สถานการณ์ทางการตลาดปัจจุบันของปลาส้ม

Page 1

1. สถานการณ์ ทางการตลาดปัจจุบันของปลาส้ ม ปลาส้ม เป็ นการแปรรู ปอาหารจากปลาชนิ ดหนึ่ งที่นิยมบริ โภคกันในเขตภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ อย่างแพร่ หลาย และแพร่ ไปสู่ ภูมิภาคอื่นๆ เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่นในการถนอมอาหารซึ่ งการผลิตส่ วนใหญ่ยงั เป็ นการผลิตแบบอุตสาหกรรมในครอบครัว โดยอาศัยเทคนิ ควิธีทีถ่ายทอดสื บต่อกันมา ดังนั้น รสชาติ หรื อ คุณภาพของปลาส้มแต่ละแห่ง จึงมีความแตก ต่างกัน ขึ้นอยูก่ บั สู ตรการผลิต อย่างไรก็ตาม แม้สูตรการผลิต เดียวกัน ในแต่ละครั้งก็อาจไม่ได้คุณภาพเท่ากัน ทั้งนี้ เพราะการผลิตปลาส้มจะเป็ นการหมักเพื่อให้เกิดเชื้ อ ตามธรรมชาติ ไม่สามารถควบคุ มได้คุณภาพและรสชาติ จึงมีโอกาสเปลี่ ยนแปลงเนื่ องจากองค์ประกอบ หลายๆ ด้าน ปลาส้มของภาคใต้มีเอกลักษณ์ เฉพาะที่ต่างไป โดยจะนาปลา เช่ น ปลากระดี่ ปลาตะเพียน มาผ่า ท้องเอาไส้ออก หมักเกลือไว้ 2-3 วัน แล้วจึงล้าง จากนั้นนาไปชุ บในน้ าตาลโตนดที่เคี่ยวกับข้าวคัว่ จนข้น เรี ยงใส่ ไห ปิ ดปากไหให้แน่น ทิ้งไว้ 7-10 วัน ถ้าใช้กุง้ แทนเรี ยกกุง้ ส้มอย่างไรก็ตามการบริ โภคปลาส้มควร ปรุ งให้สุกก่อน ไม่ควรบริ โภคดิบๆ เพราะมีพยาธิ ใบไม้ในตับอยู่ ทาให้เสี่ ยงต่อการเป็ นโรคมะเร็ งลาไส้ ปลาส้ ม เป็ นอาหารหมักที่ นิย มบริ โภคกันในเขตภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ และแพร่ หลายไปสู่ ภูมิภาคอื่น ๆ ปลาส้ม เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่นในการถนอมอาหาร ซึ่ งการผลิตส่ วนใหญ่ยงั เป็ นการผลิตแบบ อุตสาหกรรมในครอบครัว โดยอาศัยเทคนิ ควิธีที่ถ่ายทอดสื บต่อกันมาดังนั้น รสชาติ หรื อคุณภาพของปลา ส้มแต่ละแห่ง จึงมีความแตก ต่างกัน ขึ้นอยูก่ บั สู ตรการผลิต อย่างไรก็ตาม แม้สูตรการผลิตเดียวกันในแต่ละ ครั้ง ก็อาจไม่ได้คุณภาพเท่ากัน ทั้งนี้ เพราะการผลิตปลาส้มจะเป็ นการหมักเพื่อให้เกิดเชื้ อตามธรรมชาติ ไม่ สามารถควบคุมได้คุณภาพและรสชาติ จึงมีโอกาสเปลี่ยนแปลงเนื่ องจากองค์ประกอบหลาย ๆ ด้าน รวมทั้ง สภาพแวดล้อมของสถานที่ผลิต ความสะอาดยังมีส่วนสาคัญทาให้ปลาส้ม ไม่สามารถก้าวสู่ มาตรฐานการ ส่ ง ออกได้ผ ศ.ดร. วิชัย ลี ลาวัช รมาศ ผูอ้ านวยการศู นย์ก ารหมัก เพื่ อเพิ่ ม มูล ค่ า ผลิ ตภัณฑ์ทางการเกษตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในฐานะหัวหน้าโครงการวิจยั การผลิ ตปลาส้มคุ ณภาพสู งโดยใช้เชื้ อบริ สุทธิ์ เผยว่า การวิ จยั ครั้ งนี้ เป็ นการส ารวจเพื่ อ ศึ ก ษา และพัฒ นากระบวนการผลิ ต โดยด าเนิ น การเป็ นชุ ด โครงการ ประกอบด้วยโครงการย่อย ๆ 5 โครงการ ได้แก่ โครงการคัดเลือกเชื้ อที่มีประสิ ทธิ ภาพในการผลิตปลาส้ม โครงการการศึกษาและปรับปรุ งการหมักปลาส้ ม โดยใช้วิธีด้ งั เดิ ม และวิธีใช้จุลินทรี ยส์ ายพันธุ์ บริ สุทธิ์ โครงการการศึกษาวิธีการเก็บรักษาและการบรรจุปลาส้มเพื่อขยายเวลาในการเก็บรักษา และคงคุณลักษณะ ปลาส้มคุณภาพสู ง โครงการการจัดทาดรรชนีคุณภาพของอาหารหมักดองประเภทปลาส้มในภาคอีสาน และ โครงการการจัดวางแนวทางปฏิบตั ิที่ดีในกระบวนการผลิต สาหรับหลักการในการผลิตปลาส้ม ปั จจุบนั ใช้ เชื้ อธรรมชาติภายใต้การปรับสภาวะ เช่ น ใส่ เปอร์ เซ็ นต์เกลื อลงไป ให้แลคติกแอซิ ดแบคทีเรี ยเจริ ญเติบโต แล้วสร้างกรดทาให้มีรสเปรี้ ยวเกิดขึ้น ถ้ามีเชื้อปนเปื้ อนเกิดขึ้นมาในระบบการผลิต ข้อแรกเลยก็คือ จะทาให้ คุณภาพของปลาส้มไม่สม่าเสมอ ซึ่ งจะก่อปั ญหาว่า ทาไมไปซื้ อคราวนี้ มาแล้วอร่ อย แต่อีกวันหนึ่ งกลับไม่ อร่ อย คุ ณภาพไม่เหมือนเดิ ม ซึ่ งถ้าจะทาในลักษณะการยกระดับมาตรฐานการผลิ ต จะต้องทาไห้ได้ คาว่า


