Thesis 2017

Page 1

ARCH THESIS 2017 RMUTT BY : RATTANACHAI PUKKHAM

โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

CHAO PHRAYA

NETWORK AGRICULTURE DEVELOPMENT CENTER



CHAO PHRAYA NETWORK AGRICULTURE DEVELOPMENT CENTER

RATTANACHAI

PUKKHAM

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENT FOR THE BACHELOR DEGREE OF ARCHITECTURE DIVISION OF ARCHITECTURAL TECHNOLOGY FACULTY OF ARCHITECTURE

RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI 2017



ศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา

รัตนชัย

ปุกค้า

วิทยานิพนธ์นีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2560


01

สารบัญ

บทที่ 1 บทน้า

1

บทคัดย่อ

กิตติกรรมประกาศ

1.1 ความเป็นมาและความส้าคัญของโครงการ

1-1

สารบัญ

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1-3

สารบัญภาพ

1.3 ขอบเขตของการศึกษาโครงการ

1-4

สารบัญตาราง

1.4 วิธีด้าเนินการและขันตอนการด้าเนินงาน

1-5

สารบัญแผนภูมิ

1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา

1-6

ฃ T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


02

สารบัญ (ต่อ)

บทที่ 2 หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2

2.1 ความหมายและค้าจ้ากัดความ

2-1

2.2.2.1 ลักษณะของการเกิดอุทกภัย

2-10

2.1.1 ความหมาย

2-1

2.2.2.2 สาเหตุของการเกิดอุทกภัยจากธรรมชาติ

2-12

2.1.2 ค้าจ้ากัดความ

2-2

2.2.2.3 สาเหตุของการเกิดอุทกภัยจากการกระท้า

2-14

2.2ความเป็นมาปัจจุบันและอนาคตของเรื่องที่ศึกษา 2.2.1 ภาวะแวดล้อมโลกที่เปลี่ยนแปลง

2-4

ของมนุษย์

2-4

2.2.2.4 ปัจจัยที่เป็นสาเหตุที่ท้าให้เกิดน้าท่วม

2-15

2.2.1.1 น้าแข็งที่ขัวโลกละลายเป็นวงกว้าง

2-5

2.2.2.5 ผลกระทบจาการเกิดน้าท่วม

2-16

2.2.1.2 มลพิษทางอากาศรุนแรง

2-6

2.2.1.3 ความหลากหลายทางชีวภาพทั่วโลกลดลง

2-7

2.2.1.4 อุณหภูมิของโลกเพิม่ สูงขึนเกินก้าหนด

2-9

2.2.2 ภาวะน้าท่วม (อุทกภัย)

2.2.3 ปัจจัย 4

2-10

2-17

2.2.3.1 อาหาร

2-17

2.2.3.2 ที่อยู่อาศัย

2-18

2.2.3.3 เครื่องนุ่งห่ม

2-19

ค T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


02

สารบัญ (ต่อ)

2.2.3.4 ยารักษาโรค

2.3 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 2.3.1 การปลูกพืชไร้ดิน ( Hydroponic )

2-20

2.3.2.1 ข้อดีการเลียงปลาระบบปิด

2-27

2-22

2.3.2.2 ข้อเสียการเลียงปลาระบบปิด

2-27

2-22

2.3.1.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตในการปลูก

2.4 หลักการหรือเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน 2-28

2-23

ออกแบบสถาปัตยกรรม

พืชไร้ดิน

2.4.1 การจัดแสดงนิทรรศการ

2-28

2.3.1.2 ประโยชน์การปลูกผักไร้ดิน

2-24

2.4.1.1 ลักษณะของนิทรรศการทั่วไป

2-28

2.3.1.3 ข้อดีของการปลูกผักไร้ดิน

2-25

2.4.1.2 วิธีการถ่ายทอดของการจัดแสดง

2-28

2.3.1.4 ข้อเสียของการปลูกผักไร้ดิน

2-25

2.4.1.3 รูปแบบของการจัดแสดง

2-29

2.3.2 การเลียงปลาแบบปิด

2-26

2.5 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง ฅ

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T

2-30


สารบัญ (ต่อ)

2.5.1 เจาะเทรนด์โลก 2017

2-30.

2.5.2 Thailand 4.0

2-32

2.5.3 แผนพัฒนาจังหวัดนครสวรรค์

2-34

2.6 กรณีศึกษาอาคารตัวอย่าง

2.6.2.1 ความเป็นมา 2.6.3 Farm Follows Function : A Solution

2.6.1.1 ความเป็นมา

2.6.3.1 ความเป็นมา

2-36

2-36

2.6.2 The Arctic Harvester : A Brilliant

2-40

For Future Urban Farming

2-36

2.6.1 Bloom :Aquatic Farm Concept Design

2-38

2-38

Design Of Floating Hydroponic Farm And Village ฆ T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T

2-40


03

สารบัญ (ต่อ)

บทที่ 3 การศึกษาและวิเคราะห์ที่ตังโครงการ

3

3.1 เกณฑ์การเลือกที่ตังโครงการ

3-1

3.3.7 ด้านสาธารณสุข

3-6

3.2 ความเป็นมาของที่ตังโครงการ

3-2

3.3.8 ด้านโครงสร้างพืนฐาน

3-7

3.3 ข้อมูลทั่วไปของที่ตังโครงการ

3-4

3.3.9 ด้านเศรษฐกิจ

3-7

3.3.1 ที่ตังและขนาด

3-4

3.3.10 การประมง

3-8

3.3.2 อาณาเขต

3-4

3.3.11 ด้านแรงงาน

3-9

3.3.3 ลักษณะภูมิประเทศ

3-5

3.3.4 เขตการปกครอง

3-5

3.3.1 ด้านเศรษฐกิจ

3-10

3.3.5 ด้านสังคม

3-6

3.3.2 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3-12

3.3.6 ด้านศาสนา

3-6

3.3 วิเคราะห์ศักยภาพของที่ตังโครงการ

3.4 วิเคราะห์ท้าเลของที่ตังโครงการ ง

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T

3-10

3-14


04

สารบัญ (ต่อ)

บทที่ 4 การศึกษาและก้าหนดรายละเอียดโครงการ 3.4.1 วิเคราะห์เมืองของที่ตังโครงการ

3-14 3.4.3 วิเคราะห์ที่ตังโครงการ

3-18

3.4.3.1 การประเมินความเหมาะสมของท้าเลที่ตัง

3-19

อาคาร

4.1 ความเป็นมาของโครงการ

4-1

4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ

4-2

4.3 การก้าหนดโครงการ

4-3

4.4 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ

4-5

4.4.1 ประเภทของจ้านวนผู้ใช้โครงการ

3.4.3.2 แสดงบริเวณที่ตังโครงการ

3-20

3.4.3.3 รายละเอียดที่ตังโครงการ

3-21

4

4-5

4.5 องค์ประกอบของโครงการ

4-6

4.6 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

4-8

4.6.1 Aquaponics

4-8

4.6.2 แปลงเกษตรลอยน้า

4-9

จ T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


04

05

สารบัญ (ต่อ)

บทที่ 5 4.6.3 บ้านลอยน้า

แนวคิดและผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรม

x

4-11

5.1 แนวคิดในการออกแบบ

5- x

4.6.3.1 แบบแปลนบ้านลอยน้า

4-13

5.2 กระบวนการออกแบบ

5- x

4.6.3.2 คุณสมบัติบ้านลอยน้า

4-14

5.3 การพัฒนาการออกแบบ

5- x

5.4 ผลงานการออกแบบ

5- x

ฉ T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


06

สารบัญ (ต่อ)

บทที่ 6

บทสรุปและข้อเสนอแนะ

x

6.1 บทสรุป

6- x

6.2 ข้อเสนอแนะ

6- x

บรรณานุกรม ประวัติผู้จัดท้า ภาคผนวก

ช T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T

ธ x x


01

02

สารบัญภาพ

บทที่ 2

บทที่ 1 ภาพที่ 1.1 คลื่น

ภาพที่ 2.1 อาคารลอยน้าในอนาคต

ภาพที่ 1.2 ประเด็นปัญหา

1-2

ภาพที่ 2.2 บ้านลอยน้า

2-3

ภาพที่ 1.3 รอยยิมของเกษตรกร

1-7

ภาพที่ 2.3 เกษตรลอยน้า

2-3

ภาพที่ 2.4 น้าแข็งที่ขัวโลกละลาย

2-5

ภาพที่ 2.5 มลพิษทางอากาศ

2-6

ภาพที่ 2.6 ความหลากหลายทางชีวภาพทั่วโลกลดลง

2-7

ภาพที่ 2.7 อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึน

2-8

ภาพที่ 2.8 ภาวะน้าท่วม

2-9

ภาพ 2.9 อุทกภัยจากการกระท้าของมนุษย์

2-14

ซ T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพที่ 2.10 ผลกระทบจาการเกิดน้าท่วม

2-16

ภาพที่ 2.19 เทรนด์โลก 2017

2-31

ภาพที่ 2.11 อาหาร

2-17

ภาพที่ 2.20 Thailand 4.0

2-33

ภาพที่ 2.12 ที่อยู่อาศัย

2-18

ภาพที่ 2.21 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา

2-34

ภาพที่ 2.13 เครื่องนุ่งห่ม

2-19

ภาพที่ 2.22 น้าท่วม 2554

2-35

ภาพที่ 2.14 ยารักษาโรค

2-20

ภาพที่ 2.23 Aquatic Farm Concept Design

2-37

ภาพที่ 2.15 ความต้องการ

2-21

ภาพที่ 2.16 Hydroponic

2-22

ภาพที่ 2.24 The Arctic Harvester

2-38

ภาพที่ 2.25 Farm Follows Function

2-41

ภาพที่ 2.17 การเลียงปลาแบบปิด

2-26

ภาพที่ 2.26 Aquatic Farm Concept Design 2

2-42

ภาพที่ 2.18 นิทรรศการ

2-28

ภาพที่ 2.27 The Arctic Harvester 2

2-42

ฌ T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


02

สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพที่ 2.28 Farm Follows Function 2

2-42

ภาพที่ 2.29 แนวคิด Aquatic Farm Concept Design

2-43

ภาพที่ 2.30 แนวคิด The Arctic Harvester

2-43

ภาพที่ 2.31 แนวคิด Farm Follows Function

2-43

ภาพที่ 2.32 ระบบ Aquatic Farm Concept Design

2-43

ภาพที่ 2.33 ระบบ The Arctic Harvester

2-43

ภาพที่ 2.34 ระบบ Farm Follows Function

2-43

ภาพที่ 2.37 การปลูกผัก Farm Follows Function

ภาพที่ 2.35 การปลูกผัก Aquatic Farm Concept Design 2-43 ภาพที่ 2.36 การปลูกผัก The Arctic Harvester

2-43 ญ

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T

2-43


03

สารบัญภาพ (ต่อ)

บทที่ 3

ภาพที่ 3.10 ย่านต้นแม่น้า

3-15

ภาพที่ 3.1 พระจุฬามณีเจดีย์

ภาพที่ 3.11 NODE

3-16

ภาพที่ 3.2 แม่น้าสองสี

3-3

ภาพที่ 3.12 PATH

3-16

ภาพที่ 3.3 บึงดอกบัว

3-4

ภาพที่ 3.13 LANDMARKS

3-16

ภาพที่ 3.4 สังคม

3-6

ภาพที่ 3.14 EDGE

3-16

ภาพที่ 3.5 เศรษฐกิจ

3-11

ภาพที่ 3.15 DISTRICT

3-17

ภาพที่ 3.6 ทรัพยากรน้า

3-13

ภาพที่ 3.16 SITE SELECTION

3-18

ภาพที่ 3.7 ประเทศไทย

3-14

ภาพที่ 3.17 SITE

3-20

ภาพที่ 3.8 จังหวัดนครสวรรค์

3-14

ภาพที่ 3.18 สะพานเดชาติวงศ์

3-21

ภาพที่ 3.9 อ้าเภอเมืองนครสวรรค์

3-15

ภาพที่ 3.19 ชุมชนเมือง

3-21

ฎ T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


04

03

สารบัญภาพ (ต่อ)

บทที่ 4 ภาพที่ 3.20 ท่าข้าวก้านันทรง

3-21

ภาพที่ 3.21 เพราะพันธุ์ปลา

3-21

ภาพที่ 4.1 ข้าว

ภาพที่ 4.2 ลูกเกษตรกร

4-2

ภาพที่ 4.3 เครือข่าย

4-3

ภาพที่ 4.4 โปรแกรม

4-6

ภาพที่ 4.5 รายละเอียดโปรแกรม

4-7

ภาพที่ 4.6 Aquaponics

4-8

ภาพที่ 4.7 แปลงเกษตรลอยน้า

4-9

ภาพที่ 4.8 บ้านลอยน้าในอดีต

4-11

ภาพที่ 4.9 ชุมชนลอยน้า

4-12

ฏ T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพที่ 4.10 บ้านลอยน้าปัจจุบัน

4-13

ภาพที่ 4.11 ระบบบ้านลอยน้า

4-15

ฐ T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


03

02

สารบัญตาราง

บทที่ 3

บทที่ 2 ตารางที่ 2.1 สรุปอาคารตัวอย่าง

2-42

ตารางที่ 2.2 กฎหมาย

2-44

ตารางที่ 3.1 ประเมินท้าเล

ฑ T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T

3-19


01

04

สารบัญแผนภูมิ

บทที่ 1

บทที่ 4

แผนภูมิ 1.1 วัตถุประสงค์โครงการ

1-3

แผนภูมิที่ 4.1 ผังบริหาร

4-4

แผนภูมิ 1.2 ขอบเขตการศึกษาโครงการ

1-4

แผนภูมิที่ 4.2 ผู้ใช้โครงการ

4-5

แผนภูมิ 1.3 วิธีการและขันตอนการด้าเนินการ

1-5

ฒ T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


ภาพที่ 1.1 คลื่น ที่มา : https://twitter.com/magalimarta/media

บทที่ 1 บทน้า

1 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

1.1 ความเป็นมาและความส้าคัญของโครงการ

การเกษตรมีความส้าคัญต่อการด้ารงชีวิตของมนุษย์ทังใน ชีวิตประจ้าวันการพัฒนาประเทศและสิ่งแวดล้อม ปัญหาในการประกอบ อาชีพเกษตรกรรมในปัจจุบันคงหนีไม่พ้นกับปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เราไม่สามารถควบคุมได้ นั่นคือปัญหาน้าท่วม ที่ส่งผล กระทบต่ออาชีพเกษตรกรรมเป็นอย่างมากท้าให้ผลผลิต พืนที่ในการท้า เกษตรกรรมและที่อยู่อาศัยของเกษตรกรเสียหาย จึงท้าให้เกษตรกร จ้านวนมากได้รับผลกระทบจากปัญหาน้าท่วม ในขณะที่เกษตรกรดินรน เอาตัวรอด การเรียนรู้และการปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติเป็นสิ่งหนึ่งที่ ท้าให้เกษตรกรสามารถด้ารงชีวิตอยู่และก้าวผ่านวิกฤติกาลนีไปได้

( Background and importance )

