รายงานผลการปฏิบัติงาน อบจ สุราษฎร์ธานี ประจำปี 2560

Page 1







CONTENTS สารบัญ

สารจากนายก ข้อมูลทั่วไปจังหวัดสุราษฎร์ธานี คณะผู้บริหาร สมาชิกสภา หัวหน้าส่วนราชการ แผนพังโครงสร้างส่วนราชการ จำนวนข้าราชการ วิสัยทัศน์ พันธกิจ, จุดมุ่งหมายการพัฒนา ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560 - 2562) ข้อบัญญัติ อบจ. เรื่องงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ผลการดำเนินโครงการตามข้อบัญญัติ อบจ. เรื่องงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ผลการใช้จ่ายงบประมาณตามข้อบัญญัติ อบจ. เรื่องงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 รายรับจริง ปีงบประมาณ 2560 รายจ่ายจริง ปีงบประมาณ 2560 แผนภูมิแสดง รายรับ - รายจ่าย หน่วยงานตรวจสอบภายใน แผนการตรวจสอบประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2560 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการท่องเที่ยวทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการบริหารจัดการท้องถิ่นที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล ร.ร.อบจ.สุราษฎร์ธานี 1 (ดอนสักผดุงวิทย์) ร.ร.อบจ.สุราษฎร์ธานี 2 (บ้านดอนเกลี้ยง) ร.ร.อบจ.สุราษฎร์ธานี 3 (บ้านนา) โรงพยาบาล อบจ.สุราษฎร์ธานี สวนสาธารณะเกาะลำพู บ่อน้ำร้อนท่าสะท้อน รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

4 6 10 12 18 20 21 22 23 25 26 27 28 29 30 31 32 36 38 48 54 58 64 70 72 74 76 78 80 82


ารนายก อบจ.

ทนงศักดิ์ ทวีทอง การสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วม เป็นแนวทางการบริหารจัด การท้องถิ่นยุคใหม่ ในกระแสโลกาภิ วั ต น์ ข อง สังคมประชาธิปไตย กระบวนการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนถื อ เป็ น หลั ก สากลที่อารยะประเทศให้ความสำคัญ และเป็ น ประเด็ น หลั ก ที่ สั ง คมไทย ต้องให้ความสนใจเพื่อพัฒนาการเมือง เข้ า สู่ ร ะบอบประชาธิ ป ไตยแบบมี ส่วนร่วมตามหลักธรรมาภิบาล หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม จะต้องมีการปรับตัวเพื่อเปิดโอกาสให้ ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ เพื่อสร้างความโปร่งใส และส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชน ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการตัดสินใจ ของหน่วยงาน สร้างสมานฉันท์ของคน ในสังคม และตอบสนองต่อปัญหาและ ความต้ อ งการของประชาชนอย่ า ง แท้จริง ตามหลักทีเ่ รียกว่า “การบริหาร ราชการแบบมีส่วนร่วม”

8

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นขนาดใหญ่ มีหน้าที่ในการ ให้บริการสาธารณะตามกฎหมาย การมีหน้าที่ในการให้บริการสาธารณะ ย่อมมีผลกระทบกับประชาชน อย่างกว้างขวางที่ปฏิเสธไม่ได้ ด้วยข้อจำกัดของทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดทั้งคน งบประมาณ การบริหาร จัดการ และเครื่องไม้เครื่องมือ จึงต้องอาศัยกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบาย และการตัดสินใจต่างๆ ที่มีผลกระทบกับประชาชนตามแนวทางการบริหารราชการแนวใหม่ที่เน้นประชาชน เป็นศูนย์กลาง องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงกำหนดนโยบายทางการบริหารเพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับ ประชาชนภายใต้แนวคิด “ทำงานโดยหลักธรรมาภิบาล บริหาร อบจ.โปร่งใส ประชาชนมีสว่ นร่วม” มุง่ มัน่ ที่จะพัฒนาจังหวัดสุราษฎร์ธานีให้เป็นเมืองแห่งความสุข ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีในทุกมิติ ซึ่งได้กำหนด วิสัยทัศน์ “ท้องถิ่นน่าอยู่ สู่คุณภาพชีวิตที่ดี มีหลักธรรมาภิบาล” กล่าวโดยสรุป นโยบายการมีส่วนร่วม ถือเป็นแนวทางสำคัญในการบริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งสอดคล้องระหว่างปรัชญา การปกครองส่วนท้องถิ่นกับหลักธรรมาภิบาล และจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีในหลายๆ ประการ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ภาพรวมการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความเป็นเลิศ โดดเด่นในด้านความโปร่งใส ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน และมียุทธศาสตร์ อีก 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการท่องเที่ยว ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการบริหารจัดการท้องถิ่นที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล ซึ่งช่วยกำหนดทิศทางในการบริหารงานในภาพรวมขององค์การบริหารงานส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี รวมถึง พันธกิจอีก 10 ด้าน ที่เรานำมาผนวกรวมกันเพื่อที่จะขับเคลื่อนการทำงานขององค์การบริหารส่วน จังหวัดสุราษฎร์ธานีอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลอันดียิ่งที่ ผมขอขอบพระคุณพี่น้องชาวสุราษฎร์ธานีทุกท่าน ที่ตลอดระยะเวลาในการบริหารงานที่ผ่านมา พี่น้องประชาชนได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งในทุกๆ ด้าน และขอสัญญาว่าผมจะทุ่มเทแรงกาย แรงใจ ในการปฏิบัติหน้าที่พร้อมด้วยผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีทุกท่าน และขอขอบคุณ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้าราชการ และพนักงานในสังกัด ที่ได้ร่วมกันขับเคลื่อน ภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้ประสบผลสำเร็จเกิดประโยชน์แก่พี่น้องประชาชนชาว สุราษฎร์ธานีอย่างสูงสุด และยั่งยืนเพื่ออนาคตของพวกเรา ชาวเมืองคนดี สุราษฎร์ธานี ที่รักทุกท่าน (นายทนงศักดิ์ ทวีทอง) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

9


102 ปี นามพระราชทาน

“สุราษฎร์ธานี”

จังหวัดสุราษฎร์ธานีมักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้นๆ ว่า “สุราษฎร์” ใช้อักษรย่อ “สฎ” เป็นจังหวัด ในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศและมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของ ประเทศ เป็นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และมี แหล่งท่องเที่ยวติดอันดับโลกและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง

จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รับพระราชทานนาม จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ครัง้ เสด็จ พระราชดำเนินเลียบมณฑลปักษ์ใต้ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ.2458 พระองค์ได้ทรงพิจารณาว่า ประชาชนทัว่ ไปมีกริ ยิ ามารยาทเรียบร้อย และทรงทราบ จากผู้ปกครองเมืองว่า ประชาชนในเมืองนี้อยู่ใน ศีลธรรมเคารพและยึดมั่นในพระพุทธศาสนา จึงได้ โปรดเกล้าเปลี่ยนชื่อเมืองเดิม จากเมืองไชยามาเป็น เมืองสุราษฎร์ธานีมาจวบจนปัจจุบันครบรอบ 102 ปี 10

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

ตราประจำจังหวัด คือ พระบรมธาตุ ไชยา ซึ่งมีศิลปะแบบศรีวิชัยตั้งอยู่ ณ วัดพระ บรมธาตุไชยาราชวรวิหาร โดยสร้างขึ้นเมื่อ ประมาณพุทธศตวรรษ ที่ 13 - 14 และเป็น สถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า


คำขวัญประจำจังหวัด เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่อย หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ

ดอกบัวผุด ต้นเคี่ยม

Cotylelobium melanoxylon

Rafflflesia kerrii ตั้งอยู่อำเภอพนม

ตั้งอยู่อำเภอวิภาวดี ลักษณะรูปร่างของจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับ “ผีเสื้อที่กำลังกางปีกโบยบินอยู่” แบ่งการปกครองออกเป็น 19 อำเภอ 131 ตำบล 1,074 หมู่บ้าน มีรายชื่ออำเภอดังนี้ 1. อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี 6. อำเภอเคียนซา 11. อำเภอบ้านนาเดิม 16. อำเภอพระแสง 2. อำเภอกาญจนดิษฐ์ 7. อำเภอชัยบุรี 12. อำเภอบ้านนาสาร 17. อำเภอดอนสัก 3. อำเภอเกาะสมุย 8. อำเภอไชยา 13. อำเภอบ้านตาขุน 18. อำเภอวิภาวดี 4. อำเภอเกาะพะงัน 19. อำเภอเวียงสระ 9. อำเภอท่าชนะ 14. อำเภอพุนพิน 5. อำเภอคีรีรัฐนิคม 10. อำเภอท่าฉาง 15. อำเภอพนม ลักษณะทางภูมิประเทศ

จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของ ภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเล และเป็นเกาะ เกาะในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุราษฎร์มที ง้ั ขนาดใหญ่ และขนาดเล็ก เกาะขนาดใหญ่ทเ่ี ป็นทีร่ จู้ กั เช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน และหมู่เกาะอ่างทอง ลักษณะทางภูมิอากาศ

จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รบั อิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่ พัดผ่านอ่าวไทย ดังนั้น จึงทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝน ยาวนานมาก โดยกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือน มกราคม โดยจังหวัดสุราษฏร์ธานี มีอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 21.16 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 34.51 องศาเซลเซียส และ ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 129.59 มิลลิเมตร ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

11


ประชากร

ประชากรส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 97.76 และมีวดั จำนวนมากและเพิม่ ขึน้ เป็น 343 แห่ง มีผู้นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 1.82 และมีมัสยิดจานวน 46 แห่ง ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต์และอื่นๆ อาชีพ

การประกอบอาชีพของประชากรภาคเกษตร ร้อยละ 26.26 แต่มแี นวโน้มลดลง รองลงมา ได้แก่ ด้านโรงแรมและภัตตาคาร 18.1 ด้าน อุตสาหกรรม ร้อยละ 14.0 และด้านขายส่งขายปลีก การซ่อมแซม ยานยนต์และจักรยานยนต์ ร้อยละ 11.7 ทางด้านอุตสาหกรรมนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นอุตสาหกรรมที่ต่อเนื่องจากผลผลิตทางเกษตรกรรม เช่น อุตสาหกรรมปลาป่น อาหารทะเลแช่แข็ง อาหารทะเลกระป๋อง น้ำมันปาล์มดิบ อุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้องกับยางพารา ซึ่งในจังหวัดมีจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 730 โรงงาน นอกจากนั้น ยังมีการเลี้ยงปศุสัตว์และการทำประมง โดยปศุสัตว์ที่นิยมเลี้ยงกันมาก เช่น โค กระบือ สุกร ไก่ แพะ โดยปศุสัตว์ที่มีมูลค่าผลผลิตมากที่สุด คือ โค สุกร ไก่ กระบือ และเป็ด ตามลำดับ ส่วนด้านการประมงนัน้ มีทง้ั การประมงน้ำเค็ม น้ำกร่อย การเพาะเลีย้ งสัตว์นำ้ ชายฝัง่ และการประมงน้ำจืด สถานการณ์ยางพารา

ยางพารามีผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 3 ปี (พ.ศ.2557 - 2559) เท่ากับ 253 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งปี 2559 มีผลผลิตต่อไร่ เป็น 253 ลดลงจากปี 2558 (ปี 2558 เท่ากับ 255 กิโลกรัมต่อไร่) มีพื้นที่ให้ผลผลิต 2,265 ล้านไร่ ราคายางพาราในจังหวัดฯ ปี 2559 เพิ่มลดลงจากปี 2558 เล็กน้อย จากราคา 48.80 บาท เป็น 51.02 บาท/กก. และเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2560 ยางแผ่นดิบชั้น 3 กิโลกรัมละ 68.22 บาท คิดเป็น มูลค่าประมาณ 45,137 ล้านบาท

สถานการณ์ปาล์มน้ำมัน

มีผลผลิตต่อไร่เฉลีย่ 3 ปี (พ.ศ.2557 - 2559) เท่ากับ 3,063 กิโลกรัม ต่อไร่ ซึง่ ปี 2559 ลดลงเป็น 2,765 กิโลกรัมต่อไร่ ปี 2558 3,083 กิโลกรัมต่อไร่ ปี 2559 มีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน 1.03 ล้านไร่ ราคา ผลปาล์มสดเฉลีย่ กิโลกรัมละ 5.41 บาท น้ำมันปาล์มดิบ กิโลกรัมละ 25.35 บาท คิดเป็นมูลค่าปาล์มน้ำมัน ประมาณ 15,447 ล้านบาท การสกัดปาล์มน้ำมันต้องใช้วัตถุดิบ 1.48 ล้านบาทต่อปี การสกัด Biogas, Biomass ต้องใช้วัตถุดิบประมาณ 143,720 ตันต่อปี

สถานการณ์ไม้ผล 4 พืชหลัก มีรายละเอียด ดังนี้ พืช

เงาะ ทุเรียน มังคุด ลองกอง

12

ผลผลิตเฉลี่ย (ปี 2557-2559) (ตัน) ราคาเฉลี่ย (ปี 2557-2559) (บาท) มูลค่าเฉลี่ย (ปี 2557-2560) (บาท)

30,728 27,699 5,987 9,121

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

24.87 48.07 30.20 18.00

764,205,360 1,331,490,930 108,827,356 173,299,000


การประมงและการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง

การประมงและการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง (กุ้งกุลาดำ, กุ้งขาวแวนนาไม) มีผลผลิตต่อไร่ 3 ปี (พ.ศ. 2557 - 2559) จำนวน 24,789,666 กิโลกรัม มีมูลค่าปี 2559 เท่ากับ 5,807.89 ล้านบาท สถานการณ์ปศุสัตว์

สถานการณ์ปศุสัตว์ มีปริมาณการเลี้ยงเพิ่มขึ้น ได้แก่ โคเนื้อ แพะ ไก่ สุกร และเป็ด ปริมาณ การเลี้ยงลดลง ได้แก่ กระบือ สถานะฟาร์มที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP

จากข้อมูลย้อนหลัง ปี 2555-2557 พบว่าด้านพืชลดลง แต่ด้านปศุสัตว์ประมงมีปริมาณฟาร์ม ที่ได้รับการรับรองเพิ่มขึ้น สถาบันเกษตรกร มีสมาชิกทางสหกรณ์การเกษตรมากที่สุดร้อยละ 58.42 โดยมีทุนเรือนหุ้น คิดเป็นร้อยละ 6.3 เมื่อเทียบกันกับทุนเรือนหุ้นรวม ฐานอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตรและอาหาร มีโรงงานเพิ่มขึ้นทุกปี โดยในปี 2559 มีโรงงาน ทั้งสิ้น 1,231 โรง เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 20.69 เทียบจากปี 2558 เงินลงทุน 48,208.99 ล้านบาท สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยว

สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยว GPP สาขาภัตตาคารและโรงแรมมีสัดส่วนขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ปี 2558 เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 30.86 (3 ปีย้อนหลัง ปี 2556-2559) แต่ปี 2559 มีผู้มาเยือนประมาณ 144,119 คน ลดลงร้อยละ 2.02 เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ทางการเมือง นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ ประมาณ ร้อยละ 58 เป็นนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ รองลงมาเป็นชาวไทย รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นทุกปี รายได้ปี 2559 ประมาณ 79,135.76 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.03 การท่องเที่ยวแบบค้างคืนมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นจากอัตราการเข้าพักที่เพิ่มขึ้นค่าใช้จ่ายเพื่อการท่องเที่ยวเฉลี่ยต่อคนเพิ่มขึ้นทุกปี โดยนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติเป็นกลุ่มที่ใช้จ่ายสูงที่สุด ข้อมูลด้านสังคมและความมั่นคง

