาย เร่งรณรงค์การด�ำเนินการสร้างฝายฯ ให้สำ� เร็จลุลว่ ง ครอบคลุมทุกพื้นที่ตามเป้าหมายที่วางไว้ต่อไป

รักษาดินแดน

วารสาร

การด�ำ เนินการรณรงค์ ส ร้ า งฝายต้นน�้ ำ ขนาดเล็ก (Check Dam) นับได้วา่ เป็นอีกบทบาท หนึ่งของงานด้านการพัฒนา ซึ่งชมรมนักศึกษา วิ ช าทหารจั ง หวั ด ทหารบกปั ต ตานี ต้ อ งการ รณรงค์ ป ลุ ก จิ ต ส� ำ นึ ก ของชาวบ้ า นและชุ ม ชน ในชายแดนภาคใต้ทงั้ ๓ จังหวัด และ ๔ อ�ำเภอของ จังหวัดสงขลา ได้ตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากร ธรรมชาติ มีความรัก และหวงแหนแผ่นดินไทย ให้ได้ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชน ในอันทีจ่ ะ

19


20 รักษาดินแดน

วารสาร

จากผลส� ำ เร็ จ ของความร่ ว มมื อ กั บ ส่ ว น ราชการที่ผ่านมา ชมรมนักศึกษาจังหวัดทหารบก ปัตตานี น�ำโดยนักศึกษาวิชาทหารไซฟูเลาะ อั บ ดุ ล เลาะ ประธานชมรมนั ก ศึ ก ษาวิ ช า ทหารจังหวัดทหารบกปัตตานี ได้วางนโยบาย การปฏิบัติในปีการศึกษา ๒๕๕๔ คือ “โครงการ นศท. ๓ จชต. ปลูกป่า สร้างฝาย ปลูกต้นไม้ ขยายคู ค ลอง ฟื ้ น ฟู แ ม่ น�้ ำ ด้ ว ยจุ ลิ น ทรี ย ์ EM เฉลิมพระเกียรติ” ซึง่ ด�ำเนินกิจกรรมเป็นยุทธศาสตร์ ส�ำคัญในการน�ำนักศึกษาวิชาทหาร ๓ จชต.ได้มี ส่วนร่วมแบ่งเบาภารกิจของทั้งสองพระองค์ที่ทรง อุทศิ พระวรกายในการปกป้องผืนป่าและทรัพยากร ต้นน�ำ้ ล�ำธารทรงดูแลทุกข์สขุ ของประชาชน ตลอด ระยะเวลายาวนานที่ ท รงครองราชย์ แ ละร่ ว ม เฉลิ ม ฉลองพระราชพิ ธีม หามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนม พรรษาครบ ๗ รอบ ๘๔ พรรษา และวันเฉลิมพระชนม พรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ๑๒ สิ ง หามหาราชิ นี โดยการน้ อ มน� ำ ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม ในปีมหามงคลนี้


คิดถึงการฝึก

ภาคสนาม พ.ท.บัณฑิต พรหมนิ่ม

เสียงนับก้าวอย่างพร้อมเพรียงและเสียงร้องเพลงปลุกใจ อย่างชัดถ้อยชัดค�ำที่ดังกึกก้องไปทั่วป่า บ่งบอกได้ถึงขวัญและ ก�ำลังใจที่ดีของผู้ร้อง บ่งบอกว่าพวกเขามีความภาคภูมิใจใน สิ่งที่ก�ำลังท�ำอยู่ ซึ่งหากได้ยินเสียงนี้ ที่นี่...ค่ายฝึกเขาชนไก่ จว.กาญจนบุรี ก็บอกได้อย่างไม่ต้องคิดเลยว่าเสียงเหล่านี้ มาจาก... นักศึกษาวิชาทหาร ทุก ๆ ปีในช่วงสองเดือนแห่งการฝึกภาคสนาม เป็นช่วง เวลาทีผ่ เู้ ขียนชอบมาก นอกเหนือไปจากการได้สดู อากาศบริสทุ ธิ์ อย่างที่หาได้ยากในเมืองหลวงแล้ว ยังเป็นช่วงเวลาที่ผู้เขียนจะ ได้เรียนรู้มุมมองใหม่ ๆ จากพบปะพูดคุยกับ นศท. ซึ่งเป็นคน รุ่นลูกรุ่นหลาน และหลายครั้งผู้เขียนก็ได้แบ่งปันประสบการณ์ ของตัวเองให้กับเด็ก ๆ และเป็นการถ่ายทอดอุดมการณ์รักชาติ ไปด้วยในตัว การพูดคุยกับเด็ก ๆ ก็ท�ำให้เราเห็นมุมมองที่บางครั้ง เราก็ไม่ได้ให้ความส�ำคัญและมองผ่านไป เพียงเพราะแค่เราเป็น ผู้ใหญ่และมีเรื่องอื่นที่ส�ำคัญกว่าให้คิดอีกมากมาย วันนี้ก็เช่นกัน ผู้เขียนได้ติดตาม นศท. กองพันหนึ่ง เพื่อไปดูแลเรื่องสุขภาพ ได้เห็นภาพ นศท. ที่เนื้อตัวมอมแมม เลอะเทอะ เดินแบกปืนไปเข้ารับการฝึกกันอย่างแข็งขัน ถึงแม้ สภาพอากาศจะร้อนอบอ้าว เหงื่อไหลไคลย้อย ตัวเหนียว เหนอะหนะ แต่ทุกคนดูมีความสุข ร้องเพลงเดินแถวไปพร้อม ๆ

รักษาดินแดน

วารสาร

เมื่ อ ฉบั บ ที่ แ ล้ ว ได้ เ ล่ า ให้ คุ ณ ผู ้ อ ่ า นทุ ก ท่ า นได้ ท ราบถึ ง การฝึ ก อย่ า งปลอดภั ย ว่ า ฝึ ก กั น อย่ า งไร และต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้างไปแล้ว ในฉบับนี้ก็จะมาเล่าถึงความภาคภูมิใจ ที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่ นศท. ทุกนาย ได้ผา่ นช่วงเวลาทีย่ ากล�ำบากทีส่ ดุ ในการ ฝึกภาคสนามไปแล้ว

21


22 รักษาดินแดน

วารสาร

กันอย่างสนุกสนาน เสียงตบเท้าและเสียง ร้องเพลงที่ได้ยินคงเป็นเสียงสะท้อนแห่ง ความภาคภูมิใจในตัวเองที่สามารถต่อสู้ กับความยากล�ำบากและอดทนรับการฝึก มาได้จนถึงวันท้าย ๆ ผูเ้ ขียนได้คยุ กับเด็ก ๆ หลายคนว่า “พวกเขาได้อะไรจากการฝึกวิชาทหาร” ส่วนใหญ่จะตอบตรงกันว่า ได้ความรู้ ทางทหาร ได้ฝึกระเบียบวินัย ได้ฝึกภาวะ ผู้น�ำ ได้ฝึกความอดทน ได้มิตรภาพและ ความสามัคคีในหมู่คณะ เหนือสิ่งอื่นใด พวกเขาได้ “ความภาคภูมใิ จในตนเอง” ได้พิสูจน์ให้ทุกคนเห็นว่าพวกเขาดูแลตัว เองได้และเติบโตขึ้นในอีกระดับหนึ่งแล้ว คุณผู้อ่านที่เป็นพ่อแม่ผู้ปกครอง คงสงสัยว่า “ดูแลตัวเอง” และ “เติบโต ขึ้นอีกระดับของ นศท.” นั้นดูได้จากไหน เพราะอยูท่ บี่ า้ นก็ยงั เป็นลูกน้อยของพ่อแม่ ที่ต้องจ�้ำจี้จ�้ำไชกันอยู่เลย ข้อนี้ผู้เขียน ขอตอบเลยว่า ดูได้จากช่วงเวลาทีพ่ วกเขา ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในสภาวะที่ยากล�ำบาก เคยได้ ยิ น ค�ำ กล่ า วท�ำ นองนี้ ไ หมครั บ ... “การจะรู้ว่าแต่ละคนมีนิสัยที่แท้จริง เป็นอย่างไรนั้น ให้ดูในยามที่ก�ำลัง เหนื่อยยาก ล�ำบากกาย” การฝึกภาค สนามนีล่ ะ่ ครับ ทีจ่ ะเป็นดัชนีวดั วุฒภิ าวะ ได้เป็นอย่างดี ลองนึกถึงตอนก่อนที่ลูก ๆ นศท. จะออกเดิ น ทางไปฝึ ก ภาคสนามสิ ค รั บ ลูกบางคนอาจบ่นกระปอดกระแปด ไม่ อยากไปฝึก กังวลต่าง ๆ นานาว่าการฝึก จะหนักไหม ล�ำบากไหม อันตรายไหม และครูฝึกจะโหดไหม จะมีใครคอยดูแล ช่วยเหลือเวลาบาดเจ็บหรือป่วยไข้หรือไม่ ซึ่ ง ก็ ท� ำ ให้ พ ่ อ แม่ วิ ต กและเป็ น ห่ ว งว่ า ลูกเราจะรอดไหม...จริงหรือไม่ครับ?


กลับมาสู่เรื่องการฝึกกันต่อครับ... เมื่อการฝึกของ นศท. แต่ละชั้นปีเริ่มขึ้น นศท. ทุกคนจะใจจดใจจ่อถึงสิ่งที่พวกเขา จะต้องเผชิญ เพราะมันเป็นเหตุการณ์ใหม่ เป็นประสบการณ์ใหม่ ทีท่ า้ ทายความสามารถ หลังจากทีไ่ ด้ฝกึ ศึกษาในทีต่ งั้ ปกติมาแล้ว วันนี้จะต้องน�ำมาปฏิบัติจริงเสียที วัฏจักรที่ นศท. ทุกนายต้องเผชิญ คือ มาถึง ฝึกวินัย รับปืน เดินแถว เข้าห้องเรียน กินข้าวถาดหลุม ฝึกต่อ กินข้าวเย็น อาบน�ำ้ ท�ำกิจกรรม สวดมนต์ เข้านอนในเต็นท์พักแรม ตื่นนอน เมื่อได้ยินเสียงเป่านกหวีด ปรี๊ด! ออกก�ำลังกาย อาบน�้ำ และ ไปฝึก ...เป็นอย่างนี้ทุกวัน บางคนเจออากาศในช่วงที่มีความหนาวเย็น บางคนมา ในช่วงที่มีอากาศร้อนอบอ้าว บางคนเจอที่พักแรมก็ถึงกับเครียด แหม พามาพักผ่อนใกล้ชิดธรรมชาติ จนแทบจะเป็นแผ่นเดียวกับ ผืนดิน ยังดีที่มีผ้าปูรองนอนไว้ให้ หลายคนเริ่มคิดถึงบ้าน คิดถึง ห้องนอนแสนสุข บางคนท�ำใจเข้าห้องส้วมในค่ายไม่ได้ บางคน เห็นที่อาบน�้ำแล้วกลุ้มใจ จะอาบอย่างไร โล่งขนาดนี้ แต่เมื่อ สถานการณ์ บั ง คั บ ทุ ก คนก็ ผ ่ า นเรื่ อ งเหล่ า นี้ แ ละตื่ น เต็ ม ตา ในรุ่งเช้า พร้อมพบกับประสบการณ์ใหม่ที่คงไม่ได้เจอถ้ายังนอน สบายอยู่ที่บ้าน ...นี่ล่ะครับ ชีวิตเด็ก รด. ฝึกหนัก กินอยู่ล�ำบาก แต่ถ้า ผ่านไปแล้ว...สบาย อยู่ที่ไหนในโลกก็ได้!! เมื่อถึงวันเดินทางกลับบ้าน นศท. ส่วนใหญ่ได้สรุปสิ่งที่ พวกเขาได้รับจากการฝึกภาคสนามให้ฟังตรงกันว่า เมื่อมาอยู่ ภายใต้สถานการณ์กดดัน ทั้งร้อน ทั้งหิว ทั้งเหนื่อย และโดน ครูฝึกบีบคั้นจิตใจ ท�ำให้พวกเขามีความอดทนมากขึ้น และ รู้จักการช่วยเหลือดูแล ถ้อยทีถ้อยอาศัยซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ วิชาความรู้และบทเรียนที่ได้จากการฝึก ก็สามารถน�ำไปปรับใช้