ส่งผลให้เกิดการสร้างเครือข่ายเกษตรกรและเพิ่มพืนที่ในการท้า การเกษตรในภาวะน้าท่วมให้เพียงพอต่อความต้องการซึ่งพืนที่ตัง โครงการจะใช้พืนที่ ที่เป็นแหล่งชุมชนที่มีบริเวณส่วนใหญ่ปกคลุมไปด้วย น้าเป็นการจ้าลองเหตุการณ์น้าท่วมเกิดเป็นพืนที่กรณีศึกษาถึง เหตุการณ์ภาวะน้าท่วม ท้าให้มีความเข้าใจและเตรียมพร้อมรับมือต่อสิ่งที่ จะเกิดขึนในอนาคต

จากประเด็นดังกล่าวที่ท้าให้เกิดการศึกษาถึงปัจจัยที่ท้าให้ เกษตรกรนันสามารถประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้และยังสามารถสร้าง ผลผลิตทางการเกษตรได้ในภาวะภัยพิบัติน้าท่วม ดังนันโครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา กรณีศึกษาจังหวัดนครสวรรค์ มีจุดประสงค์ที่จะมุ่งเน้นในเรื่องของการ ให้ความรู้และความเข้าใจในการเกษตรในภาวะน้าท่วมและสามารถพึ่งพิง ตัวเองได้ ในด้านการอยู่อาศัย อาหารและการผลิตผลผลิต 1-1 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

ภาพที่ 1.2 ประเด็นปัญหา ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

1-2 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ ( objective )

จากประเด็นดังกล่าวท้าให้เกิดการศึกษาพืนที่ท้าเกษตรกรรมใน ภาวะน้าท่วม กรณีศึกษาจังหวัดนครสวรรค์ และหาแนวทางการสร้าง โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา ขึนเพื่อ 1.2.1 เพื่อเป็นพืนที่ต้นแบบการเกษตรในภาวะน้าท่วม 1.2.2 เพือ่ เป็นพืนที่ให้ความรู้ของเครือข่ายเกษตรกร เกี่ยวกับเกษตรบนน้า

1.2.3 เพื่อเป็นพืนที่ท้าการเกษตรของชุมชน แผนภูมิที่ 1.1 วัตถุประสงค์โครงการ ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

1-3 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

1.3 ขอบเขตการศึกษาโครงการ

1.3.1 ศึกษาความเป็นมาและเหตุผล เชื่อมโยงไปถึงการก้าหนด หัวข้อต่างๆ ในส่วนของขอบเขตของศึกษา 1.3.2 ศึกษาหลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 1.3.3 ศึกษาและวิเคราะห์ที่ตังโครงการ 1.3.4 ศึกษาก้าหนดรายละเอียดโครงการ

แผนภูมิที่ 1.2 ขอบเขตการศึกษาโครงการ ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

1.3.5 ศึกษาแนวความคิดและผลงานการออกแบบ

1-4 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

1.4 วิธีด้าเนินการและขันตอนการด้าเนินการ โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา เหตุผลที่ท้าให้เกิด

วิเคราะห์ การสร้างแนวความคิด

สภาพปัญหา

ความสัมพันธ์ของพืนที่

นโยบายจากภาครัฐ ความเป็นมาของโครงการ

ปัญหาการใช้ชีวิตในสภาวะที่ โลกถูกปกคลุมด้วยพืนน้า

การออกแบบอาคาร

ประเด็นปัญหาแนวทางในการแก้ปัญหา

การศึกษาข้อมูลเบืองต้น

การแก้ปัญหาต่างๆ ความสอดคล้องกับบริบท

- ศึกษาการปลูกพืชไร้ดิน

- ศึกษาวิถีการกินอยู่ของคนในชุมชน

การออกแบบเบืองต้น

กลุ่มเป้าหมาย

- ศึกษาชุมชนที่มีวิถีชีวิตอยู่ ท่ามกลางพืนน้า

ความน่าสนใจ

- เกษตรกรคนในชุมชน

พฤติกรรมของผู้ใช้โครงการ

ศึกษาการจัดการพืนที่ แนวทางในการแก้ปัญหา

- บุคคลทั่วไป

ข้อมูลจากการศึกษาอาคารตัวอย่าง พิจารณาแนวความคิดและน้าไปใช้ - อาคารตัวอย่างภายในประเทศ - อาคารตัวอย่างต่างประเทศ ข้อมูลจากการส้ารวจพืนที่ - สถานที่ตังโครงการ - สภาพแวดล้อมโดยรอบ

ประโยชน์จากการศึกษา

ท้าให้มีพืนที่ต้นแบบใน การท้าเกษตรกรรมที่สามารถ ท้าได้แม้ในสภาวะน้าท่วมเมือง ท้าให้เกิดความเข้าใจถึง กระบวนการใช้ชีวิตท่ามกลาง พืนน้าท้าให้เกษตรกรในชุมชน มีพืนที่ท้าเกษตรกรรมและ พึ่งพิงตนเองได้

การพัฒนาแบบ

ลักษณะของอาคารการจัดพืนที่ใช้สอย

พัฒนาแนวความคิดให้สอดคล้องกับบริบท โดยรอบและปัญหาที่เกิดขึน แก้ไขและปรับปรุง

- ปัญหาทางกายภาพ

ข้อมูล แบบสถาปัตยกรรม หุ่นจ้าลอง เอกสาร

ขันตอนการน้าเสนอ

แผนภูมิที่ 1.3 วิธีการและขันตอนการด้าเนินการ ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 1-5 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าที่จะได้รับ

1.5.1 ได้ทราบถึงความเป็นมาและเหตุผล เชื่อมโยงไปถึงการ ก้าหนดหัวข้อต่างๆ ในส่วนของขอบเขตการศึกษา 1.5.2 ได้ทราบถึงหลักการออกแบบและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 1.5.3 ได้ทราบถึงการวิเคราะห์ที่ตังโครงการ 1.5.4 ได้ทราบถึงการก้าหนดรายละเอียดโครงการ 1.5.5 ได้ทราบถึงแนวความคิดและผลงานการออกแบบ

1-6 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center ภาพที่ 1.3 รอยยิมของเกษตรกร ที่มา : https://pantip.com/topic/35787695

1-7 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


ภาพที่ 2.1 อาคารลอยน้าในอนาคต ที่มา : http://www.seriouswonder.com/futureunderwater-villages-will-take-the-form-of3d-printed-jellyfish/

บทที่ 2

หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.1 ความหมายและค้าจ้ากัดความ

เครือข่ายวิทยุชุมชน,กลุ่มบุคคลหรือองค์กรที่มี ความเห็นใกล้เคียงกัน มีการติดต่อสนับสนุนซึ่งกัน และกัน เช่น เครือข่ายนักวิจัย.

2.1.1 ความหมาย โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยาตาม ความหมายพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554

2.1.1.5 เกษตรกร หมายถึง

2.1.1.1 โครงการ หมายถึง

น. ผู้ท้าเกษตรกรรม. (ส.).

น. แผนหรือเค้าโครงตามที่กะก้าหนดไว้.

2.1.1.6 ต้น หมายถึง

2.1.1.2 ศูนย์ หมายถึง

ว. แรกเริ่ม เช่น แต่ต้น.

น. จุดกลาง, ใจกลาง, แหล่งกลาง, แหล่งรวม, เช่น ศูนย์วัฒนธรรม ศูนย์หนังสือ ศูนย์รวมข่าว.

2.1.1.7 แม่น้า หมายถึง น. ล้าน้าใหญ่ซึ่งเป็นที่รวมของล้าธารทังปวง.

2.1.1.3 พัฒนา หมายถึง

2.1.1.8 เจ้าพระยา หมายถึง

ก. ท้าให้เจริญ.

น. บรรดาศักดิ์ข้าราชการผู้ใหญ่ สูงกว่าพระยา ต่้ากว่าสมเด็จเจ้าพระยา เช่น เจ้าพระยาธรรม ศักดิ์มนตรี.

2.1.1.4 เครือข่าย หมายถึง น. ระบบ เส้นทาง หรือการปฏิบัติงานที่ติดต่อ ประสานกันเป็นโยงใยเช่น เครือข่ายโทรคมนาคม2-1

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.1.2 ค้าจ้ากัดความ 2.1.2.1 โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้า เจ้าพระยา ( Chao Phraya Network Agriculture development center ) หมายถึง ต้นแบบของ กระบวนการและแนวความคิดในการอยู่รอดของเกษตรกร โดยใช้ทรัพยากรที่มีในสภาวะนัน อย่างเป็นประโยชน์ เพื่อ ลดการพึ่งพิงเทคโนโลยี เมื่อเกิดภาวะนันจริงไม่ว่าใครๆก็ สามารถอยู่รอดได้

เพื่อเป็นแนวทางของตัวเองต่อไป เพราะสิ่งที่จะเกิดขึนต่อไป ในข้างหน้าไม่มีใครสามารถรับรู้ได้ เราต้องเตรียมพร้อม ตัวเองตลอดเวลาเสมอ

ย้อนกลับไปดูสภาพการใช้ชีวิตสมัย ปู่ ย่า ตา ยายของเราว่าพวกเขาเรานันมีวิถีชีวิตอย่างไร เพราะใน อดีตมนุษย์จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างเกือกูล ปรับตัว ไปตามความเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติได้อย่างยืดหยุ่น และขนาดนี ก็ถึงเวลาแล้วที่คุณต้องเรียนรู้การปรับตัว เช่นเดียวกันทังเรื่องที่อยู่อาศัยและอาหารการกิน ไอเดีย บ้านลอยน้าและแปลงเกษตรกรรมลอยน้า ก็เป็นแนวทาง 2-2 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

ภาพที่ 2.2 บ้านลอยน้า

ภาพที่ 2.3 เกษตรลอยน้า

ที่มา : http://www.playuna.com/modern-house-

ที่มา http://www.workpointtv.com/ews/12920

exterior/boathouse-20exterior-2002/

2-3 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2 ความเป็นมาปัจจุบันและอนาคตของเรื่องที่ศึกษา

2.2.1 ภาวะแวดล้อมโลกที่เปลี่ยนแปลง อีกผลกระทบที่พวกเราเห็นได้ชัดเจนเลยก็คือภัยพิบัติจาก ธรรมชาติที่เกิดบ่อยขึนและรุนแรงมากขึนเป็นเพราะสภาพอากาศ เปลี่ยนแปลงไปฤดูหนาวสันลงฤดูร้อนยาวนานขึนและเมื่ออุณหภูมิของ โลกสูงขึนน้าจากทะเลและจากแหล่งน้าต่างๆก็เกิดการละเหยมากขึน ปริมาณน้าฝนที่ตกลงมาพอจะมีปริมาณที่สูงขึนจนท้าให้เกิดน้าท่วมใน หลายพืนที่ ต่อไปอาหารและนา้ สะอาดก็จะขาด เพราะว่าพืชผลปลูกได้ ยากขึนจากการที่อากาศเปลี่ยนไป ซ้ายังมีภัยพิบัติมาคอยท้าลายพืนที่ เพราะปลูกและพืชผลให้เสียหายอีกด้วย

ภาวะโลกร้อนท้าให้อุณหภูมิของโลกสูงขึนจึงส่งผลกระทบต่อ สิ่งมีชีวิตต่างๆที่จ้าเป็นจะต้องปรับตัวเพื่อเอาตัวรอดจากสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่ออุณหภูมิสูงขึนก็ส่งผลให้น้าแข็งขัวโลกละลาย เมื่อ น้าแข็งจ้านวนมากละลายลงก็ท้าให้ปริมาณน้าทะเลในโลกของเรานัน สูงขึน ซึ่งส่งผลโดยตรงเลยก็คือท้าให้น้าท่วม สถานที่ๆเรารู้จักกัน หลายๆ ที่ก็จะจมอยู่ใต้ท้องทะเล อย่างเช่น หมู่เกาะมัลดีฟส์ แล้ว กรุงเทพมหานครเมืองหลวงของเราก็เช่นกัน นอกจากนันปริมาณน้าที่เพิ่มขึนมาบวกกับอุณหภูมิที่สูงขึนส่งผล ให้ระบบนิเวศของท้องทะเลเปลี่ยนไปท้าให้สัตว์น้าจ้านวนมากปรับตัวไม่ได้ และจะต้องตายลงไป ตอนนีที่เห็นอยู่กันทั่วโลกก็คือปรากฏการณ์ฟอก ขาวของปะการัง เกิดจากการที่โพลิปของปะการังนันตายเพราะปรับตัว เข้ากับสภาพแวดล้อมไม่ได้เหลือไว้แต่ส่วนที่เป็นโครงสร้างสีขาวไร้ซึ่งชีวิต ไม่ต่างอะไรกับโครงกระดูกของสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้ว ซึ่งปะการังนันเป็น แหล่งอนุบาลสัตว์น้าที่ส้าคัญมากถ้าไม่มีปะการังสัตว์น้าต่างๆก็จะลด จ้านวนลงไปและบางชนิดอาจสูญพันธุ์ไปในที่สุด

โลกในปีคริสต์ศักราช 2050 มีแนวโน้มสูงที่จะเกิดการ เปลี่ยนแปลงด้านสภาพแวดล้อมในเรื่องต่อไปนี

2-4 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.1.1 น้าแข็งที่ขัวโลกละลายเป็นวงกว้าง ในปีคริสต์ศักราช 2050 แผ่นน้าแข็งจ้านวนมากที่เคยปลุกคุม น่านน้าแถบมหาสมุทรอาร์กติกจะละลายเป็น บริเวณกว้าง ซึ่งจะเป็น ผลดีในการท้าให้เกิดเส้นทางเดินเรือระหว่างประเทศสายใหม่ ที่จะช่วยย่น ระยะเวลาในการขนส่งสินค้า ทางทะเลจากเอเชียไปยังชายฝั่งอีสต์โคสต์ (East Coast) ของสหรัฐฯ ได้มากกว่าในปัจจุบัน ทังนี ผลกระทบด้าน ลบส้าหรับการเปลี่ยนแปลงครังนี คือเกาะจ้านวนมากมีแนวโน้มที่จะจมน้า หายไป อาทิ หมู่เกาะในอินโดนีเซียที่กว่า 1,500 แห่งจากทังหมดกว่า 17,000 ถูกคาดการณ์ว่าอาจจะหายไปจากแผนที่โลกซึ่งรวมถึงเมือง หลวงอย่างกรุงจาการ์ตา ที่จะจมหายไปใต้ทะเลมากกว่า ร้อยละ 40 ของเมือง เป็นต้น ภาพที่ 2.4 น้าแข็งที่ขัวโลกละลาย ที่มา : https://retrieverman.net/2011/12/12/polar-bearsand-the-perils-of-specialization/