มาตรฐาน คือ ไม่ว่าคุ ณจะซื้ อเท่าไหร่ คุ ณภาพมันควรจะใกล้เคียงกัน ถ้าสามารถควบคุ มปริ มาณเชื้ อที่จะ ก่อให้เกิดโรค หรื อเชื้ อสาคัญในกระบวนการผลิตได้ ก็จะให้รสหรื อกลิ่นรสของปลาส้มที่ดีได้ ก็จะเป็ นการ ควบคุมการผลิตที่ควบคุมคุณภาพให้คงที่ได้ดว้ ย และมีความปลอดภัยสู งด้วย ตอนนี้คาถามจึงมีวา่ เรารู ้จริ ง ๆ แล้วหรื อยังว่าเชื้ อจุลินทรี ยท์ ี่ได้จากขบวนการธรรมชาติที่มีผลต่อกลิ่น รส เนื้ อสัมผัส หรื อคุณภาพของปลา ส้มที่ใช้ในการบริ โภคมันเกิดจากเชื้อตัวไหนเป็ นหลักผศ.ดร. วิชยั บอกว่า ถ้าเราสามารถทราบได้วา่ เชื้ อตัวนี้ มีผลต่อกลิ่น มีผลต่อรส และมีผลต่อเนื้อสัมผัส ก็จะเอามาทาเป็ นส่ วนผสมเวลาทาการผลิตจะควบคุมสภาวะ ให้สะอาด เพื่อบล็อกการปนเปื้ อนจากเชื้ อตัวอื่นที่ เราไม่ตอ้ งการ แล้วก็เอาเชื้ อบริ สุทธิ์ ใส่ ลงไปก่ อให้เกิ ด กระบวนการผลิ ต เราเชื่ อมั่นว่า จะได้คุ ณภาพของผลิ ต ภัณ ฑ์ที่ มี ค วามสม่ า เสมอ ในทุ ก ครั้ งที่ ผ ลิ ต ก็ จ ะ ใกล้เคี ยงกัน“จริ ง ๆ แล้วมันก็ ข้ ึ นกับว่า เชื้ อในธรรมชาติ มี มากมายหลายชนิ ด อันนี้ เป็ นเพีย งแค่เบื้ องต้น เท่านั้น ต่อไปอาจต้องศึกษาด้วยว่า เชื้อที่ได้จากที่อื่นกับที่เราแยกได้น้ ี มีคุณสมบัติแตกต่างกันอย่างไร เพราะ เชื้อแต่ละชนิด บางตัวให้กลิ่นรสที่ดี บางตัวให้เนื้ อสัมผัสที่ดี ก็คงต้องมีการศึกษาต่อไป แต่เชื้ อที่เราเลือกได้ เป็ นตัวที่เราเจอกันทุก ๆ เจ้า คือ ตัวที่เด่น ๆ ที่เราเอามาได้ทดลองเปรี ยบเทียบ คือหมักแบบธรรมชาติ ไม่มี การเติมเชื้ อของเรา แล้วก็มีการเติมเชื้ อของเราลงไปก็พบว่า คุณภาพไม่แตกต่างกับกระบวนการแบบดั้งเดิม เพราะฉะนั้นก็ถือได้วา่ เชื้อที่เราคัดเลือกได้ ก็ใช้ได้ มีความปลอดภัยอยากเห็นอาหารหมักดองเหล่านี้ สามารถ ส่ งออกต่างประเทศได้ดว้ ย