รักษาดินแดน

วารสาร

แล้ ว เมื่ อ เราไปส่ ง เขาขึ้ น รถก็ ยิ่ ง กังวลอีกว่า เมือ่ ลับตาพ่อแม่ไปแล้ว ลูกเรา จะเป็นอย่างไร จะมีเหตุร้ายเกิดขึ้นไหม กังวลจนนอนไม่หลับกันไปทุกวันจนกว่า จะได้เห็นหน้าลูกตอนฝึกเสร็จและกลับ มาถึงบ้าน... ผมพูดถูกอีกแล้วใช่ไหมครับ ? ...การฝึกไม่ได้โหดร้ายทารุณอย่างทีล่ กู ๆ กลัวหรอกครับ มันจะเป็นการฝึกปรับ นิสัยให้ลูกเสียอีก แต่ก่อนอื่นผมขอเรียน ให้ ท ราบว่ า ทางกองทั พ บกและหน่ ว ย บัญชาการรักษาดินแดน ได้เตรียมการ อะไรไว้ให้ นศท. บ้าง ในการฝึกภาคสนามครั้งล่าสุด... ที่ เ พิ่ ง ผ่ า นมานี้ กองทั พ บกได้ จั ด ตั้ ง “โครงการนักศึกษาวิชาทหารปลอดภัย จากการฝึก” อันเป็นความร่วมมือกัน ระหว่ า ง กรมแพทย์ ท หารบก กั บ หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน มุง่ เน้น ไปที่ ก ารให้ ก ารรั ก ษาพยาบาลและ งานเวชกรรมป้องกัน ซึ่งจะท�ำให้ นศท. มี ค วามปลอดภั ย ปราศจากอั น ตราย ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ได้ ใ นการฝึ ก โดยยั ง คง ได้รับประโยชน์จากเนื้อหาการฝึกอย่าง ครบถ้วน พูดง่าย ๆ คือ เน้นการป้องกัน ไม่ให้เกิดอันตรายนั่นเอง นอกจากนี้ยังมี “โครงการเพื่อน น�ำเพื่อน” โดยใช้ นศท. ในกองพันฝึก/ ปกครองเดี ย วกั น เป็ น หั ว หน้ า หมวด, หั ว หน้ า กองร้ อ ย และหั ว หน้ า กองพั น เพือ่ ดูแลเพือ่ น นศท. ด้วยกันในเรือ่ งการฝึก ระเบี ย บวิ นั ย ตลอดทั้ ง การช่ ว ยเหลื อ ในเบื้องต้นแก่เพื่อนยามเจ็บป่วย เหล่ า นี้ คื อ มาตรการป้ อ งกั น อันตรายที่คิดมาโดยผู้ใหญ่ แต่ก็ฝึกให้ เด็ก ๆ ได้ชว่ ยเหลือดูแลกันเองไปพร้อม ๆ กันด้วย

23


ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น ได้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งบทเรียนในเรื่องของความ ตั้งใจ มุ่งมั่น อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อุ ป สรรคทั้ ง ภายนอกและภายใน จิตใจ เรียกว่ามีวฒ ุ ภิ าวะมากขึน้ และ เมื่ อ ผ่ า นการฝึ ก ภาคสนามมาได้ จนถึงวันสุดท้าย ก็ยงิ่ ท�ำให้เกิดความ รักความสามัคคีในหมู่คณะ พัฒนา

24 รักษาดินแดน

วารสาร

เป็นสายสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนที่จะ คงอยู่ไปอีกนานเท่านาน รวม ๆ แล้ว มันคือ “ความ ภาคภูมิใจ” ที่สามารถผ่านการฝึก ภาคสนามมาได้ จ นถึ ง วั น สุ ด ท้ า ย เป็ น เหมื อ น “รางวั ล ตอบแทน ความอดทน มุ่งมั่น” ของตนเอง บ้างก็ว่าเป็น “เครือ่ งหมายรับรอง ความส�ำเร็จอีกก้าวหนึ่งของชีวิต วัยรุ่น” ...ฟังสิครับ ลูกเราเขาโตขึ้น แล้วนะครับ น่าภูมิใจจริง ๆ... นอกจากนี้แล้ว สิ่งที่ได้จาก การพูดคุยและท�ำให้ผเู้ ขียนในฐานะ ครู ฝ ึ ก คนหนึ่ ง มี ค วามภาคภู มิ ใ จ อย่ า งมาก และอยากน� ำ มาบอก ทุกท่านคือ นศท. ชั้นปีที่ ๓ ชาย จ� ำ นวนมากมี ค วามตั้ ง ใจที่ จ ะ เรี ย นต่ อ ในชั้ น ปี ที่ ๔... เพราะ พวกเขาอยากเพิ่ ม เติ ม ความรู ้

ทางทหาร อยากรับใช้ชาติ อยากได้รบั การประดับเครือ่ งหมายยศร้อยตรี และอยากเป็นส่วนหนึง่ ของกองทัพ ไม่ใช่แค่ให้ผ่านการฝึกแล้วไม่ต้อง เกณฑ์ทหารอย่างแต่ก่อน ส่วน นศท. ชั้นปีที่ ๓ หญิงก็เช่นกัน พวกเธอมีความตั้งใจ ทีจ่ ะเรียนต่อจนจบชัน้ ปีที่ ๕ เพราะมีความรักในเครือ่ งแบบทหาร และ อยากพิสูจน์ให้สังคมเห็นว่า นศท.หญิงก็มีความสามารถไม่แพ้ นศท. ชาย ซึง่ ก็หวังใจว่าผูป้ กครองจะให้การสนับสนุนความตัง้ ใจดีนนี้ ะครับ สุดท้าย... จากการเฝ้าดูการฝึกของ นศท. ผู้เขียนอยากจะบอก ทุกท่านว่า พวกเราเป็นหนีบ้ ญ ุ คุณ “ครูฝกึ ทหาร” ทุกคนนะครับ เพราะพวกเขาได้สละเวลาในการ ดูแลครอบครัวของตัวเอง มาดูแลลูกของคนอืน่ และ ยังเฝ้าดูแล อบรม ให้ความรู้ ถ่ายทอดประสบการณ์ ให้อย่างไม่รู้เหน็ดเหนื่อย ซึ่งครอบครัวของครูฝึก ทุกท่านก็เข้าใจดีว่ามันคือ “หน้าที่” ดังทีท่ า่ น พล.ท.วิชติ ศรีประเสริฐ ผูบ้ ญ ั ชาการ หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ได้กล่าวเสมอว่า

ข้าราชการ นรด. ทุกคนมีหน้าที่สำ� คัญ คือ ปฏิบัติราชการทุกประการ อย่างไม่ย่อท้อ เพื่อตอบแทนพระคุณของแผ่นดิน และหน้าที่ของครู ฝึกทหารที่ นรด. ก็คือ เพาะบ่มพลเมืองที่มีศักยภาพทั้งชายและหญิง ผู้มีความสามารถ มีความอดทน มีระเบียบวินัย และมีจิตใจดี เพื่อ มอบให้ กั บ สั ง คม ประเทศชาติ ให้ ส มกั บ ที่ อ งค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ตั้งพระราชปณิธานไว้ถึงการน�ำเยาวชน มาฝึกเพื่อสร้างจิตส�ำนึกรักชาติ รักสถาบัน อันเป็นรากฐานแห่งการ พัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต ฉบับหน้าพบกันใหม่กับตอน “ยินดีต้อนรับน้องใหม่...นศท.” ...สวัสดีครับ


กองทัพสิงคโปร์ ๒๐๑๓

กองทัพสิงคโปร์เป็นกองทัพในเชิงป้องกันก่อนปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ต่อมาประจ�ำการด้วยอาวุธ ในเชิงรุกทั้งสามกองทัพ ที่มีความทันสมัยระดับโลกที่ผลิตจากประเทศมหาอ�ำนาจทางทหารของโลก ท�ำการฝึกเป็นหน่วยในพื้นที่ของประเทศพันธมิตรทางทหาร พร้อมทั้งพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ เริ่มจากอาวุธเบาสู่อาวุธหนัก ได้น�ำเข้าประจ�ำการในกองทัพและได้ส่งออกขายให้กับ มิตรประเทศที่สนใจทั้งในกลุ่มประเทศอาเซียนและในภูมิภาคอื่น...บทความนี้กล่าวถึงขีดความสามารถ ของกองทัพสิงคโปร์

พล.ท.ทรงพล ไพนุพงศ์

๑. กล่าวทั่วไป สิงคโปร์เป็นประเทศขนาดเล็กของกลุ่มประเทศอาเซียน มีพื้นที่ ๗๑๐ ตารางกิโลเมตร พร้อมด้วยเกาะ ๖๐ เกาะ สิงคโปร์ ก�ำลังเพิม่ พืน้ ทีโ่ ดยการถมทะเล มีประชากร ๕.๑๘ ล้านคน มีถนนยาว ๑,๓๐๐ กิโลเมตร และทางรถไฟยาว ๔๕ กิโลเมตร ประเทศได้รบั การ พัฒนาให้มีความเจริญเทียบได้กับประเทศที่ได้พัฒนาแล้ว มีความ ก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรมหลายด้าน ประกอบด้วย การต่อเรือ กิจการกลั่นน�้ำมันใหญ่เป็นล�ำดับสองของโลก (รองจากประเทศ สหรัฐอเมริกา) ท่าเรือขนส่งสินค้าสิงคโปร์มขี นาดใหญ่ล�ำดับต้นของ โลก มีเรือสินค้าขนาดใหญ่ขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ผ่านท่าเรือสิงคโปร์

รักษาดินแดน

วารสาร

รถรบทหารราบ ไบโอนิ กซ์ -๒๕ น�้ำหนัก ๒๓.๐ ตัน ขนาดยาว ๕.๙ เมตร กว้าง ๒.๗ เมตร สูง ๒.๖ เมตร เครื ่องยนต์ดีเซล ขนาด ๔๗๕ แรงม้า ความเร็ ว ๗๐ กิ โลเมตรต่อชัว่ โมง ระยะปฏิ บตั ิ การ ๔๐๐ กิ โลเมตร ปื นหลัก (เอ็ม-๒๔๒) ขนาด ๒๕ มิ ลลิ เมตร ปื นกลร่ วมแกนขนาด ๗.๖๒ มิ ลลิ เมตร ปื นกลอากาศขนาด ๗.๖๒ มิ ลลิ เมตร เครื ่องยิ งลูกระเบิ ดควันด้านละสามท่อยิ ง พลประจ� ำรถ ๓ นาย คือ ผูบ้ งั คับรถ พลยิ ง และพลขับ บรรทุกทหารราบได้ ๗ นาย น�ำเข้าประจ� ำการประมาณ ๒๐๐ คัน

25


เป็นผลให้ประชากรมีรายได้ตอ่ คนต่อปีละเท่ากับ ๔๙,๒๗๐ เหรียญ สหรัฐ นับว่ามากเป็นล�ำดับหนึ่งของประชากรกลุ่มประเทศอาเซียน