2-5 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.1.2 มลพิษทางอากาศรุนแรง มลพิษทางอากาศที่มีมากขึนในปีคริสต์ศักราช 2050 ส่งผลท้า ให้อัตราการตายก่อนวัยอันควร อันเกิดจากฝุ่นละอองในอากาศมี แนวโน้มเพิ่มขึนมาก ซึ่งมากกว่าสองเท่าของจ้านวนประชากรและปัจจุบัน คือจากประชากร 1 ล้านคนเป็นเกือบ 3.6 ล้านคนต่อปี ทังนี 2 ประเทศที่มีประชากรเสียชีวิตจากมลพิษทางอากาศมากที่สุดในปี คริสต์ศักราช 2050 คือประเทศจีนและอินเดีย อันมีสาเหตุหลักมาจาก จ้านวนประชากรที่เข้าสู่วัยชราท้าให้อ่อนไหวกับสภาพอากาศและความ เป็นเมืองที่เพิ่มสูงขึน อันส่งผลท้าให้อินเดียและจีนมีความจ้าเป็นที่จะต้อง ปรับตัวและวางมาตรการในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่ก้าลังจะ เกิดขึนหากต้องการที่จะพัฒนาประเทศให้เติบโตได้อย่างยั่งยืน และเพือ่ สุขภาพที่ดีของประชากรภายในประเทศ

ภาพที่ 2.5

ที่มา :

มลพิษทางอากาศ

https://www.motor1.com/news/71768/

china-the-auto-industrys-cheap-high/

2-6 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.1.3 ความหลากหลายทางชีวภาพทั่วโลกลดลง ความหลากหลายทางชีวภาพบนบกทั่วโลก คาดว่าจะลดลงอีก ร้อยละ 10 ในปีคริสต์ศักราช 2050 โดยความสูญเสียที่ส้าคัญนีจะ เกิดขึนทั่วโลกทังในทวีปเอเชีย ยุโรป และแอฟริกาใต้ โดยพืนที่ป่าไม้ สมบูรณ์ทั่วโลกคาดว่าจะลดลงร้อยละ 13 สิ่งส้าคัญที่ท้าให้ความ หลากหลายทางชีวภาพลดลงอย่างต่อเนื่องคือการใช้ประโยชน์จากที่ดิน ของมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไปคือมนุษย์จะเน้นการปลูกพืชเชิงพาณิชย์เพิ่ม มากขึน เน้นการใช้ที่ดินเพิ่มระบบโครงสร้างพืนฐานการบุกรุกที่ดินทาง ธรรมชาติที่มีมากยิ่งขึนเป็นต้น ทังนี นอกจากประเด็นการใช้ที่ดินที่ เปลี่ยนไป ปัจจัยด้านมลพิษและภาวะโลกร้อนเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ท้าให้ ความหลากหลายทางชีวภาพลดลงเช่น กันเหตุเพราะสภาวะโลกร้อนจะ เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการท้าลายความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด ในปีคริสต์ศักราช 2050 รองลงมาคือการปลูกพืชเชิงพาณิชย์และการ ปลูกพืชพลังงานตามล้าดับ ทังนีการสูญเสียด้านความหลากหลายทาง ชีวภาพส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของมนุษย์ในหลากหลายมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชุมชนที่ห่างไกลความเจริญที่มีวิถีชีวิตพึ่งพิงความ หลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศของโลก ภาพที่ 2.6

ความหลากหลายทางชีวภาพทั่วโลกลดลง

ที่มา : http://www.haiwaitoutiao.com/?p=461658 2-7 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

ภาพที่ 2.7

อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึน

ที่มา : https://www.seng.org.au/node/735 2-8 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.1.4 อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึนเกินก้าหนด เมื่อดูจากการคาดการณ์การปล่อยก๊าซเรียนกระจกทั่วโลกในปี คริสต์ศักราช 2050 พบว่าปริมาณก๊าซเรื่องกระจกมีแนวโน้มที่จะเพิ่ม สูงขึนอย่างต่อเนื่องโดยครับว่าจะเพิ่มขึนถึงร้อยละ 50 จากปัจจุบันซึ่ง อัตราการเพิ่มขึนของการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กว่าร้อยละ 70 นีจะเกิดขึนในภาค พลังงานทังนีในอนาคตปี 2550 ภาคการเกษตรจะ เป็นภาคที่ปล่อยก๊าซหนึ่งกระจกมากที่สุด

นโยบายประเทศให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่ ก้าลังจะเกิดขึนในปีคริสต์ศักราช 2050 เช่นประเทศไทยจะเตรียมตัวเพื่อ ใช้ประโยชน์จากการละลายของน้าแข็งกลัวโลกที่จะท้าให้เกิดเส้นทางการ เดินเรือใหม่ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการขนส่งสินค้าทางทะเลจากเอเชียไปยัง ชายฝั่งอีสต์โคสต์ ของสหรัฐฯให้เต็มที่ได้อย่างไรนอกจากนีจะมีแนวทาง ในการลดมลภาวะทางอากาศที่เพิ่มขึนอย่างไรการวิจัยและพัฒนาด้าน เกษตรปะก้าภายในประเทศควรพัฒนาไปในทิศทางใดเพื่อรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงของ รวมทังจะรักษาความหลากหลายทางชีวภาพใน ประเทศที่มีแนวโน้มลดลงตามแนวโน้มของโลกได้อย่างไรเป็นต้น

องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนาได้มีการ คาดการณ์อุณหภูมิของโลกในปีศักราช 2050 ไว้ว่าอุณหภูมิโลกอาจจะ เพิ่มสูงขึนกว่าสามถึง 6 องศาเซลเซียสซึ่งเกินเป้าที่ได้ตกลงกันไว้ใน ระดับระหว่างประเทศที่จ้ากัด ให้เพิ่มขึนไม่เกิน 2 องศาเซลเซียสทังนีหาก ทุกประเทศสามารถร่วมมือกันลดอัตราการปล่อยการเล่นกระจกให้ น้อยลงจากปัจจุบันอุณหภูมิโลกอาจมีแนวโน้มเพิ่มขึนน้อยกว่าที่ คาดการณ์เอาไว้ดังนันจากแนวโน้มที่เราเห็นนันจึงปฏิเสธไม่ได้ว่าการ เปลี่ยนแปลงด้านสภาพแวดล้อมที่ก้าลังจะเกิดขึนเป็นสิ่งที่ทุกประเทศควร ให้ความส้าคัญและพัฒนาประเทศให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่ ก้าลังจะ มาถึงซึ่งส้าหรับประเทศไทยหากเราต้องการที่จะพัฒนาประเทศ ให้เป็นไปอย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพเราควรร่วมมือกันในการวาง

ที่มา : http://2.bp.blogspot.com/-8VgJp0vuS8/Tnaa7WAsh-I/AAAAAAAAAIk/1RHO -JMixsY/s1600/AQUECIMENTO_GLOBAL2.jpg 2-9

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.2 ภาวะน้าท่วม (อุทกภัย) ภาวะน้าท่วมหรืออุทกภัย คือ ภัยและอันตรายทีเกิดจาก สภาวะน้าท่วมหรือน้าท่วมฉับพลันหรืออันตราย เกิดจากสภาวะน้าไหล เอ่อล้นฝังแม่น้า ล้าธาร หรือทางน้า เนื่องจากมีน้าเป็นสาเหตุอาจเป็นน้า ท่วม น้าป่าไหลหลากหรืออื่นๆ โดยปกติอุทกภัยเกิดจากฝนตกหนัก ต่อเนื่องเป็นเวลานานท้าให้ เกิดการสะสมน้าบนพืนที่ซึ่งระบายออกไม่ทัน ท้าให้ พืนที่นันมีน้าท่วม ภัยร้ายที่เกิดขึนโดยธรรมชาติและเป็นสิ่งที่ไม่ สามารถควบคุมได้

ภาพที่ 2.8 ภาวะน้าท่วม ที่มา : https://play.kapook.com/ photo/show-118062

2 - 10 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.2.1 ลักษณะของการเกิดอุทกภัย

- น้าป่าไหลหลากหรือน้าท่วมฉับพลัน มักจะเกิดขึนในที่ราบต่้า หรือที่ราบลุ่มบริเวณใกล้ภูเขาต้นน้า เกิดขึนเนื่องจากฝนตกหนักเหนือ ภูเขาต่อเนื่องเป็นเวลานาน ท้าให้จ้านวนน้าสะสมมีปริมาณมากจนพืนดิน และต้นไม้ดูดซับไม่ไหวไหลบ่าลงสู่ที่ราบต่้า เบืองล่างอย่างรวดเร็ว มี อ้านาจท้าลายร้างรุนแรงระดับหนึ่ง ที่ท้าให้บ้านเรือนพังทลายเสียหาย และอาจท้าให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้

ลักษณะของอุทกภัยมีความรุนแรงและรูปแบบต่างๆกัน ขึนอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ และสิ่งแวดล้อมของแต่ละพืนที่โดยมีลักษณะ ดังนี

- น้าท่วม หรือน้าท่วมขัง เป็นลักษณะของอุทกภัยที่เกิดขึนจาก ปริมาณน้าสะสมจ้านวนมาก ที่ไหลบ่าในแนวระนาบ จากที่สูงไปยังที่ต่้า เข้าท่วมอาคารบ้านเรือน เรือกสวนไร่นาได้รับความเสียหาย หรือเป็น สภาพน้าท่วมขัง ในเขตเมืองใหญ่ที่เกิดจากฝนตกหนัก ต่อเนื่องเป็น เวลานาน มีสาเหตุมาจากระบบการระบายน้าไม่ดีพอมีสิ่งก่อสร้างกีด ขวางทางระบายน้า หรือเกิดน้าทะเลหนุนสูงกรณีพืนที่อยู่ใกล้ชายฝั่ง ทะเล - น้าล้นตลิ่ง เกิดขึนจากปริมาณน้าจ้านวนมากที่เกิดจากฝน หนักต่อเนื่อง ที่ไหลลงสู่ล้าน้า หรือแม่น้ามีปริมาณมากจนระบายลงสู่ลุ่ม น้าด้านล่าง หรือออกสู่ปากน้าไม่ทัน ท้าให้เกิดสภาวะน้าล้นตลิ่งเข้าท่วม เรือกสวน ไร่นา และบ้านเรือนตามสองฝั่งน้า จนได้รับความเสียหาย ที่มา : http://2.bp.blogspot.com/-8Vgถนน หรือสะพานอาจช้ารุด ทางคมนาคมถูกตัดขาดได้ Jp0vuS8/Tnaa7WAsh-I/AAAAAAAAAIk/1RHO -JMixsY/s1600/AQUECIMENTO_GLOBAL2.jpg

2 - 11 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.2.2 สาเหตุของการเกิดอุทกภัยจากธรรมชาติ - ฝนตกหนักจากพายุ หรือพายุฝนฟ้าคะนอง เป็นพายุที่เกิดขึน ติดต่อกันเป็นเวลาหลายชั่วโมง มีปริมาณฝนตกหนักมากจนไม่อาจไหล ลงสู่ต้นน้าล้าธารได้ทันจึงท่วมพืนที่ที่อยู่ในที่ต่้า มักเกิดในช่วงฤดูฝนหรือ ฤดูร้อน - ฝนตกหนักจากพายุหมุนเขตร้อน เมื่อพายุนีประจ้าอยู่ที่แห่งใด แห่งหนึ่งเป็นเวลานานหรือแทบไม่เคลื่อนที่ จะท้าให้บริเวณนันมีฝนตกหนัก ติดต่อกันตลอดเวลา ยิ่งพายุมีความรุนแรงมาก เช่น มีความรุนแรง ขนาดพายุโซนร้อนหรือไต้ฝุ่น เมื่อเคลื่อนตัวไปถึงที่ใดก็ท้าให้ที่นันเกิดพายุ ลมแรง ฝนตกหนักเป็นบริเวณกว้างและมีน้าท่วมขัง นอกจากนีถ้า ความถี่ของพายุที่เคลื่อนที่เข้ามาหรือผ่านเกิดขึนต่อเนื่องกัน ถึงแม้จะ ในช่วงสันแต่ก็ท้าให้น้าท่วมเสมอ - ฝนตกหนักในป่าบนภูเขา ท้าให้ปริมาณน้าบนภูเขาหรือแหล่ง ต้นน้ามาก มีการไหลและเชี่ยวอย่างรุนแรงลงสู่ที่ราบเชิงเขา เกิดน้าท่วม ขึนอย่างกะทันหัน เรียกว่าน้าท่วมฉับพลันเกิดขึนหลังจากที่มีฝนตกหนัก ในช่วงระยะเวลาสันๆ หรือเกิดก่อนที่ฝนจะหยุดตก มักเกิดขึนในล้าธาร เล็กๆ โดยเฉพาะตอนที่อยู่ใกล้ต้นน้าของบริเวณลุ่มน้า ระดับน้าจะสูงขึน อย่างรวดเร็ว จังหวัดที่อยู่ใกล้เคียงกับเทือกสูง เช่น จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น 2 - 12 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

- ผลจากน้าทะเลหนุน ในระยะที่ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์อยู่ใน แนวที่ท้าให้ระดับน้าทะเลขึนสูงสุด น้าทะเลจะหนุนให้ระดับน้าในแม่น้าสูงขึน อีกมาก เมื่อประจวบกับระยะเวลาที่น้าป่าและจากภูเขาไหลลงสูแ่ ม่น้า ท้า ให้น้าในแม่น้าไม่อาจไหลลงสู่ทะเลได้ ท้าให้เกิดน้าเอ่อล้นตลิ่งและท่วมเป็น บริเวณกว้างยิ่งถ้ามีฝนตกหนักหรือมีพายุเกิดขึนในช่วงนี ความเสียหาย จากน้าท่วมชนิดนีจะมีมาก

- ผลจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิด เมื่อเกิดแผ่นดินไหว หรือ ภูเขาไฟบนบกและภูเขาไฟใต้น้าระเบิด เปลือกของผิวโลกบางส่วนจะได้รับ ความกระทบกระเทือนต่อเนื่องกัน บางส่วนของผิวโลกจะสูงขึนบางส่วน จะยุบลง ท้าให้เกิดคลื่นใหญ่ในมหาสมุทรซัดขึนฝั่ง เกิดน้าท่วมตามหมู่ เกาะและเมืองตามชายฝั่งทะเลได้ เกิดขึนบ่อยครังในมหาสมุทรแปซิฟิก

- ผลจากลมมรสุมมีก้าลังแรง มรสุมตะวันตกเฉียงใต้เป็นมรสุมที่ พัดพาความชืนจากมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่ประเทศไทย ตังแต่เดือน พฤษภาคมถึงตุลาคม เมื่อมีก้าลังแรงเป็นระยะเวลาหลายวัน ท้าให้เกิด คลื่นลมแรง ระดับน้าในทะเลตามขอบฝั่งจะสูงขึน ประกอบกับมีฝนตก หนักท้าให้เกิดน้าท่วมได้ ยิ่งถ้ามีพายุเกิดขึนในทะเลจีนใต้ก็จะยิ่งเสริมให้ มรสุมดังกล่าวมีก้าลังแรงขึนอีก ส่วนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดจาก ประเทศจีนเข้าสู่ไทย ปะทะขอบฝั่งตะวันออกของภาคใต้ มรสุมนีมีก้าลัง แรงเป็นครังคราว เมื่อบริเวณความกดอากาศสูงในประเทศจีนมีก้าลัง แรงขึนจะท้าให้มีคลื่นค่อนข้างใหญ่ในอ่าวไทย และระดับน้าทะเลสูงกว่า ปกติ บางครังท้าให้มีฝนตกหนักในภาคใต้ ตังแต่จังหวัดชุมพร ลงไปท้า ให้เกิดน้าท่วมเป็นบริเวณกว้าง