แต่ปัจจุบนั ไม่สามารถทาได้ เนื่ องจากกระบวนการผลิตที่ไม่ได้มาตรฐานคือ เขา มาดูเรา เขาก็ส่ายหัวแล้ว อย่างแหนมไบโอเทค เขาใช้เชื้ อบริ สุทธิ์ การบินไทยมาดูการผลิตก็สามารถเอาขึ้น เครื่ องได้ หมายถึ งว่าเอาแจกให้กบั ผูโ้ ดยสารได้ คืออยากให้เป็ นลักษณะนั้น เมื่อเร็ ว ๆ นี้ ก็เห็ นญี่ปุ่นเขาให้ ความสนใจปลาส้ม โทรทัศน์ของญี่ปุ่นเขาก็ติดต่อมาที่ศูนย์ฯ ว่าอยากจะทราบเกี่ยวกับกระบวนการผลิตปลา ส้ม เพราะเขาอยากจะมาทารายการตรงนี้ ฝากถึงผูผ้ ลิต ขอให้คานึงถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ว่าจะทาอย่างไร ให้คุ ณภาพของผลิ ตภัณฑ์ค งเส้ นคงวา หรื อว่า ได้เหมื อนๆ กันทุ ก ครั้ ง และก็ อยากจะให้มี ก ารปรั บ ปรุ ง กระบวนการผลิ ต ให้ได้มาตรฐานและมี สุขอนามัย ที่ ดี เพื่ อที่ จะให้ค วามมัน่ ใจกับ ผูบ้ ริ โภคว่าจะไม่ เป็ น อันตรายเมื่อบริ โภคเข้าไปแล้ว สาหรั บผูบ้ ริ โภคเองก็อยากจะให้ดูในเรื่ องของคุ ณภาพของผลิ ตภัณฑ์ดว้ ย อยากให้คานึงถึงว่าก่อนที่จะได้มาซึ่ งผลิตภัณฑ์ตวั นี้มีกระบวนการผลิตอย่างไร เพื่อเป็ นการกระตุน้ ให้ผผู ้ ลิต ต้องมีการปรับปรุ งกระบวนการผลิตตรงนั้นด้วย” กลยุธท์ การตลาด 1.ด้ านผลิตภัณฑ์ จากเดิมปลาส้มเป็ นแบบมีกา้ งและทางกลุ่มของข้าพเจ้าได้พฒั นา ด้วยผลิตภัณฑ์ จากเดิมผลิตภัณฑ์ ปลาส้มจะมีแบบมีกา้ งเป็ นส่ วนใหญ่และผูบ้ ริ โภคนิยมทานปลาส้มแบบมีกา้ งจึงเกิดปั ญหาขึ้นมากับผูบ้ ริ โภค คือ ก้างของปลาส้มที่หมักไว้ไม่ได้นาน ทาให้ปลาส้มมีกา้ งที่แข็งเหมือนปลาปกติทวั่ ไป ดังนั้นทางกลุ่ม ข้าพเจ้าได้ระดมความคิดที่จะพัฒนาปลาส้มให้แตกต่างไปจากเดิม โดยจะทาปลาส้มแบบไม่มีกา้ งขึ้นมาเพื่อ ขจัดปั ญหาเดิมที่เกิดขึ้นกับผูบ้ ริ โภคและนอกจากนี้ยงั สามารถเพิ่มยอดขายให้กบั ผลิตภัณฑ์ปลาส้มได้อีกด้วย