๒. ขีดความสามารถทางทหาร กองทัพสิงคโปร์ประจ�ำการด้วยอาวุธทีท่ นั สมัยระดับโลกและ เป็นอาวุธใหม่ของยุคปัจจุบัน จึงมีความทันสมัยที่สุดของกองทัพ กลุ่มประเทศอาเซียน ประกอบด้วย

๒.๑ กองทัพบก

กองทัพสิงคโปร์ประจ�ำการด้วยอาวุธทีท่ นั สมัยและเป็นอาวุธ ใหม่ผลิตขึน้ ในประเทศ ทหารประจ�ำการ ๗๒,๐๐๐ นาย ก�ำลังรบ ๓ กองพล คือ กองพลที่ ๓ (Jurong Camp I), กองพลที่ ๖ (Mandai Hill Camp) และกองพลที่ ๙ (Selarang Camp) อาวุธประจ�ำหน่วย รถถังหลัก เลียวปาร์ด-๒เอสจี จ�ำนวน ๙๖ คัน, รถรบทหารราบ ไบโอนิกซ์-๒๕ จ�ำนวน ๒๐๐ คัน, รถรบทหารราบ ไบโอนิกซ์-II จ�ำนวน ๒๐๐ คัน, รถสายพานล�ำเลียงพล ไบโอนิกซ์ ๔๐/๕๐ จ�ำนวน ๓๐๐ คัน, รถเกราะล้อยางแบบเทอร์เร็กซ์ เอวี-๘๑ (Terrex AV-81) ชนิด ๘ x ๘ ล้อ จ�ำนวน ๑๓๕ คัน และปืนใหญ่สนามลากจูงแบบพีกาซัส ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร จ�ำนวน ๕๔ หน่วยยิง กองทัพบกสิงคโปร์ท�ำการฝึกเป็นหน่วยทางยุทธวิธี ที่รัฐ ควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย เป็นการฝึกผสมเหล่าประกอบ ด้วย ทหารราบ ทหารม้า และทหารปืนใหญ่ สนับสนุนด้วยเครื่อง n เรื อ ฟรี เ กตจรวดน� ำ วิ ถี ชั้ น ฟอร์ มิ เ ดเบิ้ ล บินเฮลิคอปเตอร์โจมตีแบบ เอเอช-๖๔ดี อปาเช่ ท�ำการฝึกห้วงเดือน (Formidable) เรือยาว ๑๑๔.๘ เมตร ขนาด พฤศจิกายน

๒.๒ กองทัพเรือ

26 รักษาดินแดน

วารสาร

กองทัพเรือสิงคโปร์ประจ�ำการด้วยเรือรบทีต่ อ่ ขึน้ ใหม่มคี วาม ทันสมัย ประกอบด้วย เรือฟรีเกตน�ำวิถี ชั้นฟอร์มิเดเบิ้ล ขนาด ๓,๒๐๐ ตัน จ�ำนวน ๖ ล�ำ, เรือคอร์เวตน�ำวิถีชั้นวิคทอรี่ ขนาด ๖๐๐ ตัน จ�ำนวน ๖ ล�ำ, เรือ ด�ำน�้ำดีเซลไฟฟ้า ๖ ล�ำ, เรือสะเทินน�้ำ สะเทินบกชั้นเอ็นดูเรนซ์ ขนาด ๖,๕๐๐ ตัน จ�ำนวน ๔ ล�ำ และเรือ ต่อต้านทุ่นระเบิดชั้นบีดอค จ�ำนวน ๔ ล�ำ หน่วยบินนาวี ๒ ฝูงบิน (อยูก่ บั กองทัพอากาศคือ ฝูงบิน ๑๒๑ ลาดตระเวนทางทะเล ฟอร์เกอร์ ๕๐ จ�ำนวน ๕ เครือ่ ง และฝูงบิน ๑๒๓ เอส-๗๐บี ซีฮอร์ค ภารกิจปราบเรือด�ำน�้ำ จ�ำนวน ๖ เครื่อง)

๓,๒๐๐ ตั น เครื่ อ งยนต์ ดี เ ซล ๔ เครื่ อ ง ความเร็ว ๒๗ นอต ปืนขนาด ๗๖ มิลลิเมตร จรวดต่ อ ต้ า นเรื อ ผิ ว น�้ ำ ฮาร์ พู น ๘ ท่ อ ยิ ง จรวดต่อต้านเครื่องบินรบเอสเตอร์ ๑๕/๓๐ ลูกเรือ ๗๑ นาย พร้อมด้วยเครื่องบินปราบ เรื อ ด� ำ น�้ ำ ๑ เครื่ อ ง เป็ น เรื อ ฟรี เ กต ล่ อ งหน เทคโนโลยี จ ากประเทศฝรั่ ง เศส ต่ อ จากอู ่ ต ่ อ เรื อ ประเทศสิ ง คโปร์ ๕ ล� ำ (ในภาพเป็ น เรื อ ฟรี เ กต RSS Supreme หมายเลข ๗๓ ขึ้ น ระวางประจ� ำ การ เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒)


ก อ ง ทั พ อ า ก า ศ สิ ง ค โ ป ร ์ ประจ� ำ การด้ ว ยเครื่ อ งบิ น รบรุ ่ น ใหม่ ทุ ก แบบทั้ ง สิ้ น ทหารประจ� ำ การ ๑๓,๕๐๐ นาย เครือ่ งบินรบ ๔๒๒ เครือ่ ง ประกอบด้วย เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ ๖ ฝู ง บิ น , เครื่ อ งบิ น เตื อ นภั ย ทาง อากาศ ๑ ฝูงบิน, ฝูงบินเติมน�้ำมัน ทางอากาศ ๑ ฝู ง บิ น , เครื่ อ งบิ น ลาดตระเวนทางทะเล ๑ ฝูงบิน, เครือ่ ง บินเฮลิคอปเตอร์โจมตี ๑ ฝูงบิน, เครือ่ ง บินเฮลิคอปเตอร์สนับสนุนการรบ ๔ ฝูงบิน และการป้องกันภัยทางอากาศ ๖ หน่วย

ข้อจ�ำกัดของพื้นที่ฝึกกองทัพอากาศสิงคโปร์จึงมีพื้นที่ฝึก ในต่างประเทศ ประกอบด้วย การฝึกนักบินใหม่ทำ� การฝึกทีป่ ระเทศ ออสเตรเลีย (ฝูงบินฝึก ๑๓๐ เครือ่ งบิน พีซ-ี ๒๑ จ�ำนวน ๑๙ เครือ่ ง), การฝึ ก นั ก บิ น ใหม่ เ ฮลิ ค อปเตอร์ ที่ ป ระเทศออสเตรเลี ย (ฝู ง บิ น ฝึก ๑๒๖ เครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์คูการ์ ๑๒ เครื่อง), การฝึก นั ก บิ น ไอพ่ น ที่ ป ระเทศสหรั ฐ อเมริ ก า (ฝู ง บิ น ขั บ ไล่ ๔๒๕ เอฟ-๑๖ซี / ดี ๑๔ เครื่ อ ง), การฝึ ก นั ก บิ น ไอพ่ น ที่ ป ระเทศ สหรัฐอเมริกา (ฝูงบินขับไล่ ๔๒๘ เอฟ-๑๕ เอสจี ๑๐ เครื่อง), การฝึกนักบินเฮลิคอปเตอร์โจมตีที่ประเทศสหรัฐอเมริกา (ฝูงบิน ๒๘๕ เอเอช-๖๔ดี ๘ เครื่อง), การฝึกนักบินเฮลิคอปเตอร์ขนส่ง ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา (ฝูงบิน ๑๔๙ ซีเอช-๔๗ เอสดี ๖ เครื่อง) และการฝึกนักบินไอพ่นโจมตีที่ประเทศฝรั่งเศส (ฝูงบินขับไล่ ๑๕๐ เอ-๔เอสยู ทีเอ-๔เอสยู ๑๘ เครื่อง)

รักษาดินแดน 27 วารสาร

๒.๓ กองทัพอากาศ


เ รื อ ด� ำ น�้ ำ ดี เ ซ ล ไ ฟ ฟ ้ า มื อ ส อ ง ชื่ อ อาร์เชอร์ (RSS Archer) ขนาด ๑,๕๐๐ ตัน ขึ้ น ร ะ ว า ง ป ร ะ จ� ำ ก า ร เ มื่ อ วั น ที่ ๒ ธั น วาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เรื อ ล� ำ ที่ ส อง ชื่ อ เรื อ สอร์ ด แมน (RSS Swordsman) อยู ่ ระหว่ า งการทดสอบทางทะเล เตรี ย มขึ้ น ระวางประจ�ำการ

n

๓. อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ๓.๑ อุตสาหกรรมอาวุธเบา สิงคโปร์ผลิตปืนเล็กยาว เอ็ม-๑๖เอ๑ ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร ภายใต้ลิขสิทธิ์จ�ำนวน ๒๐๐,๐๐๐ กระบอก น�ำเข้าประจ�ำการ ในกองทัพปี พ.ศ. ๒๕๑๖ ต่อมาได้ออกแบบวิจัยพัฒนาและท�ำการ ผลิตปืนเล็กยาวรุ่นใหม่แบบเอสเออาร์-๒๑ (SAR-21) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร น�ำเข้าประจ�ำการปี พ.ศ. ๒๕๔๒ จ�ำนวน ๑๕๐,๐๐๐ กระบอก โดยบริษทั เอสที ไคนีตกิ ซ์ (ST Kinetics) เป็นบริษทั ขนาดใหญ่ มีเจ้าหน้าที่ ๖,๐๐๐ คน ผลิตปืนกลของหมู่ปืนเล็กอัลติแม็ก ๑๐๐ (Ultimax 100) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร ประจ�ำการปี พ.ศ. ๒๕๒๕ จ�ำนวน ๒๐,๐๐๐ กระบอก

๓.๒ อุตสาหกรรมการต่อเรือ

สิงคโปร์มีความก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรมการต่อเรือ มากที่สุดในกลุ่มประเทศอาเซียน โดยบริษัทสิงคโปร์ ชิพบิลดิ้ง & เอนจิเนียริ่ง ได้ลิขสิทธิ์ต่อเรือคอร์เวตชั้นวิคทอรี่ ขนาด ๖๐๐ ตัน จ�ำนวน ๕ ล�ำ จากประเทศเยอรมนี ประจ�ำการในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ - ๒๕๓๔ ต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ ใหม่เป็น เอสที เอนจิเนียริง่ มารีน (ST Engineering (Marine)) ต่อเรือยกพลขึ้นบกชั้นเอ็นดูเรนซ์ (Endurance) ขนาด ๖,๕๐๐ ตัน จ�ำนวน ๔ ล�ำ ทีไ่ ด้ออกแบบเองภายในประเทศประจ�ำการ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๓ - ๒๕๔๔

เครือ่ งบินชัน้ น�ำของโลกทัง้ จากประเทศ สหรัฐอเมริกาและยุโรปการปรับปรุง เครื่ อ งบิ น โจมตี ไ อพ่ น แบบ เอ-๔ซี / เอ-๔บี สกายฮอร์ ค เมื่ อ เสร็ จ แล้ ว ได้น�ำเข้าประจ�ำการในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ จ�ำนวน ๕๔ เครื่อง รวม ๓ ฝูงบิน คือ ฝูงบิน ๑๔๒, ฝูงบิน ๑๔๓ และ ฝูงบิน ๑๔๕ (สิงคโปร์ซื้อเครื่องบิน เอ-๔ สกายฮอร์คที่เกินความต้องการ รวม ๒ ครั้ง จ�ำนวน ๑๒๖ เครื่อง จาก สหรัฐอเมริกา มาท�ำการปรับปรุงให้มี ความทั น สมั ย ) มี ชื่ อ เรี ย กใหม่ ว ่ า เอ-๔เอสยู / ที เ อ-๔ เอสยู ซู เ ปอร์ สกายฮอร์ค และการปรับปรุงเครือ่ งบิน ขับไล่แบบ เอฟ-๕อี/เอฟ ไทเกอร์ II จ�ำนวน ๔๑ เครือ่ ง เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ มี ชื่ อ เรี ย กใหม่ ว ่ า เอฟ-๕เอส/ที มีขีดความสามารถรับการเติมน�้ำมัน ทางอากาศ จึ ง มี ขี ด ความสามารถ สูงกว่ารุ่นมาตรฐาน