ที่มา : http://2.bp.blogspot.com/-8VgJp0vuS8/Tnaa7WAsh-I/AAAAAAAAAIk/1RHO -JMixsY/s1600/AQUECIMENTO_GLOBAL2.jpg 2 - 13

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.2.3 สาเหตุของการเกิดอุทกภัยจากการกระท้าของมนุษย์ - การตัดไม้ท้าลายป่า ในพืนที่เสี่ยงภัยเมื่อเกิดฝนตกหนักจะท้าให้ อัตราการไหลสูงสุดเพิ่มมากขึนและไหลมาเร็วขึน เป็นการเพิ่มความ รุนแรงของน้าในการท้าลายและยังเป็นสาเหตุของดินถล่มด้วย นอกจากนียังท้าให้ดินและรากไม้ขนาดใหญ่ถูกชะล้างให้ไหลลงมาในท้อง น้า ท้าให้ท้องน้าตืนเขินไม่สามารถระบายน้าได้ทันที รวมทังก่อให้เกิด ความสูญเสียชีวิตและบาดเจ็บของประชาชนทางด้านท้ายน้า - การขยายเขตเมืองลุกล้าเข้าไปในพืนที่ลุ่มต่้า (F l o o d plain) ซึ่งเป็นแหล่งเก็บน้าธรรมชาติท้าให้ไม่มีที่รับน้า ดังนันเมื่อน้าล้น ตลิ่งก็จะเข้าไปท่วมบริเวณที่เป็นพืนที่ลุ่มต่้าซึ่งเป็นเขตเมืองที่ขยายใหม่ ก่อน การก่อสร้างโครงสร้างขวางทางน้าธรรมชาติท้าให้มี ผลกระทบต่อการระบายน้าและก่อให้เกิดปัญหาน้าท่วม

- การออกแบบทางระบายน้าของถนนไม่เพียงพอ ท้าให้น้าล้นเอ่อ ในเขตเมือง ท้าความเสียหายให้แก่ชุมชนเมืองใหญ่ เนื่องจากการระบาย ได้ช้ามาก

ภาพที่ 2.9 อุทกภัยจากการกระท้าของมนุษย์

- การบริหารจัดการน้าที่ไม่ดีเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท้าให้เกิดน้าท่วม โดยเฉพาะบริเวณด้านท้ายเขื่อนหรืออ่างเก็บน้า

ที่มา : https://twitter.com/ArupGroup/status/ 872475930521980930

2 - 14 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.2.4 ปัจจัยที่เป็นสาเหตุที่ท้าให้เกิดน้าท่วม - การเกิดน้าท่วมขังในที่ราบลุ่ม เนื่องมาจากความไม่สมดุล ระหว่าง ปริมาณน้าฝน ปริมาณน้าฝนที่ซึมลงสู่ใต้ดิน และ ปริมาณน้า ผิวดินที่ไหลหรือระบายออกจากพืนที่นัน ถ้าปริมาณน้าฝน มากกว่า ปริมาณน้าฝนที่ซึมลงสู่ใต้ดิน และปริมาณน้าผิวดินที่ไหลหรือระบายออก จากพืนที่รวมกัน ก็จะเกิดการท่วมขัง ความรุนแรงของการท่วมขังไม่ มากนัก ค่อยเป็นค่อยไป แต่อาจกินเวลานานกว่าจะระบายน้าออกได้ หมด

การบริหารจัดการน้าไม่ดี ก็จะเป็นเหตุให้เกิดอุทกภัยได้เช่นกัน ถ้าเป็น ล้าน้าแม่น้าขนาดเล็กและปริมาณของน้าหลากไม่มากความรุนแรงและ ความเสียหายอันเกิดขึนจากอุทกภัยอาจไม่มากนัก แต่ถ้าเป็นแม่น้าขนาด ใหญ่ที่ปราศจากระบบควบคุมจะก่อให้เกิดความเสียหายมากและเป็นวง กว้าง - น้าท่วมอันเกิดจากการวิบัติของระบบควบคุม เช่น เขื่อนพัง อ่างเก็บน้าแตก ประตูระบายนา้ ไม่อาจท้าหน้าที่ได้ จะก่อให้เกิดน้าหลาก มีความรุนแรงมากกว่าน้าป่า และความเสียหายที่เกิดขึนก็มากกว่า เช่นกัน

- การเกิดน้าป่าบริเวณป่าเขาที่มีความลาดชันสูง การตัดไม้ ท้าลายป่าท้าให้ปราศจากพืช ต้นไม้ปกคลุมดิน ที่จะช่วยดูดซับน้าฝน เอาไว้และช่วยปกคลุมยึดผิวดิน ถ้าปริมาณฝนในพืนที่รับน้ามีมาก จนท้า ให้ปริมาณน้าผิวดินที่ระบายออกจากพืนที่มีมาก ด้วยอัตราที่รุนแรง เรียกว่า น้าป่า น้าก็จะพัดเอาเศษต้นไม้ กิ่งไม้ ตะกอน ดิน ทราย และหิน ลงมาด้วย ก่อให้เกิดความเสียหายแก่พืนที่บริเวณท้ายน้าเป็นอย่างมาก อุทกภัยจากน้าป่ามีความรุนแรงกว่าประเภทแรก และจ้าเป็นต้องใช้ เวลานานในการแก้ไขจนกว่าพืนที่นันจะกลับฟื้นคืนสภาพดังเดิมได้

- น้าทะเลหนุน โดยระดับน้าทะเลยกตัวสูงในช่วงน้าขึนแล้วเข้า ท่วมพืนที่ริมฝั่งหรือปากอ่าวโดยตรง หรือเกิดน้าทะเลไหลย้อนเข้าสู่ล้าน้า ท้าให้ระดับน้าในล้าน้าเพิ่มสูงขึนจนเอ่อออกท่วมพืนที่สองฝั่ง ถ้าน้าในล้า น้าที่ไหลลงมาปะทะมีปริมาณมากและรุนแรง จะเป็นการเพิ่มระดับน้าด้าน เหนือน้าอย่างมากและเกิดขึนอย่างรวดเร็ว ยิ่งถ้าเป็นตรงจุดคอขวดของ ล้าน้าแล้วน้าท่วมจากสาเหตุนีก็จะมีความรุนแรง และเป็นไปอย่างรวดเร็ว สภาพของความเสียหายจะเป็นไปอย่างกว้างขวาง และมากมาย นอกจากนียังเป็นอุปสรรคต่อการระบายน้าของพืนที่ลุ่มน้าตอนบนขึน ไป ซึ่งหากเกิดน้าท่วมในพืนที่ดังกล่าวอยู่แล้วก็จะยิ่งท่วมนานยิ่งขึน

- น้าล้นตลิ่งของล้าน้า เนื่องจาก ปริมาณและอัตราน้าหลากที่ เกิดขึนในบริเวณต้นน้า มีมากเกินกว่าความสามารถของแม่น้าในบริเวณ ดังกล่าวที่จะรับได้ ล้าน้ามีหน้าตัดเล็ก แคบ ตืนเขิน มีสิ่งกีดขวางในล้า น้า เช่น ต้นไม้ วัชพืช การปิดกันล้าน้า การมีระบบควบคุมในล้าน้าเช่น เขื่อน อ่างเก็บน้า ฝายทดน้า หรือประตูระบายน้าฯ โดยปกติแล้วระบบ ควบคุมดังกล่าวจะเป็นตัวช่วยควบคุม ป้องกันและลดความรุนแรงของ อุทกภัย แต่หากมีการออกแบบก่อสร้างไม่เหมาะสม หรือมี

ที่มา : http://2.bp.blogspot.com/-8VgJp0vuS8/Tnaa7WAsh-I/AAAAAAAAAIk/1RHO -JMixsY/s1600/AQUECIMENTO_GLOBAL2.jpg 2 - 15

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.2.5 ผลกระทบจาการเกิดน้าท่วม - น้าท่วมอาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้างและสาธารณสถาน ซึ่งจะ ท้าให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างมาก บ้านเรือนหรืออาคาร สิ่งก่อสร้างที่ไม่แข็งแรงจะถูกกระแสน้าที่ไกลเชี่ยวพังทลายได้ คนและสัตว์ พาหนะและสัตว์เลียงอาจได้รับอันตรายถึงชีวิตจากการจมน้าตาย

- เส้นทางคมนาคมและการขนส่ง อาจจะถูกตัดเป็นช่วง ๆ โดย ความแรงของกระแสน้า ถนน และสะพานอาจจะถูกกระแสน้าพัดให้ พังทลายได้ สินค้าพัสดุอยู่ระหว่างการขนส่งจะได้รับความเสียหายมาก - ระบบสาธารณูปโภค จะได้รับความเสียหาย เช่น โทรศัพท์ โทร เลข ไฟฟ้า และประปา ฯลฯ - พืนที่การเกษตรและการปศุสัตว์จะได้รับความเสียหาย เช่น พืชผล ไร่นา ทุกประการที่ก้าลังผลิดอกออกผล อาจถูกน้าท่วมตายได้ สัตว์พาหนะ วัว ควาย สัตว์เลียง ตลอดจนผลผลิตที่เก็บกักตุน หรือมีไว้ เพื่อท้าพันธุ์จะได้รับความเสียหาย ความเสียหายทางอ้อม จะส่งผล กระทบต่อเศรษฐกิจโดยทั่วไป เกิดโรคระบาด สุขภาพจิตเสื่อม และ สูญเสียความปลอดภัยเป็นต้น

ภาพที่ 2.10 ผลกระทบจาการเกิดน้าท่วม ที่มา : https://www.sundaypost.com/news/ z-storms-including-angus-conor-namesyoull-dreading-winter/

2 - 16 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.3 ปัจจัย 4 ปัจจัย 4 เป็นสิ่งที่มนุษย์จ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิตโดยไม่ต้องพึ่งสิ่ง อ้านวยความสะดวกอื่นๆ เช่นคอมพิวเตอร์ รถยนต์ ไฟฟ้า โทรศัพท์เป็น ต้น โดยปัจจัย 4 อย่างนีมนุษย์ไม่สามารถขาดได้เพราะถ้าขาดแล้วอาจ ส่งผลต่อการด้าเนินชีวิต ปัจจัย 4 ประกอบไปด้วย 4 ปัจจัยดังต่อไปนี 2.2.3.1 อาหาร หมายถึงสสารใดๆ ซึ่งบริโภคเพื่อเสริมโภชนาการให้แก่ ร่างกาย อาหารมักมาจากพืชหรือสัตว์และมีสารอาหารส้าคัญได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามินและแร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึม สสารที่เป็นอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อน้าไปสร้างพลังงาน คงชีวิตและกระตุ้น การเจริญเติบโต อาหารเกือบทังหมดมาจากพืชหรือสัตว์เมล็ดพันธุ์พืช เป็นอาหารหลักซึ่งให้พลังงาน อาหารทั่วโลกมากกว่าพืชผลประเภทอื่น ข้าวโพด ข้าวสาลีและข้าว ในทุกแบบคิดเป็น 87% ของปริมาณผลผลิต เมล็ดพืชทั่วโลกแต่ก็ยังมีฟังไจที่รับประทานได้แบคทีเรียที่ใช้ในการเตรียม อาหารหมักหรือดอง เช่นขนมปัง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เนยแข็ง อาหาร ดองและโยเกิร์ต

ที่มา :

ภาพที่ 2.11 อาหาร ที่มา : https://helenbarnett.com.au/ cropped-shutterstock_413118100-jpg/

2 - 17 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.3.2 ที่อยู่อาศัย มนุษย์จ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีที่อยู่อาศัย เพื่อปกป้อง ร่างกายจากฝนลมหรือสัตว์ร้ายต่างๆที่จะมาท้าอันตรายต่อมนุษย์เอง ดังนันมนุษย์จึงต้องอาศัยในพืนที่ ที่เหมาะสมต่อการด้ารงชีวิต มนุษย์ใน ยุคแรกแรกนิยมอาศัยอยู่ในถ้าหรือตามโตรกผาต่างๆ เพือ่ กันลมและฝน รวมไปถึงสายฟ้าผ่า ฟ้าแลบฟ้าร้องอีกด้วยเนื่องจากมนุษย์ในอดีตยังไม่ เข้าใจหลักเหตุผลทางวิทยาศาสตร์หรือเกษตรกรรม จึงไม่รู้จักการสร้าง บ้านมนุษย์ยุคหลังจากนันนิยมสร้างบ้านเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยที่สะอาด และสะดวกสบายกว่าถ้าและมักสร้างริมแม่น้าเพื่อสะดวกในการเพาะปลูก หรือการปลูกพืช เพียงแค่ล่าสัตว์และเก็บพืชผักสะสมอาหารเพือ่ เอาชีวิต รอดเท่านัน แต่ในช่วงยุคหลังๆมนุษย์เริ่มเข้าใจหลักวิทยาศาสตร์ เลิก กลัวลมฟ้าอากาศและเริ่มเข้าใจเรื่องระบบนิเวศ การเกษตรและและการ ปศุสัตว์ จึงเริ่มหันมาปลูกบ้านเป็นที่อยู่อาศัยถาวรเลิกเลยเร่ร่อนล่าสัตว์ หรือเก็บของป่าและมาเพาะปลูกพืชต่างๆแทนรวมไปถึงเริ่มรู้จักประโยชน์ ของแม่น้าและสร้างบ้านใกล้แหล่งน้าเพื่อเพาะปลูกและใช้อาบกิน มนุษย์ยุค ปัจจุบันไม่ได้สร้างบ้านติดแม่น้าเพื่อการเกษตรอีกต่อไปแต่ใช้เพื่อเป็นที่อยู่ อาศัยในครอบครัวเป็นแหล่งที่ประกอบอาชีพหรือพักผ่อนหย่อนใจและใน ปัจจุบันการสร้างบ้านหรือที่อยู่อาศัยต่างๆเพื่อจุดประสงค์เดียวกันกับใน อดีตนันหายากขึนแล้วแทบไม่ปรากฏในบริเวณตัวเมืองหรือเขตประชากร หนาแน่นเลย ภาพที่ 2.12 ที่อยู่อาศัย ที่มา : http://www.thaihomelist.com/home-th-143766.htm 2 - 18 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.3.3 เครื่องนุ่งห่ม มนุษย์มีเครื่องนุ่งห่มไว้เพื่อป้องกันอากาศหนาวเย็นหรือ ร้อนแดด ป้องกันการกระแทกกระทบวัตถุอื่นๆ และเหตุต่างๆนันมนุษย์จึง เริ่มสวมใส่เสือผ้า ในอดีตมนุษย์ยุคโบราณไม่รู้จักใส่เสือผ้าปกปิดร่างกาย เพราะมีขนและผิวหนังที่หนา แต่เมื่ออากาศโลกอุ่นขึนมนุษย์ก็เริ่มปรับตัว โดยการลดความยาวขนและความหนาของผิวหนังท้าให้มนุษย์ต้องเริ่ม รู้จักปกปิดร่างกาย ในช่วงแรกๆมนุษย์ใช้ใบไม้เปลือกไม้มาร้อยเป็น เครื่องนุ่งห่มและเริ่มรู้จักการใช้หนังสัตว์และเริ่มทอผ้าด้วยใยพืช ตามล้าดับใยพืชที่นิยมนันแบ่งตามยุคสมัยและพืนที่โดยในอดีตมีใยผ้า ลินิน(ทอจากต้นแฟลกซ์) ผ้าไหม(ได้จากใยของตัวหนอนไหม) เป็นต้น จนกระทั่งเมื่อชาวยุโรปน้าต้นฝ้ายมาจากอเมริกาใต้ แล้วเพาะพันธุ์ไปทั่ว โลก ใยฝ้ายจึงถูกใช้ท้าเสือผ้าที่เป็นที่นิยมจนถึงปัจจุบัน เรียกว่าผ้าฝ้าย ในปัจจุบันเสือผ้าไม่ได้ใช้เพื่อป้องกันสภาพอากาศและอันตรายอย่างอื่น เท่านัน แต่ยังใส่เพื่อบ่งบอกวัฒนธรรมประเพณี ความเจริญก้าวหน้าของ ผู้ผลิตและสวมใส่ ไว้บ่งบอกชื่อสถานที่ท้างาน โรงเรียนหรือสถาบัน ศึกษาต่างๆไว้ใช้เพื่อให้เข้ากับงาน กิจกรรมและสภาพแวดล้อม เช่นใส่ชุด กันผึง เพราะท้าอาชีพเลียงผึง ใส่ชุดว่ายน้าเพื่อว่ายน้าหรือสอนว่ายน้า รวมไปถึงการใส่เพื่อความสวยงาม เพื่อโอ้อวดสถานนะการณ์ในปัจจุบัน เสือผ้าที่ถูกออกแบบเพื่อการนันเรียกว่า เสือผ้าแบบทันสมัยนิยม ที่มา :