โครงสร้างแรงงานปี 2559 จำนวนแรงงาน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 เป็น 616,084 คน คิดเป็นร้อยละ 0.24 ผู้มีงานทำลดลง เป็น 612,793 คน คิดเป็นร้อยละ 0.01 ในขณะที่ผู้ว่างงานเพิ่มขึ้นเป็น 3,291 คน คิดเป็นร้อยละ 92.23 เมื่อเทียบกับปี 2558 ผลิตภาพแรงงานเพิ่มขึ้น เนื่องจาก GPP สูงขึ้น แต่ผู้มีทำงาน ลดลง จปฐ. (ปี 2557-2559) จำนวนครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยน้อยกว่าคนละ 30,000 บ./ปี ลดลง เป็น 599 ครัวเรือนจากปี 2558 (633 ครัวเรือน) คิดเป็นร้อยละ 5.37 แต่ปี 2560 เพิ่มขึ้น 1,248 ครัวเรือน เนื่องจากเกณฑ์การวัดรายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 38,000 บ./ปี ขณะที่การออมปี 2560 ลดลงจากปี 2559 จาก 93.46% เป็น 66.70% ข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

พื้นที่ป่าไม้ในปี 2559 จำนวน 2,338,120.13 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปี 2558 จำนวน 2,334,841.56 ไร่ โดยเพิม่ ขึน้ จำนวน 3,278.57 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.14 สัดส่วนของเนือ้ ทีป่ า่ เมือ่ เทียบกับพืน้ ทีจ่ งั หวัดเพิม่ ขึน้ จาก 28.56 เป็น 28.60 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.14 ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

13


คณะผู้บริหาร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

OUR

SURAT THANI P

นายดำรงค์ เทือกสุบรรณ นายก่อเกียรติ อินทรักษ์ รองนายก อบจ.สุราษฎร์ธานี รองนายก อบจ.สุราษฎร์ธานี นายวิวัฒน์ สรรพา นายทนงศักดิ์ ทวีทอง รองนายก อบจ.สุราษฎร์ธานี นายก อบจ.สุราษฎร์ธานี 14

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


R TEAM 1

2

PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

1

3 2

เลขานุการนายก 1 2

นายไชยกฤต เอื้อกฤดาธิการ นายศิลายุทธ์ คงอุดหนุน

ที่ปรึกษานายก 1 2 3

นายพงศ์รัตน์ ปิ่นแก้ว นายปรีชา เรืองศรี นายสมเกียรติ วิรัตน์ ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

15


OU

สมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

SURAT THAN

3

2

นายประมุท สมบูรณ์ลักขณา รองประธานสภา อบจ. 2 นายประสิทธ์ ทับทิมทอง รองประธานสภา อบจ. 3 นางสาวมณฑิรา จำปา เลขานุการสภา อบจ.

1

1

16

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

นายสมชาติ ประดิษฐพร ประธานสภา อบจ.


UR TEAM สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.เมืองสุราษฎร์ธานี

NI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION นายประมุท สมบูรณ์ลักขณา อ.เมืองสุราษฎร์ธานี เขต 1

นายอลงกรณ์ เรืองนุ้ย อ.เมืองสุราษฎร์ธานี เขต 2

นางสุดารัตน์ สมบูรณ์ลักขณา อ.เมืองสุราษฎร์ธานี เขต 3

นายประสิทธ์ ทับทิมทอง อ.เมืองสุราษฎร์ธานี เขต 4

นางสาวมณฑิรา จำปา อ.เมืองสุราษฎร์ธานี เขต 5

ด.ต.วิมล รักบำรุง อ.เมืองสุราษฎร์ธานี เขต 6

สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.กาญจนดิษฐ์

นายธานินท์ นวลวัฒน์ อ.กาญจนดิษฐ์ เขต 1

นางนงเยาว์ จ่าแก้ว อ.กาญจนดิษฐ์ เขต 2

นายปรีชา เพชรรัตน์ อ.กาญจนดิษฐ์ เขต 3

นายนิโรช นวลวัฒน์ อ.กาญจนดิษฐ์ เขต 4

ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

17


สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.พุนพิน

OU

SURAT TH

นายสมพร วัชรภูษิต อ.พุนพิน เขต 1

นายสมชาติ ประดิษฐพร อ.พุนพิน เขต 2

ว่าที่ร้อยตรีกฤษฎา ขมัน อ.พุนพิน เขต 3

สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.เกาะสมุย

นายอำนาจ โชติช่วง อ.เกาะสมุย เขต 1

นายสุวพัฒน์ สมหวัง อ.เกาะสมุย เขต 2

สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.บ้านนาสาร

นายสุชาติ มณีโชติ อ.บ้านนาสาร เขต 1 18

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

นายนพพร จันทบูรณ์ อ.บ้านนาสาร เขต 2


UR TEAM สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.พระแสง

HANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION นายสุเมตตา ชัยสิทธิ์ อ.พระแสง เขต 1

นายนัตธพร อุไรโรจน์ อ.พระแสง เขต 2

สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.เวียงสระ

นายวันชัย จรัส อ.เวียงสระ เขต 1

นายกฤษพณ หวานแก้ว อ.เวียงสระ เขต 2

สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.ไชยา

นายศิริ ศักดิ์ศรี อ.ไชยา เขต 1

นายอภิจัย รจิตานนท์ อ.ไชยา เขต 2 ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

19


สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.เคียนซา

OU

SURAT TH

นายประดิษฐ์ แสงตะวันวงศ์ อ.เคียนซา เขต 1

นายไพศาล หวานแก้ว อ.เคียนซา เขต 2

สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.ท่าชนะ

นายภูมิ เทือกสุบรรณ อ.ท่าชนะ เขต 1

นายบุญยิ่ง ย้งลี อ.ท่าชนะ เขต 2

สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.เกาะพะงัน อ.คีรีรัฐนิคม

นายพิพิธ รัตนรักษ์ อ.เกาะพะงัน 20

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

นายวัชรินทร์ วัฒนประดิษฐ์ อ.คีรีรัฐนิคม


UR TEAM สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.ชัยบุรี / อ.ท่าฉาง / อ.ดอนสัก

HANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION นายปรีติ เชาวลิต อ.ชัยบุรี

นายพิชัย ชมภูพล อ.ท่าฉาง

นายภคสรรค์ จันทร์หุ่น อ.ดอนสัก

สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.บ้านตาขุน / อ.บ้านนาเดิม

นายสถาพร กล่อมเจริญ อ.บ้านตาขุน

นายสันติ พุทธศรี อ.บ้านนาเดิม

สมาชิกสภา อบจ.สุราษฎร์ธานี อ.พนม / อ.วิภาวดี

นายอมรินทร์ ชูเพชร อ.พนม

นายมงคล สาคร อ.วิภาวดี ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

21


หัวหน้าส่วนราชการ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

OUR

SURAT THANI P

นางสาวอภิญญา ดำดี

รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด รักษาราชการแทน ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี 22

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

นางสาววรรณา ตะโฉ รองปลัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี


R TEAM

PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

เรียงลำดับจากซ้ายไปขวา ตั้งแต่แถวบนลงมาถึงแถวล่าง 1. นายสมหมาย นุ้ยแดง หัวหน้าสำนักปลัด อบจ. 2. นายประยูรศักดิ์ รัตนะ ผู้อำนวยการกองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 3. นายอภิรักษ์ ศักดา ผู้อำนวยการกองช่าง 4. นางทิพวรรณ สุราษฎร์ ผู้อำนวยการกองคลัง 5. นายเฉลิมพล บุรินทร์พงษ์ ผู้อำนวยการกองแผนและงบประมาณ 6. นางสุพรรณี พัฒนศิริ ผู้อำนวยการกองพัสดุและทรัพย์สิน 7. นายสุปัญญา ชูเพชร ผู้อำนวยการกองส่งเสริมคุณภาพชีวิต 8. นายทรงวุฒิ รักษา ผู้อำนวยการกองกิจการสภา อบจ. 9. นางยุพาพันธุ์ คงชนะ ผู้อำนวยการกองการท่องเที่ยวและกีฬา 10. นางวิมล บุญรอด ผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ 11. นางสุเนตร เกิดสมบัติ รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

23


แผนผังโครงสร้างส่วนราชการ

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด

หน่วยตรวจสอบภายใน

รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด

รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด

สำนักปลัด อบจ.

กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

1. ฝ่ายบริหารงานทั่วไป 2. ฝ่ายนิติการและการพาณิชย์

1. ฝ่ายบริหารการศึกษา 2. ฝ่ายส่งเสริมการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

กองกิจการสภา อบจ.

กองพัสดุและทรัพย์สิน

1. ฝ่ายการประชุม 2. ฝ่ายกิจการสภา อบจ. 3. ฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน

1. ฝ่ายจัดหาพัสดุและทรัพย์สิน 2. ฝ่ายควบคุมตรวจสอบพัสดุและทรัพย์สิน

กองแผนและงบประมาณ

กองส่งเสริมคุณภาพชีวิต

1. ฝ่ายนโยบายและแผน 2. ฝ่ายงบประมาณและพัฒนารายได้ 3. ฝ่ายตรวจติดตามและประเมินผล แผนงานและโครงการ

กองคลัง 1. ฝ่ายการเงิน 2. ฝ่ายบัญชี 3. ฝ่ายเร่งรัดและจัดเก็บรายได้

กองช่าง 1. ฝ่ายสำรวจและออกแบบ 2. ฝ่ายก่อสร้างและซ่อมบำรุง 3. ฝ่ายเครื่องจักรกล 4. ฝ่ายสาธารณภัยและสิ่งแวดล้อม 5. ฝ่ายผังเมือง

24

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

1. ฝ่ายส่งเสริมพัฒนาอาชีพ 2. ฝ่ายสวัสดิการสังคม

กองการท่องเที่ยวและกีฬา 1. ฝ่ายการท่องเที่ยว 2. ฝ่ายการกีฬา

กองการเจ้าหน้าที่ 1. ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง 2. ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร 3. ฝ่ายวินัยและเสริมสร้างคุณธรรม


บุคลากร

ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีข้าราชการ และบุคลากรที่ปฏิบัติงานทั้งสิ้น จำนวน 459 คน โดยแบ่งตามส่วนราชการที่สังกัด ดังนี้ สังกัด ข้าราชการ (คน) ลูกจ้างประจำ (คน) พนักงานจ้าง (คน) สำนักปลัด อบจ. 14 2 18 กองกิจการสภา อบจ. 11 1 กองแผนและงบประมาณ 12 3 กองคลัง 23 2 69 44 23 กองช่าง กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 14 11 16 3 กองส่งเสริมคุณภาพชีวิต กองพัสดุและทรัพย์สิน 17 1 กองการท่องเที่ยวและกีฬา 11 7 กองการเจ้าหน้าที่ 19 หน่วยตรวจสอบภายใน 2 โรงเรียนในสังกัด อบจ. 70 66 รวม 253 25 181

กราฟแสดงบุคลากร

181

44

17

16

0 0

0 0

0

กองการเจ้าหน้าที่

หน่วยตรวจสอบภายใน

โรงเรียนในสังกัด อบจ.

25

0

กองการท่องเที่ยวและกีฬา

2

0 1

กองพัสดุและทรัพย์สิน

3 0

กองส่งเสริมคุณภาพชีวิต

0 2

กองคลัง

0

0 3

กองแผนและงบประมาณ

กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

0 1

กองกิจการสภา อบจ.

กองช่าง

2

สำนักปลัด อบจ.

7

11

11

14

12

19

23

23 18 11

14

ข้าราชการ 253

66

69

70

พนักงานจ้าง ลูกจ้างประจำ

รวม ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

25


VISION วิสัยทัศน์

26

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

“ท้องถิ่นน่าอยู่ สู่คุณภาพชีวิตที่ดี มีหลักธรรมาภิบาล”


MISSION

พันธกิจ

1. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน มีระบบการวางผังเมือง และสาธารณูปโภค ที่มีประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมให้มีความเข้มแข็งปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3. ส่งเสริมด้านกีฬา การออกกำลังกายและกิจกรรมนันทนาการ 4. ส่งเสริม ปรับปรุง และพัฒนาระบบการศึกษาให้ได้มาตรฐานการจัดการศึกษา 5. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามศักยภาพ 6. ส่งเสริม อนุรักษ์ ทำนุบำรุง ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 7. พัฒนาศักยภาพการบริการสาธารณะสู่ประชาคมอาเซียน 8. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน และส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรม เพื่อยกระดับการท่องเที่ยว จังหวัดสุราษฎร์ธานีสู่สากล 9. ส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม 10. ส่งเสริม พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล

AIM

จุดมุ่งหมายการพัฒนา

1. โครงสร้างพื้นฐานได้รับการพัฒนาให้ได้มาตรฐาน 2. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี 3. ประชาชนได้รับการส่งเสริมพัฒนาด้านอาชีพ การลงทุนและพาณิชยกรรม 4. ประชาชนได้รับความรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถน้อมนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนา การดำรงชีวิต 5. สังคมมีความเข้มแข็ง ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 6. ประชาชนได้รับการส่งเสริมพัฒนาด้านกีฬาและนันทนาการ 7. ระบบการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 8. สังคมเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต และผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามศักยภาพ 9. ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำนุบำรุงศาสนา ส่งเสริม อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป 10. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและยกระดับการท่องเที่ยวจังหวัดสุราษฎร์ธานีให้ได้มาตรฐาน 11. ทรัพยากรธรรมชาติที่ได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟูอย่างยั่งยืนภายใต้การมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน 12. บริหารจัดการองค์กรให้ได้มาตรฐานตามหลักธรรมาภิบาล 13. ส่งเสริม สนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย 14. ส่งเสริมการเทิดทูนสถาบันหลักของชาติ และผู้ทำคุณประโยชน์แก่บ้านเมือง ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

27


แนวทางการพัฒนาและยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน แนวทางการพัฒนา 1. บูรณาการและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน 2. สนับสนุนการจัดทำผังเมืองรวมจังหวัด และสำรวจปรับปรุงข้อมูล จัดทำแผนที่ด้านโครงสร้าง พื้นฐาน และทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. สร้างความเข้มแข็ง และรักษาความสงบเรียบร้อยของชุมชน 3. พัฒนาศักยภาพด้านเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพและส่งเสริมการดำเนินงานตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 4. ส่งเสริมด้านกีฬาและนันทนาการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการศึกษา แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐาน และเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ 2. ขยายโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา 3. พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรด้านการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น แนวทางการพัฒนา 1. ทำนุบำรุงและส่งเสริมกิจกรรมทางด้านศาสนา 2. ส่งเสริม อนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี จารีต ปราชญ์ชาวบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการท่องเที่ยว ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ และยกระดับมาตรฐานด้านการท่องเที่ยว 2. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน 3. ส่งเสริม อนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างเครือข่ายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. ส่งเสริมด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการบริหารจัดการท้องถิ่นที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริมการเทิดทูนสถาบันหลักของชาติและผู้ทำคุณประโยชน์แก่บ้านเมือง 2. ส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค สิทธิเสรีภาพ และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น 3. พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี 28

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560 - 2562) ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560 - 2562) เมือ่ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2559 โดยมีโครงการตามแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560 - 2562) เฉพาะปี พ.ศ.2560 จำนวน 957 โครงการ งบประมาณ 4,658,005,020 บาท สามารถจำแนกตามยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านท่องเที่ยว ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการท้องถิ่นที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาล รวม