๓.๔ การส่งออก

๓.๔.๑ อาวุธเบา สิ ง คโปร์ ส ่ ง ออกปื น กล สิ ง คโปร์ มี ค วามก้ า วหน้ า ทางด้ า นการบิ น โดยบริ ษั ท ของหมู ่ ป ื น เล็ ก อั ล ติ แ ม็ ก ๑๐๐ เอสที แอโรสเปซ (ST Aerospace) มีเจ้าหน้าที่กว่า ๘,๐๐๐ นาย (Ultimax 100) ขนาด ๕.๕๖ มิลลิเมตร ท�ำการซ่อมอากาศยานขั้นโรงงานโดยได้รับลิขสิทธิ์จากบริษัทผลิต ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ จ�ำนวน ๙ ประเทศ

28 รักษาดินแดน

วารสาร

๓.๓ อุตสาหกรรมอากาศยาน


เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ โ จมตี เอฟ-๑๕เอสจี ประจ� ำ การที่ ฝู ง บิ น ๑๔๙ มี ค วามทั น สมั ย ที่สุดของกองทัพอากาศกลุ่มประเทศอาเซียน เทียบได้กับเครื่องบินขับไล่ ซู-๓๐ แฟลงเคอร์ กองทั พ อากาศมาเลเซี ย เวี ย ดนาม และ อินโดนีเซีย เครื่อ งบิน มีค วามเร็ว ๒.๕ มัค สามารถจะเพิ่มระยะปฏิบัติการด้วยการเติม น�ำ้ มันทางอากาศ จากเครือ่ งบิน เคซี-๑๓๕ ของ ฝูงบิน ๑๑๒ จ�ำนวน ๔ เครื่อง n

๓.๕.๔ เรื อ ยกพลขึ้ น บกชั้ น เอ็ น ดู เ รนซ์ (Endurance, LPD) ต่อเรือยกพลขึน้ บกชัน้ เอ็นดูเรนซ์ ให้กบั กองทัพ เรือไทย จ�ำนวน ๑ ล�ำ ปล่อยเรือลงน�ำ้ เมือ่ วันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ชื่อเรือรบหลวงอ่างทอง (ล�ำที่สอง) ประจ�ำการในปี พ.ศ. ๒๕๕๕

๔. การเพิ่มขีดความสามารถทางทหาร ๔.๑ จัดซือ้ หลักสูตรการฝึกนักบินขับไล่ เอฟ-๑๖ซี/ดี เมือ่ วันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ราคา ๑๕๐ ล้านเหรียญสหรัฐ ระยะเวลาฝึก ๓ ปี ของฝูงบิน ๔๒๕ ฐานทัพอากาศลุค ประเทศสหรัฐอเมริกา ๔.๒ จัดซื้อหลักสูตรการฝึกนักบินขับไล่ เอฟ-๑๕เอสจี เมือ่ วันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ราคา ๔๓๕ ล้านเหรียญสหรัฐ ระยะเวลาฝึก ๕ ปี ของฝูงบิน ๔๒๘ ฐานทัพอากาศเมาเท่นโฮม ประเทศสหรัฐอเมริกา

๕. บทสรุป กองทัพสิงคโปร์นับว่ามีความก้าวหน้าที่สุดของกองทัพ อาเซียน ได้ประจ�ำการด้วยระบบอาวุธที่มีความทันสมัยระดับโลก ส่วนใหญ่จะผลิตจากประเทศสหรัฐอเมริกา โดยท�ำการฝึกเป็นหน่วย ขั้นก้าวหน้าในต่างประเทศ รวมทั้งได้เข้าร่วมท�ำการฝึกขนาดใหญ่ ระดับโลกในหลายรหัสการฝึกกับกองทัพมหาอ� ำนาจทางทหาร ของโลก พร้อมทัง้ มีขดี ความสามารถในอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ที่ก ้ า วหน้ า ของกลุ่ ม ประเทศอาเซี ย น และได้ ส ่ ง ออกขายให้ กับ กองทัพมิตรประเทศในหลายภูมิภาคโลก

รักษาดินแดน 29 วารสาร

(อาเซียน ๔ ประเทศ), ผลิตเครื่องยิง ลูกกระเบิดอัตโนมัติ (CIS 40 AGL) ขนาด ๔๐ มิลลิเมตร ประจ�ำการในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ส่งออกให้กบั มิตรประเทศ ๙ ประเทศ (อาเซียน ๓ ประเทศ), ผลิต ปืนกลหนัก (CIS 50 MG) ขนาด ๑๒.๗ มิลลิเมตร ประจ�ำการปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ผลิตประมาณ ๓,๐๐๐ กระบอก ส่งออก ให้กับกองทัพบกอินโดนีเซีย ๓.๔.๒ เอฟเอช-๒๐๐๐ (FH-2000) สิ ง คโปร์ ผ ลิ ต ปื น ใหญ่ สนามลากจูง ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร ผลิ ต ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ จ� ำ นวน ๗๒ กระบอก ได้ส่งออกให้กับกองทัพบก อินโดนีเซีย ๘ กระบอก ๓.๔.๓ ซ่อมเครื่องบิน ไต้ ห วั น ส่ ง เครื่ อ งบิ น เตือนภัยแบบ อี-๒ซี ที่ประสบอุบัติเหตุ ขณะร่อนลง เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ ท�ำการซ่อมตัวเครือ่ งบินที่ ประเทศสิงคโปร์


พินัยกรรม :

คำ�สั่งสุดท้ายของผู้วายชนม์ พ.ท.อรรถพล แผ้วพาลชน นธน.นรด.

พินยั กรรม คือ ค�ำประกาศ/ค�ำสัง่ สุดท้ายของผูต้ ายซึง่ เป็นเจ้าของทรัพย์สนิ เพือ่ แสดงความ

จ�ำนงในรูปแบบทีส่ ามารถน�ำมาใช้บงั คับในทางกฎหมายว่าทรัพย์สมบัตขิ องตนเองเมือ่ เสียชีวติ ไปแล้ว จะด�ำเนินการอย่างไรให้เป็นไปตามเจตนาของตนเอง (ผูเ้ สียชีวติ ) ซึง่ เรียกว่า เจ้ามรดก และผูท้ สี่ บื ทอด หรือได้รบั สิทธิประโยชน์จากพินยั กรรมนัน้ เรียกว่า ทายาทหรือผูร้ บั ผลประโยชน์ โดยมีผจู้ ดั การมรดก คือ ผู้ที่เจ้ามรดกมอบหมายหน้าที่ให้เป็นผู้จัดการสินทรัพย์และแบ่งปันมรดกในพินัยกรรม

30 รักษาดินแดน

วารสาร

ถ้าคุณจากไปโดยไม่ได้ท�ำพินัยกรรมทิ้งไว้ ทรัพย์สินของคุณจะถูกส่งต่อไปให้กับทายาทตาม ล�ำดับและตามสัดส่วนทีร่ ะบุไว้ในประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ เป็นไปได้ว่าเมื่อถึงคราวที่คุณ จากไปโดยไม่ทิ้งพินัยกรรมไว้ สินทรัพย์จะตกกับ คนที่คุณไม่ได้ตั้งใจจะมอบให้ก็เป็นได้ ยิ่งกว่านั้น ผู ้ จั ด การมรดกอาจจะไม่ ใ ช่ ค นที่ คุ ณ เลื อ ก และ ก็อาจจะมีขั้นตอนที่ยุ่งยากเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น

ต้องให้ศาลเป็นคนตัดสินเลือกผูจ้ ดั การมรดก ดังนัน้ มันจึงเป็นสิ่งส�ำคัญในการท�ำพินัยกรรมเอาไว้ เพื่อ มอบทรัพย์สินให้กับสมาชิกในครอบครัว เพือ่ นหรือ องค์กรที่คุณต้องการมอบสินทรัพย์ให้โดยเฉพาะ พิ นั ย กรรมจะท� ำ ได้ เ มื่ อ คุ ณ อายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป และไม่เป็นผู้ที่ไร้ความสามารถ สามารถท�ำ พินัยกรรมได้ พินัยกรรมอาจท�ำได้หลายแบบ และ บางแบบก็ไม่ตอ้ งมีพยาน ส�ำหรับพินยั กรรมทีจ่ ำ� เป็น


๑. พินัยกรรมแบบธรรมดา ต ามมา ตรา ๑๖ ๕๖ บั ญ ญั ติ ว ่ า “พินัยกรรมนั้น จะท�ำตามแบบดังนี้ก็ได้ กล่าวคือ ต้องท�ำเป็นหนังสือลงวัน เดือน ปี ในขณะที่ท�ำขึ้น และผู้ท�ำพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้า พยานอย่ า งน้ อ ยสองคนพร้ อ มกั น ซึ่ ง พยาน สองคนนั้นต้องลงลายมือชื่อรับรองลายมือชื่อของ ผู้ท�ำพินัยกรรมไว้ในขณะนั้น การขู ด ลบ ตก เติ ม หรื อ การแก้ ไ ข เปลี่ ย นแปลงอย่ า งอื่ น ซึ่ ง พิ นั ย กรรมนั้ น ย่ อ มไม่ สมบูรณ์ เว้นแต่จะได้ปฏิบตั ติ ามแบบอย่างเดียวกับ การท�ำพินัยกรรมตามมาตรานี้”

๒. พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ ตามมาตรา ๑๖๕๗ “พิ นั ย กรรมนั้ น จะท�ำเป็นเอกสารเขียนเองทั้งฉบับก็ได้ กล่าวคือ ผู้ท�ำพินัยกรรมต้องเขียนด้วยมือตนเองซึ่งข้อความ ทั้งหมด วัน เดือน ปี และลายมือชื่อของตน การขู ด ลบ ตก เติ ม หรื อ การแก้ ไ ข เปลี่ ย นแปลงอย่ า งอื่ น ซึ่ ง พิ นั ย กรรมนั้ น ย่ อ ม ไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ผู้ท�ำพินัยกรรมจะได้ท�ำด้วย มือตนเอง และลงลายมือชื่อก�ำกับไว้ บทบัญญัติ มาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายนี้มิให้ใช้บังคับ แก่พินัยกรรมที่ท�ำขึ้นตามมาตรานี้” ๓. พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง ตามมาตรา ๑๖๕๘ “พินยั กรรมนัน้ จะท�ำ เป็นเอกสารฝ่ายเมืองก็ได้ กล่าวคือ ๑) ผู้ท�ำพินัยกรรมต้องไปแจ้งข้อความ ที่ตนประสงค์จะให้ใส่ไว้ในพินัยกรรมของตนแก่ กรมการอ�ำเภอต่อหน้าพยานอีกอย่างน้อยสองคน พร้อมกัน ๒) กรมการอ�ำเภอต้องจดข้อความที่ ผู ้ ท� ำ พิ นั ย กรรมแจ้ ง ให้ ท ราบนั้ น ลงไว้ และอ่ า น ข้อความนั้นให้ผู้ท�ำพินัยกรรมและพยานฟัง ๓) เมือ่ ผูท้ ำ� พินยั กรรมและพยานทราบ แน่ชัดว่า ข้อความที่กรมการอ�ำเภอจดนั้นเป็นการ ถูกต้องตรงกันกับที่ผู้ท�ำพินัยกรรมแจ้งไว้แล้ว ให้ ผูท้ ำ� พินยั กรรมและพยานลงลายมือชือ่ ไว้เป็นส�ำคัญ ๔) ข้อความที่กรมการอ�ำเภอจดไว้นั้น ให้กรมการอ�ำเภอลงลายมือชื่อและลงวัน เดือน ปี ทั้งจดลงไว้ด้วยตนเองเป็นส�ำคัญว่าพินัยกรรมนั้น ได้ท�ำขึ้นถูกต้องตามบทบัญญัติอนุมาตรา ๑ ถึง ๓ ข้างต้น แล้วประทับตราต�ำแหน่งไว้เป็นส�ำคัญ