ภาพที่ 2.13 เครื่องนุ่งห่ม ที่มา : http://www.gynaika.be/2015/06/

2 - 19 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.2.3.4 ยารักษาโรค มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโรคภัยไข้เจ็บ เช่นสัตว์หรือสิ่งมีชีวิต อื่นๆ ดังนันมนุษย์จึงจ้าเป็นต้องใช้ยา เพื่อบรรเทาอาการเมื่อเจ็บปวด หรือ เพื่อให้หายขาดจากโรคที่ตนเจ็บป่วยอยู่หรือ เพื่อเสริมสร้างและ ซ่อมแซมสิ่งที่หายไปผุพังไปและน้ากลับมาใช้ได้เหมือนปกติ

ภาพที่ 2.14 ยารักษาโรค ที่มา : http://www.wangpharma.com/breaking-news/ยาเหลื​ือใช้ปลอดภัยหรือไม่/ 2 - 20

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

มนุษย์ทุกคนต้องการปัจจัย 4 ด้วยกันทังนันไม่ว่าจะเป็นคนที่มี ฐานะมากมายเพียงใดหรือเป็นคนที่ยากจนเพียงใดทุกคนต้องการปัจจัย ดังกล่าวในการด้ารงชีวิตไม่ว่าจะเป็น เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค ที่อยู่ อาศัยและอาหาร ดังนันโครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้น แม่น้าเจ้าพระยา กรณีศึกษาจังหวัดนครสวรรค์ มีจุดประสงค์ที่จะมุ่งเน้น ในเรื่องการให้ความรู้และความเข้าใจในเรื่องการท้าเกษตรในภาวะน้าท่วม และสามารถพึ่งพิงตัวเองได้ ทังด้านการอยู่อาศัยและเรื่องอาหารส่งผลให้ เกิดการสร้างเครือข่ายเกษตรกรและเพิ่มพืนที่ในการท้าการเกษตรใน ภาวะน้าท่วมให้เพียงพอต่อความต้องการ ซึ่งพืนที่ตังโครงการจะใช้พืนที่ ที่เป็นแหล่งชุมชน ที่บริเวณส่วนใหญ่ปกคลุมไปด้วยน้า เป็นการจ้าลอง ที่มา : http://2.bp.blogspot.com/-8Vgเหตุการณ์น้าท่วม เกิดเป็ นพืนที่กรณีศึกษาหรือเหตุการณ์ภาวะภัยพิบัติ Jp0vuS8/Tnaa7WAsh-I/AAAAAAAAAIk/1RHO ทางน้าท้าให้มีความเข้าใจและเตรี ยมรับมือต่อสิ่งที่จะเกิดขึนในอนาคตได้

ภาพที่ 2.15 ความต้องการ ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

-JMixsY/s1600/AQUECIMENTO_GLOBAL2.jpg

2 - 21 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.3 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง

2.3.1 การปลูกพืชไร้ดิน( Hydroponic ) ในปัจจุบันการปลูกพืชไร้ดิน (Hydroponics) เป็นที่นิยม กัน อย่างกว้างขวาง มีการปลูกในระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และท้า รายได้ให้แก่ ผู้ประกอบการเป็นอย่างดี ทังนีเนื่องมาจากว่าผู้บริโภคในยุค ปัจจุบันได้หันมาให้ความสนใจเกี่ยวกับสุขภาพกันมากขึน จึงเลือกที่จะ บริโภคผักที่ปลูกในระบบ Hydroponics ซึ่งมีการปลูกในโรงเรือนที่ ควบคุมแมลงศัตรูพืชได้ ท้าให้มีการใช้ สารเคมีน้อยลง ผักที่ได้จึงเป็นผัก อนามัย มีการปนเปื้อนสารเคมีน้อยมากและเป็นทางเลือกหนึ่งที่ผู้บริโภค หันมาให้ความสนใจมากขึน อีกทังการปลูกและ การจัดการต่างๆ ไม่ ยุ่งยากอย่างที่คิด ทุกคนสามารถปลูกเองได้ทุกครัวเรือน เพื่อบริโภค ภายในครอบครัว ท้าให้ได้บริโภคผักที่สด สะอาดปลอดภัย และช่วย เสริมสร้าง สุขภาพร่างกายให้แข็งแรงและยังเป็นการท้ากิจกรรมร่วมกัน ภายในครอบครัว สร้างความผูกพันและความอบอุ่นให้เกิดขึนกับ ครอบครัวได้อีกทางหนึ่งด้วย

ภาพที่ 2.16 Hydroponic ที่มา : http://www.vivehealthy.com/2017/ verduras-hidroponicas-son-igual-de-nutritivas -que-las-de-cultivo-tradicional/

2 - 22 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.3.1.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตในการปลูกพืชไร้ดิน โดยปรกติ จะเป็นวัสดุ ที่ไม่เกิดปฏิกิริยาทางเคมี และไม่มีการ ปล่อยสารต่างๆ ให้แก่พืช และในระบบนี จะมีการให้สารละลาย ธาตุ อาหารแก่พืช ซึ่งสารละลายนี จะประกอบด้วยธาตุอาหาร ที่จ้าเป็นต่อ พืชทุกตัว และอยู่ในรูปที่พืช สามารถน้าไปใช้ได้ทันที และมีการปรับค่า ความเป็นกรดด่าง ให้อยู่ในระดับ ที่เหมาะสมด้วย โดยระบบการปลูกพืช โดยไม่ใช้ดิน จะค้านึงถึง การจัดการให้ปัจจัยที่จ้าเป็น ต่อการ เจริญเติบโตของพืช อยู่ในระดับ ที่เหมาะสมที่สุด ต่อการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตของพืช

พืชจะเจริญเติบโตได้ดี จะต้องประกอบด้วย ปัจจัยที่จ้าเป็นต้องมี ในการเจริญเติบโต อันได้แก่ แสง น้า ธาตุอาหารพืช อุณหภูมิ ความ เป็นกรด-ด่าง ออกซิเจน และ คาร์บอนไดออกไซด์ ทังที่ราก และส่วน เหนือดิน ในการปลูกพืชโดยทั่วไป จะมีดินและอากาศ เป็นส่วนที่จะให้ ปัจจัยเหล่านี แต่ข้อเสียของดิน คือ ดินจะมีคุณสมบัติที่ไม่แน่นอน ในแต่ ละท้องที่ ถ้าดินมีคุณสมบัติ ที่ไม่เหมาะสมต่อพืช ก็จะเจริญไม่ดี การ ปรับปรุง และแก้ไขดิน อาจจะสามารถท้าได้ แต่ในบางกรณี อาจจะมี า : http://2.bp.blogspot.com/-8Vgความยุ่งยากมาก หรือต้ทีอ่มงใช้ ค่าใช้จ่าย ที่สูงมาก ส่วนการปลูกพืชโดย Jp0vuS8/Tnaa7WAsh-I/AAAAAAAAAIk/1RHO ไม่ใช้ดิน จะใช้วัสดุอื่นมาแทนดิ น โดยจะเลือกวัสดุ ที่มีความเหมาะสม ต่อ การเจริญเติบโตของพืช -JMixsY/s1600/AQUECIMENTO_GLOBAL2.jpg 2 - 23

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.3.1.2 ประโยชน์การปลูกผักไร้ดิน ไฮโดรโปนิกส์นันมีประโยชน์หลักๆ 2 ประการด้วยกัน ประการ แรกคือช่วยให้มีสิ่งแวดล้อมที่ควบคุมได้มากขึน ส้าหรับการเติบโตของ พืช แทนที่จะเป็นการใช้ดินอย่างเดิม ท้าให้ก้าจัดตัวแปรที่ไม่ทราบออกไป จากการทดลองได้จ้านวนมาก ประการที่สองก็คือ พืชหลายชนิดจะให้ ผลผลิตได้มาก ในเวลาที่น้อยกว่าเดิม และบางครังก็มีคณ ุ ภาพที่ดี กว่าเดิมด้วย ซึ่งในสภาพแวดล้อมและสภาพการเศรษฐศาสตร์หนึ่งๆ การปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์จะให้ผลก้าไรแก่เกษตรกรได้ มากขึน และ ด้วยการปลูกที่ไม่ใช้ดิน จึงท้าให้พืชไม่มีโรคที่เกิดในดิน ไม่มีวัชพืช และไม่ ต้องจัดการดิน และยังสามารถปลูกพืชใกล้กันมากได้ ด้วยเหตุนีพืชจึง ให้ผลผลิตในปริมาณที่มากกว่าเดิม ขณะที่ใช้พืนที่จ้ากัด นอกจากนียังมี การใช้น้าน้อยมาก เพราะมีการใช้ภาชนะหรือระบบวนน้าแบบปิด เพื่อ หมุนเวียนน้า เมื่อเทียบกับการเกษตรแบบเดิมแล้ว นับว่าใช้น้าเพียงส่วน น้อยนิดเท่านัน

ด้วยคุณภาพที่กล่าวมาข้างต้น ท้าให้ไฮโดรโปนิกส์มีประโยชน์กับ การปลูกพืชที่ไม้ใช่วิธีการแบบเดิมๆ นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ ได้ เสนอมานานแล้วว่า ไฮโดรโปนิกส์ จะท้าให้สถานีอวกาศ หรือ ยาน อวกาศ สามารถปลูกพืชไร้ดินได้เอง และคุณสมบัติดังกล่าวนีท้าให้ ไฮโดรโปนิกส์เหมาะอย่างยิ่งส้าหรับผู้ที่ต้อง การปลูกพืชโดยการการ ควบคุมปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้มากที่สุด และมีความหนาแน่นสูงสุด

2 - 24 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.3.1.3ข้อดีของการปลูกผักไร้ดิน

2.3.1.4ข้อเสียของการปลูกผักไร้ดิน

- เป็นระบบที่มีการใช้น้า และธาตุอาหารพืชอย่างมี ประสิทธิภาพมากที่สุด เพิ่มประสิทธิภาพและลดการใช้แรงงาน สามารถท้าการเพาะปลูกพืชในบริเวณพืนที่ที่ดินไม่ดี หรือสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก - ประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเตรียมดิน และการก้าจัดวัชพืช ท้าให้สามารถปลูกพืชอย่างกันต่อเนื่องได้ตลอดปีใน พืนที่เดียว - สามารถตัดปัญหาเกี่ยวกับศัตรูพืชที่เกิดจากดิน ท้าให้ สามารถปลูกพืชในพืนที่เดียวกันได้ตลอดปี ถึงแม้จะเป็นพืชชนิดเดียวกัน - สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวกับการ เจริญเติบโตของพืชได้อย่างถูกต้องแน่นอน และรวดเร็ว โดยเฉพาะใน ระดับรากพืช ได้แก่ การควบคุมปริมาณธาตุอาหาร ความเป็น กรด

- ค่าใช้จ่ายในการลงทุนครังแรกค่อนข้างสูง ท้าให้ผล ผลิตที่ได้มีราคาแพง ต้องเลือกปลูกพืชที่มีราคา ค่าใช้จ่ายที่ท้าให้ต้นทุน สูงจะเป็นค่าก่อสร้างโรงเรือน ค่าสารเคมี ค่าอุปกรณ์และค่าดูแลรักษา การลงทุนระยะแรกอาจไม่คุ้ม แต่จะให้ผลคุ้มค่าในระยะยาว และต้อง ด้าเนินการในพืนที่มากจะคุ้มกว่าพืนที่น้อย - ต้องใช้เทคนิคขันสูง ผู้ปลูกต้องมีความรู้ความเข้าใจใน เทคนิคที่เลือกใช้เป็นอย่างดี นอกจากนียังต้องมีความรู้ในเรื่องธาตุ อาหารพืช น้า สรีรวิทยาของพืช สารละลาย และเครื่องมือควบคุม ระบบต่างๆ อีกด้วย มีโอกาสเกิดโรคที่มาจากน้าได้ง่ายและยากต่อการ ควบคุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกในสารละลาย ไม่ว่าจะเป็นระบบ หมุนเวียนหรือไม่หมุนเวียน ถ้ามีการเกิดโรคเกี่ยวกับระบบราก จะ แพร่กระจายอย่างรวดเร็วและยากต่อการป้องกันก้าจัด เพราะพืชแต่ละ ต้นใช้สารละลายในแหล่งเดียวกันเชือจะระบาดไปทั่วระบบในเวลาอันสัน โดยติดไปในสารละลาย

- ด่าง อุณหภูมิ ความเข้มข้นของออกซิเจน ฯลฯ ซึ่ง การปลูกพืชทั่วไปท้าได้ยาก 2 - 25

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.3.2 แ ปัจจุบันการ เลียงปลาในระบบปิด(ระบบน้าหมุนเวียน) ก้าลัง ได้รับความสนใจเพิ่มขึนตามล้าดับ ในต่างประเทศได้มีการพัฒนาการ เพาะเลียงมาก่อนประเทศไทยมานานหลายปี ดังนันสถาบันวิจัยการ เพาะเลียงสัตว์น้าชายฝั่งโดยกลุม่ วิจัยระบบฯ ก็ได้ทดลองเลียงปลาใน ระบบน้าหมุนเวียนประสบความส้าเร็จมาแล้วเช่นกัน เช่น การเลียงปลา หมอทะเลเพื่อใช้เป็นพ่อ-แม่พันธุ์ โดยเริ่มเลียงปลาหมอทะเล ขนาด ประมาณ 900 กรัม ทดลองเลียงนาน 44 เดือนได้ปลาหมอทะเล ขนาดประมาณ 55.7 กิโลกรัม และทดลองเลียงปลากะรังดอกแดงใน ระยะวัยรุ่นเพื่อผลิตให้ได้ตามขนาดตลาดโดย ใช้ลูกปลาขนาดประมาณ 63.3 กรัม เลียงนานประมาณ 5 เดือน ปรากฏว่าปลากะรังดอกแดง มีขนาด 437.5 กรัม ซึ่งนับว่าประสบความส้าเร็จ ผลผลิตเป็นที่น่า พอใจเมื่อเทียบกับการเลียงปลาในกระชัง อย่างไรก็ตาม ปลาชนิดอื่นๆ เช่น ปลากะพงขาว ปลาตะกรับจุดฟ้า ปลากะรังหน้างอน ปลาดุกทะเล ก้าลังอยู่ระหว่างทดลองเลียงในระบบน้าหมุนเวียนอยู่ในปัจจุบัน