แต่ทางกลุ่มก็ยงั คงผลิต ผลิตภัณฑ์ปลาส้มแบบมีกา้ งไว้ดงั เดิมเพื่อรักษากลุ่มลูกค้าเก่าที่ยงั นิยมรับประทาน ปลาส้มแบบมีกา้ งอยูแ่ ต่ทางกลุ่มยังคงพัฒนาปลาส้มแบบไม่มีกา้ งเพื่อเป็ นช่องทางเลือกให้กบั ลูกค้ากลุ่ม ใหม่ๆได้หนั มาบริ โภคปลาส้มเพิ่มมากขึ้น 2.ด้ านบรรจุภัณฑ์ ด้านบรรจุภณ ั ฑ์ของปลาส้มเดิมบรรจุภณั ฑ์ของปลาส้มจะอยูใ่ นรู ปแบบใส่ ถุงพลาสติกและมัดยาง โดยไม่มีตรายีห่ อ้ หรื อฉลากกากับไว้บนบรรจุภณั ฑ์ยงั ทาให้สินค้าไม่เป็ นที่รู้จกั อีกด้วย ดังนั้นทางกลุ่มของ ข้าพเจ้าได้พฒั นาบรรจุภณ ั ฑ์ตรายีห่ ้อและฉลากกากับไว้บนบรรจุภณั ฑ์เพื่อให้ผบู ้ ริ โภคได้เกิดการจดจาตรา สิ นค้าของปลาส้ม นอกนี้ทางกลุ่มได้เพิ่มผลิตภัณฑ์แบบไม่มีกา้ งขึ้นมาและยังพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ของปลาส้ม ในรู ปแบบเดียวกันโดยจะใช้สีในการบ่งบอก สื่ อของตัวผลิตภัณฑ์โดยบรรจุภณั ฑ์ของปลาส้มจะอยูใ่ น รู ปแบบกล่องที่มีลกั ษณะรู ปทรงคล้ายๆกับตัวปลาโดยมีพลาสติกใสๆที่สามารถมองเห็นสิ นค้าที่อยูด่ า้ นใน ได้อีกด้วย นอกจากนี้ยงั ดึงดูดความสนใจในตัวสิ นค้าได้อีกด้านหนึ่งโดยกล่องบรรจุภณ ั ฑ์จะมีหูหิวสาหรับ จัดถือด้วยความสะดวกซื้ อขายและเหมาะแก่การซื้ อของฝากกล่องบรรจุภณั ฑ์แบบมีกา้ ง จะแทนด้วยสี ส้ม ขาว ส่ วนไม่มีกา้ งแทนเป็ นสี เหลืองขาวซึ่ งจะให้ลูกค้าเกิดความจดจาในตัวสิ นค้าซึ่งสา 3.ด้ านตราสิ นค้ า ด้านตราสิ นค้าจากเดิมผลิตภัณฑ์ปลาส้มยังไม่มีตราสิ นค้า,ยีห่ อ้ และส่ วนประกอบต่างๆของ ผลิตภัณฑ์จึงทาให้ปลาส้มไม่ส้มไม่เกิดการเป็ นที่รู้จกั ของผูบ้ ริ โภคไม่วา่ จะเป็ น ตราสิ นค้า ราคา หรื อกล่อง บรรจุภณั ฑ์เป็ นลักษณะเดิมของชาวบ้านที่ไม่มีความรู ้ทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้แตกต่างและแปลก ใหม่ไปจากคู่แข่งขัน ดังนั้นทางกลุ่มข้าพเจ้าได้ระดมความคิดกันภายในกลุ่มว่าออกแบบตราสิ นค้า โลโก้ และ ส่ วนประกอบต่างๆเพื่อให้ผบู ้ ริ โภคเกิดการจดจาในตัวสิ นค้าภายใต้คาว่า “ถูกปลาถูกใจใช่เลย”ซึ่ งจะง่ายแก่ การจดจาผลิตภัณฑ์ แบบใหม่ที่ได้มีการพัฒนาให้เป็ นของแบบใหม่