รักษาดินแดน

วารสาร

ต้องมีพยาน พยานต้องไม่เป็นผู้รับผลประโยชน์ ในพินัยกรรมนั้น คุณอาจศึกษาเกี่ยวกับการจัดท�ำ พินัยกรรมหรื อ ที่ ปรึกษานักกฎหมายเพื่อให้การ ท�ำพินัยกรรมของคุณมีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย แต่หากคุณต้องการท�ำพินัยกรรมแบบที่ง่ายและ ซับซ้อนน้อยที่สุดนั้น คุณก็เพียงเขียนพินัยกรรม ด้วยลายมือคุณเองทัง้ ฉบับว่าคุณมีทรัพย์สนิ ใดบ้าง และระบุให้ละเอียดว่าต้องการยกอะไรให้กับใคร ซึ่งพินัยกรรมที่คุณเขียนขึ้นเองทั้งฉบับไม่มีรูปแบบ มาตรฐานและไม่จ�ำเป็นต้องมีพยาน ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ บรรพ ๖ มรดก ได้บญ ั ญัตไิ ว้ตงั้ แต่มาตรา ๑๖๕๕ ถึง ๑๖๗๒ ซึง่ ได้กำ� หนดแบบพินยั กรรมไว้ ๕ แบบ ดังนี้

31


การขู ด ลบ ตก เติ ม หรื อ การแก้ ไ ข ประเทศ พินยั กรรมนัน้ อาจท�ำตามแบบซึง่ กฎหมาย เปลี่ ย นแปลงอย่ า งอื่ น ซึ่ ง พิ นั ย กรรมนั้ น ย่ อ มไม่ ของประเทศทีท่ ำ� พินยั กรรมบัญญัตไิ ว้หรือตามแบบ สมบูรณ์เว้นแต่ผู้ท�ำพินัยกรรม พยาน และกรมการ ที่กฎหมายไทยบัญญัติไว้ก็ได้” อ�ำเภอจะได้ลงลายมือชื่อก�ำกับไว้” ๔. พินัยกรรมแบบเอกสารลับ ต า ม ม า ต ร า ๑ ๖ ๖ ๐ บั ญ ญั ติ ว ่ า “พินัยกรรมนั้น จะท�ำเป็นเอกสารลับก็ได้ กล่าวคือ ๑) ผู้ท�ำพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อใน พินัยกรรม ๒) ผู้ท�ำพินัยกรรมต้องผนึกพินัยกรรม นั้น แล้วลงลายมือชื่อคาบรอยผนึกนั้น ๓) ผู้ท�ำพินัยกรรมต้องน�ำพินัยกรรม ที่ผนึกนั้นไปแสดงต่อกรมการอ�ำเภอและพยานอีก อย่างน้อยสองคน และให้ถ้อยค�ำต่อบุคคลทั้งหมด เหล่านั้นว่าเป็นพินัยกรรมของตน ถ้าพินัยกรรมนั้น ผู้ท�ำพินัยกรรมมิได้เป็นผู้เขียนเองโดยตลอด ผู้ท�ำ พินยั กรรมจะต้องแจ้งนามและภูมลิ ำ� เนาของผูเ้ ขียน ให้ทราบด้วย ๔) เมื่อกรมการอ�ำเภอจดถ้อยค�ำของ ผู้ท�ำพินัยกรรม และวัน เดือน ปี ที่น�ำพินัยกรรมมา แสดงไว้บนซองนั้นและประทับตราต�ำแหน่งแล้ว ให้ ก รมการอ� ำ เภอผู ้ ท� ำ พิ นั ย กรรมและพยาน ลงลายมือชื่อบนซองนั้น การขู ด ลบ ตก เติ ม หรื อ การ แก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่างอื่นซึ่งพินัยกรรมนั้นย่อม ไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ผู้ท�ำพินัยกรรมจะได้ลงลายมือ ชื่อก�ำกับไว้”

ข้อควรจ�ำ

32 รักษาดินแดน

วารสาร

๑. พินัยกรรมมีความส�ำคัญ ก่อนที่จะท�ำ พินัยกรรมต้องพิจารณาไตร่ตรองให้ดีว่า เจตนายก ทรัพย์สินให้ใคร อย่างไร เพราะการท�ำพินัยกรรม ก�ำหนดการเผื่อตายของเรานั้น ไม่จ�ำเป็นต้องให้ ทายาทตามกฎหมายของเราเท่านัน้ หากพินยั กรรม ได้ ท� ำ ไปแล้ ว และถู ก ต้ อ งบั ง คั บ ตามพิ นั ย กรรม ทายาทอื่ น จะมาอ้ า งขอแบ่ ง ทรั พ ย์ ม รดกตาม พิ นั ย กรรมที่ ท� ำ ยกให้ ผู ้ อื่ น ไปแล้ ว มิ ไ ด้ เพราะ พิ นั ย กรรมคื อ ส่ ว นเจตนาที่ ส� ำ คั ญ ของเจ้ า มรดก ที่กฎหมายยอมรับและบังคับให้ ๒. ประการส�ำคัญ พินัยกรรมนั้นเป็นเรื่อง ที่กฎหมายก�ำหนด บางครั้งมีความละเอียดปลีก ย่อยออกไปมากยากแก่การอธิบายให้เข้าใจได้โดย ละเอียด เพียงหนังสือฉบับนี้ ถึงแม้เรามีความรู้ พออ่านออกเขียนได้ ก็ควรจะท�ำที่อ�ำเภอ ซึ่งจะมี เจ้าหน้าทีค่ อยบริการจัดท�ำพินยั กรรมให้เรา เรียกว่า พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง เมื่อเราไปพบ เจ้าหน้าทีท่ วี่ า่ การอ�ำเภอ แสดงความประสงค์จะท�ำ พินัยกรรม เจ้าหน้าที่ก็จะจัดท�ำให้ พิ นั ย กรรมทุ ก แบบ เมื่ อ ได้ ท� ำ ขึ้ น แล้ ว นั้ น ผู ้ ท� ำ พิ นั ย กรรมมี สิ ท ธิ จ ะแก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลงได้ ทุ ก ประการ สามารถยกเลิ ก ได้ โ ดยแก้ ไ ข หรื อ ท�ำพินัยกรรมฉบับใหม่ซึ่งถือว่าพินัยกรรมฉบับเก่า ถู ก เพิ ก ถอนไปแล้ ว หรื อ สามารถฉี ก ท� ำ ลาย ๕. พินยั กรรมแบบท�ำตามกฎหมายต่างประเทศ พินัยกรรมเสียก็ได้ เป็นสิทธิ ตามมาตรา ๑๖๖๗ วรรค ๑ บัญญัติว่า “เมื่ อ คนในบั ง คั บ ไทยจะท� ำ พิ นั ย กรรมในต่ า ง


มุมจ่พระเครื ่อง า ท่าพระจันทร์

www.thaprachan.com

พระราหูกะลาตาเดียวแกะหลวงพ่อปิ่น ตะโกทอง วัดศีรษะทอง จังหวัดนครปฐม

รักษาดินแดน

วารสาร

พระราหูอมจันทร์ แกะจากกะลาตาเดียว

ระราหูเป็นความเชื่อที่มีการสืบทอดกันมาแต่โบราณ ใน สมัยก่อนคนเรามีความรู้ในเรือ่ งดาราศาสตร์ยงั ไม่กว้างขวาง คราใดที่เกิดปรากฏการณ์ “จันทรคราส” หรือ “สุริยคราส” ก็เข้าใจว่าพระราหูไล่จับพระจันทร์ ทางภาคเหนือเรียกว่า “กบกินเดือน” หรือ “กบกินพระอาทิตย์” เมือ่ จับได้กจ็ ะอมไว้ บังเกิดความมืดมิดปกคลุมไปทัว่ หรือ เกิดความกลัวว่าพระจันทร์และพระอาทิตย์จะดับไปชัว่ นิรนั ดร์ จะแก้ไขด้วยการ ตีเกราะ เคาะกะลา จุดประทัด ยิงปืน พระสงฆ์ตามวัดก็จะสวดคาถาอ้อนวอน ให้พระราหูคายพระจันทร์และพระอาทิตย์ แล้วให้รีบหนีไป ก็เป็นความเชื่อมา แต่อดีต

33


ในแวดวงเครื่องรางของขลัง ประเภทพระราหูกะลาตาเดียวแกะ มีแต่การเขียนถึงแต่หลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทองซึ่งเป็นเรื่องยากที่จะ หาของแท้ได้ มีแต่ของปลอมและ เลียนแบบมากมาย หลวงพ่ อ ปิ ่ น ตะโกทอง ศิษย์เอกหลวงพ่อน้อย นาวารัตน์ หลวงพ่ อ ปิ ่ น ได้ ศึ ก ษาวิ ช าอาคม เกี่ยวกับกะลาตาเดียวแกะพระราหู อมจันทร์ เอกลักษณ์ของท่านคือ ยั น ต์ จั น ทร์ ป ระภา และสุ ริ ย ะ

ประภา ต้นต�ำหรับ “ขอมลาว” ของอาจารย์ คื อ หลวงพ่ อ น้ อ ย ซึ่งหลวงพ่อน้อยได้ถ่ายทอดให้กับ หลวงพ่อปิ่น จนหมดสิ้น

ประวัติวัดศีรษะทอง

34 รักษาดินแดน

วารสาร

วัดศีรษะทองเป็นวัดราษฎร์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ฝ่ า ยมหานิ ก าย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ ๒๒ หมู่ ๑ ต�ำบลศีรษะทอง อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม สร้างขึ้นสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์