ภาพที่ 2.17 การเลียงปลาแบบปิด ที่มา : http://esan108.blogspot.com/2016/12/blog-post_3.html 2 - 26

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.3.2.1ข้อดีการเลียงปลาระบบปิด

2.3.2.2ข้อเสียการเลียงปลาระบบปิด

— เราสามารถควบคุมจัดการเรื่อง ตะกอนของเสียได้ง่ายและ สะดวกโดยการใช้ไบโอฟิลเตอร์หรือใยแก้ว หรือเศษวัสดุต่างๆ เมื่อระบบ บ้าบัดน้าสกปรกก็ปิดและท้าความสะอาดฉีดล้างโดยไม่ยุ่งยาก - สามารถเลียงปลาได้ทุกฤดูกาลตลอดปี อาจน้าเทคโนโลยีมา คอยควบคุมดูแลเพื่อแบ่งเบาภาระไปบ้าง เช่น เครื่องซุปเปอร์ชาร์ท ไทด์ เมอร์ ปั้มสูบน้า ปั้มให้อากาศ เลียงปลาได้ดีกว่าการเลียงในกระชังเลียงปลาได้หลายชนิด จากผลยืนยันการทดลองเลียงปลามาแล้วก่อนหน้านี - สามารถพัฒนาเพิ่มอัตราความหนาแน่นได้ถ้าหากน้าไปใช้ใน รูปแบบเชิงพาณิชย์ ขนาดใหญ่เพื่อให้ได้จุด คุ้มทุน คุ้มค่าต่อการลงทุน เลียงปลา - วัสดุอุปกรณ์สามารถลดต้นทุนการผลิตได้หากผู้ประกอบการ มีไอเดียวิธีการจัดการที่ดี - ใช้พืนที่การเลียงไม่มากนัก ท้าให้ประหยัดต้นทุนดูแลและจัดการ

การเลียงปลาในระบบน้าหมุนเวียนกรณีมีความหนาแน่น หาก กรณีน้าเสีย ไฟฟ้าดับ ออกซิเจนไม่เพียงพอ หรือเกิดโรคระบาด จะ เกิดขึนพร้อมๆกันทังระบบ ท้าให้เกิดความเสี่ยงต่ออัตราการตายสูงผู้ เลียงจ้าเป็นต้องออกแบบมาตรการควบ คุมป้องกันต่อสิ่งที่พร้อมจะ เกิดขึนได้ในทุกเมื่อ ตามพืนฐานอย่างมีความรู้และเข้าใจ อนาคตของการเลียงปลาในระบบน้าหมุนเวียน เริ่มมีคนรู้จักและสนใจ มากขึน ตามล้าดับ นอกจากนีทรัพยากรสัตว์น้า เริ่มลดน้อยลงอย่าง ต่อเนื่อง ประการส้าคัญเราไม่ทราบได้ว่าสัตว์น้าที่เรา ซือหาอยู่ประจ้า นอกจากราคาที่แพงแล้วจะมีสารตกค้างอยู่ด้วยหรือไม่ เราสามารถ สร้างภูมิคุ้มกันให้ตัวเรา ครอบครัว และบุคคลรอบข้างได้ด้วยการมา ลองศึกษาการเลียงปลาในระบบน้าหมุนเวียนระบบปิด

2 - 27 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.4 หลักการหรือเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบสถาปัตยกรรม 2.4.1 การจัดแสดงนิทรรศการ 2.4.1.1 ลักษณะของนิทรรศการทั่วไป จัดแสดงที เน้นองค์ประกอบด้านเทคนิคต่างๆ แสดงที่ผิดหลักการ

เป็นสื่อกิจกรรมขนาดกลางที่องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ นิยมจัดเพื่อแสดง ผลงานซึ่งพบเห็นกันโดยทั่วไป เป็นการจัดแสดง ผลงานหรือผลิตภัณฑ์ที่มีบริเวณพืนที่กว้างขวาง ตังแต่จากในห้องเรียน บริเวณโรงเรียน ศูนย์การค้า ศาลาวัด ฯลฯ นิทรรศการแบ่งออกเป็น 4 ขนาดตามขนาดพืนที่ที่จะแสดงคือ - นิทรรศการขนาดเล็กเป็นนิทรรศการที่จัดขนาดพืนที่ น้อยกว่า 400 ตารางฟุต หรือ 37 ตารางเมตร - นิทรรศการขนาดกลาง ใช้พืนที่ตังแต่ 401 ตารางฟุต ถึง 1,600 ตารางฟุต หรือ 38-148 ตารางเมตร - นิทรรศการขนาดใหญ่ ใช้พืนที่ตังแต่ 1,601 ถึง 4,000 ตารางฟุตหรือ 149 ถึง 371 ตารางเมตร - นิทรรศการขนาดยักษ์ใช้พืนที่ตังแต่ 4,000 ตารางฟุต หรือมากกว่า 371 ตารางเมตร

จึงเป็นการ

- ให้ความรู้เกี่ยวกับวัตถุที่จัดแสดงโดยใช้ค้าบรรยายที่ สื่อความหมาย ครอบคลุมความส้าคัญของวัตถุและชัดเจนในตัวเองซึ่ง จะใช้ เทคนิคอย่างไรนัน ขึนอยู่กับความเหมาะสมของ เรื่องที่จัดแสดง - การจัดวัตถุต้องมีความสัมพันธ์ ต่อเนื่องการให้ผู้เข้า ชมเข้าใจ ไปตามล้าดับแห่งการจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยแบ่งเป็น หัวข้อ ใหญ่และหัวข้อย่อย - การจัดแสดงต้องยึดหลักการจัดอย่างง่ายๆคือ การ จัดแสดงไม่ดูซับซ้อนพิสดารจะต้องออกแบบให้พอเหมาะ การจัดแสดง ต้องจัด ไม่ให้ผู้ชมรู้สึกเบื่อหน่ายพร้อมทังได้รับ ความเพลิดเพลินไปพร้อมกับการ ให้ความรู้ด้วย - การรักษาความปลอดภัยให้แก่วัตถุจะแสดงเช่นการติด สัญญาณเตือนภัยการป้องกันอัคคีภัย การป้องกันการโจรกรรมและการ ควบคุมอุณหภูมิและฝุ่นละอองเพื่อมิให้เกิดความ เสียหายใดๆแก่วัตถุ

2.4.1.2 วิธีการถ่ายทอดของการจัดแสดง ซึ่งมีหลักการพืนฐานที่ผู้จัดต้องค้านึงถึงมี ดังนี - เน้นความส้าคัญของวัตถุ โดยใช้ค้าบรรยายหรือ ส่วนประกอบอื่นๆเป็นเพียงองค์ประกอบที่ช่วยเสริมวัตถุให้เด่นขึน การ 2 - 28

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.4.1.3รูปแบบของการจัดแสดง - รูปแบบดังเดิมคือการรวบรวมจ้าแนกประเภทและการ จัดวางลักษณะ ต่างๆพร้อมมีค้าบรรยายแต่บางแห่งจัดได้ น่าสนใจ คือการจัดวางในสถานที่ จ้าลองจากของจริง เช่นแสดงเกี่ยวกับวัฒนาการเครื่องครัวที่จัดเป็นครัวแล้ว วาง อุปกรณ์เครื่องครัวในครัวพร้อมมีค้าบรรยายท้าให้เกิดบรรยากาศที่ น่าสนใจหรือบางแห่งมีเทคนิคในการน้าเสนอที่น่า ตื่นเต้น เช่นต้องดูผ่านรูเล็กๆ ก็สามารถอ่านค้าบรรยายได้ เป็น ต้นการจัดนิทรรศการแบบนีส่วนใหญ่จะเสนอ เนือหาที่ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปกรรมวัฒนธรรม - การ ใช้ มัลติมีเดียเข้าช่วยในการน้าเสนอและ การ กระตุ้นให้ผู้เข้าชมสนใจ ติดตาม การใช้รูปแบบนีเข้าช่วยท้า ให้เกิดความสนใจขึนและแสดงว่าประชาชนใช้ สื่อประเภทนี เป็น

- น้าเสนอเป็นกิจกรรมที่ผู้ชมสามารถทดลองสัมผัสและ ค้นหาค้าตอบได้ ด้วยตนเอง ซึ่งรูปแบบนีถ้ามีเจ้าหน้าที่มา ช่วยจะมีประโยชน์มากหรือครูพา นักเรียนมาชมจะ สามารถช่วยชีแนะในการทดลองท้าให้เกิดการเรียนรู้ถ้าไม่ ทดลองก็ไม่เกิดการเรียนรู้อะไรเลย ใช้หุ่นจ้าลองเพื่อให้ผู้ชมเกิดจินตนาการขนาดชมซึ่ง บางอย่างอาจจะ ขยายใหญ่กว่าของจริง เช่นเซลล์ ของมนุษย์เซลล์ของใบไม้เราเดินเข้าไปชมใน เซลล์นันว่ามี ส่วนประกอบอะไรบ้างท้าหน้าที่อย่างไร - การฉายภาพยนตร์ สไลด์มัลติวิชั่น วีดีทัศน์ผสมผสาน เพื่อน้าเรื่องราว ที่น่าตื่นเต้นในห้องภาพยนตร์การน้าเสนอ ทุกขณะตื่นเต้นเร้าใจตลอดเวลาใน การชม จัดเป็นศูนย์การเรียนรู้ในศูนย์จะมีเครื่องให้ทดลองมี คู่มือและใบงานให้

ภาพที่ 2.18 นิทรรศการ ที่มา : https://twitter.com/ Guggenheim/ status/878598711336722437

2 - 29 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.5 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง 2.5.1 เจาะเทรนด์โลก 2017 โดย TCDC Shape the Nation : สร้างชาติด้วยธรรมชาติ การที่องค์กรไม่แสวงหาก้า ไรอย่างส้า นักงานข่าว ระดับภูมิภาค (Associated Press) รายงานว่า ฝรั่งเศสจะออกกฎหมายห้ามใช้ ผลิตภัณฑ์ พลาสติก ทังจาน ถ้วย และอุปกรณ์ในครัวต่างๆ โดยจะ บังคับใช้ให้ได้ภายในปี 2020 ซึ่งอุปกรณ์ที่ เลือกใช้ทังหมดนันจะต้องท้า มาจากวัสดุชีวภาพ หรือถูกผลิตจากวัสดุธรรมชาติที่ย่อยสลายได้ 50% มากกว่าท้า จากปิโตรเลียม ด้วยความกังวล ถึงปลายทางของ ขยะพลาสติกที่ไปจบลงใน มหาสมุทร และมีจุดประสงค์เพื่อบรรเทา ผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโดยเฉพาะ นี่คือ จุดเริ่มต้นเล็กๆ ที่ท้า ให้เห็นว่าประเทศที่มี วิสัยทัศน์สามารถก้าหนด อนาคตด้านสิ่งแวดล้อม ของเมืองได้อย่างไร พิกัดเหนือระดับน้าทะเล พืนที่เป็นเกาะ เกิด เหตุการณ์แผ่นดินไหว และการเพิ่มขึนของไต้ฝุ่น ทุกๆ ปี คือปัจจัยเสี่ยงที่ท้า ให้ญป ี่ ุ่นต้องระดมพล ทุกฝ่ายเข้ามารวมกัน ก้าหนดกลยุทธ์ที่จะสามารถ ป้องกันพืนที่รอบอ่าวโตเกียวได้อย่างดีที่สุด Next Tokyo 2045 คือรูปแบบการเตรียมความ พร้อมรับมือในการ เป็นมหานครของโตเกียวด้วย วิสัยทัศน์ของความยั่งยืน คือการสร้าง เมืองใหม่ ให้เข้ากับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง ด้วยความ ตระหนักรู้ เป็นอย่างดีเกี่ยวกับการออกแบบ อย่างใส่ใจสิ่งแวดล้อมด้วยโครงสร้างที่ ยืดหยุ่นได้ โครงการนีจึงต้องมีการใช้งานแบบทวิ คือมีส่วน ของพืนที่

พักผ่อนและส่วนพืนที่ที่รองรับกับจ้านวน ประชากรที่อยู่อาศัยได้ ผลลัพธ์ของวิสัยทัศน์นี เกิดเป็นอาคารสูงในชื่อ Sky Mile Tower อสังหาริมทรัพย์ริมแม่น้าความสูง 1,600 เมตร จ้านวน 420 ชัน ที่ ก้าหนดนโยบายให้ผอู้ ยู่อาศัยสร้างสวน ในเมือง เพื่อน้าผลลัพธ์ที่ได้มา เป็นวัตถุดิบท้าอาหาร ส้าหรับผู้อาศัยกว่า 55,000 คนในอาคาร นอกจากนี ยังน้า สาหร่ายในอ่าวมาเป็นต้นทุนในการผลิต เป็นพลังงาน สะอาดเพื่อใช้ในอาคารอีกด้วย สกายฟาร์ม โครงการสร้างอาคารหลาย ชันที่ก่อสร้าง ขึนจากไม้ไผ่ ซึ่งบรรจุเอาสวนและฟาร์มหลากหลาย รูปแบบไว้ในที่เดียว ตังแต่การปลูกผักท้าฟาร์ม แบบดังเดิมไปจนถึงการ ปลูกพืชแบบอะควาโพนิกส์ ทังยังเป็นอาคารที่ผลิตพลังงานได้ด้วยตัวเอง สตูดิโอที่รับหน้าที่ออกแบบอย่างโรเจอร์ สไตรจ์ ฮาร์เบอร์ (Rogers Stirk Harbour) กล่าวว่า สกายฟาร์มจะสามารถผสมผสานเข้ากับ ที่ว่างในเมือง ได้อย่างลงตัว แต่จะยิ่งพอดีเมื่อถูกน้า ไปก่อสร้างใน พืนที่ ชานเมืองหรือพืนที่ชนบท พืนที่ทุรกันดาร หรือที่มีคุณภาพดินต่างก็ไม่ เป็นปัญหา อาคารแห่งนี เหมาะกับการปลูกพืชอายุสันอย่างสตรอว์เบอ รี่ หรือผักโขม ผลผลิตง่ายต่อการจัดจ้าหน่ายให้กับ ตลาดและร้าน อาคารในพืนที่ชันล่าง ที่เป็นศูนย์ เรียนรู้ส้า หรับผู้ที่สนใจไปด้วยในตัว นอกจากนี 2 - 30