โครงการ 463 125 130 31

งบประมาณ (บาท) 3,178,973,800 275,975,760 579,468,220 20,370,000

93

380,361,400

115

222,855,840

957

4,658,005,020

กราฟแสดงจำนวนโครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 1

463 โครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 2

125 โครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 3

130 โครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 4

31 โครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 5

93 โครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 6

115 โครงการ

ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

29


ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด เรื่องงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ประกาศใช้ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด เรื่องงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2559 มี 438 โครงการ งบประมาณ 664,469,126 บาท สามารถจำแนกตามยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านท่องเที่ยว ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการท้องถิ่นที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาล รวม

โครงการ 228 99 119 26

งบประมาณ (บาท) 1,375,916,000 76,350,500 88,571,270 18,650,015

36

56,876,400

72

47,565,702

580

1,663,929,887

กราฟแสดงจำนวนโครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 1

228 โครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 2

99 โครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 3

119 โครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 4

26 โครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 5

36 โครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 6

72 โครงการ

30

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


ผลการดำเนินโครงการตามข้อบัญญัติ องค์การบริหารส่วนจังหวัด

เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ยุทธศาสตร์การพัฒนา

โครงการทั้งหมด

1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต 3. ด้านการศึกษา 4. ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีต ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. ด้านการท่องเที่ยว ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. ด้านการบริหารจัดการท้องถิ่น ที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาล รวม

228 99 119 26

สถานการณ์ดำเนินโครงการ แล้วเสร็จ ระหว่างดำเนินการ ยกเลิกโครงการ 38 189 1 62 3 34 91 16 12 17 0 9

36

14

7

15

72

46

7

19

580

268

222

90 จำนวนโครงการ แล้วเสร็จ

กราฟแสดงงบประมาณรายจ่าย 1

ยุทธศาสตร์ที่ 1

38

ยุทธศาสตร์ที่ 2

ยุทธศาสตร์ที่ 6

62

99

222

9 17 26 7

7

119 268

91

15 14

90

ยุทธศาสตร์ที่ 5

0

ยกเลิกโครงการ

34

12 16

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4

228

580

3

ระหว่างดำเนินการ

189

36

19 46

72

รวม ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

31


ผลการดำเนินโครงการตามข้อบัญญัติ องค์การบริหารส่วนจังหวัด

เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ตั้งไว้ ใช้ไป รอการเบิกจ่าย คงเหลือ 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 1,375,916,000 179,868,880 1,185,938,000 10,109,120 2. ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต 76,350,500 42,319,950 7,690,000 26,340,550 3. ด้านการศึกษา 88,571,270 56,741,617 20,137,090 11,692563 4. ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีต 18,650,015 7,468,381 0 11,181,634 ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. ด้านการท่องเที่ยวทรัพยากร 56,876,400 5,873,525 42,834,400 8,168,475 ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. ด้านการบริหารจัดการท้องถิ่น 47,565,702 31,420,263 6,776,900 9,368,539 ที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาล รวม 1,663,929,887 323,692,616 1,263,376,390 76,860,881 ตั้งไว้ ใช้ไป

กราฟแสดงงบประมาณรายจ่าย

26,340,550 7,690,000 42,319,950 76,350,500 11,692563 20,137,090 56,741,617 88,571,270

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4

0

11,181,634 7,468,381 18,650,015

ยุทธศาสตร์ที่ 5

8,168,475 42,834,400 5,873,525 56,876,400

ยุทธศาสตร์ที่ 6

9,368,539 6,776,900 31,420,263 47,565,702

32

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

76,860,881

ยุทธศาสตร์ที่ 2

คงเหลือ

1,375,916,000

1,663,929,887

179,868,880

รอการเบิกจ่าย

1,263,376,390

ยุทธศาสตร์ที่ 1

1,185,938,000

323,692,616

10,109,120

รวม


ตารางรายรับจริง (ตามหมวด) ปีงบประมาณ 2560 องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

รายการ

ประมาณการ

ต่ำ/(สูง) กว่าประมาณการ

รายรับจริง

1. รายได้ที่ อปท.จัดเก็บเอง 1.1 รายได้ที่ได้จากภาษีอากร 1.1 ภาษีบำรุง อบจ.จากยาสูบ 1.2 ภาษีบำรุง อบจ.จากน้ำมัน 1.3 อากรรังนกอีแอ่น 1.4 ค่าธรรมเนียมบำรุง อบจ.จากผู้เข้าพักโรงแรม 1.2 รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 1.2.1 ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต 1.2.1.1 ค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการควบคุมอาคาร 1.2.1.2 ค่าปรับผิ​ิดสัญญา 1.2.1.3 ค่าปรับอื่นๆ 1.2.1.4 ค่าใบอนุญาตอื่นๆ 1.2.2 รายได้จากทรัพย์สิน 1.2.2.1 ค่าเช่าที่ดิน 1.2.2.2 ค่าเช่าหรือค่าบริการสถานที่ 1.2.2.3 ค่าดอกเบี้ย 1.2.2.4 เงินปันผลหรือเงินรางวัลอื่นๆ 1.2.3 รายได้เบ็ดเตล็ด 1.2.3.1 ค่าขายแบบแปลน 1.2.3.2 รายได้เบ็ดเตล็ดอื่นๆ 1.2.4 รายได้จากทุน 1.2.4.1 ค่าขายทอดตลาดทรัพย์สิน 2. รายได้จากภาษีอากรที่รัฐจัดเก็บให้ 2.1 ภาษีค่าธรรมเนียมรถยนต์หรือล้อเลื่อน 3. รายได้ภาษีอากรที่รัฐแบ่งให้ 3.1 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดสรรให้ตาม พรบ.กำหนดแผน

162,106,000.00

218,712,224.81

139,842,851.51

66,000,000.00 10,000,000.00 8,777,000.00 37,000,000.00

64,395,781.68 25,851,577.41 2,325,600.00 49,949,410.68

59,405,118.90 7,804,316.29 8,777,000.00 31,356,399.03

3,000,000.00

7,326,162.00

1,621,611.00

50,000.00

237,104.00

28,144.00

6,000.00 73,000.00 25,000,000.00 -

802,500.00 28,716,044.57 250.00

6,000.00 55,000.00 19,176,550.29 -

12,000,000.00 150,000.00

38,923,100.00 15,494.47

11,469,000.00 150,000.00

50,000.00 380,000,000.00 380,000,000.00 390,000,000.00 170,000,000.00

30,000.00 432,208,212.93 432,208,212.93 451,641,123.54 182,572,629.41

50,000.00 345,120,357.24 345,120,357.24 350,018,354.67 138,229,459.35

3.2 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บตาม พรบ.อบจ.50% 3.3 ค่าภาคหลวงแร่ 4. รายได้จากเงินอุดหนุน 4.1 เงินอุดหนุนทั่วไป 4.2 เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 4.2.1 ด้านการศึกษา 4.2.2 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น รวมรายรับ (1+2+3+4) 5. รายรับจากเงินสะสม 6. เงินกู้

180,000,000.00 40,000,000.00 260,710,500.00 260,710,500.00

230,716,571.21 38,051,922.92 266,907,203.22 257,177,648.58

171,788,895.32 40,000,000.00 -

1,192,816,500.00 -

9,729,554.64 1,369,168,764.50 4,563,857.15 -

834,981,563.42 -

-

-

-

1,192,816,500.00

2,194,110.00 1,375,926,731.65

834,981,563.42

6.1 เงินกู้จากธนาคาร 6.2 เงินกู้จาก อสท. และ กสอ. 7. สำรองรายรับ รวมรายรับ (1+2+3+4+5+6+7)

ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

33


ตารางรายจ่ายจริง (ตามหมวด) ปีงบประมาณ 2560 องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

รายการ รายจ่ายงบกลาง 1.1 ค่าชำระหนี้เงินต้นและดอกเบี้ย 1.1.1 เงินต้น 1.1.2 ดอกเบี้ย 1.2 รายจ่ายตามข้อผูกพัน 1.3 เงินช่วยเหลือค่าทำศพ 1.4 เงินสำรองจ่าย 1.5 อื่นๆ 2. รายจ่ายประจำ 2.1 เงินเดือน (ฝ่ายการเมือง) 2.2 เงินเดือน (ฝ่ายประจำ) 2.3 ค่าตอบแทน 2.4 ค่าใช้สอย 2.5 ค่าวัสดุ 2.6 หมวดค่าสาธารณูปโภค 2.7 หมวดเงินอุดหนุน 2.8 หมวดรายจ่ายอื่นๆ 3. รายจ่ายเพื่อการลงทุน 3.1 ค่าครุภัณฑ์ 3.2 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 3.3 อื่นๆ 4. รายจ่ายพิเศษ 4.1 เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 4.2 เงินสะสม 4.3 เงินกู้ 4.3.1 เงินกู้จาก ธนาคาร 4.3.2 เงินกู้ กสท. และ กสอ. 4.4 อื่นๆ 5. รายจ่ายจากเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 5.1 เงินเดือน 5.2 ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 5.3 ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 5.4 อื่นๆ รามร่ายจ่าย (1+2+3+4+5)

34

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

63,232,090.00

40,526,944.92

ต่ำ/(สูง) กว่าประมาณการ 49,067,913.10

63,232,090.00

40,526,944.92

49,067,913.10

638,550,120.00 12,376,680.00 173,668,420.00 159,086,500.00 215,609,200.00 42,868,800.00 7,217,000.00 27,223,520.00 500,000.00 491,034,290.00 14,000,300.00 477,033,990.00

474,599,311.92 12,137,990.00 127,481,343.13 139,865,051.50 132,217,201.35 27,324,506.29 5,282,091.78 26,234,920.00 4,056,207.87 188,285,271.88 5,121,940.00 183,163,331.88

559,658,967.70 11,381,410.00 162,786,437.67 124,042,705.00 192,499,269.78 40,119,427.64 6,709,105.48 24,002,820.00 1,882,207.87 451,518,278.12 11,495,620.00 440,022,658.12

-

-

-

-

-

-

1,192,816,500.00

703,411,528.72

1,060,245,158.92

ประมาณการ

รายจ่ายจริง


แผนภูมิแสดงรายรับ รายได้ที่ อปท.จัดเก็บเอง 218,712,224.81 ภาษีบำรุง อบจ.จากยาสูบ 64,395,781.68 ภาษีบำรุง อบจ.จากน้ำมัน 25,851,577.41 อากรรังนกอีแอ่น 2,325,600.00 ค่าธรรมเนียมบำรุง อบจ.จากผู้เข้าพักโรงแรม 49,949,410.68 ค่าปรับผิ​ิดสัญญา 7,326,162.00 ค่าใบอนุญาตอื่นๆ 237,104.00 ค่าเช่าหรือค่าบริการสถานที่ 802,500.00 ค่าดอกเบี้ย 28,716,044.57 เงินปันผลหรือเงินรางวัลอื่นๆ 250.00 ค่าขายแบบแปลน 38,923,100.00 รายได้เบ็ดเตล็ดอื่นๆ 15,494.47 ค่าขายทอดตลาดทรัพย์สิน 30,000.00 ภาษีค่าธรรมเนียมรถยนต์หรือล้อเลื่อน 432,208,212.93 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดสรรให้ตาม พรบ.กำหนดแผน 182,572,629.41 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บตาม พรบ.อบจ.50% 230,716,571.21 ค่าภาคหลวงแร่ 38,051,922.92 เงินอุดหนุนทั่วไป 257,177,648.58 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 9,729,554.64 รวมรายรับ (1+2+3+4) 1,369,168,764.50 รายรับจากเงินสะสม 4,563,857.15 เงินกู้จาก อสท. และ กสอ. 2,194,110.00 รวมรายรับ (1+2+3+4+5+6+7) 1,375,926,731.65

แผนภูมิแสดงรายจ่าย รายจ่ายงบกลาง รายจ่ายตามข้อผูกพัน เงินเดือน (ฝ่ายการเมือง) เงินเดือน (ฝ่ายประจำ) ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดเงินอุดหนุน หมวดรายจ่ายอื่นๆ ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รามร่ายจ่าย (1+2+3+4+5)

40,526,944.92 40,526,944.92 12,137,990.00 127,481,343.13 139,865,051.50 132,217,201.35 27,324,506.29 5,282,091.78 26,234,920.00 4,056,207.87 5,121,940.00 183,163,331.88 703,411,528.72

ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

35


หน่วยงานตรวจสอบภายใน

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี รับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ประเมินผลการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2560 ด้วยวิธีการที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีกำหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความ มั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิผล ลดความ ผิดพลาดเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริตด้านความเชื่อถือได้ของรายงานการเงินและการ ดำเนินงาน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และนโยบายซึ่งรวมถึงระเบียบ ของฝ่ายบริหาร

จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่า การควบคุมภายในขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2560 เป็นไปตามระเบียบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้มีความเพียงพอ และบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในตามที่กล่าวในวรรคแรก สรุปผลการประเมินองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีการประเมินองค์ประกอบมาตรฐาน การควบคุมภายในครบ 5 องค์ประกอบ เรียบร้อยแล้ว เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย มาตรฐานควบคุมภายใน พ.ศ.2544 (ข้อ 6) อย่างไรตามจุดอ่อนที่ต้องปรับการควบคุมภายใน ดังนี้ 1. สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ผลการประเมินพบว่า จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ยังมีความเสีย่ งในเรือ่ งของการจัดซือ้ จัดจ้าง ตามระเบียบใหม่ ดังนัน้ จึงจำเป็นต้องจัดการบริหารความเสีย่ ง ข้อกำหนดและแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ต่อไป และจะต้องหาวิธีแก้ไขปรับปรุงให้มีความเสี่ยงน้อยลง 2. กองกิจการสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์ประกอบของการควบคุมภายในของหน่วยงาน กองกิจการสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดในภาพรวม เหมาะสม มีกฎระเบียบข้อบังคับ เป็นตัวกำหนด ผู้อำนวยกองการเจ้าหน้าที่ทุกระดับมีความตระหนักรับผิดชอบงาน ในหน้าทีข่ องตนมีการกำหนดจุดเสีย่ งและควบคุมความเสีย่ งไว้ในผังขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านในแต่ละกิจกรรมมีระบบ สารสนเทศ และการสือ่ สารประชาสัมพันธ์ไว้ยงั ผูเ้ กีย่ วข้อง มีการติดตามประเมินผลและปรับปรุงพัฒนาให้ทนั สมัย บัติงาน ประจำปี 2560 36 รายงานผลการปฏิ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