กลยุทธ์ ด้านราคา ด้ านราคาของปลาส้มเดิมจะอยูใ่ นราคาค่องข้างต่ามากเพราะบรรจุภณ ั ฑ์เดิมของปลาส้มยังไม่มีการ พัฒนาจึงทาให้สินค้าไม่เป็ นที่รู้จกั และอยูท่ ี่ไม่เหมาะสมกับการแข่งขันในตลาด ดังนั้นทางกลุ่มของข้าพเจ้าจึงพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ให้กบั ปลาส้มเพื่อเพิ่มยอดขายให้กบั ตัวผลิตภัณฑ์ เดิมและสามารถนาออกสู่ ตลาดได้อย่างง่าย โดยราคาเดิมของปลาส้มจะมี ราคา 25 บาทต่อถุง ซึ่ งจะตั้งราคาสิ นค้าให้สูงกว่าตามท้องตลาดทัว่ ไปและให้แตกต่างไปจากเดิ มที่เป็ นอยู่ โดยมีราคา ของสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์จะอยูท่ ี่ราคา 55 บาท ต่อกล่อง และจะมีลกั ษณะที่บ่งบอกว่าสิ นค้า คือปลาส้มโดย ตัวบรรจุภณ ั ฑ์จะเป็ นรู ปตัวปลาเพื่อสื่ อให้เห็นถึงผลิตภัณฑ์ตวั ใหม่ที่ได้มีการออกแบบและพัฒนาใหม่เดิมมี ก้างไม่มีกา้ ง กลยุทธ์ ด้านการจัดจาหน่ าย จากสถานที่เดิมของปลาส้มโดยมีการจาหน่ายสิ นค้าอยูใ่ นบริ เวณหมู่บา้ นโดยชาวบ้านคิดกันว่าคงจะ จาหน่ายได้ไม่จาเป็ นต้องมีการพัฒนาให้แปลกใหม่เพราะยังไงก็สามารถจาหน่ายได้ ดังนั้นทางกลุ่มได้นาปั ญหาท่เกิดขึ้นมาปรับปรุ งและแก้ไขให้ดีข้ ึนกว่าเดิมโดยการพูดให้ชาวบ้าน ทราบและเข้าใจเห็นภาพถึงผลิตภัณฑ์ใหม่และให้เข้าใจถึงการแข่งขันดังนั้นสถานที่จาหน่ายก็เป็ นส่ วน สาคัญอีกสื่ งหนึ่งในการขายสิ นค้าและให้สินค้าได้เป็ นที่รู้จกั และยอมรับของผูบ้ ริ โภคโดยจะนาสิ นค้าออกสู่ ตลาดแต่ละอาเภอ ตาบล จังหวัด โดยการหาตัวแทนจาหน่ายเพื่อเป็ นสื่ อกลางในการขยายช่องทางการจัด จาหน่ายผลิตภัณฑ์ปลาส้มให้ทวั่ ทุกพื้นที่ของ จังหวัดสงขลา นอกจากนี้ยงั ฝากจาหน่ายตามร้านค้าของฝากและห้างสรรพสิ นค้า โลตัล ฯลฯ เพื่อให้ปลาส้ม สามารถออกสู่ ตลาดสากลได้