แรกเริ่ ม เดิ ม ที พื้ น ที่ บ ริ เ วณวั ด ต�ำ บลศี ร ษะทองในปั จ จุ บั น เป็ น พื้นที่ร กร้ างว่ างเปล่า ไม่มีผู้คนอาศัยท�ำมาหากิน เนื่องจากเป็นที่ที่มี ความแห้งแล้งเพราะอยูห่ า่ งจากแม่นำ�้ ล�ำคลองมาก พืน้ ทีบ่ ริเวณนีข้ นึ้ อยูก่ บั ท้ อ งที่ ต�ำ บลห้ ว ยตะโก สมั ย นั้ น ค�ำ ว่ า ศี ร ษะทองยั ง ไม่ ป รากฏ ต่ อ มา พวกลาวเวียงจันทน์อพยพเข้ามาอยูอ่ าศัย บางพวกก็อยูแ่ ถวริมน�ำ้ ทีเ่ รียกว่า วัดกลางคูเวียงในปัจจุบัน บางพวกก็อยู่แถวบ้านกล้วย และมีอีกพวกหนึ่ง ทีอ่ าศัยลึกเข้าไปกว่าพวกอืน่ ๆ คือพวกทีอ่ ยูใ่ นต�ำบลศีรษะทองในปัจจุบนั พวกเขาได้หักร้างถางพงท�ำเป็นที่นาปลูกข้าวและพืชพันธุ์ธัญญาหาร ต่าง ๆ ขุดบ่อกักเก็บน�้ำไว้ใช้ ขยายครอบครัวจนเจริญรุ่งเรืองและกลาย เป็นหมู่บ้านในที่สุด เมื่อต่างคนต่างก็มีกินมีใช้พอสมควรที่เหลือก็เก็บออมกันจนเกิดมี ความคิดทีจ่ ะสร้างบุญสร้างกุศลขึน้ ครัน้ จะไปท�ำบุญทีว่ ดั อืน่ ๆ ก็อยูห่ า่ งไกล จึงคิดที่จะสร้างวัดในหมู่บ้านขึ้น บรรดาชาวบ้านจึงร่วมแรงร่วมใจกัน สร้างวัด ขณะที่ขุดดินส�ำหรับสร้างวัดนั้นเองก็ได้พบเศียรพระที่เป็น ทองจมอยู่ในดิน จึงถือเป็นนิมิตที่ดีเลยได้ตั้งชื่อวัดขึ้นว่า “วัดหัวทอง” ตั้งแต่นั้นมา เจ้ า อาวาสองค์ แ รกคื อ หลวงพ่ อ ไต ซึ่ ง เป็ น คนลาวที่ ม าจาก เวียงจันทน์ โดยการอพยพมาตั้งแต่ต้นจากวัดเล็ก ๆ ก็กลายเป็นวัดใหญ่ สืบทอดเจ้าอาวาสมาอีก ๗ รุ่น จนมาถึงวาระหลวงพ่อปิ่น ตะโกทอง เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่วัดและหมู่บ้าน เป็นอันมาก ต่อมาทางการได้ขุดคลองแยกจากแม่น�้ำนครชัยศรีไปยังองค์พระ ปฐมเจดีย์เพือ่ สะดวกในการเสด็จพระราชด�ำเนินไปนมัสการองค์พระปฐม


อมจันทร์ซึ่งจะด� ำรงไว้ด้ว ยความ ศักดิส์ ทิ ธิ์ เข้มขลังตลอดกาล เพราะ เป็ น ฤกษ์ ที่ ห ลวงพ่ อ ลงคาถาไว้ ด้ า นหลั ง กะลาแกะทุ ก อั น ทั้ ง เล็ ก และใหญ่ ต้องเป็นช่วงที่พระราหู อมจันทร์เท่านั้นด้วย ดังที่ได้กล่าว มาข้ า งต้ น ว่ า หลวงพ่ อ น้ อ ยนั้ น ท่านมีพลังดวงตาและจิตที่เข้มแข็ง เข้าถึงพระราหูที่อยู่ในชั้นฟ้า (ใน อวกาศ) ที่เ ราไม่สามารถจะมอง เห็นได้ หลวงพ่อปิน่ ตะโกทอง ได้รบั การถ่ายทอดวิชาพระราหูอมจันทร์ จากหลวงพ่อน้อย ผู้เป็นอาจารย์ จนหมดสิ้น ฉะนั้นวัตถุมงคลของ ท่านให้แทนหลวงพ่อน้อยได้เช่นกัน ซึ่งในปัจจุบันยังพอให้เช่าหากันได้ และพบเห็นบ่อย สนนราคาไม่แพง มีไว้ติดตั้งบูชาเป็นสิริมงคล และ เสริมดวงชะตาได้ดยี งิ่ นัก ให้วา่ คาถา ดังนี้

รักษาดินแดน

วารสาร

เจดีย์โดยเรียกกันว่า “คลองเจดีย์บูชา” ซึ่งคลองนี้ได้ผ่านพื้นที่ทางตอน ใต้ของวัดหัวทองและหมู่บ้าน ดังนั้นชาวบ้านจึงอพยพลงมาอยู่ใกล้คลอง กัน เพราะสะดวกในการคมนาคม วัดหัวทองจึงย้ายจากที่เดิมมาอยู่ใกล้ คลองเจดีย์บูชา และในสมัยหลวงพ่อน้อยนี่เองที่เปลี่ยนชื่อวัดจากวัด หัวทองเป็นวัด “ศีรษะทอง” และทางการได้ยกฐานะขึน้ เป็นต�ำบลศีรษะทอง สืบมาจนทุกวันนี้ เจ้าอาวาสมีทั้งหมด ๑๐ รูป ๑. หลวงพ่อไต (สมัยรัชกาลที่ ๒) ๒. หลวงพ่อตัน บูชาพระราหู ๓. หลวงพ่อลี (ขึ้นนะโม ๓ จบ) ๔. หลวงพ่อทอง ๕. หลวงพ่อช้อย พระคาถาสุริยะบัพพา ๖. หลวงพ่อน้อย นาวารัตน์ กุสเสโตมะมะ กุสเสโตโต ๗. หลวงพ่อปิ่น ตะโกทอง ลาลามะมะ ๘. หลวงพ่อปั่น รอดพลับ โตลาโม โทลาโมมะมะ ๙. หลวงพ่อพนม บางแก้ว โทลาโมมะมะ ๑๐. หลวงพ่อมานิต บุญมีลาภ เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน กะลาตาเดียวแกะพระราหูอมจันทร์ หลวงพ่อปิ่นนั้น ท�ำด้วยกัน โทลาโมตัง เหกุติมะมะ เหกุติ หลายฝี มื อ ช่ ว ยกั น แกะทั้ ง พระหลวงตาที่ เ ป็ น ศิ ษ ย์ ใ กล้ ชิ ด ได้ แ ก่ พระคาถาจันทบัพพา หลวงพ่อสม, พระอาจารย์กิ่ง และชาวบ้านศีรษะทอง ตาเอียง, ตาพุก, ตาอ้บ สระน�ำ้ หวาน, ตาตา ตะโกทอง, อาจารย์ปั๋น และพระธุดงค์นิรนาม ยัตถะตังมะมะ ตังถะยะ ตะวะตัง มะมะตัง วะติตัง เสกามะมะ ต่างก็ช่วยกันแกะกะลา และลงคาถาด้านหลัง แต่เว้นไว้เฉพาะตรงกลาง ไว้ให้หลวงพ่อลงคาถาหัวใจพระราหูในขณะเกิดจันทรุปราคาหรือราหู กาเสกัง กาติยังมะมะ ยะติกา

35


อาหารของด�ำ ๘ อย่าง

๑. ไก่ดำ� ความหมายคือ คุย้ เขี่ย ค้าขายดี ๒. เหล้ า ความหมายคื อ ความกล้าในการเสีย่ งหรือการลงทุน ที่ดี ๓. กาแฟด� ำ ความหมาย คือ คิดอะไรก็จะสมหวัง ๔. เฉาก๊วย ความหมายคือ ความใจเย็นและมีความคิดรอบคอบ ๕. ถั่ ว ด� ำ ความหมายคื อ ความเจริญรุ่งเรือง ๖. ข้ า วเหนี ย วด� ำ ความ หมายคือ ความเหนียวแน่นในเรื่อง การเงิน และความรักครอบครัว

๗. ขนมเปียกปูน ความหมายคือ การปูนบ�ำเหน็จรางวัล และความ ส�ำเร็จโชคลาภ ๘. ไข่เยี่ยวม้า ความหมายคือ การวิ่งเต้น หรือการติดต่อให้ได้รับ ความส�ำเร็จ

ค�ำถวายเครื่องสังเวยพระราหู

36 รักษาดินแดน

วารสาร

นะโมเม พระราหูเทวานังธูปะทีปะ จะปุปผัง สักการะวันทะนัง สูปะพะยัญชะนะ สัมปันนังโภชะนานังสาลีนัง สะปะริวารัง อุทะกังวะรัง อาคัจฉันตุ ปะริภญ ุ ชันตุ สัพพะทา หิตายะ สุขายะ พระราหูเทวา มะหิทธิกา เตปิ อัมเห อะนุรัก ขันตุ อาโรคะ เยนะ สุเขนะจะฯ *ข้าแต่พระราหูเทพแห่งโชคลาภอันศักดิ์สิทธิ์ที่สุด ข้าขอบูชาท่าน ด้วยของด�ำ ๘ อย่าง ขอให้ขา้ ฯ ปราศจากภัยและอันตรายใด ๆ ขอให้ทา่ น ประทานพรโชคลาภความร�่ำรวย ทั้งหลายทั้งปวงให้แก่ข้าฯ ด้วยเทอญ*


“การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับเอกสาร” น.รปภ.

การรักษาความปลอดภัยถือเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งยวด ส�ำหรับการปฏิบัติงาน ของทุกหน่วยงาน จึงจ�ำเป็นต้องมีระเบียบเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย ซึ่งระเบียบ ดังกล่าวที่ใช้เป็นหลัก คือ การปฏิบัติตามระเบีย บ หัวหน้าหน่วยงานของ รัฐมีหน้าที่รักษาข้อมูลข่าวสารลับในหน่วยงาน ของตน, ผู ้ ที่ ต ้ อ งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ กี่ ย วกั บ ข้ อ มู ล ข่าวสารลับต้องรักษาให้ปลอดภัย บุคคลผู้เข้าถึง ข้ อ มู ล ข่ า วสารลั บ ต้ อ งเป็ น ผู ้ ที่ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา มอบหมายความไว้วางใจและเข้าถึงเฉพาะเรื่อง ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายเท่ า นั้ น , หั ว หน้ า หน่ ว ยงาน ของรัฐอาจขอให้องค์การ รปภ.ตรวจสอบประวัติ และพฤติการณ์ของ จนท.ที่เกี่ยวข้องกับชั้นความ ลับได้ วันนี้ จึงขอแนะน�ำระเบียบว่าด้วยการรักษา ความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ เกี่ยวกับ การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับเอกสาร ที่ผ่าน มาได้พบเห็นการส่งเอกสารประเภทลับ (ลับที่สุด, ลับมาก และลับ) ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่ยังปฏิบัติ ไม่ถูกต้อง จึงขออนุญาตน�ำระเบียบที่ควรทราบ และต้ อ งปฏิ บั ติ ม าย�้ ำ เตื อ น ส� ำ หรั บ เจ้ า หน้ า ที่ ที่ด�ำเนินการเกี่ยวกับเอกสารประเภทลับของหน่วย พร้อมกับความหมายของค�ำที่เกี่ยวกับการรักษา ความปลอดภัยดังนี้ “การรักษาความปลอดภัย” หมายความถึง บรรดามาตรการที่ ก� ำ หนดขึ้ น ตลอดจนการ ด�ำเนินการทั้งปวงเพื่อพิทักษ์รักษา และคุ้มครอง

รักษาดินแดน 37 วารสาร

๑. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัย แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ ๒. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของ ทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ระเบี ย บฯ ข้ า งต้ น มี ป ระเภทและความ รับผิดชอบ แบ่งออกเป็นการรักษาความปลอดภัย ดังนี้ - การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล - การรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกับเอกสาร - การรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกับสถานที่ - การรั ก ษาความปลอดภั ย เกี่ ย วกั บ การประชุมลับ ระเบี ย บว่ า ด้ ว ยการรั ก ษาความลั บ ของ ทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ มีผลบังคับใช้ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๔๔ เป็นต้นไป ตามประกาศในราช กิจจานุเบกษา อันมีผลให้ระเบียบว่าด้วยการรักษา ความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ ซึง่ เป็นแม่บท ของการรั ก ษาความปลอดภั ย ของส่ ว นราชการ ใน ทบ. มาเป็นระยะเวลานานจ�ำเป็นต้องมีการ เพิม่ เติมข้อแนะน�ำในการใช้เพือ่ ยึดถือเป็นหลักการ ในการปฏิ บั ติ ที่ ว างไว้ ใ นระเบี ย บต่ อ ไป โดย มี น ายกรั ฐ มนตรี เ ป็ น ผู ้ รั ก ษาการตามระเบี ย บฯ, ทุก ๕ ปี นายกรัฐมนตรีเป็นผู้จัดให้มีการทบทวน