3. กองคลัง ผลการประเมิน พบว่า จากการวิเคราะห์ประเมินจากสภาพแวดล้อมภายในของกองคลังตามคำสั่ง แบ่งงานและภารกิจงานประจำ ประสิทธิภาพของบุคลากร และอุปกรณ์เครื่องใช้ในการปฏิบัติงานมีความเสี่ยงเป็น จุดอ่อนที่ต้องจัดการบริหารความเสี่ยงหรือกำหนดแผนการปรับปรุงระบบควบคุมภายใน ในภารกิจ 4 กิจกรรม 1. กิจกรรมด้านการพัฒนาบุคลากร 2. กิจกรรมด้านการจัดเก็บรายได้ 3. กิจกรรมด้านการตรวจฎีกาก่อนอนุมัติเบิกจ่ายเงิน 4. กิจกรรมด้านการบันทึกบัญชีในระบบ e-laas 4. กองช่าง จากการวิเคราะห์และสรุปผลการประเมิน จากองค์ประกอบการควบคุม 5 องค์ประกอบพบจุดอ่อน ที่ต้องจัดการบริหารความเสี่ยง ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมการควบคุมต้องปรับปรุงกรอบอัตรากำลังให้คนเหมาะสมกับงาน 2. การประเมินความเสี่ยงต้องพัฒนาความรู้ใหม่ๆ ให้กับเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลง ระบบให้บริการหน่วยงานอื่นๆ 3.สารสนเทศและการสื่อสารต้องปรับปรุงและจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ์ด้านสารสนเทศและการ สือ่ สารให้ทนั สมัยเท่าทันกับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านของกองช่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิง่ ขึน้ 5. กองพัสดุและทรัพย์สิน ผลการประเมิน พบว่า จากการวิเคราะห์ประเมินจากสภาพแวดล้อมภายในของกองพัสดุและทรัพย์สิน ปรากฏว่าขาดบุคลากรในการปฏิบัติงานฝ่ายจัดหาพัสดุและทรัพย์สินและฝ่ายควบคุมตรวจสอบพัสดุและทรัพย์สิน 6. กองแผนและงบประมาณ กองแผนและงบประมาณมีโครงสร้างการควบคุมภายในครบ 5 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน และเพียงพอที่จะทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้ ตามมาตรฐาน ควบคุมภายในของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน นอกจากนี้ก็ยังมีบางกิจกรรมที่จะต้องปรับปรุงกระบวนการ ควบคุมเพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ซึ่งได้กำหนดวิธีการและแผนการปรับปรุงการ ควบคุมภายในที่เหมาะสมไว้แล้ว 7. กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีการจัดระบบการควบคุมภายในตามระเบียบ คณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ในเรื่องของการปฏิบัติงาน 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายบริหารการศึกษา และฝ่ายส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งวางแผนการควบคุมและตรวจสอบ ภายในสามารถทำให้ดำเนินงานได้ประสบผลสำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ แต่อย่างไรก็ตามมีภารกิจที่ต้องปรับปรุง กระบวนการควบคุมภายใน ได้แก่ 1. การศึกษาระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความผิดพลาดในการดำเนินการน้อยที่สุด ส่งผลให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลต่อทางราชการมากที่สุด 2. การศึกษาหาความรู้ทางด้านการศึกษา ที่ไม่มีวันจบสิ้น เพื่อให้การดำเนินการด้านการบริหารจัดการ ศึกษาของโรงเรียนในสังกัดเกิดการพัฒนาอย่างไม่มีที่สิ้นสุด 3. การสร้างเครือข่ายการทำงานทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และนำประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการบริหารงานของกองการศึกษา เพื่อทำให้การดำเนินการเป็นไปตามความต้องการของคนในท้องถิ่นอย่าง แท้จริง ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

37


โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี 1 (ดอนสักผดุงวิทย์) มีการจัดระบบการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ในเรื่อง ของการปฏิบัติงาน ตามกลุ่มโครงสร้าง 6 กลุ่มงาน คือ กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน กลุ่มบริหาร งานวิชาการ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารงานกิจการทั่วไป กลุ่มอาคารสถานที่ กลุ่มงานสัมพันธ์ชุมชน ซึ่งการวางแผนการควบคุมและการตรวจสอบภายในสามารถทำให้การดำเนินงานเป็นไปได้ตามแผน กรอบ/เวลา ที่กำหนดได้ ลดอัตราการเสี่ยงต่อการปฏิบัติงาน แต่ยังพบจุดอ่อนที่ต้องมีการปรับปรุงแก้ไขและวางแผนควบคุม ภายใน ดังนี้ 1. กระบวนการจัดการศึกษามีการมอบหมายหน้าที่ภาระงานแก่บุคลากร ครูสอนตรงตามเอก แต่มี การโอน โยกย้าย ทำให้บางกลุ่มสาระการเรียนรู้ขาดแคลนครู ส่งผลต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน โรงเรียน ได้แจ้งไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่เป็นต้นสังกัดให้ดำเนินการสรรหาบุคลากรทดแทนครู ที่โอนย้าย เพื่อหาอัตรากำลังทดแทน เป็นผลให้ผู้เรียนยังมีมาตรฐานกรศึกษาบางกลุ่มสาระต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน โรงเรียนได้มีการพัฒนาบุคลากรโดยการให้เข้ารับการอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง โดยวางแผน พัฒนาบุคลากรเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เป็นปัญหา โดยการจ้างครูที่มีความรู้สาขานั้นๆ เพิ่มเติม หรือ จ้างวิทยากรภายนอกมาสอน เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานและพัฒนาความก้าวหน้าให้แก่โรงเรียน และชุมชน ในการเพิ่มผลผลิต (นักเรียน) ที่มีคุณภาพสูงตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน 2. การบริหารงานด้านวิชาการ ในด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอนของครูนิเทศติดตามการจัดการ เรียนการสอนจากหัวหน้ากลุ่ม สาระมีอยู่น้อย และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลสอบ NT และ O-Net ยังอยู่ใน เกณฑ์ทต่ี อ้ งปรับปรุงโรงเรียนจึงได้กำหนดโครงการต่างๆ หลายโครงการ เช่น โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ โครงการ สอนซ่อมเสริมให้นักเรียน ในระดับชั้น ม.3 และระดับชั้น ม.6 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ของนักเรียนให้สูงขึ้น 3. การบริหารด้านแผนงานและงบประมาณ โรงเรียนมีการดำเนินงานตามที่กรมส่งเสริมการปกครอง กำหนด มีการจัดทำยุทธศาสตร์โรงเรียนแผนพัฒนา 3 ปี แผนปฏิบัติการปีงบประมาณและแผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา ด้านพัสดุและการเงินการบัญชีของโรงเรียน มีการดำเนินงานตามระเบียบอย่างเคร่งครัด จุดอ่อนที่ ควรปรับปรุง คือ การรายงานผลดำเนินโครงการควรจัดทำเป็นระบบและรายงานตรงตามเวลาและเป็นการดำเนิน โครงการ การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง และสิ่งก่อสร้างด้านสถานที่ที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ดำเนินการเป็นไปอย่างล่าช้า ไม่เป็นไปตามปีงบประมาณที่ดำเนินการ ส่งผลให้โรงเรียนต้องแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เช่น การปรับปรุงอาคารเรียนการปรับปรุงโรงอาหาร 4. การบริหารด้านอาคารสถานที่ โรงเรียนได้รับการจัดสรรอาคารเรียนและครุภัณฑ์ มาจากต้นสังกัด อาคารเรียนบางส่วนชำรุดง่ายและมีความเสี่ยงเช่นระบบไฟฟ้า และครุภัณฑ์บางประเภทที่ได้รับจัดสรรได้แก่ คอมพิวเตอร์คุณภาพไม่เสถียร ส่งผลต่อการจัดทำข้อมูล สารสนเทศ โรงเรียนแก้ไขปัญหาโดยได้แจ้งไปยังต้นสังกัด และครุภัณฑ์บางส่วนโรงเรียนได้ดำเนินการจัดซ่อมเอง 5. การบริหารกิจการนักเรียน โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2551 ปัญหาที่ประสบ คือการติดตามนักเรียนในรายบุคคลที่ได้ร่วมกิจกรรมตามที่โรงเรียน กำหนด ได้มีมาตรการในการแก้ไขหลายมาตรการจนสามารถแก้ไขปัญหาได้แต่ยังปรับปรุงในส่วนระบบสารสนเทศ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังได้จัดทำคู่มือนักเรียน เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครู มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนและได้ริเริ่มการดูนักเรียน โดยใช้รูปแบบสภาธรรมาภิบาล เปิดโอกาสให้ ตัวแทนนักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลพฤติกรรมนักเรียน จนได้รับรางวัลจากสำนักงานสภาผู้แทนราษฎร์ในปี งบประมาณ 2559 และต่อยอดดำเนินงานในปีงบประมาณ 2560 38

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


6. การบริหารงานชุมชนสัมพันธ์ โรงเรียนประสบความสำเร็จในด้านการดำเนินงาน ชุมชนสัมพันธ์ นักเรียน ผู้ปกครอง ให้มีความร่วมมือกับโรงเรียนเป็นอย่างดี และโรงเรียนเข้าเป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมชุมชน ได้เน้นการบริการชุมชนในด้านการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และนำนักเรียนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขางานยานยนต์และสาขาคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้รับคำชื่นชมจากผู้ปกครองและชุมชนเป็นอย่างมาก ส่งผลให้ชุมชนมีความเชื่อมั่นต่อโรงเรียนและองค์การ บริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี 2 (บ้านดอนเกลี้ยง) ผลการประเมินพบว่า โรงเรียน อบจ.สฎ.2 (บ้านดอนเกลี้ยง) ผลการควบคุมภายในจากภารกิจงานประจำ พบความเสี่ยง 2 กิจกรรม คือ กิจกรรม บริหารความเสี่ยงด้านการศึกษาและกิจกรรมบริหารทั่วไป ซึ่งมีการควบคุมที่เพียงพอบรรลุวัตถุประสงค์ของการ ควบคุมได้ในระดับหนึ่ง 8. กองส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผลการประเมินพบว่า จากการวิเคราะห์ประเมินจากสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของกองส่งเสริม คุณภาพชีวิต ตามคำสั่งแบ่งงานและภารกิจงานประจำ ประสิทธิภาพของบุคลากร และครุภัณฑ์และสถานที่ ปฏิบัติงาน มีความเสี่ยงเป็นจุดอ่อนที่ต้องจัดการบริหารความเสี่ยง หรือกำหนดแผนปรับปรุงระบบการควบคุม ภายใน ในภารกิจ 4 กิจกรรม คือ 1. กิจกรรมด้านครุภัณฑ์และสถานที่ปฏิบัติงาน 2. กิจกรรมด้านการสรรหาบุคลากร 3. กิจกรรมด้านพัฒนาบุคลากร 4. กิจกรรมด้านสวัสดิการ 9. กองการท่องเที่ยวและกีฬา ผลการประเมิน พบว่ากองการท่องเที่ยวและกีฬามีความเหมาะสมที่จะทำให้การปฏิบัติงานประสบผล สำเร็จตามวัตถุประสงค์ แต่อย่างไรก็ตาม มีภารกิจที่ต้องปรับปรุงกระบวนการควบคุมภายในได้แก่ ความเสี่ยงใหม่ ที่ควบคุมได้ยาก ในกิจกรรมการดำเนินงานทั้ง 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมการดำเนินงานโครงการขั้นตอนการ ดำเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ได้พบความ เสีย่ งใหม่ คือ การจัดซือ้ จัดจ้างในระยะเวลากระชัน้ ชิดอาจส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานโครงการและอีกกิจกรรม คือ การประสานงานโครงการกับหน่วยงานอื่นพบความเสี่ยงคือความไม่แน่นอนของรูปแบบกิจกรรมในการดำเนิน การโครงการทำให้เกิดความล่าช้าในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างโดยต้องมีการบริหารความเสี่ยงหรือกำหนดแผน การปรับปรุงและระบบควบคุมภายในต่อไป 10. กองการเจ้าหน้าที่ ผลการประเมินพบว่า จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก ยังมี ความเสี่ยงและมีจุดอ่อนอยู่หลายประเด็น ดังนั้นจึงจำเป็นต้องจัดการบริหารความเสี่ยง ข้อกำหนดตามแผนการ ปรับปรุงการควบคุมภายในต่อไป และจะต้องหาวิธีแก้ไขปรับปรุงให้กิจกรรมสำเร็จลุล่วงทุกกิจกรรม 11. หน่วยงานตรวจสอบภายใน ผลการประเมิน พบว่า จากการวิเคราะห์ประเมินจากสภาพแวดล้อมภายในของหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน ตามคำสั่งแบ่งงานและภารกิจงานประจำ และประสิทธิภาพของบุคลากร มีความเสี่ยงเป็นจุดอ่อน ที่ต้อง จัดการบริหารความเสี่ยง หรือกำหนดแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน ในภารกิจ 2 ภารกิจ คือ 1. กิจกรรมด้านการสรรหาบุคลากร 2. กิจกรรมด้านการพัฒนาบุคลากร ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

39


ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาจังหวัดสุราษฎร์ธานีให้มน่ั คงยัง่ ยืนนัน้ ระบบโครงสร้าง พื้นฐาน มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาดังกล่าว องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ยกระดับเส้นทาง การคมนาคมที่เชื่อมโยงระหว่างอำเภอ ระหว่างตำบล เป็นเครือข่าย การสัญจรที่ปลอดภัย มีการซ่อมแซม ดูแล บำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย เหมาะแก่การใช้งาน ให้ได้มาตรฐานความปลอดภัยในเส้นทางการ คมนาคม รวมถึงสะพานและทางเชือ่ มต่อต่างๆ เพือ่ ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สินของพี่น้องประชาชน


ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ในปีงบประมาณ 2560 องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีการดำเนินการก่อสร้าง/ซ่อมแซม/ปรับปรุงถนน โดยแบ่งตามประเภท งบประมาณ ดังนี้

งบประมาณจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ก่อสร้าง/ซ่อมแซม/ปรับปรุงถนน

งบประมาณ

413,562,000 บาท

งบประมาณจากบัญชีใช้จ่ายเงินสะสม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560

1. ก่อสร้าง/ซ่อมแซม/ปรับปรุงถนน จำนวน 107 สาย งบประมาณ 693,056,000 บาท จำนวน 3 แห่ง งบประมาณ 11,595,000 บาท 2. ก่อสร้างสะพาน จำนวน 1 หลัง งบประมาณ 15,000,000 บาท 3. ก่อสร้างอาคารเรียน

งบประมาณจากบัญชีใช้จ่ายเงินทุนสำรองเงินสะสม ประจำปีงบประมาณ 2560 1. ก่อสร้าง/ซ่อมแซม/ปรับปรุงถนน จำนวน 38 สาย งบประมาณ 238,793,000 บาท 2. ก่อสร้างสะพาน จำนวน 1 แห่ง งบประมาณ 11,595,000 บาท ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

41


ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตที่ดีของพี่น้องประชาชนเป็นเรื่องสำคัญอีกเรื่องหนึ่งที่จะต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่จะต้องสนับสนุน ส่งเสริม ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต การเกิด แก่ เจ็บ ตาย การสาธารณสุขที่ดีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การสร้างอาชีพเพื่อเกิดรายได้ ยกระดับ คุณภาพชีวิตของพี่น้องประชาชนให้มีมาตรฐานพร้อมกับการจำเป็นในการดำรงชีวิตประจำวัน อันจะก่อ ให้เกิดความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชนอันจะนำไปสู่การพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงได้จัดโครงการและกิจกรรมต่างๆ ขึ้น เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตให้กับพี่น้องประชาชนครอบคลุมทุกเพศ ทุกวัย การดูแลผู้สูงอายุให้พร้อมกับการก้าวเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัย ส่งเสริมด้านกีฬาและนันทนาการเพื่อสร้างสุขภาพพลนามัยที่ดี สร้างความเข้มแข็งและรักษา ความสงบเรียบร้อยของชุมชน พัฒนาศักยภาพด้านเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพและส่งเสริมการดำเนินงาน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อย่างยั่งยืนมั่นคงต่อไป


เป็นห่วง เป็นใย ใส่ ใจ สร้างความเข้าใจ

เรื่องการแพทย์ฉุกเฉิน

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมกับสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโครงการพัฒนาระบบการแพทย์ ฉุกเฉินจังหวัดสุราษฎร์ธานีขึ้น เพื่อเสริมสร้างศักยภาพบุคลากร และอาสาสมัครกู้ชีพ กู้ภัยให้มีความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติงาน ของระบบบริการการแพทย์ฉกุ เฉิน ซึง่ มีผเู้ ข้าร่วมโครงการ 300 คน โดยให้ผู้ร่วมเข้าการฝึกปฏิบัติ ดังนี้

1. การประเมินสถานการณ์และสภาพผู้ป่วย 2. การช่วยฟื้นคืนชีพ/การใช้ AED 3. การจัดการทางเดินหายใจและการช่วยเหลือ 4. การยกเคลื่อนย้ายแบบไม่ใช้อุปกรณ์ 5. การยกเคลื่อนย้ายแบบใช้อุปกรณ์ 6. การใช้ LSB การใส่ Hard Collar การถอดหมวกนิรภัย

ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

43


พลังสตรีสุราษฎร์ธานี

สืบสายประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโครงการ สตรีสืบสานประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่น และโครงการส่งเสริม ศักยภาพการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการประกอบอาชีพของสตรี ตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยว่าสตรีมีบทบาทสำคัญในการ ดูแลสังคม ทั้งในระดับท้องถิ่น และประเทศชาติ และเพื่อเป็นการ ส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพให้ ก ลุ่ ม สตรี ต่ อ บทบาทและภารกิ จ ดั ง กล่ า ว โดยร่วมกับ คณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการ จัดโครงการดังกล่าว

44

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


ดูแล ใส่ ใจ ห่วงใย

สว.