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

อาคารแห่งนีมีเป้าหมายเพื่อเป็นทางเลือกให้กับ ระบบการเกษตร บนพืนดิน สนับสนุนต่อระดับ ของการท้า งานเกษตรแบบดังเดิม อะควา โพนิกส์ หรือการเกษตรแบบแอโรโพนิกส์ พร้อมการเลียง ปลาเพื่อสร้าง ระบบการผลิตแบบวงรอบ ก็มีระบบ มารองรับอย่างครบครัน อีกหนึ่ง การก่อสร้างแลนด์มาร์กใหม่ที่หลายคน รอคอย สะพานสวนพรรณไม้ (Garden Bridge) โปรเจกต์ที่เริ่มต้นจากไอเดียง่ายๆ คือการสร้าง สะพานเชื่อมเหนือแม่น้ืเทมส์ที่มีสวนสวยเรียง ตลอดแนว สะพานความ ยาว 336 เมตรนีจะมี ทางเท้าที่ให้ทุกคนสามารถเดินข้ามฝั่งไปได้ ขนาบ ข้างด้วยต้นไม้หลายสายพันธุ์ รองรับสุนทรียภาพ เพื่อการพักผ่อน อย่างเต็มที่ พันธุ์พืชที่เลือกมา ล้วนสะท้อนความเป็นลุ่มน้าแห่งเซ้าท์แบงค์ อาทิ ต้นวิลโลว์ ต้นเบิร์ช ต้นแอลเดอร์ ดอกเจอเรเนียม และดอกพ ริมโรส แต่หากเมื่อเดินข้ามไปฝั่งเหนือ เหล่าพืชพรรณจะได้รับเลือกโดย ได้รับแรงบันดาลใจ จากเรื่องราวประวัติศาสตร์ของสวนเทมเปิ้ล (Temple Garden) ไม่ว่าจะเป็นเถาวัลย์วิสเทอเรีย ไม้ดอกแมกโนเลีย ดอกกุหลาบ ต้นหอม ดอกไอริช และดอกเกล็ดหิมะ (Summer Snowflakes) โดย จะเปิดให้ผู้คนเข้ามาใช้งานตังแต่ 6 โมงเช้าจน ถึงเที่ยงคืน สะพานแห่งนีจะเป็นพืนที่ให้ทุกคน ได้มาพักผ่อน ชะลอฝีเท้าพร้อมสัมผัส กับความ เป็นธรรมชาติอย่างเต็มรูปแบบท่ามกลางความ วุ่นวายของใจ กลางกรุงลอนดอน โดยมีเป้าหมาย หลักในการเพิ่มความหลากหลาย ทางชีวภาพที่ จะช่วยพัฒนาคุณภาพอากาศภายในเมืองให้ได้ มากที่สุด สวนใหม่นีจะช่วยสร้างความสุขให้กับ ประชากรผู้อยูอ่ าศัย และจะรับ หน้าที่เป็นเจ้าภาพ ในการจัดโปรแกรมการเป็นช่างฝึกหัด โปรแกรมเพื่อ การศึกษาและออกแบบหลักสูตรในการดูแล สิ่งแวดล้อม ไม่ต่างกับ ประเทศเพื่อนบ้านของไทย ที่เป็นผู้น้า ในการพัฒนาพืนที่สีเขียวในเมือง ใหญ่ อย่างสิงคโปร์ เพื่อสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่าง นโยบายในการ เป็นเมืองฉลาดของสิงคโปร์และ วิสัยทัศน์ในการเป็นเมืองสีเขียว ได้อย่าง ดีที่สุด กับโปรเจกต์การพัฒนาสวนจู่ร่งและทะเลสาบ ให้งดงามตาม ธรรมชาติด้วยมุมมองแบบเขียวชอุ่ม ทังยังเลือกใช้เทคโนโลยีล้าสมัยเข้า มาผสมผสานกับ ้ ธรรมชาติ ภายในสวนจะเลือกใช้เทคโนโลยีระดับ สูง อย่างเช่นการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็น ไฟฟ้า เพือ่ เก็บสะสม พลังงานมาใช้ภายในสวน หรือ การมีทางที่รองรับรถยนต์ไร้คนขับ โดย จะเปิด ตัวอย่างเป็นทางการในปี 2018 ในฐานะการเป็น ปอดใหญ่ใจ กลางเมืองของสิงคโปร์อีกครัง ภายใต้ ชื่อใหม่อย่างสวนแห่งชาติจู่ร่ง เลค

ภาพที่ 2.19 เทรนด์โลก 2017 ที่มา : http://m.kauno.diena.lt/naujienos/ ivairenybes/sunku-patiketi/projektuojamas -tokijo-dangoraizis-bus-auksciausiaspasaulyje-733627

2 - 31 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.5.2 Thailand 4.0 เป็นความมุ่งมั่นของนายกรัฐมนตรี ที่ต้องการปรับเปลี่ยน โครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value–Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” กล่าวคือ ในปัจจุบัน เรายังติด อยู่ในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ท้ามาก ได้น้อย” เราต้องการปรับเปลี่ยนเป็น “ท้าน้อย ได้มาก” นั่นหมายถึงการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง อย่างน้อยใน 3 มิติส้าคัญ คือ

เกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur)

1. เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “นวัตกรรม”

- เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่้าไปสู่แรงงานที่มีความรู้ เชี่ยวชาญ และทักษะสูง

“โภคภัณฑ์”

ไปสู่สินค้าเชิง

2.เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3.เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า บริการมากขึน

“ประเทศไทย 4.0” องค์ประกอบส้าคัญ คือ

- เปลี่ยนจาก Traditional SMEs หรือ SMEs ที่มีอยู่ที่รัฐต้อง ให้ความช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา ไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ S t a r t u p s ที่มีศักยภาพสูง - เปลี่ยนจาก Traditional Services ซึ่งมีการสร้างมูลค่า ค่อนข้างต่้า ไปสู่ High Value Services

ไปสู่

“ประเทศไทย 4.0” จึงเป็นการพัฒนา “เครื่องยนต์เพื่อขับเคลื่อนการ เติบโตทางเศรษฐกิจชุดใหม่” (New Engines of Growth) ด้วยการ แปลง “ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ” ของประเทศที่มีอยู่ 2 ด้าน คือ “ความหลากหลายเชิงชีวภาพ” และ “ความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม” ให้เป็น “ความได้เปรียบในเชิงแข่งขัน”

ไปสู่การเน้นภาค

จึงเป็นการเปลี่ยนผ่านทังระบบใน

ความ

4

โดยการเติมเต็มด้วยวิทยาการ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัยและพัฒนา แล้วต่อยอดความ ได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบเป็น “5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม เป้าหมาย” ประกอบด้วย

- เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดังเดิม (Traditional Farming) ในปัจจุบัน ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและ เทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกรต้องร่้ารวยขึน และเป็น 2 - 32

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

1.กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech) 2.กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ (Health, Wellness&Bio-Med)

และเทคโนโลยีทางการแพทย์

3.กลุ่มเครื่องมืออุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม (Smart Devices, Robotics & Mechatronics)

4.กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่เชื่อมต่อและบังคับ อุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว (Digital, IoT, Artificial Intelligence & Embedded Technology) 5.กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลค่า สูง (Creative, Culture & High Value Services)

ภาพที่ 2.20 Thailand 4.0 ที่มา : http://3wowcorp.com/archives/ 2 - 33 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.5.3 แผนพัฒนาจังหวัดนครสวรรค์ ด้านความเสียหายจากสถานการณ์อุทกภัยตังแต่เดือนสิงหาคม 2554 เป็นต้นมาได้ส่งผลกระทบท้าให้เกิดความเสียหายในพืนที่ 78 ต้าบล 664 หมู่บ้าน 75 ชุมชน 113,099 ครัวเรือน ประชาชน จ้านวน 346,012คน และมีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์น้าท่วมจ้านวน 78 ราย ( ข้อมูลจากศูนย์อา้ นวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหา อุทกภัย วาตภัยและดินถล่มจังหวัดนครสวรรค์ปี 2554 ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2554 ) - บ้านเรือนถูกน้าท่วม รวม 112,219 หลังคาเรือน - ด้านการเกษตร พืนที่การเกษตรได้รับผลกระทบ 13 อ้าเภอพืนที่ประสบภัย 903,400 ไร่ - การปศุสัตว์(ตาย/สูญเสีย)สุกร 456 ตัวสัตว์ปีก 178,145ตัว มูลค่าความเสียหาย 4,572,765 บาท ภาพที่ 2.21 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ที่มา : http://www.nsm.go.th 2 - 34 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

ภาพที่ 2.22 น้าท่วม 2554 ที่มา : http://phiman-sizehookunit.blogspot.com/ 2 - 35 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.6 กรณีศึกษาอาคารตัวอย่าง 2.6.1 Bloom :Aquatic Farm Concept Design 2.6.1.1 ความเป็นมา ที่ตังโครง

Indian Ocean

เจ้าของโครงการ

Sitbon Architectes

พืนที่โครงการ

2,070 ตารางเมตร

สถาปนิก

Sitbon Architectes

ในปี 2050 ระดับน้าจะเพิ่มขึน 16 เซนติเมตรมากกว่าในวันนี และเอเชียได้รับผลกระทบจากปรากฏการณ์นีเกิดความคิดที่จะติดตังสิ่งนี เป็นครังแรกในมหาสมุทรอินเดีย B l o o m คือการเริ่มต้นของการ เชื่อมโยงซึ่งมีวัตถุประสงค์คือการหาทางเลือกที่จะแก้ปัญหาเกีย ่ วกับ ระดับน้าที่เพิ่มสูงขึนที่มาจากภาวะโลกร้อนนี่คือเหตุผลของแนวคิดของ โครงการนีการปฏิบัติวัฒนธรรมของแพลงก์ตอนพืชที่ดูดซึมก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์และสร้างออกซิเจนBloom มีส่วนที่พ้นน้าและส่วนที่ อยู่ใต้น้าตัวมันยังสามารถที่จะแจ้งเตือนในกรณีที่เกิดคลื่นสึนามิส่วนที่อยู่ ใต้น้าทะเลเป็นตัวควบคุมระดับน้าและท้าให้บริเวณนันลดคุณภาพในการ เสียชีวิตโซนของมหาสมุทรแม่น้าโซนชายฝั่งเป้าหมายของมันคือการ ก้าหนดบริเวณออกซิเจนโดยการฉีดแพนต้อนออกไปไล่สาหร่ายให้ สังเคราะห์แสง โครงการ มีสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยส้าหรับพนักงาน ของนักวิจัยและแผ่นต้นพืชในพิพิธภัณฑ์ สัตว์น้าขนาดใหญ่ดังนันจึงเป็น โครงการแรกที่สร้างขึนส้าหรับสาหร่ายเหล่านีมันเป็นโครงสร้างที่สร้าง ตัวเร่งปฏิกิริยาของการเจริญเติบโตของพวกเขาและในการที่มันเป็น ออกซิเจนในโลกBloom มีความต้องการที่จะสร้างให้เกิดความยั่งยืนโดย การลดการปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของเราและสถานที่เรียนรู้ที่จะ อยู่ร่วมกันกับมหาสมุทร 2 - 36

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

ภาพที่ 2.23 Aquatic Farm Concept Design ที่มา : e-architecture, 2014. 2 - 37 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.6.2 The Arctic Harvester : A Brilliant Design Of Floating Hydroponic Farm And Village ที่ตังโครง

Greenland

เจ้าของโครงการ

-

พืนที่โครงการ

25,000 ตารางเมตร

สถาปนิก

Meriem CHABANI, Etienne CHOBAUX, John EDOM,Maeva

2.6.2.1 ความเป็นมา เป็นรางวัลแรกที่ชนะรายการในนวัตกรรมและ สถาปัตยกรรมส้าหรับทะเลประเภทของณาคส์ มูลนิธินานาชาติ สถาปัตยกรรมการแข่งขันปี 2013 มันได้น้าเสนอโครงสร้างพืนฐาน การเกษตรท่องเที่ยวดินน้อยลอยหกแบบมาเพื่อการไหลเวียนของ กระแสน้าในมหาสมุทรระหว่างกรีนแลนด์และแคนาดาการใช้ประโยชน์จาก น้าจืดที่อุดมด้วยสารอาหารที่ออกโดยน้าแข็งละลายเป็นพืนฐานส้าหรับ การขนาดใหญ่ระบบให้ดูโปนิกส์การเกษตรสิ่งอ้านวยความสะดวกความ สะดวกที่ลอยเป็นอุปกรณ์ที่บ้านของคุณชวน 800 คนได้แรงบันดาลใจ ในรูปแบบของเมืองที่มีขนาดกะทัดรัดโดยมุ่งเน้นในแนวตังหมู่บ้าน กรีนแลนไซด์และสังคมของพวกเขามีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและ เศรษฐกิจไปในทะเล

โครงการก็บ้าจีเป็นค้าตอบที่พึ่งพาเกษตรกรกินแลนด์ต้องน้าเข้าเกือบ ทังหมดของผลไม้สดที่จ้าเป็นและผักจากประเทศเพือ่ นบ้านน้อยภูมิประเทศ และท้าทายความอุดมสมบูรณ์ของดินเสนอทางแก้ปัญหาครับพยายามไม่ เพียงแต่ให้ความต้องการที่แต่ยงั ท้าซ้าแบบนีว่าในอนาคตอาจจะแกว่ง สมดุลของกรีนแลนด์ของการค้าในภาพนีจากการขาดดุลกับที่เกินดุล

2 - 38 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

ภาพที่ 2.24 The Arctic Harvester ที่มา : design will save the world, 2013. 2 - 39 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.6.3 Farm Follows Function : A Solution For Future Urban Farming ที่ตังโครง

North America United States Savannah

เจ้าของโครงการ

-

พืนที่โครงการ

9,000,000 ตารางเมตร

สถาปนิก

Benjamen J Buglovsky

2.6.3.1 ความเป็นมา อุตสาหกรรมการเกษตรในปัจจุบนั ไม่ยงั่ ยืนอเมริกาละลาย มากขึนภูมทิ ศ ั น์การผลิตครังเดียวได้กลายเป็นทีม่ บ ี ต ุ รยากและจะมีความ กว้างขวางอย่างมากในด้านเทคโนโลยีการต่อสูเ้ มืองทัว่ โลกเพือ่ ให้ผอู้ ยู่ อาศัยของพวกเขาด้วยสิง่ จ้าเป็นพืนฐานอาหารและน้านิวยอร์กซิตี ไม่แต่ง กายอย่างไรก็ตามการจราจรของประชากรเคลือ่ นไหวของการใช้ชวี ต ิ ใน เมืองแบบองค์รวมได้น้าเสนอวิธใี หม่ในการท้าวิธที แี่ ตกต่างจากก่อนทีใ่ ดใด ทีแ่ ตกต่างจากสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้กอ่ นหน้านี ภายใต้สมมติฐานของความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีหลายครังแรกทีเ่ ห็นได้ชด ั ทีส่ ด ุ คือความสามารถของทรงกลม ทีเ่ พิม่ ขึน จุลนิ ทรีย์ ความก้าวหน้าในการรักษา เสถียรภาพของไฮโดรเจน เช่นเดียวกับการพัฒนาวัสดุทมี่ นี ้าหนักเบาสุดมีสว่ นร่วมอย่างมากใน

ความสามารถในการบรรลุลฟ ิ ต์ นอกเหนือจากประสบการณ์ของไฮโดรโปนิ การเกษตรทีเ่ พิม่ ขึนมากในราคาอาหารเนือ่ งจากการสูญเสียพืนทีเ่ พาะปลูก และค่าใช้จา่ ยในการขนส่งให้เหตุผลทีส่ ้าคัญทีจ่ ะคิดใหม่ขนตอนการท้ ั า เกษตร

2 - 40 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

ภาพที่ 2.25 Farm Follows Function ที่มา : ARCHIPRIX MOSCOW, 2013. 2 - 41 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

Aquatic Farm Concept Design

The Arctic Harvester

Farm Follows Function

ภาพที่ 2.26 Aquatic Farm Concept Design 2

ภาพที่ 2.27 The Arctic Harvester 2

ภาพที่ 2.28 Farm Follows Function 2

ที่มา : e-architecture, 2014.