ป้องกันสิง่ ทีเ่ ป็นความลับของทางราชการ ข้าราชการ ส่วนราชการและทรัพย์สินของแผ่นดินให้พ้นจาก การรั่ ว ไหล การจารกรรม การก่ อ วิ น าศกรรม การบ่อนท�ำลาย และการกระท�ำอืน่ ใดทีม่ ผี ลกระทบ กระเทือนหรือเป็นภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ “เอกสาร” หมายความถึ ง ข่ า วสารที่ บันทึกไว้ในแบบใด ๆ รวมทั้งสิ่งที่พิมพ์ เขียน วาด ระบายสี แถบบันทึก ภาพถ่าย ฟิล์ม และสิ่งอื่น ๆ ในท�ำนองนี้ “การจ� ำ กั ด ให้ ท ราบเท่ า ที่ จ� ำ เป็ น ” หมายความถึง หลักการที่ใช้พิจารณาในการให้ สิทธิเ์ ข้าถึงทีเ่ ป็นความลับของทางราชการแก่บคุ คล ผู้จ�ำเป็นต้องทราบ เพื่อปฏิบัติภารกิจให้ลุล่วงไป ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทาง ราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ๑. ระเบียบนี้ใช้แทน รปภ.เกี่ยวกับเอกสาร พ.ศ. ๒๕๑๗ ๒. เน้นถึงวิธีการรักษาความลับมิให้รั่วไหล และวิธีการคุ้มครองข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ๓. ต้องการให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับการด�ำเนินการของรัฐ แต่มีข้อ ยกเว้น หากเปิดเผยจะเกิดความเสียหายต่อประเทศ ชาติ/ผลประโยชน์ชาติ

ความจ�ำเป็นที่ต้องมีการ รปภ.

38 รักษาดินแดน

วารสาร

เป็นมาตรการในเชิงรับหรือการป้องกัน ซึง่ จะ กระท�ำเพือ่ ความมุง่ หมายในการประกันความส�ำเร็จ ของภารกิจในด้านการปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อการ รักษาชีวิตและทรัพย์สินและสิ่งที่เป็นข้อมูลและ ข่าวสารลับของทางราชการ

ข้อพึงระลึกในการ รปภ.

๑. ไม่มีมาตรการ รปภ.ใดที่มีประสิทธิภาพ สูง ถาวร ๑๐๐% (เป็นมาตรการเชิงรับ) ๒. ต้องวางมาตรการเชิงรุกด้วย (การหาข่าว สืบสวน จับกุม) โดยการสนับสนุนจากองค์การ รปภ. ๓. การ รปภ.ที่ดีต้องมี “จุดอ่อนน้อยที่สุด” ๔. มาตรการทัง้ ปวงต้องตรวจสอบเป็นประจ�ำ ๕. ซั ก ซ้ อ มตามขั้ น ตอนตามมาตรการ ที่วางไว้ ๖. จนท.รปภ.ต้ อ งมี วิ นั ย และจิ ต ส� ำ นึ ก ในการ รปภ.ตลอดเวลา ๗. “การจัดการให้ทราบเท่าทีจ่ ำ� เป็น” เป็น หลักส�ำคัญในการ รปภ.

จุ ด อ่ อ นที่ จ ะเป็ น อั น ตรายต่ อ ส่ ว น ราชการ

๑. การบ่อนท�ำลายชื่อเสียงของหน่วยงาน ๒. การบ่อนท�ำลายความซื่อสัตย์ จงรักภักดี ของพนักงานต่อหน่วยงาน ๓. การจารกรรมข่าวสารลับของหน่วยงาน ๔. การเรี ย กร้ อ งสิ ท ธิ์ ต ่ า ง ๆ ของการ ปฏิบัติงาน ๕. การประมูลผู้ชำ� นาญการนักวิชาการ ๖. สภาวะตึงเครียดทางการเมือง การก่อ การร้าย การรวมกลุ่มผลประโยชน์ ส�ำหรับข้อมูลที่จะขอแนะน�ำในวันนี้ เกี่ยว กับการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับเอกสาร มัก พบเห็นอยูเ่ ป็นประจ�ำส�ำหรับส่งเอกสารประเภทลับ ไม่ว่าจะเป็นการส่งทางไปรษณีย์ หรือจัดส่งโดย เจ้าหน้าที่ของหน่วยเองก็ตาม มักปฏิบัติไม่ถูกต้อง และไม่เป็นไปตามระเบียบดังกล่าวข้างต้น


๑.๒ ระหว่างหน่วยงาน ระบุว่าให้บรรจุ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ภายในประเทศ ซองหรือภาชนะทึบแสง ๒ ชัน้ ซองหรือภาชนะชัน้ ใน ระบุเลขที่หนังสือ ชื่อ หรือต�ำแหน่งผู้รับ หน่วยงาน และระหว่างประเทศ ผู้ส่งท�ำเครื่องหมายแสดงชั้นความลับทั้งด้านหน้า ๑. ส่งภายในประเทศ ๑.๑ ภายในหน่วยงานเดียวกัน ใช้ใบปก และด้านหลัง ส่วนซองหรือภาชนะชัน้ นอก ท�ำเหมือน ซองหรือภาชนะชั้นใน แต่ไม่ต้องแสดงชั้นความลับ ข้อมูลข่าวสารลับปิดทับ

รักษาดินแดน

วารสาร

การส่งและการรับ

39


40 รักษาดินแดน

วารสาร

๒. ส่งออกนอกประเทศ ได้ ๓ ทาง  ถุงเมล์การทูต  จนท.ทางการทูตถือไป  ทางโทรคมนาคม ไปรษณียล์ งทะเบียน ฯลฯ ในใบตอบรับจะระบุเลขที่หนังสือส่ง ว.ด.ป. จ�ำนวนหน้า หมายเลขฉบับ ห้ามระบุชั้นความลับ

และชื่อเรื่อง เก็บรักษาใบตอบรับนี้จนกว่าจะได้ รับคืนหรือยกเลิกชั้นความลับหรือท�ำลายข้อมูล ข่าวสารลับแล้ว นายทะเบียนข้อมูลข่าวสารลับ เป็นผู้ลงชื่อในใบตอบรับแล้วส่งคืนหน่วยงานผู้ส่ง แล้วน� ำ เอกสารข้อ มู ลข่าวสารลับไปลงทะเบีย น เพื่อด�ำเนินการต่อไป


การคืนใบตอบรับ

๑. กรณีน�ำสารต้องรีบคืนให้แก่ จนท. น�ำสารผู้นั้นทันที ๒. กรณีไม่ใช่การน�ำสาร ต้องรีบคืนผู้ส่งตามสายงาน

ผู้รับตามการจ่าหน้า

รักษาดินแดน

วารสาร

๑. ระบุเฉพาะชื่อ (ประสงค์ให้เจ้าตัวเปิดซองเอง)

41


๒. ระบุทั้งชื่อและต�ำแหน่ง (ประสงค์ให้เจ้าตัวเปิดซองเอง)

๓. ระบุตำ� แหน่ง (ประสงค์ให้เจ้าตัวเปิดซองเอง)

การส่งข้อมูลข่าวสารออกนอกหน่วยงานโดยเจ้าหน้าที่น� ำสาร ให้นายทะเบียนข้อมูล ข่าวสารลับลงทะเบียนก่อนส่งออก  จัดผู้อารักขาน�ำสารไปด้วย  ในกรณี ที่ จนท.น� ำ สารไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้ ให้ ผู ้ อ ารั ก ขาการน� ำ สารปฏิ บั ติ หน้าที่แทน แต่ต้องรีบรายงานที่ให้นายทะเบียนฯ ทราบในทันที  ส่งข้อมูลข่าวสารลับทางโทรคมนาคม ไปรษณีย์ลงทะเบียนหรือวิธีอื่นได้ แต่ต้องได้รับ อนุญาตจาก หน.หน่วยงานของรัฐ  ในกรณีทส ี่ ง่ ข้อมูลข่าวสารลับแก่ชอื่ ทีจ่ า่ หน้าซอง ให้ผรู้ บั เอกสารฯ นัน้ แจ้งนายทะเบียนฯ เพื่อลงทะเบียน

42 รักษาดินแดน

วารสาร


หน้าที่ของ จนท.น�ำสาร และผู้อารักขาน�ำสาร รปภ. ข้อมูลข่าวสารลับให้ปลอดภัย  ส่ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารแก่ น ายทะเบี ย นข้ อ มู ล ข่ า วสารลั บ ถ้ า นายทะเบี ย นฯ ไม่ อ ยู ่ ใ ห้ ส ่ ง ผู ้ รั บ ตามจ่าหน้า ถ้าไม่อยู่ให้น�ำข้อมูลข่าวสารลับดังกล่าวไปเก็บที่หน่วยงานของตน แล้วแจ้งให้ นายทะเบียนฯ บันทึกไว้ใน ทขล. ถ้าไม่สามารถเดินทางกลับไปภายในวันเดียวกัน ให้เก็บไว้ ในที่ที่ปลอดภัย แล้วจึงส่งมอบนายทะเบียนฯ ต่อไป 

การส่ ง การเสนอ และการเวี ย นเอกสาร ลับที่สุด, ลับมาก และลับ ภายในส่วนราชการซึ่ง ในบริเวณเดียวกัน จะต้องกระท�ำโดยเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบในเรื่องนั้นหรือผู้มีอ�ำนาจหน้าที่เข้าถึง เอกสารดังกล่าวเท่านั้น และต้องใช้ปกเอกสารลับ ปิดทับเอกสาร เพื่อป้องกันผู้อื่นดูข้อความภายใน และเพือ่ เป็นการเตือนให้ระมัดระวังการรักษาความ ปลอดภัยแก่เอกสารแต่ละชั้นความลับ

หากจ�ำเป็นต้องใช้เจ้าหน้าที่อื่น ๆ นอกจาก ที่กล่าวมาแล้วในวรรคแรก เจ้าหน้าที่ผู้นั้นต้องเป็น ผูท้ ขี่ นึ้ ทะเบียนความไว้วางใจไม่ตำ�่ กว่าชัน้ ความลับ ของเอกสารนั้น การส่งออกนอกส่วนราชการ เอกสารนั้นลับ จะต้องบรรจุซองหรือห่อสองชัน้ อย่างมัน่ คง ซองหรือ ห่อชั้นนอกต้องทึบแสง หากต้องการใบรับเอกสาร ก็ให้บรรจุใบรับนั้นไว้ในซองหรือห่อชั้นในร่วมกับ เอกสารด้วย (ตามตัวอย่างข้างต้น)

รักษาดินแดน

วารสาร

สรุป

43


กลุ่มประเทศอาเซียน พล.ท.ทรงพล ไพนุพงศ์

44 รักษาดินแดน

วารสาร

 กองทัพอากาศฟิลปิ ปินส์ ตกลงใจจั ด ซื้ อ เครื่ อ งบิ น ฝึ ก โจมตี ไอพ่นรุน่ ใหม่แบบที/เอ-๕๐(T/A-50) จ�ำนวน ๑๒ เครือ่ ง ราคา ๕๙๑.๓ ล้าน เหรียญสหรัฐ เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ จากประเทศเกาหลีใต้ โดยจะขอรั บ มอบทั น ที ๒ เครื่ อ ง เพื่ อ น� ำ มาฝึ ก นั ก บิ น และเตรี ย ม ความพร้ อ มให้ กั บ เจ้ า หน้ า ที่ ภ าค พื้นดิน ส่วนที่เหลืออีก ๑๐ เครื่อง จะรับมอบตามสัญญา เครื่องบิน ที/เอ-๕๐ ขนาดยาว ๑๓.๑ เมตร ช่วงปีก ๙.๔๕ เมตร สูง ๔.๙๔ เมตร เครื่องยนต์ เอฟ๔๐๔-จีอี-๑๐๒ ให้ แรงขับ ๑๗,๗๐๐ ปอนด์ ความเร็ว ๑.๕ มัค ปืนกลอากาศขนาด ๒๐ มิลลิเมตร (ชนิด ๓ ล�ำกล้อง) เรดาร์ ควบคุมการยิง อีแอล/เอ็ม-๒๐๓๒ จรวดน� ำ วิ ถี ร ะยะใกล้ อากาศ-สู ่ อากาศ เอไอเอ็ม-๙ จรวดน�ำวิถโี จมตี ภาคพืน้ ดิน อากาศ-สู-่ พืน้ เอจีเอ็ม-๖๕ มาเวอร์รคิ กองทัพอากาศฟิลปิ ปินส์ จะได้ รั บ มอบเครื่ อ งบิ น ครบตาม โครงการในปี พ.ศ. ๒๕๕๖  กองทัพอากาศมาเลเซีย เพิ่ ม ขี ด ความสามารถเครื่ อ งบิ น