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโครงการเกี่ยวกับการส่งเสริม, พัฒนา คุณภาพชีวิตและพัฒนาอาชีพให้กับผู้สูงอายุ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี แบ่งการจัดโครงการ ออกเป็น 7 กลุ่มอำเภอ ซึ่งมีผู้สูงอายุเข้าร่วม โครงการกว่า 4,200 คน มีการจัดกิจกรรม นันทนาการ สร้างขวัญและกำลังใจ เรียนรู้ หลักปฏิบัติการดูแลร่างกาย จิตใจ ฝึกทักษะ งานประดิษฐ์ งานหัตถกรรมให้แก่กลุ่ม ผู้สูงอายุ รวมทั้งมีการออกเยี่ยมผู้สูงอายุ ที่ป่วย ติดบ้าน ติดเตียง

ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

45


พัฒนาตนเอง ถ่ายทอดความรู้ เสริมสร้างรายได้

สร้างความเข้มแข็งให้แก่ครอบครัว

การฝึกฝนตนเองในความรู้ความสามารถที่ตนเองถนัดหรือเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เพิ่มเติมย่อมเป็นการ พัฒนาตนเองที่ดีเยี่ยมและหากได้รับการสนับสนุนส่งเสริมเพื่อให้สามารถสร้างรายได้แล้ว จะส่งผลดี แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนต่อไป

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงจัด โครงการส่งเสริมอาชีพ อาทิ ทำไม้กวาดก้านมะพร้าว/ ไม้กวาดดอกหญ้า, งานเดคูพาจ, ฝีมือแรงงาน (ทักษะการ แต่งหน้า) และงานจักสาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ที่ เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ประกอบอาชีพ และถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ที่สนใจภายในชุมชน ซึ่งมี ประชาชนสมัครเข้าร่วมโครงการประมาณ 800 คน

46

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


พัฒนาความรู้ ส่งเสริมวิชาการ

ก่อเกิดรายได้แก่เกษตรกร

ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดสุราษฎร์ธานีแนวหน้า ชนิดหนึ่งที่สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร และนำรายได้เข้าจังหวัด สุราษฎร์ธานีปีละหลายล้านบาท แต่ด้วยภาวะปัจจุบันที่มีการแข่งขัน กันทางเศรษฐกิจ จำเป็นจะต้องมีการพัฒนาในเรื่องของผลผลิตและ การแปรรูปยางพาราแก่เกษตรกรเพื่อปรับตัวทันต่อการแข่งขันใน เศรษฐกิจโดยรวมได้

โครงการพัฒนาคุณภาพยางพาราและผลิตภัณฑ์แปรรูป ยางพาราเพือ่ เสริมสร้างมูลค่า (กิจกรรมฝึกอบรม) เป็นอีกโครงการหนึง่ ที่ทางองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีจัดขึ้นให้แก่พี่น้อง ผู้ปลูกยางพารา ผู้แปรรูป และผู้จำหน่ายยางพาราเป็นจำนวนมาก ให้ความรู้โดยทีมวิทยากรจากคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย เกษตรกร เป็นการยกระดับเกษตรกรของจังหวัดสุราษฎร์ธานีให้มี มาตรฐานและสามารถแข่งขันในตลาดได้อย่างเข้มแข็งต่อไป ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

47


สร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วม

ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินในชุมชน การดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของพี่น้องประชาชน เป็นเรื่องของ ทุกคนที่จะต้องร่วมมือ ใส่ใจดูแลชุนชนตนเอง ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจที่หลักในเรื่องดังกล่าว จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นจังหวัดที่มี พื้นที่มากเป็นอันดับ 6 ของประเทศ เป็นเหตุ ให้บางพื้นที่มีการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ไม่ ครอบคลุมและทั่วถึง ทำให้ผู้ไม่หวังดีอาจใช้เป็น ช่องทางในการก่อเหตุอาชญากรรม

48

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

การร่วมกันรักษาความสงบเรียบร้อยของ ชุมชน หมู่บ้าน จึงเป็นเรื่องของทุกคนที่ต้องช่วยกัน สร้างเครือข่ายการมีสว่ นร่วมภาคประชาชน และสร้าง กระบวนการแก้ ไขปั ญ หาอาชญากรรมในท้ อ งถิ่ น องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีจงึ มีโครงการ ฝึกอบรมประชาชน (อาสาสมัครตำรวจบ้าน) จังหวัด สุราษฎร์ธานีขึ้น โดยร่วมกับตำรวจภูธรจังหวัด สุราษฎร์ธานี ณ ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค 8 โดยมี ป ระชาชนซึ่ ง เป็ น อาสาสมั ค รตำรวจบ้ า นใน พื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีเข้าร่วมโครงการ จำนวน 300 คน


สมาชิกแจ้งข่าว อาชญากรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ฝึกอบรม

จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี เ ป็ น จั ง หวั ด หนึ่ ง ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ในและต่ า งประเทศหมายปอง พร้ อ มเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ที่ ม าควบคู่ กั น แต่ขณะเดียวกันอาชญากรรมที่ผู้ไม่ประสงค์ดีย่อมมี มาควบคู่กันด้วย นอกจากหน่วยงานตำรวจท่องเที่ยวที่ทำ หน้าทีด่ แู ลรักษาความปลอดภัยให้แก่นกั ท่องเทีย่ วแล้ว ยังต้องได้รับความร่วมมือจากพี่น้องประชาชนใน ท้องถิ่นได้ช่วยสอดส่องดูแลความปลอดภัยให้แก่ นักท่องเที่ยว

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงจัดโครงการการฝึกอบรม “โครงการสมาชิกแจ้งข่าว อาชญากรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานี” โดยมีสมาชิกอาสาสมัครตำรวจท่องเที่ยวกว่า 100 คน พื้นที่ สภ. ที่รับผิดชอบในแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ ได้แก่ สภ.เกาะสมุย สภ.บ่อผุด สภ.เกาะพะงัน สภ.เกาะเต่า และ สภ.ดอนสัก ร่วมอบรม เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจให้แก่ ประชาชน นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ ซึ่งสมาชิก อาสาสมัครเป็นจิตอาสาที่เป็นกำลังเสริมในการแจ้งข่าวสารแก่ ตำรวจ หน่วยงานปกครอง หรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องต่อไป ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

49


กีฬา กีฬา เป็นยาวิเศษ

การสร้างเสริมสุขภาพทีด่ ขี องพีน่ อ้ งประชาชนโดยการออกกำลังกาย ช่วยให้ พี่น้องประชาชนมีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ อีกทั้งเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ ตลอดจนเพิ่มความเข้มแข็งของชุมชนป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดด้วย

องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี จัดโครงการแข่งขันกีฬา อบจ.สุราษฎร์ธานีคพั เชือ่ มความ สัมพันธ์ ครัง้ ที่ 4 เพือ่ ส่งเสริมการพัฒนาการกีฬา ระดับ อำเภอและระดับจังหวัด ให้ประชาชนได้รู้คุณค่าและ เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย สร้างความ สัมพันธ์อันดีผ่านการกีฬา ซึ่งจัดแข่งขันกีฬาฟุตบอล แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1. ประเภทอายุไม่เกิน 12 ปี ชนะเลิศ ได้แก่ อำเภอเวียงสระ 2. ประเภทอายุไม่เกิน 14 ปี ชนะเลิศ ได้แก่ อำเภอเมือง 3. ประเภทอายุไม่เกิน 16 ปี ชนะเลิศ ได้แก่ อำเภอเมือง 4. ประเภทอาวุโส ชนะเลิศ ได้แก่ อำเภอกาญจนดิษฐ์ (อบต.ป่าร่อน) 5. ประเภทประชาชน ชนะเลิศ ได้แก่ อำเภอชัยบุรี 50

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


Suratthani Youngster Got Talent

การเล่นดนตรีเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ อีกทั้งยังสร้างความสัมพันธ์อันดี ในครอบครัวเพื่อนพ้องน้องพี่ รวมถึงโรงเรียน องค์กรต่างๆ ให้เกิดมิตรภาพที่ดีต่อกัน

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้จดั โครงการส่ ง เสริ ม ความสามารถเด็ ก และเยาวชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี “Suratthani Youngster Got Talent” ณ สหไทยการ์เด้นพลาซ่า เพือ่ ส่งเสริมให้เด็ก และเยาวชนได้แสดงความสามารถ กล้าแสดงออก ในทางที่สร้างสรรค์ และมีการแข่งขันวงดนตรีสตริง ซึ่งมีวงดนตรีที่เข้าร่วมแข่งขันจำนวน 41 วง

ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

51


ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการศึกษา

การศึกษานับว่าเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้เจริญเติบโตเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณภาพ เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาจังหวัดสุราษฎร์ธานีในอนาคตต่อไป นับเป็นภารกิจที่สำคัญยิ่ง องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีนโยบายสนับสนุน ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ได้คุณภาพ เข้าเกณฑ์มาตรฐานและครอบคลุมในทุกระดับ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้เรียน และบุคลากรทาง การศึกษาซึ่งเป็นกำลังหลักในการที่จะพัฒนาการศึกษาของจังหวัดสุราษฎร์ธานีต่อไป องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีจึงได้ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ในการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาด้านการศึกษา ทั้งในเรื่องวิชาการ โดยมีการจัดทำหลักสูตรพุทธทาสศึกษา เพื่อใช้เป็นหลักสูตรในการสอน การส่งเสริมและเปิดโอกาสให้เด็กพิการ เด็กพิเศษ LD รวมถึงเด็กและ เยาวชนที่ด้อยโอกาสได้รับโอกาสที่จะเข้ารับการเรียนการศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูซึ่งเป็นกลไกสำคัญ ในการพัฒนาการศึกษา รวมถึงการส่งเสริมและสร้างความเข้าใจในเรื่องของการศึกษาเพื่ออาชีพ เพื่อสร้าง ความเข้าใจอันดีของเด็ก เยาวชนและผู้ปกครองในการเรียนเพื่อตรงตามความต้องการในสายอาชีพที่ กำลังเกิดขึน้ หรือขาดแคลนในอนาคต เพือ่ พัฒนาประเทศไปสู่ Thailand 4.0 ทีเ่ ปลีย่ นเศรษฐกิจแบบเดิม ไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม


เปิดโอกาสให้เด็กพิเศษได้เรียนรู้ ส่งเสริมครูให้พัฒนาเด็ก เพื่อโอกาสที่ดีของเด็กพิเศษบ้านเรา

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้จัดโครงการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาการจัดการศึกษาพิเศษ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้แก่เด็กที่มีความบกพร่องทางการ เรียนรู้ รวมถึงเด็กและเยาวชนผู้พิการได้อย่างทั่วถึง อีกทั้งได้รับ สิทธิและโอกาสเท่าเทียมกันในการศึกษาได้รับการพัฒนาการ เรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ ซึ่งแบ่งออกเป็น 6 กิจกรรม ได้แก่

1. อบรมครูหลักสูตรคัดกรองเด็ก LD 2. อบรมการผลิตสื่อ LD 3. อบรมการใช้คู่มือเชาวน์ปัญญา 4. ประกวดสื่อการเรียนการสอนของครู แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือประเภทครูและบุคลากรทางการศึกษา ทุกสังกัด รางวัลชนะเลิศได้แก่ครูโรงเรียนวัดปากครู และประเภทครูอัตราจ้าง รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ครู โรงเรียนสามัคคีอนุสรณ์ 5. ประกวดสถานศึกษาดีเด่น แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ โรงเรียนชุมชน บ้านช่องม้าเหลียว และระดับมัธยมศึกษา รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ โรงเรียนท่าชนะ 6. จัดแสดงผลงานโรงเรียนและนักเรียน LD ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

53


เสริมสร้างความรู้ควบคู่การพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพครูผู้ดูแลเด็ก จังหวัดสุราษฎร์ธานี การส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นสถานศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่ กระทรวงมหาดไทยกำหนดนั้น จำเป็นต้องมีการพัฒนา ทั้งเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมที่ดี ที่สำคัญจำเป็นต้องเสริมศักยภาพครูผู้ดูแลเด็กให้เข้าใจใน บริบทของการดูแลเด็ก การเสริมสร้างความรู้ให้กับครูเพื่อ นำไปใช้ในการดูแลเด็ก ทั้งด้านวิชาการ ทักษะการฝึกสอน และสภาพอารมณ์จิตใจเพื่อการเข้าถึงเด็กๆ ได้เป็นอย่างดี องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี จึ ง ได้ จั ด โครงการพั ฒ นา ศักยภาพครูผดู้ แู ลเด็ก จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยคณะวิทยากรผูม้ คี วามรู้ ความสามารถ จากมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สุ ร าษฎร์ ธ านี และอดีตศึกษานิเทศก์ และบุคลากรผู้มี ความเชี่ยวชาญในการดูแลเด็ก มาให้ ความรู้กับครูผู้ดูแลเด็กที่เข้าร่วมรับการ อบรม โดยครอบคลุมครูผู้ดูแลเด็กจาก ศูนย์ดแู ลเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในจังหวัดสุราษฎร์ธานี 54

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


ส่งเสริมการศึกษาเพื่ออาชีพ

สร้างความเข้าใจอนาคต

แห่งการทำงานเพื่อลูกหลานชาวเมืองคนดี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมกับ สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรูแ้ ละคุณภาพเยาวชน (สสค.) ได้ดำเนินกิจกรรม “เปิดโลกอาชีพเมืองคนดี : Your Future Your Choice” ซึ่งเป็นกิจกรรมหนี่งใน โครงการจังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้ วัตถุประสงค์เพื่อแนะนำ แนวทางของการศึกษาในสายงานอาชีพต่างๆ อีกทั้งยังเป็น การเตรียมความพร้อมของนักเรียนมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ได้รับทราบถึงข้อมูลต่างๆ ก่อนที่จะตัดสินใจเข้ารับการ เข้ า ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายหรื อ สาย อาชีวศึกษา ซึ่งสายอาชีพเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน ในปัจจุบัน โดยมีหน่วยงานจากภาครัฐ เอกชน และสถาบัน การอาชีวศึกษา กว่า 20 หน่วยงาน ร่วมกันจัดบูธนิทรรศการ แสดงผลงานในด้านอาชีพต่างๆ

ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

55


วชิรวิชาการสุราษฎร์ธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้จัดโครงการ แข่งขันทักษะทางวิชาการ “วชิรวิชาการสุราษฎร์ธานี” ประจำปี การศึกษา 2559 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะทางวิชาการ ของการศึกษาระดับอนุบาล ประถมศึกษาและระดับชั้นมัธยม ศึกษาให้มีมาตรฐานสูงขึ้น และยังเป็นการแสดงศักยภาพการจัด การศึกษา ของโรงเรียนทุกสังกัดในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ทั้งงาน วิชาการ และกิจกรรมสำหรับนักเรียน อีกทั้งเป็นเวทีแลกเปลี่ยน

56

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


เรียนรูข้ องนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การจั ด การศึ ก ษาในจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี ใ ห้ มี การพัฒนาด้านการศึกษาให้สูงยิ่งขึ้นต่อไป โดยแบ่งการแข่งขันออกเป็น 3 ระดับ คือระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และระดับมัธยม ศึกษา มีกิจกรรมการแข่งขัน 141 รายการ มีโรงเรียนเข้าร่วม 440 โรงเรียน และมีนักเรียน เข้าร่วมแข่งขัน จำนวน 10,828 คน

ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

57


ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

จากสภาพวิถีชีวิตในปัจจุบัน วัฒนธรรม จารีตประเพณีท้องถิ่นอันดีงาม ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เคย ถ่ายทอดให้ลูกหลานกำลังเลือนหายไปตามกาลเวลา ด้วยเหตุและปัจจัยหลายอย่างส่งผลกระทบต่อสังคม ปัจจุบัน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีจึงวางแนวทางอนุรักษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณี จารีต ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น และสืบทอดหลักความเชื่อตามพระพุทธศาสนา อาทิ แห่ผ้าห่มพระธาตุ ศรีสุราษฎร์ แลธรรมชาติเขาท่าเพชร, แห่ผ้าห่มพระบรมธาตุไชยา, แห่ผ้าขึ้นพระธาตุเจดีย์ วัดเขาสุวรรณ ประดิษฐ์, แห่ผ้าห่มพระธาตุนิลเปา ซึ่งเป็นพระธาตุในจังหวัดสุราษฎร์ธานี สนับสนุนการจัดงานประเพณี ชักพระทอดผ้าป่า แข่งเรือยาวของจังหวัดสุราษฎร์ธานี การบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนเพื่อบ่มเพาะ เยาวชนโดยหลักพระพุทธศาสนา เพื่อคงเอกลักษณ์ท้องถิ่นบ้านเราให้คงอยู่ชั่วลูกชั่วหลานต่อไป


แห่ผ้าห่มพระธาตุศรีสุราษฎร์ แลธรรมชาติเขาท่าเพชร สุราษฎร์ธานีไปยังพระธาตุศรีสรุ าษฎร์ มีระยะทาง กว่า 7 กิโลเมตร โดยมีหน่วยงานต่างๆ และ ประชาชนทั่ ว ไปให้ ค วามสนใจเข้ า ร่ ว มแห่ ผ้ า จำนวนมาก นอกจากนี้องค์การบริหารส่วนจังหวัด สุราษฎร์ธานี ได้จดั โครงการแห่ผา้ ห่มพระบรมธาตุ ไชยา, แห่ผา้ ขึน้ พระธาตุเจดีย์ วัดเขาสุวรรณประดิษฐ์ และแห่ผ้าห่มพระธาตุนิลเปา ซึ่งเป็นพระธาตุใน จังหวัดสุราษฎร์ธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้โครงการจัดงานแห่ผ้าห่มพระธาตุศรีสุราษฎร์ แลธรรมชาติเขาท่าเพชร วัตถุประสงค์เพือ่ ให้ประชาชน ชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ร่วมกันสักการะพระธาตุ ศรีสุราษฎร์และรำลึกถึงคุณพระศรีรัตนตรัย และได้ ศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของพระธาตุศรี สุราษฎร์ ซึ่งขบวนแห่ผ้าเริ่มจากศาลหลักเมือง ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

59


บรรพชา

สามเณรภาคฤดูร้อน ปี 2560

เยาวชนของชาติเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง เพราะเยาวชนในวันนี้ คือผู้ใหญ่ที่จะนำพาประเทศชาติ ให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง เพราะเนื่องจากสังคมปัจจุบันนี้มีสิ่งยั่วยุต่างๆ มากมาย อีกทั้งสภาพเศรษฐกิจ สังคม ความเหลื่อมล้ำ และอีกหลายปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่เยาวชนจะประสบพบเจอสิ่งเหล่านั้น หากเยาวชน ในวันนี้ได้รับการอบรมบ่มนิสัย สอนแต่ในเรื่องที่ดีๆ เยาวชนก็จะซึมซับรับเรื่องดีๆ โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่มี คุณภาพ การสอนหรือการอบรมให้เยาวชนเป็นคนดี มีคณ ุ ภาพนัน้ มีหลากหลายวิธกี ารทัง้ แบบสอนตัวต่อตัว แบบสอนเป็นหมูค่ ณะ และการสอนให้เยาวชนได้ซมึ ซับเรือ่ งราวของพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางหนึง่ ทีจ่ ะ ช่วยปลูกฝัง แนวความคิด การพัฒนาจิตใจ สติปัญญา รวมถึงการให้รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ด้วย

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีร่วมกับคณะสงฆ์จังหวัดสุราษฎร์ธานีจัดโครงการอบรม สามเณรภาคฤดูร้อน วัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังศีลธรรม จริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาแก่เยาวชน และให้รู้จักนำหลักธรรมไปแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยตนเอง อีกทั้งได้ตระหนักถึงหน้าที่ที่พึงปฏิบัติ ต่อพ่อ แม่ ครู อาจารย์ ตลอดจนสถาบันชาติศาสนาและพระมหากษัตริย์ โดยนำเยาวชนมาบรรพชาในระหว่าง ปิดภาคเรียน แบ่งเป็นกลุ่ม 6 อำเภอ ดังนี้ 1. อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี ณ วัดพัฒนาราม 2. อำเภอกาญจนดิษฐ์ ณ วัดถนนสุวรรณประดิษฐ์ 3. อำเภอดอนสัก ณ วัดวิสุทธชลาราม 4. อำเภอท่าชนะ ณ วัดกาฬสินธุ์ 5. อำเภอบ้านนาสาร ณ วัดโฉลกศิลาราม 6. อำเภอพนม ณ วัดพนม ซึ่งมีเด็กและเยาวชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เข้ารับการบรรพชาประมาณ 600 คน 60

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


ร่วมสืบสานประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่า เป็นประเพณี ท้องถิ่นของชาวใต้ หรือที่เรียกกันว่า งานเดือน 11 เป็น ประเพณีทำบุญในวันออกพรรษา ที่ปฏิบัติสืบทอดกันมา อย่างช้านาน โดยในช่วงเช้าของวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 จะมีการทอดผ้าป่าหรือเรียกว่า ชักพุม่ หน้าบ้านพร้อมกัน ทั้งเมือง พอช่วงสายจะมีการ ลากพระ โดยเป็นขบวน แห่เรือพนมพระทางบก และทางน้ำ เปรียบเสมือนการ รับเสด็จองค์สัมมาสัมพุทธเจ้าที่เสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้น ดาวดึง โดยจะมีพี่น้องประชาชนมาร่วมในงานประเพณีนี้ อย่างคับคั่ง องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีได้ร่วม กับจังหวัดสุราษฎร์ธานี เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี การ ท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานสุราษฎร์ธานี สำนักงานการท่องเทีย่ วและการกีฬาจังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี และหน่วยงานภาคเอกชนจัดงาน ประเพณีชักพระ - ทอดผ้าป่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นประจำทุกปี ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

61


ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการท่องเที่ยว ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นจังหวัดที่มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย หาดทรายสวย ท้องทะเลใส ป่า เขาที่ชวนหลงไหล ทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย วัดวาอารามแหล่งธรรมะที่ควรค่าแก่การศึกษา ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีรายได้จากการท่องเที่ยวเป็นได้รายอันดับต้นๆ ของจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จักและเป็นที่หมาย ของนักท่องเที่ยวที่จะต้องแวะเวียนมา เมื่อมีการท่องเที่ยวเข้ามาแล้วเราจำเป็นต้องสร้างจิตสำนึกที่ดีของคนท้องถิ่นในการรักท้องถิ่น ของตนเองเพื่ อ ให้ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วในท้ อ งถิ่ น บ้ า นเรายั ง คงเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ ว ย ธรรมชาติอย่างแท้จริง


พ่อของแผ่นดิน เปิดโลกใต้ทะเลเกาะเต่า ครั้งที่ 14 เทิดพระเกียรติ 70 ปี

เกาะเต่า เป็น 1 ใน 5 แหล่งสุดยอดแหล่งดำน้ำของโลก รองรับนักท่องเทีย่ ว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ปีละไม่ต่ำกว่า 500,000 คน สร้างรายได้ไม่ต่ำกว่าสองพัน ล้านบาทต่อปี ด้วยเสน่ห์ของโลกธรรมชาติใต้ทะเล แนวปะการังที่สวยงามและสมบูรณ์ ส่งผลให้เกาะเต่า มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ธุรกิจการท่องเที่ยวก็เติบโตไปอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรื่องที่ทุก หน่วยงาน ทุกภาคส่วนจะต้องให้ความสำคัญกับแหล่งท่องเที่ยวชั้นนำอย่างเกาะเต่า เพื่อจะได้ร่วมกัน อนุรักษ์และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวแห่งนี้ไปพร้อมกันกับชาวบ้านเจ้าของพื้นที่ “วั น เปิ ด โลกใต้ ท ะเลเกาะเต่ า ” ครัง้ ที่ 14 เป็นกิจกรรมองค์การบริหารส่วน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ให้สนับสนุนงบประมาณ ในการจัดงาน โดยร่วมกับเทศบาลตำบล เกาะเต่า หน่วยงานภาคเอกชน กำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น ชมรมรักษ์เกาะเต่า ผูป้ ระกอบการ ในเกาะเต่า สมาคมส่งเสริมการท่องเที่ยว เกาะเต่า กองทัพเรือ ประชาชนตำบลเกาะเต่า การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงาน เกาะสมุย ปี 2560 จัดขึ้นภายใต้ชื่อ “กิจกรรม เทิดพระเกียรติ 70 ปี พ่อของแผ่นดิน รัชกาลที่ 9” เพือ่ เป็นการน้อมรำลึกถึงพระ มหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ซึ่ ง เป็ น การส่ ง เสริ ม ภาพลั ก ษณ์ ท างการ ท่องเทีย่ วของเกาะเต่าไปสูร่ ะดับโลก ร่วมกัน อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ใต้ทะเล โดยมีหม่อมหลวงสราลี กิติยากร พระขนิษฐาในพระเจ้าวรวงค์เธอ พระองค์เจ้า โสมสวลีพระวรราชาทินดั ดามาตุ เป็นประธาน เปิดในการเปิดงานดังกล่าว ณ ลานชมรม รักษ์เกาะเต่า ตำบลเกาะเต่า อำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

63


พระจันทร์หลากสี...ที่พะงัน เกาะพะงัน เป็นเกาะในอ่าวไทย ตัง้ อยูท่ างตะวันออก เฉียงใต้ของประเทศไทยในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นส่วนหนึ่ง ของอำเภอเกาะพะงัน มีชอ่ื เสียงจากงานฟูลมูนปาร์ต้ี ทีจ่ ดั ขึน้ ที่หาดริ้น และเป็นจุดหมายปลายทางของแบ็กแพ็กเกอร์ ชื่อของเกาะมาจากคำว่า “หลังงัน” เป็นภาษาถิ่น หมายถึง สันทรายที่โผล่พ้นน้ำเมื่อยามน้ำลง เดิมชื่อเกาะ

64

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

ไม่มีสระอะ แต่ต่อมาได้เพิ่มสระอะ เป็นพะงัน มีหาดต่างๆ อาทิ หาดริ้น หาดแม่หาด หาดยาว อันเป็นแหล่งดึงดูด นักท่องเที่ยวให้มาเยือน องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี ได้ร่วมกับสมาคมโรงแรม เกาะพะงัน และหน่วยงานต่างๆ จัดงาน พระจันทร์หลากสี...ที่พะงัน ระหว่าง วันที่ 23 - 27 เมษายน 2560 ณ บริเวณ ท่าเทียบเรือและลานตัวหนอน อำเภอ เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อเป็น การกระตุ้นและส่งเสริมการท่องเที่ยว ส่ ง ผลที่ ดี ต่ อ เศรษฐกิ จ ของอำเภอ เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี


SAMUI FESTIVAL MARATHON 2017 เกาะสมุย เป็นอำเภอหนึง่ ทีน่ กั ท่องเทีย่ ว ชาวไทยและชาวต่างประเทศต่างให้การยอมรับ ว่าเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอันดับหนึ่งทางทะเล ฝัง่ อ่าวไทยของภาคใต้ ในแต่ละปีจะมีนกั ท่องเทีย่ ว หมุนเวียนผลัดเปลี่ยนกันมาท่องเที่ยวในอำเภอ เกาะสมุยนับแสนๆ คน

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงได้มกี ารจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเทีย่ วเกาะสมุย ให้เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมของเทศกาลงานท่องเที่ยว ของปีที่หลายๆ คนจะต้องหาโอกาสแวะเวียนกันมา ภายใต้ชื่องานว่า “SAMUI FESTIVAL” โดยความ ร่วมมือจากหน่วยงานราชการ ภาคเอกชน พี่น้อง ประชาชนทุกภาคส่วนในการร่วมเป็นเจ้าภาพในการ จัดงานดังกล่าว เพือ่ การส่งเสริมการท่องเทีย่ วให้แก่ อำเภอเกาะสมุยแล้ว ยังเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ ของพื้นที่เกาะสมุยและพื้นที่ใกล้เคียง รวมถึงจังหวัด สุราษฎร์ธานี มีเม็ดเงินที่หมุนเวียนรวมทั้งจังหวัด หลายล้านบาท ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

65


102 ปี 100 ใจ 100 บาง @ อบจ.สุราษฎร์ธานี มหัศจรรย์ดินแดนพนมขุนคีรีวิภาวดี การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง กี ฬ าในปั จ จุ บั น กำลั ง เป็นที่นิยม เพราะเมื่อมีการแข่งขันกีฬาต่างๆ ก็จะ มี เรื่ อ งของแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการตัดสินใจให้เข้าร่วมในสนามกีฬานัน้ ๆ ไม่วา่ จะ เป็นการเดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน หรืออื่นๆ

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ร่วมมือกับทั้งภาคเอกชน และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจัดกิจกรรมปั่นจักรยานขึ้นในโครงการ “102 ปี 100 ใจ 100 บาง @ อบจ.สุราษฎร์ธานี มหัศจรรย์ดนิ แดนพนมขุนคีรวี ภิ าวดี” ขึน้ เพือ่ ส่งเสริม การท่องเที่ยวในเขตอำเภอพนม, อำเภอบ้านตาขุน, อำเภอคีรีรัฐนิคม และอำเภอวิภาวดี จังหวัด สุราษฎร์ธานี ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายมากยิ่งขึ้น รวมถึงยังเป็นการรณรงค์ประเทศไทยสูเ่ มืองจักรยาน ให้ประชาชนใช้รถใช้ถนนร่วมกันอย่างปลอดภัย พร้อมช่วยส่งเสริมให้ประชาชนได้ออกกำลังกาย 66