การวิเคราะห์ SWOT จุดแข็ง 1. สิ นค้าสามารถเก็บรักษาได้นาน 2. ขั้นตอนการผลิตไม่ซบั ซ้อน 3. ความร่ วมมือและความสามัคคีของสมาชิกชุมชน ทาให้สามารถสร้างกลุ่มเครื อข่ายได้อย่าง เข้มแข็ง เช่น การตั้งกลุ่มกองทุนฉางข้าวที่เก่าแก่มายาวนาน กลุ่มสร้างอาชีพเกษตรกรแม่บา้ น กลุ่มผลิตปลาส้ม และกลุ่มอื่น ๆ ที่เชื่อมโยงกับวิถีชุมชน


4. สมาชิกในชุมชนมีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาอาชีพ เช่น กลุ่มผลิตข้าวแต๋ นน้ าแตงโมทาการ ผลิต 80 กก.ต่อเดือนมีผลกาไรประมาณ 31,500 บาท กาลังการผลิตสู งสุ ดอยูท่ ี่ 480 กก.ต่อเดือน ในช่วงเทศกาล นอกจากนี้ยงั มีกลุ่มผลิตปลาส้มที่ผลผลิตจากการแปรรู ปประมาณ 370 กก.ต่อ เดือน 5. วัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์แปรรู ปอาหารและการเกษตรสามารถหาได้ง่ายจากใน ชุมชน เช่น มีวตั ถุดิบในการผลิตข้าวแต๋ นจากชุมชน ทาให้ประหยัดต้นทุนการผลิตได้ 6. ผลิตภัณฑ์แปรรู ปได้รับมาตรฐานรับรอง เช่น ผลิตภัณฑ์ขา้ วแต๋ น ได้รับรางวัล Champion ระดับ 4 ดาว ปี 2549 มาตรฐาน อย.เลขที่44-2-00245-2-0001, มาตรฐาน มผช.เลขที่ 2280-31/36, ได้รับ รางวัลที่ 1สถาบันเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด ปี 2547 7. สร้างวัฒนธรรมแห่งการเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาชุมชน และรับผิดชอบต่อสิ่ งแวดล้อม เช่น กลุ่มสร้าง อาชีพด้วยการแปรรู ปอาหาร มีการพัฒนาสู ตรอาหารเป็ นของชุมชน มีชื่อเสี ยง และเป็ นทียอมรับ ของลูกค้า มีการปลูกพืชปลอดสารพิษ ใช้น้ า EM ที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม 8. ใช้เงินลงทุนน้อย 9.

จุดอ่อน 1. ในช่วงลมแรงไม่สามารถหาปลามาทๆได้ 2. ปลาส้มถ้าหมักไว้นานเกินก็จะทาให้กา้ งปลาส้มแข็ง 3. ช่องทางการจัดจาหน่ายยังจากัด (ผ่านเครื อข่ายส่ วนตัวเท่านั้น) ไม่มีหน้าร้านเป็ นของ ตนเอง รวมถึงขาดช่องทางการกระจายข่าวสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ชุมชน หรื อการทาการค้า ผ่านระบบไอที 4. สมาชิกในชุมชนยังขาดความรู ้ทางด้านไอที จึงยังไม่มีการพัฒนาเรื่ อง IT อย่างจริ งจัง 5. ขาดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในธุ รกิจชุมชน เนื่องจากมีอุปกรณ์ที่หน่วยงาน ภาครัฐนามาสนับสนุนจานวน 1 ชุด แต่ยงั ไม่ได้นามาประยุกต์ใช้ 6. ขาดระบบการจัดการที่ดี เช่น ขาดการจดบันทึกเรื่ องราวความเป็ นมา และการเก็บข้อมูล สาหรับเป็ นแหล่งการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับภูมิปัญญาชุมชน 7. ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ทาการผลิตเน้นการทาตามสั่งจากลูกค้าเท่านั้น ยังไม่มีการส่ งเสริ มการ ขายอย่างจริ งจัง จึงทาให้เสี ยโอกาสในการสร้างยอดขาย


โอกาส 1. ลูกค้าทุกศาสนาสามารถรับประทานได้ 2. ในช่วงฝนตกผลิตภัณฑ์จะขายดีจนถึงกับขายหมด 3. มีคู่แข็งขันสามารถจะขยายช่องทางได้ง่าย 4. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุน เช่นโครงการ เช่น สานักงานเกษตรอาเภอจังหวัด กระทรวงอุตสาหกรรม องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) กรมพัฒนาชุมชน (พช.) กระทรวงสาธารณสุ ข (ขอ อย.) กรมปศุสัตว์จงั หวัด ที่สนับสนุนทั้งความรู ้เกี่ยวกับการเกษตร และงบประมาณให้กบั ชุมชน 5. กลุ่มผูบ้ ริ โภคยังต้องการอาหารประเภทขบเคี้ยว เช่น ผลิตภัณฑ์ขา้ วแต๋ น ยังมีโอกาสในการขยาย ตลาดและสร้างยอดขาย หากทาเครื อข่าย หรื อช่องทางการจัดจาหน่ายให้มากขึ้น 6. ลูกค้ามีแนวโน้มสนใจผลิตภัณฑ์แปรรู ปที่ใส่ ใจสุ ขภาพ จึงเป็ นโอกาสให้ผลิตภัณฑ์ขา้ วแต๋ น สามารถเจาะกลุ่มลูกค้ากลุ่มนี้เนื่ องจากสามารถนาวัตถุดิบที่เป็ นประโยชน์ต่อ สุ ขภาพมาปรับใช้ ซึ่ง ต้องประชาสัมพันธ์คุณประโยชน์เหล่านี้ให้มากขึ้น