T/A-50

ขับไล่โจมตี เอฟ/เอ-๑๘ดี จ�ำนวน ๘ เครื่อง สังกัดฝูงบิน ๑๘ ฐานทัพ อากาศบั ต เตอร์ เ วิ ร ์ ท ด้ ว ยการ จัดซือ้ กระเปาะน�ำร่อง (ALFLIR: AN/ ASQ-228) จ�ำนวน ๖ ระบบ ราคา AN/ASQ-228 ๗๒ ล้านเหรียญสหรัฐ เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ กระเปาะมี น�้ำหนัก ๑๙๑ กิโลกรัม ขนาดยาว ๑๘๓ เซนติเมตร ติดตั้งบริเวณใต้ล�ำตัว ของเครื่องบิน กระเปาะมีระยะตรวจการณ์ไกล ๔๘ กิโลเมตร เพื่อจะเพิ่ม ขีดความสามารถในการโจมตีให้มีความแม่นย�ำมากยิ่งขึ้น กองทัพอากาศ มาเลเซียจะได้รับมอบกระเปาะน�ำร่องในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ กองทัพอากาศมาเลเซียเตรียมรับมอบเครือ่ งบินเฮลิคอปเตอร์  ค้นหาและกูภ้ ยั รุน่ ใหม่แบบ อีซ-ี ๗๒๕ จัดซือ้ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ จ�ำนวน ๑๒ เครื่อง จากยูโรคอปเตอร์ เครื่องบินขนาดยาว ๑๙.๕ เมตร สูง ๔.๖ เมตร


เส ้ น ผ ่ าศู นย ์ กล า ง ใ บ พั ด ห ลั ก ๑๖.๒ เมตร (ใบพัดชนิดห้ากลีบ) น�้ ำ หนั ก ปกติ ๕,๓๓๐ กิ โ ลกรั ม น�้ ำ หนั ก บิ น ขึ้ น สู ง สุ ด ๑๑,๒๐๐ กิ โ ลกรั ม เครื่ อ งยนต์ เ ทอร์ โ บ S-61A4A ชาร์ ฟ ขนาด ๒,๓๘๒ แรงม้ า (สองเครื่องยนต์) ความเร็ว ๓๒๔ กิโลเมตรต่อชั่วโมง พิสัยบิน ๘๕๗ กิโลเมตร เพดานบินสูง ๖,๐๙๕ เมตร เจ้าหน้าที่ประจ�ำเครื่อง ๒ นาย และบรรทุ ก ทหารได้ ๒๘ นาย น� ำ เข้ า ประจ� ำ การทดแทนเครื่ อ งบิ น เฮลิคอปเตอร์รนุ่ เก่าแบบ เอส-๖๑เอ๔เอ (S-61A4A) นูรี่ จะได้รบั มอบเครือ่ ง บินครบตามโครงการในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ กองทั พ เรื อ พม่ า จั ด ซื้ อ  เรือฟรีเกตชั้นเจียงฮู-๒ (Jianghu-2) Mahar Bandoola จ� ำ นวน ๒ ล� ำ เมื่ อ เดื อ นมี น าคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นเรือรบเก่า (ทีต่ อ่ ขึน้ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ และ พ.ศ. ๒๕๓๑) จะท� ำ การปรั บ ปรุ ง ใหม่ ที่ อู ่ เ มื อ ง เซี่ยงไฮ้ก่อนที่จะน�ำเข้าประจ�ำการ เรือขนาดยาว ๑๐๓.๒ เมตร ระวาง ขับน�้ำ ๑,๙๖๐ ตัน เครื่องยนต์ดีเซล ขนาด ๑๖,๐๐๐ แรงม้า (๒ เครื่อง) ความเร็ว ๒๕ นอต ปืนหลักล�ำกล้องคู่ ขนาด ๑๐๐ มิลลิเมตร (สองป้อม) ปืนต่อสู้อากาศยานล�ำกล้องคู่ ขนาด ๓๗ มิลลิเมตร (สี่ป้อม) จรวดปราบ เรือด�ำน�ำ ้ อาร์บยี -ู ๑๒๐๐ จรวดน�ำวิถตี อ่ ต้านเรือรบชนิดแท่นยิงคู่ (สองแท่น) เรือรบมีชื่อใหม่ว่า เอฟ-๒๑ (UMS. Mahar Bandoola) และเอฟ-๒๓ (UMS. Mahar Thiha Thura) เมื่อปรับปรุงเสร็จแล้วจะมีระบบอาวุธใหม่

คือ จรวดน�ำวิถี เรือ-สู่- เรือ แบบ ซี - ๘๐๒ น�้ ำ หนั ก ๗๑๕ กิ โ ลกรั ม หัวรบหนัก ๑๖๕ กิโลกรัม เครือ่ งยนต์ เทอร์โบเจ็ต ความเร็ว ๐.๙ มัค น�ำวิถี ด้วยเรดาร์ และระยะยิงไกล ๑๒๐ กิโลเมตร จะท�ำให้กองทัพเรือพม่า สามารถปฏิ บั ติ ก ารทางทะเลได้ ไกลยิ่งขึ้น เป็นเรือรบแบบเดียวกัน กั บ เรื อ ฟรี เ กตชั้ น เจ้ า พระยาของ กองทั พ เรื อ ไทย จ� ำ นวน ๔ ล� ำ (เรื อ รบหลวงกระบุ รี และเรื อ รบ

หลวงสายบุรี ได้รบั การปรับปรุงใหม่ โดยการติดตัง้ จรวดน�ำวิถี เรือ-สู-่ เรือ แบบ ซี-๘๐๒ แล้ว)

รักษาดินแดน

วารสาร

Jianghu-2

45


“ ข�ำๆ ” โดย ป๋าชาติ

ความ แตกต่าง

ความแตกต่างระหว่าง “ความลับ” กับ “ของลับ” “ความลับ” เมื่อมีการเปิดเผยขึ้นมาเพียงครั้งเดียว ความลับก็จะไม่เป็นความลับอีกต่อไปแล้ว “ของลับ” ไม่ว่าจะเปิดเผยกี่ครั้งก็ตาม ของลับก็ยังเป็นของลับอยู่

ร่างกายไม่ยอมรับ

กณิกา เป็นห่วง รมณี เพื่อนร่วมอาชีพขายร่างกายด้วยกันที่จะต้องรับการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ เธอเข้าไปหาหมอ “คุณหมอแน่ใจหรือว่าร่างกายของเพื่อนหนูจะไม่ปฏิเสธอวัยวะ” กณิกาถาม “เพื่อนคุณก็อายุแค่ ๓๐ ร่างกายก็แข็งแรงดี ไม่น่าจะเป็นอะไร ว่าแต่ว่า เพื่อนคุณท�ำอาชีพอย่างนี้มานาน เท่าไรแล้ว” หมอถาม “ก็ตั้งแต่อายุ ๒๐ แหละค่ะ” “ก็ตั้ง ๑๐ ปีมาแล้ว ไม่เคยปฏิเสธอวัยวะเลยนี่ ครั้งนี้คงไม่ละมั้ง”

ฝันดี

ภรรยาตื่นมากลางดึก ปลุกสามีขึ้นบอกว่า “นี่คุณ ฉันฝันดีจัง ฝันว่าคุณให้แหวนเพชรในวันเกิดของฉัน เธอลองท�ำนายซิว่ามันหมายความว่ายังไง” “ไม่รู้ซี เออ พรุ่งนี้วันเกิดเธอแล้วใช่ไหม พรุ่งนี้เธอคงรู้เองแหละ” รุง่ ขึน้ สามีไปท�ำงาน ตอนเย็นกลับมา ยืน่ ห่อของขวัญให้ ภรรยารีบเปิดดู ในห่อเป็นหนังสือชือ่ “วิธที ำ� นายฝัน”

คนขี้ลืม

46 รักษาดินแดน

วารสาร

จาฎุพัจน์ไปหาหมอด้วยท่าทีมีความวิตกกังวล หมอถามว่าเขามีเรื่องสงสัยอะไรหรือ “ไม่รู้ว่าผมเป็นอะไร หมู่นี้ผมขี้ลืมขนาดหนัก จ�ำอะไรไม่ได้เลย ผมมานี่จอดรถไว้ที่ไหนก็จ�ำไม่ได้ จ�ำไม่ได้ว่าผมมานี่ท�ำไม แล้วจะไปไหนต่อไป หมอช่วยผมได้ไหมครับ ช่วยบอกว่าผมจะต้องท�ำอะไรก่อน” “เอ้อ คุณจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลล่วงหน้าก่อนละกัน แล้วผมจะบอกว่าคุณจะต้องท�ำอะไร” หมอบอกด้วยน�้ำเสียงที่ปรานี


ร าสรขอสมั าวนดแคนรเป็ ดิานษสมาชิ กรักชิการัมกสษาดิ ยุาอนอแดนวารสาร ต่อข  ราส ราวขอต่ นดแอนอายุ ดิาษสกมาชิ รักชิการัมกสษาดิ นป็เนรคแดนวารสาร มัสอข  ๒๕๐

พ.อ.เกรียริงศัศิมกย้ดิแ์ แย้ดิ์กมศัศิงรยิ รีกเ.อ.พ

วล้แราสราวนดแนดิาษกรั

รักษาดินแดนวารสารแล้ว

พ.อ.เกรียงศักดิ์ ริแย้ ศิมมย้ศิแริ ดิ์กศังยรีกเ.อ.พ


ห้างหุ้นจำ�กัด

ส่วนรวมพลชัย เอนจิเนียริ่ง โดย คุณจำ�นง - คุณรัชดาภรณ์ (คุณไฝ) โกวิทอิสริยะ เลขที่ ๘๘ ซอยกรุงธนบุรี ๖ ถนนเจริญนคร แขวงบางลำ�พูล่าง เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร

โทร. ๐-๒๔๓๗-๖๐๖๖, ๐๘-๑๓๕๐-๗๐๔๖ โทรสาร ๐-๒๔๓๗-๗๖๕๒

RUAMPOLCHAI@HOTMAIL.COM


ห้างหุ้นจำ�กัด

ส่วนรวมพลชัย เอนจิเนียริ่ง โดย คุณจำ�นง - คุณรัชดาภรณ์ (คุณไฝ) โกวิทอิสริยะ เลขที่ ๘๘ ซอยกรุงธนบุรี ๖ ถนนเจริญนคร แขวงบางลำ�พูล่าง เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร

โทร. ๐-๒๔๓๗-๖๐๖๖, ๐๘-๑๓๕๐-๗๐๔๖ โทรสาร ๐-๒๔๓๗-๗๖๕๒

RUAMPOLCHAI@HOTMAIL.COM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.