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


มหัศจรรย์หินพัด

ด้ ว ยธรรมชาติ ที่ รั ง สรรค์ ม หั ศ จรรย์ ใ ห้ ก้ อ นหิ น ขนาดใหญ่ ที่มีความสูงประมาณ 6 เมตร ฐานที่กว้างเพียง 1 เมตร มีเพียงฐานเล็กน้อยที่ยึดติดกับลานหินที่เรามองแล้ว บอกว่าไม่น่าจะตั้งอยู่ได้ และด้วยลักษณะของหินที่มีความ คล้ายกับพัด จึงเป็นที่มาของ หินพัด

หินพัด หรือ หินตั้ง ที่ชาวบ้านเรียกกัน มาแต่โบราณถูกค้นพบโดยพรานป่า ซึ่งได้ตั้งชื่อ หินตามลักษณะรูปร่างที่มองดูคล้ายพัดเมื่อได้พบ หินแล้ว กลับมาถึงบ้านก็ได้พูดคุยให้เพื่อนบ้าน ทราบว่าได้พบหินมหัศจรรย์ตั้งตระหง่านอยู่บน หน้าผาสูงกลางป่า จนหินพัดแห่งนี้เป็นที่เคารพบูชา ของชาวบ้านและพรานที่มาหาของป่าบริเวณนี้ มาช้านาน ไม่เพียงเท่านั้น บรรดาพ่อค้าวานิช ต่างก็มาเคารพกราบไหว้ขอพรให้ทำการค้าขาย รุ่งเรือง ให้หน้าที่การงานก้าวหน้า

เหตุที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หินตั้ง ตามคำ บอกเล่ากันมาแต่เก่าก่อน ด้วยในสมัยโบราณนานมา บริเวณของท่าขนอนอันเป็นที่ตั้งของหินตั้งนี้เป็น ท้องทะเลทัง้ หมด และหินตัง้ ก็เป็นหมุดทีแ่ บ่งระหว่าง ทะเลอันดามันและทะเลฝั่งอ่าวไทย เดินทะเล สามารถมองเห็นเมื่อผ่านหินตั้งนี้ทำให้ทราบได้ว่า เดินทะเลอยูฝ่ ง่ั ทะเลใด ปัจจุบนั ก็เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว อีกแห่งหนึ่งของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่นักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติให้ความสนใจและได้มา สัมผัสมหัศจรรย์จากธรรมชาติแห่งนีอ้ ย่างไม่ขาดสาย ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

67


ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการบริหารจัดการท้องถิ่นที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาล

การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล เป็นวิธีการที่ดีที่นำมาใช้ในการบริหาร จัดการองค์กรโดยมีหลักนิตธิ รรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีสว่ นร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า เพื่อการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม โปร่งใส ยุติธรรมและตรวจสอบ ได้มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาของสังคม นำมาซึ่งความเจริญในด้านต่างๆ จะเห็นว่าธรรมาภิบาลมี ความสำคัญต่อการบริหารจัดการและเป็นประโยชน์ต่อองค์กร ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และสังคมโลก องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพี่น้องประชาชนจาก ทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกันพัฒนาท้องถิ่นสุราษฎร์ธานีอย่างยั่งยืนต่อไป


เสริมความ เข้มแข็งให้เครือข่ายยุติธรรม เพื่อส่งเสริมประชาธิปไตย ของชุมชน สร้างการมีส่วนร่วม

การส่งเสริม พัฒนาศักยภาพ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ด้านการส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค สิทธิและเสรีภาพ การมีสว่ นร่วมของประชาชน ระเบียบ กฎหมายต่างๆ ให้แก่ อาสาสมัคร/ เครือข่ายยุติธรรมชุมชน เป็นการสร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการสร้างเสริมประชาธิปไตย

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้จดั โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร/เครือข่าย ยุติธรรมชุมชนเพื่อส่งเสริมประชาธิปไตย ความ เสมอภาค สิทธิเสรีภาพ และการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานีขึ้น ณ โรงแรม สุภารอยัล บีช อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช เพือ่ ประชาสัมพันธ์ บทบาท หน้าที่ ภารกิจ อำนาจ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีให้ แก่อาสาสมัคร/เครือข่ายยุตธิ รรมชุมชน พร้อมทัง้ เสริ ม สร้ า งความรู้ เ กี่ ย วกั บ การอำนวยความ ยุติธรรม รวมถึงการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

69


เยาวชนอาสาสมัครเพื่อการขับเคลื่อน

ในการพัฒนาท้องถิ่น เยาวชนคือกำลังของชาติในการที่จะ ช่วยขับเคลื่อน พัฒนาท้องถิ่นและประเทศชาติ ในอนาคต องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตระหนักถึงการสร้างการมีส่วนร่วมของเยาวชน ในการพัฒนาท้องถิ่นสุราษฎร์ธานี

70

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

จึงมีโครงการอบรมสัมมนาเยาวชนอาสาสมัคร เพื่อการขับเคลื่อนในการพัฒนาท้องถิ่น (ตาสับปะรด) โดยมีคณะครู อาจารย์ และนักเรียน เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 269 คน เพือ่ สร้างเครือข่ายให้องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดตั้งแต่ชุมชน หมู่บ้าน ซึ่งเป็นช่องทางหนึ่ง ที่สามารถเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมใน การแจ้งปัญหาเรื่องราวต่างๆ มายังองค์การบริหารส่วน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อจะนำไปสู่การพัฒนาท้องถิ่น อย่างยั่งยืนต่อไป


สร้างเสริมภาวะผู้นำกับการมีส่วนร่วม

ในการพัฒนาท้องถิ่นให้กับนักเรียน การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เป็ น ภารกิ จ หนึ่ ง ที่ ท างองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี ส่งเสริมสนับสนุนด้วยดีมาตลอดผ่าน จากชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำท้องที่ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์อนั ดีในการร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นสุราษฎร์ธานี

เยาวชนถือได้ว่าเป็นอีกภาคส่วนหนึ่งในการสร้างการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้จัดโครงการส่งเสริมการสร้างภาวะผู้นำกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น ให้กับนักเรียน เพื่อเป็นการสนับสนุนการเมืองแนวใหม่ ที่ประชาชนจะมีบทบาทในการตัดสินใจทาง การเมืองมากขึ้นในรูปแบบสภาเมือง อีกทั้งส่งเสริมสนับสนุนภาคประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนาท้องถิ่น ซึ่งมีการจัดโครงการ จำนวน 4 ครั้ง นักเรียนเข้าร่วมโครงการประมาณ 1,200 คน ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

71


อบจ. สุราษฎร์ธานี

ต่อยอดการพัฒนา เพิ่มศักยภาพ ให้เกิดเป็นรูปธรรม โรงเรียนต้นแบบของการเรียนรู้ โรงพยาบาล อบจ.สุราฏร์ธานี เติมสุขให้ประชาชน สวนสาธารณะเกาะลำพู ปอดใหญ่ใจกลางเมือง บ่อน้ำร้อนท่าสะท้อน แหล่งท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ



ร.ร.อบจ.สุราษฎร์ธานี 1 บริหารโดย นายภานุ อ่ำใหญ่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา

นางเยาวเรศ พิริยสถิต รองผู้อำนวยการสถานศึกษา

นายสมพร ฮวดเลี้ยง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา

นายสันติสุข เทือกสุบรรณ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา

74

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

(ดอนสักผดุงวิทย์) 1. เปิดสอนระดับ : ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 2. ระดับ ปวช. ที่เปิดสอนทั้งหมด : 2 สาขา ได้แก่ 1. สาขาวิชาช่างยนต์ 2. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3. ครูและบุคลากร : จำนวน 73 คน ผู้บริหาร 4 คน ครู 59 คน บุคลากร 10 คน 4. นักเรียนทั้งหมด : 959 คน แบ่งเป็น มัธยมศึกษาตอนต้น 572 คน มัธยมศึกษาตอนปลาย 240 คน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 147 คน 5. ผลงานของสถานศึกษา 5.1 การประกวดสถานศึกษาที่มีผลการ ดำเนินการดีเด่น ด้านการจัดกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ 4 H ได้รับคัดเลือกผลการดำเนินการดีเด่น ระดับจังหวัด ด้านการพัฒนาการปฏิบัติ (Hand) จากกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย 5.2 ได้รับโล่ห์เกียรติคุณโรงเรียนพอเพียง ท้องถิ่น นำร่อง ปี 2559 วันที่ 6 กันยายน 2560 จาก กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย


6. ผลงานด้านวิชาการ 6.1 การประกวดโครงการศิลปะเด็กและเยาวชน ครั้งที่ 16 หัวข้อ “สันติประชาธรรม” ของสถาบันปรีดี พนมยงค์ กรุงเทพมหานคร รางวัลชนะเลิศระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุนการศึกษา 6,000 บาท รางวัลยอดเยี่ยม ทุนการศึกษา 10,000 บาท ได้แก่ ด.ช.ก่อตะวัน มะลิทิพย์ 6.2 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาคใต้ ครัง้ ที่ 67 ประจำปีการศึกษา 2560 สังกัดเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา มัธยมศึกษา 1) รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 เหรียญทองแดง การแข่งขันวงดนตรีลกู ทุง่ ประเภท ทีม ข. ม.1 - ม.6 ได้เป็น ตัวแทนภาคใต้ ไปแข่งขันในระดับประเทศ 2) รางวัลเหรียญทอง อันดับ 4 การแข่งขันขับ ร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ประเภทหญิง ม.4 - ม.6 น.ส.กนกพรรณ ทาบุญ 2.3 การแข่งขันโครงการคนเก่งในโรงเรียนท้องถิน่ ประจำปีการศึกษา 2560 จัดโดยกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ได้รบั การคัดเลือกเป็นตัวแทนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ไปแข่งขันระดับประเทศ จำนวน 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์, สังคมศึกษาศาสนาและ วัฒนาธรรมและภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

2.4 การแข่งขันทางวิชาการ ระดับนานาชาติ ประจำปี 2561 รอบแรกระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 วิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ได้แก่ นางสาวศิรดา เมืองเกิด ได้เป็นตัวแทนเข้าร่วมแข่งขันรอบระดับประเทศ 7. ผลงานด้านกีฬา 3.1 การแข่งขันกีฬานักเรียนองค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่นแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 35 “นครภูเก็ตเกมส์” ประจำปี 2560 ณ จังหวัดภูเก็ต ระหว่างวัน ที่ 1 - 10 ธันวาคม 2560 1) เหรียญทอง ขว้างจักร รุ่นอายุ 14 ปี ชาย 2) เหรียญทอง วิ่ง 3,000 ม. รุ่น 16 ปี ชาย 3) เหรียญทองแดง จำนวน 5 เหรียญ 3.2 การแข่ ง ขั น กี ฬ าบาสเกตบอล “Obec Champion Cup 2017” สพฐ - โมโน แชมเปี้ยน คัพ 2017 บาสเกตบอลนักเรียนชิงชนะเลิศระดับภูมิภาคระดับภาคใต้ ณ จังหวัดภูเก็ต ระหว่างวันที่ 13 - 19 ธันวาคม 2560 3.3 การแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติคัดเลือก 4 ภาค (ภาคใต้) ครั้งที่ 34 ณ จังหวัดตรัง วันที่ 20 - 30 พฤศจิกายน 2560 รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 เป็นตัวแทน การแข่งขันบาสเกตบอลประเภท 3×3 ไปแข่งขันระดับ ประเทศ ณ จังหวัดน่าน ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

75


ร.ร.อบจ.สุราษฎร์ธานี 2

(บ้านดอนเกลี้ยง)

เด่น EP สองภาษา พัฒนาผู้เรียนผ่านสื่อพื้นบ้าน สานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

นายวิชัย โสพลพันธุ์

ผู้อำนวยการสถานศึกษา

น.ส.กัลยากร บุญนำ

รองผู้อำนวยการสถานศึกษา

มีนักเรียน 824 คน ครูและบุคลากร 47 คน เปิดสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาล - ม.3 เปิดสอน EP ระดับ อนุบาล - ป.5 76

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

มี ก ารพั ฒ นาครู ผู้ ส อนในการใช้ สื่ อ การเรี ย น การสอนจากตัวหนังตะลุง ซึง่ เป็นศิลปะพืน้ บ้านของภาคใต้ เป็นการสร้างการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และยังได้รับ รางวัลสื่อการสอนดีเด่นของภาคใต้ และระดับประเทศ กลายเป็นต้นแบบของสื่อการเรียนการสอนให้แก่โรงเรียน ต่างๆ


สร้างทักษะการเรียนรู้ผ่านโครงงานต่างๆ อาทิ โครงงานทำตัวหนังตะลุง โครงงานวิทยาศาสตร์ กระดาษจากผักตบชวา โครงงานสไลม์ปยุ ฝ้าย เป็นการ ฝึกทักษะการเรียนรูร้ อบตัว ทัง้ ยังเพิม่ พูลประสบการณ์ การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน

ด้ ว ยปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ได้ถ่ายทอดแนวทางการทำเกษตร เพื่อการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง โรงเรียนองค์การ บริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี 2 (ดอนเกลี้ยง) จึงได้สานต่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่ผู้เรียน ผ่ า นสวนเกษตรของโรงเรี ย นที่ มี ก ารผสมผสาน ของพืชพันธ์ต่างๆ รวมถึงการเลี้ยงไก่ เลี้ยงเป็ด เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าและเป็นทางเลือกให้ อนาคตให้แก่ผู้เรียนได้อีกด้วย

ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

77


ร.ร.อบจ.สุราษฎร์ธานี 3 (บ้านนา) โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี 3 (บ้านนา) ตัง้ อยูท่ เ่ี ลขที่ 153 ต.บ้านนา อ.บ้านนาเดิม จ.สุราษฎร์ธานี มีนักเรียน 1,086 คน ครูและบุคลากร 61 คน เปิดสอนระดับ อนุบาล - ม.3

78

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

นางสาวสุจิรา ทรรพคช รองผู้อำนวยการสถานศึกษา รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสถานศึกษา


ผลงานของสถานศึกษา รางวัลชนะเลิศวงดนตรีสตริงระดับประเทศ โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี 3 (บ้านนา) เข้าร่วมการแข่งขัน วงดนตรีสตริง ในงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับชาติ ครั้งที่ 66 ประจำปีการศึกษา 2560 ระหว่าง วันที่ 29 - 31 มกราคม 2560 ณ ศูนย์ประชุมธรรมศาสตร์ รังสิต จังหวัดปทุมธานี จัดขึ้นโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยวงดนตรีสตริงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี 3 (บ้านนา) ได้รับ รางวัลชนะเลิศระดับเขตพืน้ ที่ เป็นตัวแทนของ จ.สุราษฎร์ธานี เข้าแข่งขันระดับภาคใต้และได้รับรางวัลชนะเลิศ ณ จังหวัด ระนอง และได้เป็นตัวแทนในการแข่งขันระดับประเทศ ซึ่งการ แข่งขันระดับประเทศมีผู้เข้าร่วมแข่งขันจำนวน 12 ทีม โรงเรียน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี 3 (บ้านนา) ได้รับรางวัล ชนะเลิศอันดับหนึ่งของประเทศ โดยมีผู้ควบคุมและแข่งขัน ประกอบด้วย 1. ณรงค์รัตน์ มือคีย์บอร์ด 2. ธีรภัทร พลราม มือกลอง 3. ด.ญ.ปริชญสพร มือกีตาร์โซโล่ 4. ด.ญ.อริสรา พิศาลภพ นักร้องนำ 5. ด.ญ.พิทยาภรณ์ จีนศรีคง มือกีตาร์คอร์ท 6. ด.ญ.ณัฐณิชา ปกาศรี มือเบส ครูฝึกสอน นายรักไท ไสยรินทร์ ตรี ตำแหน่งอัตราจ้างโรงเรียน ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