อุปสรรค 1. ผูบ้ ริ โภคมีทศั นคติต่อสิ นค้าไม่ดี 2. วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตมีคุณภาพไม่สม่าเสมอ 3. กรมวิธีการผลิตไม่ทนั สมัย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถออกแบบบรรจุภณั ฑ์ไว้เป็ นแนวทางให้แก่ชุมชน 2. เพื่อให้นกั ศึกษามีความคิดสร้างสรรค์และมีความสามัคคีภายในกลุ่ม 3. เพื่อสร้างรายได้ให้แก่นกั ศึกษาในระหว่างเรี ยน 4. เพื่อให้นกั ศึกษาได้รับความรู ้จากการศึกษาเกี่ยวกับการผลิต ปลาส้มและการทาบรรจุภณ ั ฑ์สามารถ ใช้ได้ในอนาคต 5. เพื่อให้นกั ศึกษาเกิดความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง


กลยุทธ์ ทางการตลาด (Marketing Strategy) STP Marketing การแบ่ งส่ วนตลาด(Segmentation) การแบ่งกลุ่มประชากรของผูบ้ ริ โภคกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย ทางกิจการจะเจาะกลุ่มลูกค้าตามภูมิศาสตร์ คื อ จะเน้นกลุ่ ม ผูบ้ ริ โ ภคในจัง หวัด สงขลาโดยกลุ่ ม เป้ าหมายหลัก เพศ หญิ ง /ชาย กลุ่ ม แม่ บ ้า น/ กลุ่ ม คนทางาน - วัยกลางคน /กลุ่มครอบครัว ทั้งชายและหญิงไม่จากัดอายุ ไม่จากัดรายได้และสถานที่ขายของ ฝาก ถนนคนเดิน สิ นค้า OTOP และในอนาคตจะขยายส่ วนแบ่งทางการตลาดไปยังจังหวัดใกล้เคียง เช่ น จังหวัด นครศรี ธรรมราช พัทลุ ง สตลู ซึ่ งทางกิ จการจะเจาะตลาดในจังหวัดที่มีแหล่งสถานที่ท่องเที่ยวที่ ได้รับความนิ ยมซึ่ งนักท่องเที่ยวชอบเดินทางไปเที่ยวกันเยอะ เช่น จังหวัดนครศรี ธรรมราช จะเจาะตลาดที่ วัดพระธาตุ จังหวัดพัทลุง ทะเลน้อย จังหวัดสตูล เกาะหลีเป๊ ะ เป็ นต้น การกาหนดตลาดเป้าหมาย(Targeting) ผูบ้ ริ โภคกลุ่มเป้ าหมายสามารถแบ่งออกเป็ น 2ประเภท ดังนี้ ลูกค้าเป้ าหมายหลักคือ เพศ,หญิงชาย อายุ 25 ขึ้นไป กลุ่มเป้ าหมายรอง นักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศ กลุ่มลูกค้ากลุ่มนี้เป็ นกลุ่มลูกค้าที่เข้ามาท่องเที่ยวใน เมืองไทยและต่างจังหวัดแล้วต้องการหาสิ นค้าที่เป็ นสัญลักษณ์หรื อของที่ระลึกจากเมืองไทยหรื อต่างจังหวัด กลับไปเป็ นของฝากทั้งชายและหญิงมีรายได้ไม่จากัด การวางตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ (Positioning) กิจการได้ต้ งั ราคาของปลาส้มที่สูงกว่าคู่แข่งขันเนื่ องจากทางกิจการได้มีการให้บริ การแก่ลูกค้าโดย สามารถเลือกสิ นค้าที่ตนเองต้องการได้ จึงทาให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในผลิตปลาส้มให้แตกต่างจากคู่แข่งขัน และมี การผลิ ตบรรจุภณ ั ฑ์ข้ ึนมาใหม่เพื่อสร้ างความจูงใจให้กบั ผูบ้ ริ โภค การวางตาแหน่ งผลิ ตภัณฑ์น้ ี ได้ วางตามกลุ่มตลาดเป้ าหมายที่วา่ งไว้ ที่สามารถมีอานาจในการซื่ อสิ นค้าได้

คุณภาพสู ง ปลาส้ม ราคาสิ นค้าต่า

ราคาสิ นค้าสู ง

คู่แข่งขัน

คู่แข่งขัน

คุณภาพต่า



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.