79


โรงพยาบาล อบจ.สุราษฎร์ธานี เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของทุกคน

โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดขึ้นจากนโยบายและอำนาจหน้าที่ ที่กฎหมาย กำหนดให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด สามารถดำเนินการด้านสาธารณสุข การสังคมสงเคราะห์ การส่งเสริม คุณภาพชีวิตของประชาชนได้ในเขตพื้นที่จังหวัดนั้นๆ

โดยเมื่อปี พ.ศ. 2550 องค์การบริหารส่วน จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยนายธานี เทือกสุบรรณ นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี ในขณะนั้น ได้จัดซื้อโรงพยาบาลบ้านดอน (เดิม) และตั้งงบประมาณเพื่อปรับปรุง เมื่อ พ.ศ.2550 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพและ คุณภาพชีวิตที่ดี อีกทั้งเป็นการแบ่งเบาภาระและ ลดความแออัดของโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี โดยสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีในขณะนั้น ได้อนุมัติงบประมาณ 80

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


ต่ อ มาองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี นำโดยคณะผูบ้ ริหาร นายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ร่วมกับโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ดำเนิ น การเปิ ด โรงพยาบาลองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี เพื่อแก้ปัญหาการให้บริการของโรงพยาบาล สุราษฎร์ธานี ในการลดความแออัดของโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี โดยเน้นการพัฒนาทรัพยากรที่มีอยู่แล้วให้เกิด ผลดีต่อประชาชนมากที่สุด เป็นการรักษาผู้เจ็บป่วยโรคทั่วไป และให้ บ ริ ก ารผู้ ป่ ว ยโรคเรื้ อ รั ง ที่ ต้ อ งตรวจและกิ น ยาคุ ม อาการอย่างต่อเนือ่ ง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หอบหืด ไม่ต้องไปโรงพยาบาลใหญ่ รวมทั้งเน้นการส่งเสริม สุขภาพ ป้องกัน รักษา โรคต่างๆ ดูแลคนปกติไม่ให้ป่วย และได้เปิดให้บริการเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 86 พรรษา วันที่ 5 ธันวาคม 2556 เป็นต้นมา แบ่งการให้บริการในชั้นต่างๆ ดังนี้ ชั้นที่ 1 เปิดให้บริการเวลา 08.00 - 16.00 น. ตรวจรักษาโรคทัว่ ไปทุกกลุม่ อายุ อุบตั เิ หตุฉกุ เฉิน ฉีดยา ทำแผล คลินกิ ส่งเสริม สุ ข ภาพอนามั ย แม่ แ ละเด็ ก ฝากครรภ์ ตรวจหลังคลอด ทันตกรรม และบริการ ให้คำปรึกษาด้านสุขภาพ ชั ้ น ที ่ 2 ที ่ ท ำการกองทุ น ฟื ้ น ฟู สมรรถภาพทีจ่ ำเป็นต่อสุขภาพ จ.สุราษฎร์ธานี ชั้นที่ 3 แพทย์แผนไทย ชั้นที่ 4 คลินิกจิตเวชวัยรุ่น คลินิก จิตเวชเด็ก คลินิกส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ชัน้ ที่ 5 สำนักงานของกองส่งเสริม คุณภาพชีวิต ปัจจุบันโรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้เปิดบริการมาแล้วระยะหนึ่ง มีผู้มาใช้ บริการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเนื่องจากมีแพทย์ พยาบาล บุคลากรทางด้านสาธารณสุขที่เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาล สุราษฎร์ธานี มีผมู้ ารับบริการประมาณเดือนละกว่า 4,000 คน และคาดว่าจะมีผมู้ าใช้บริการเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ANNUAL REPORT 2017 SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION 81


สวนสาธารณะ

เกาะลำพู

เกาะลำพู เป็นเกาะขนาดเล็กที่อยู่กลางแม่น้ำตาปี เป็นที่ราชพัสดุ เดิมทางจังหวัดเคยให้สัมปทานแก่เอกชน

สร้างบังกะโล สร้างสวนอาหาร ต้องเดินทางทางเรือ ต่อมาภายหลังหมดสัญญาทางจังหวัดได้พัฒนาสวนสาธารณะ เป็นที่ซึ่งมีสภาพแวดล้อมงดงาม เหมาะแก่การพักผ่อนอย่างยิ่ง ต่อมาได้มีการสร้างสะพาน เพื่อเชื่อมเกาะลำพูให้สามารถเดินทางได้สะดวก และอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาบริเวณเกาะลำพูได้รับความ เสียหายจากน้ำท่วมหลายต่อหลายครั้ง ทำให้พื้นที่รอบเกาะดูไม่ สวยงาม ประกอบกับขาดการบริหารจัดการพื้นที่ที่ดี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงได้มอบ นโยบายในการที่จะปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณเกาะลำพูให้เหมาะสม เป็นปอดของคนเมือง เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานที่ ออกกำลังกาย รวมถึงสามารถใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมต่างๆ ได้ อย่างมากมาย จึงได้มอบหมายกองช่าง องค์การบริหารส่วนจังหวัด สุราษฎร์ธานี ในการที่จะดำเนินการเรื่องดังกล่าว หลังจากได้ ดำเนินการจัดทำแผนงานต่างๆ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงได้นำเข้า ข้อบัญญัติ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี และได้ผ่าน ความเห็นชอบจากสมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณเกาะลำพู

82

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


เมื่ อ ข้ า มเข้ า เกาะลำพู จ ะพบกั บ ลานกิ จ กรรมเล็ ก ๆ ตัง้ แต่เริม่ เข้าเกาะ มีลานจอดรถเป็นสัดส่วน มีอาคารเฉลิมพระเกียรติฯ เพื่อเป็นอาคารเอนกประสงค์ในร่ม สำหรับการจัดกิจกรรมต่างๆ มีป้าย “สุราษฎร์ธานี” ขนาดใหญ่บริเวณด้านข้างของเกาะหันไป ทางริมเขื่อนแม่น้ำตาปี เห็นได้อย่างชัดเจน ลานสำหรับเด็กเล็ก (สนามเด็กเล่น) ลานกิจกรรมและ ลานกีฬาต่างๆ อาทิ สนามบาสเก็ตบอล สนามเปตอง สนามฟุตซอล สนามวอลเล่ย์บอล สนามวู้ดบอล รวมถึงลานหินที่อยู่ท้ายเกาะ สำหรับจัดกิจกรรมกลางแจ้ง ในยามเย็นเป็นสถานที่ชมพระอาทิตย์ ตกอย่างสวยงาม นอกจากนี้ถนนภายในเกาะยังมีการแบ่งพื้นที่สำหรับ นักวิ่ง หรือ เดินออกกำลังกายอย่างเป็นสัดส่วนชัดเจน เพื่อป้องกัน การเกิดอุบัติเหตุและอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ออกกำลังกาย

มีการปรับพื้นที่รอบสระน้ำขนาดใหญ่ ในเกาะลำพูให้สวยงาม มีรั้วรอบขอบชิดสำหรับ ป้องกันอุบัติเหตุ มีป้ายบอกทางไปยังสถานที่สำคัญ ต่างๆ ภายในเกาะ รวมถึงป้ายเตือนในการดูแล บุตรหลานเพือ่ ป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุจมน้ำ มีการ ปรับปรุงอาคารภายในเกาะต่างๆ เช่น อาคารสำหรับ จอดเรือ อาคารโรงเพาะชำ อาคารป้อมยาม อาคาร ห้องน้ำ อาคารประชาสัมพันธ์ เพื่อใช้เป็นสถานที่ สำหรับติดต่อของผู้ที่เข้ามาใช้บริการในเกาะลำพู มีการวางระบบไฟฟ้าระบบเสียงตามสาย รอบเกาะ และเพื่อป้องกันและดูแลความปลอดภัย แก่พี่น้องประชาชน ทางองค์การบริหารส่วนจังหวัด สุราษฎร์ธานี จึงได้ติดตั้งทีวีวงจรปิด เพื่อช่วยในการ ดูแลสอดส่องพื้นที่บริเวณรอบเกาะอย่างทั่วถึง ด้วยเกาะลำพูซึ่งตั้งอยู่กลางแม่น้ำตาปี มีบริเวณและพื้นที่เหมาะสำหรับในการนำเรือเล็ก หรือเจ็ทสกีลงแม่น้ำตาปี จึงทำให้มีผู้ที่รักและชื่นชอบ ในกีฬาเจ็ทสกี นำเจ็ทสกีมาลงน้ำจากเกาะลำพูและ ฝึกซ้อมในแม่น้ำตาปีรอบเกาะลำพูอยู่เป็นประจำ เกาะลำพู ยั ง เคยใช้ เ ป็ น สนามจั ด การ แข่งขันเจ็ทสกีแห่งประเทศไทย บริเวณแม่น้ำตาปี ข้างเกาะอีกด้วย นอกจากนี้บริเวณแม่น้ำตาปีข้างเกาะลำพู ยังเป็นสนามการแข่งเรือยาวในงานประเพณีชกั พระ ทอดผ้าป่า และแข่งเรือยาวของจังหวัดสุราษฎร์ธานี มาอย่างยาวนาน แต่ ก ารปรั บ ภู มิ ทั ศ น์ เ กาะลำพู ทุ ก ครั้ ง จะคงไว้ซึ่งธรรมชาติของต้นไม้ภายในเกาะให้คงไว้ ดังเดิม จนเป็นอีกสถานทีห่ นึง่ ของคูร่ กั ทีจ่ ะมาถ่ายภาพ เพื่อเป็นที่ระลึกก่อนงานมงคลสมรสด้วย เรียกว่า เกาะลำพูมีความผูกพันธ์กับแม่น้ำตาปีและพี่น้อง ชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีมาอย่างยาวนาน

ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

83


สวนน้ ำ พุ ร อ ้ น เฉลิมพระเกียรติฯ (บ่อน้ำร้อนท่าสะท้อน)

สวนน้ ำ พุ ร้ อ นเฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา หรือที่ชาวบ้าน รู้จักกันในนาม บ่อน้ำร้อนท่าสะท้อน ตั้งอยู่ที่บ้านห้วย หมู่ที่ 6 ต.ท่าสะท้อน อ.พุนพิน เป็นน้ำร้อนที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติใน ป่าพรุ มีขนาดกว้างประมาณ 2 เมตร เกิดจากน้ำใต้ดินได้รับ การถ่ายเทความร้อนจากหินอัคนีที่ร้อนในระดับลึก และไหล ย้อนกลับสู่ผิวดิน ชั้นหินในบริเวณแหล่งน้ำพุร้อนแห่งนี้ส่วนมาก 84

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

เป็นหินทราย (Sandstone) หินทรายแป้ง (Siltstone) หินกรวดมน (Conglomerate) หินมีสีแดง สีน้ำตาลแดง เหลือง และขาว และเกิดร่วมกันโดยจะเป็นชั้นหินทรายหนา มีหินทรายแป้งสลับน้ำร้อนที่ไหลขึ้นมาจาก ใต้ดิน เป็นน้ำแร่ร้อนมีอุณหภูมิประมาณ 70 องศาเซลเซียส น้ำพุร้อนท่าสะท้อน ห้ า มนำไข่ ม าต้ ม หรื อ มาแช่ ใ นบ่ อ น้ ำ ร้ อ น โดยเด็ดขาด สามารถเดินทางจาก อ.เมือง สุราษฎร์ธานี โดยใช้เส้นทางหมายเลข 401 จนถึงสามแยก กม.0 ให้เลี้ยวซ้ายไปตาม เส้นทางหมายเลข 401 จนถึงทางแยก ซ้ายมือเข้าสูบ่ า้ นบ่อกรัง ผ่านถนนทางรถไฟ และผ่านตัวตลาดตำบลบ่อกรังประมาณ


4 กิโลเมตร พบทางแยกขวามือเข้าสู่บ้านห้วยลึก ซึ่งเป็นเส้นทางไปบ่อน้ำร้อนท่าสะท้อน ระยะทาง ประมาณ 3 กิโลเมตร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมกับชุมชน ได้ดำเนินการปรับปรุงเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของตำบลท่าสะท้อน มีการจัด ภูมิทัศน์ไว้อย่างสวยงาม มีการสร้างทางเดินรอบ บ่อน้ำร้อนและป้องกันการเกิดอุบัติ มีปรับภูมิทัศน์ สร้างบ่อสำหรับแช่ขาในน้ำร้อน หรือบ่อแช่ทั้งตัว เพื่อความผ่อนคลาย เส้นทางรอบบ่อน้ำร้อนมี สนามเด็กเล่นที่ทางครอบครัวสามารถไปนั่งพักผ่อน ให้เด็กๆ วิง่ เล่นกันได้ มีความร่มรืน่ ด้วยแมกไม้นานาพรรณ มากมาย เพื่อเป็นสถานที่พักผ่อนที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง ของจังหวัด ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

85


รางวั ล แห่งความภาคภูมิใจ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ มีภารกิจที่ต้อง รับผิดชอบเพื่อแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนา ท้องถิ่นสุราษฎร์ธานีให้มีความเจริญก้าวไปข้างหน้าอย่าง มั่นคงและยั่งยืน ด้วยผลแห่งความมุ่งมั่น ตั้งใจริง ในการที่จะ สนองตอบต่อความต้องการของพี่น้องประชาชนชาว จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทำให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด สุราษฎร์ธานี ได้รับรางวัลชมเชย ประเภททั่วไป (องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่) ซึ่งเป็นการประเมิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ คณะกรรมการการกระจาย อำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) สำนัก ปลัดนายกรัฐมนตรี จาก ดร.วิษณุ เครืองาม ประธาน กรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ ประธานในพิธมี อบรางวัล จำนวน 48 แห่ง จาก ทั่วประเทศ ณ หอประชุมรักตะกนิษฐ มหาวิทยาลัย สวนดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อวันพุธที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560

86

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

87


รางวัล แห่งความภาคภูมิใจ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน 3 ปีซ้อน ภายใต้การบริหารงานของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้มีการดำเนินงานตาม นโยบายที่วางไว้ครบทุกด้าน และเป็นไปตามอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ซึ่งมุ่งเน้นให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนอย่างแท้จริง โดยมีการดำเนินโครงการต่างๆ มากมาย ทั้งที่ดำเนินการเอง และจัดสรร งบประมาณสนับสนุนให้กับส่วนราชการ รวมทั้งองค์กรต่างๆ ส่งผลให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผมได้รับการร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งจากส่วนราชการต่างๆ ภาคเอกชน และประชาชนเป็นอย่างดียิ่ง เกิดประโยชน์สูงสุดแก่พี่น้องประชาชนชาวสุราษฎร์ธานี ผลแห่งการทำงานอย่างตัง้ ใจและจริงใจต่อพีน่ อ้ งประชาชนส่งผลให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รับประกาศเกียรติคุณพระปกเกล้า สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ด้านความโปร่งใส และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ต่อเนื่องกัน 3 ปีซ้อน โดย “ยึดหลักธรรมาภิบาล บริหาร อบจ. โปร่งใส ประชาชนมีส่วนร่วม” เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอย่างสูงสุด ในการพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีให้มั่นคง ยั่งยืนต่อไป

88

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2560

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี


ANNUAL REPORT 2017

SURAT THANI PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION

89


สุราษฎร์ธานี เพื่อสุราษฎร์ธานี

เราร่วมกันดูแล

ของพวกเราทุกคน

ออกแบบและจัดพิมพ์ : หจก.สุราษฎร์ทูเดย์ 0-7796-9669, 09-4453-6964






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.