ที่มา : design will save the world, 2013.

ที่มา : ARCHIPRIX MOSCOW, 2013.

Indian Ocean

Greenland

North America United States

ชื่อ / ภาพ

ที่ตังโครงการ

สถาปนิก พืนที่ใช้สอย

Savannah Sitbon Architectes

Meriem CHABANI, Etienne CHOBAUX, John EDOM,Maeva

Benjamen J Buglovsky

2,070 ตารางเมตร

25,000 ตารางเมตร

9,000,000 ตารางเมตร ตารางที่ 2.1 สรุปอาคารตัวอย่าง ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

2 - 42 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

Aquatic Farm Concept Design

The Arctic Harvester

Farm Follows Function

แนวคิด ภาพที่ 2.29 แนวคิด Aquatic Farm Concept Design

ภาพที่ 2.30 แนวคิด The Arctic Harvester

ภาพ 2.31ที่ แนวคิด Farm Follows Function

ที่มา : e-architecture, 2014.

ที่มา : design will save the world, 2013.

ที่มา : ARCHIPRIX MOSCOW, 2013.

ภาพที่ 2.32 ระบบ Aquatic Farm Concept Design

ภาพที่ 2.33 ระบบ The Arctic Harvester

ภาพที่ 2.34 ระบบ Farm Follows Function

ที่มา : e-architecture, 2014.

ที่มา : design will save the world, 2013.

ที่มา : ARCHIPRIX MOSCOW, 2013.

ภาพที่ 2.35 การปลูกผัก Aquatic Farm Concept Design

ภาพที่ 2.36 การปลูกผัก The Arctic Harvester

ภาพที่ 2.37 การปลูกผัก Farm Follows Function

ที่มา : e-architecture, 2014.

ที่มา : design will save the world, 2013.

ที่มา : ARCHIPRIX MOSCOW, 2013.

ระบบ โครงสร้าง

ระบบการปลูก ผัก

ตารางที่ 2.1 (ต่อ) สรุปอาคารตัวอย่าง ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 2 - 43 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

2.7 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กฎหมาย

กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 ( พ.ศ. 2543)

หมวด

ข้อก้าหนดกฎหมาย “ อาคารสาธารณะ ” หมายความว่าอาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ ในการชุมนุมคนได้โดยทั่วไป เพื่อกิจกรรม ทางราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา ทางสังคม การนันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ ห้องประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนามกีฬากลางแจ้ง สนาม กีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ถ้าจอด เรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น

-

“ อาคารขนาดใหญ่ ” หมายความว่าอาคารที่มีพืนที่รวมกัน ทุกชันหรือชันหนึ่งชันใดในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตารางเมตร หรืออาคารที่มีความสูงตังแต่ 15.00 เมตรขึนไป และมีพืนที่ รวมกันทุกชันหรือชันหนึ่งชันใดในหลังเดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตรแต่ไม่เกิน 2000 ตารางเมตร การวัดความสูงของ อาคารให้วัดจากระดับพืนดินที่ก่อสร้างถึงพืนดาดฟ้า ส้าหรับ อาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพืนดินที่ก่อสร้างจนถึง ยอดผนังของชันสูงสุด ตารางที่ 2.2 กฎหมาย ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 2 - 44

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

กฎหมาย

กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 ( พ.ศ. 2543)

กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 ( พ.ศ. 2543)

หมวด

ข้อก้าหนดกฎหมาย

หมวด 2 ส่วนต่างๆของอาคาร สวนที่ 2 พืนทีภ ่ ายในอาคาร

หมวด 2 ส่วนต่างๆของอาคาร ส่วนที่ 3 บันไดของอาคาร

ข้อ 21 อาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วย หอพัก ส้านักงาน อาคารสาธารณะอาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารพิเศษ ความกว้าง 1.50 เมตร ข้อ 22 ห้องที่เป็นที่พักอาศัย บ้านแถว ห้องพักโรงแรม ห้องเรียนนักเรียนอนุบาล ครัวส้าหรับอาคารอยู่อาศัย ห้องพัก คนไข้พิเศษ ช่องทางเดินในอาคารระยะดิ่ง 2.60 เมตร ห้องที่ใช้เป็นส้านักงาน ห้องเรียน ห้องอาหาร ห้องโถงภัตตาคาร โรงงาน ระยะดิ่ง 3 เมตร

ขอ 24 บันไดของอาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมาย ว่าด้วยเรื่องหอพัก ส้านักงาน อาคารสาธารณะ อาคาร พาณิชย์โรงงาน และอาคารพิเศษ ส้าหรับที่ใช้กับชันที่มีพืนที่ อาคารชันเหนือขึนไปรวมกันไมเกิน 300 ตารางเมตร ตองมี ความ กว้างสุทธิไมน้อยกว่า 1.20 เมตร แต่ส้าหรับบันไดของ อาคารดังกล่าวที่ใช้กับชันที่มีพืนที่ อาคารชันเหนือขึนไปรวมกัน เกิน 300 ตารางเมตร ตองมีความกว้างสุทธิไมน้อยกว่า 1.50 เมตร ถ้าความกว้างสุทธิของบันไดน้อยกว่า 1.50 เมตร ตองมี บันไดอย่างน้อยสองบันได และแต่ละบันไดต้องมีความกว้างสุทธิ ไมน้อยกว่า 1.20 เมตร บันไดของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมของ คนจ้านวนมาก เช่น บันไดห้องประชุมหรือหองบรรยายที่มีพืนที่ รวมกันตังแต่ 500 ตารางเมตรขึนไป หรือบันไดห้องรับประทาน อาหารหรือสถานบริการที่มีพืนที่ รวมกันตังแต่ 1,000 ตาราง เมตรขึนไป หรือ บันไดของแต่ละชันของอาคารนันที่มีพืนที่ รวมกันตังแต่ 2,000 ตารางเมตรขึนไป ตองมีความกว้างไม น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อยสองบันได ถ้ามีบันไดเดียวต้อง มีความกว้างไมน้อยกว่า 3 เมตร บันไดที่สูงเกิน 4 เมตร ตองมี ชานพักบันไดทุกชวง 4 เมตร หรือน้อยกว่านัน และระยะดิ่งจาก ขันบันไดหรือชานพัก บันไดถึงส่วนต่้าสุดของอาคารที่อยู่เหนือ ตารางที่ 2.2(ต่อ) กฎหมาย ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

2 - 45 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

กฎหมาย

กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 ( พ.ศ. 2543)

หมวด

ข้อก้าหนดกฎหมาย

หมวด 2 ส่วนต่างๆของอาคาร ส่วนที่ 3 บันไดของอาคาร (ต่อ)

ขึนไปต้องสูงไมน้อยกว่า 2.10 เมตร ชานพักบันไดและพืนหนา บันไดต้องมีความกว้างและความยาวไมน้อยกว่าความกว้างสุทธิ ของบันได เว้นแต่บันไดที่ มีความกว้างสุทธิเกิน 2 เมตร ชานพัก บันไดและพืนหนาบันไดจะมีความยาวไมเกิน 2 เมตรก็ได บันไดตามวรรคหนึ่งและวรรคสองต้องมีลูกตังสูงไมเกิน 18 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขันบันไดเหลื่อมกันออก แล้ว เหลือความกว้างไมน้อยกว่า 25 เซนติเมตร และต้องมีราวบันได กันตก บันไดที่มีความกว้างสุทธิเกิน 6 เมตร และช่วงบันได สูง เกิน 1 เมตร ตองมีราวบันไดทังสองข้าง บริเวณจมูกบันไดต้องมี วัสดุกันลื่น ข้อ 27 อาคารที่สูงตังแต่สี่ชันขึนไปและสูงไมเกิน 23 เมตร หรืออาคารที่สูงสามชันและมีดาดฟ้าเหนือชันที่สามที่มีพืนที่เกิน 16 ตารางเมตร นอกจากมีบันไดของอาคารตามปกติแลว ตอง มีบันไดหนีไฟที่ท้าด้วยวัสดุทนไฟอย่างน้อยหนึ่งแหง และต้องมี ทางเดินไปยังบันไดหนีไฟนันไดโดยไมมีสิ่งกีดขวาง

กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 ( พ.ศ. 2543)

หมวด 2 ส่วนต่างๆของอาคาร ส่วนที่ 4 บันไดหนีไฟ

ขอ 30 บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไมน้อย กว่า 80 เซนติเมตร มีผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวร ที่เป็น วัสดุทนไฟกันโดยรอบ เว้นแต่ส่วนที่เป็นช่องระบายอากาศและ ช่องประตูหนีไฟ และต้องมีอากาศถ่ายเทจากภายนอก อาคารได โดยแต่ละชันต้องมีช่องระบายอากาศที่เปิดสู่ภายนอกอาคารไดมี พืนที่รวมกันไมน้อยกว่า 1.4 ตารางเมตร กับต้องมี แสงสว่างให้ เพียงพอทังกลางวันและกลางคืน ขอ 31 ประตูหนีไฟต้องท้าด้วยวัสดุทนไฟ มีความกว้างสุทธิไม น้อยกว่า 80 เซนติเมตร สูงไมน้อยกว่า 1.90 เมตร และต้องท้า เป็นบานเปิดชนิดผลักออกสูภายนอกเทานัน กับต้องติดอุปกรณ์ ชนิดที่บังคับให้บานประตูปิดได้เอง และต้องสามารถ เปิดออกได ตารางที่ 2.2(ต่อ) กฎหมาย ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

2 - 46 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

กฎหมาย

หมวด

ข้อก้าหนดกฎหมาย

กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 ( พ.ศ. 2543)

หมวด 2 ส่วนต่างๆของอาคาร

โดยสะดวกตลอดเวลา ประตูหรือทางออกสูบันไดหนีไฟต้องไมมี ธรณีหรือขอบกัน

ส่วนที่ 4 บันไดหนีไฟ (ต่อ)

ขอ 32 พืนหนาบันไดหนีไฟต้องกว้างไมน้อยกว่าความกว้าง ของบันไดและอีกด้านหนึ่งกว้างไมน้อยกว่า 1.50 เมตร

หมวด 3 ที่ว่างภายนอกอาคาร

ขอ 33 อาคารอยู่อาศัย และอาคารอยู่อาศัยรวม ตองมีที่ ว่างไมน้อยกว่า 30 ใน 100 สวนของพืนที่ชันใด ชันหนึ่งที่ มากที่สุดของอาคาร

หมวด 4 แนวอาคารและระยะต่าง ๆ ของ อาคาร

ขอ 42 อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้แหล่งน้าสาธารณะ เช่น แม่น้า คูคลอง ล้าราง หรือล้ากระโดง ถาแหล่ง น้า สาธารณะนันมีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ต้องร่นแนว อาคารให้ห่างจากเขตแหล่งน้าสาธารณะนันไมน้อยกว่า 3 เมตร แต่ถ้าแหล่งน้าสาธารณะนันมีความกว้างตังแต่ 10 เมตรขึนไป ต้องร่นแนวอาคารให้ห่างจากเขตแหล่งน้าสาธารณะนันไมน้อย กว่า 6 เมตร ส้าหรับอาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้แหล่งน้า สาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บึง ทะเลสาบ หรือทะเล ตองร่นแนว อาคารให้ห่างจากเขตแหล่งน้าสาธารณะนันไมน้อยกว่า 12 เมตร ทังนี เว้นแต่ สะพาน เขื่อน รัว ท่อระบายน้า ท่าเรือ ป้าย อูเรือ คานเรือ หรือที่ว่างที่ใช้เป็นที่จอดรถไมต้องร่นแนวอาคาร ข

กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 ( พ.ศ. 2543)

กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 ( พ.ศ. 2543)

ตารางที่ 2.2(ต่อ) กฎหมาย ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

2 - 47 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


ภาพที่ 3.1 พระจุฬามณีเจดีย์ ที่มา : http://supakitno.blogspot.com/

บทที่ 3

การศึกษาและวิเคราะห์ที่ตังโครงการ 3 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.1 เกณฑ์การเลือกที่ตังโครงการ

การเลือกที่ตังโครงการ เนื่องด้วยโครงการศูนย์พัฒนาเครือข่าย เกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา จุดประสงค์คือ เป็นแหล่งให้ความที่รู้และ ความเข้าใจในการเกษตรในภาวะน้าท่วมและสามารถพึ่งพิงตัวเองได้ ใน ด้านการอยู่อาศัย อาหารและการผลิตผลผลิต เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์และเป็นแหล่งฟื้นฟูจิตใจของเกษตรกรและบรรเทาทุกข์ ที่เกิดการ จากภัยพิบัติน้าท่วม จึงต้องการที่ตังที่เป็นพืนที่พืนที่ลุ่มแม่น้า หรือพืนที่ส่วนใหญ่ปก คลุมไปด้วยพืนน้า เพื่อเป็นกรณีศึกษาและการจ้าลองเหตุการณ์ สภาวะ น้าท่วม จึงเกิดเป็นที่ตังโครงการ จังหวัดนครสวรรค์ ที่เป็นประตูสู่ ภาคเหนือ มีสัญลักษณ์ที่บ่งบอกว่าเข้าสู้ภาคเหนือคือสะพานเดชาติวงศ์ และเป็นจังหวัดที่เป็นต้นก้าเนิดของแม่น้าเจ้าพระยา และมีการท้าการ เกษตรกรรม เพราะมีพืนที่ในการท้าการเกษตรกรรมจ้านวนมาก และ เกษตรกรก็ได้รับผลกระทบจากน้าท่วมอยู่เสมอจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเหมาะ ต่อการตังโครงการ ตามวัตถุประสงค์ที่ได้กล่าวมานันเอง 3-1 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.2 ความเป็นมาของที่ตังโครงการ นครสวรรค์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองต้นแม่น้าเจ้าพระยาเป็นจุดก้าเนิด แม่น้าสายส้าคัญของประเทศ ซึ่งอดีตบริเวณต้นแม่น้าเจ้าพระยาเป็น แหล่งการค้าขายส้าคัญทังนี เนื่องจากเป็นศูนย์รวมของแม่น้าสี่สาย ไหล มาบรรจบกันโดย แควปิงมีต้นก้าเนิดที่จังหวัดเชียงใหม่ไหลผ่านจังหวัด ล้าพูนมารวมกับ แคววังที่ไหลมาจากอ้าเภอวังเหนือจังหวัดล้าปาง บรรจบกันที่จังหวัดตากและแควยมที่มีจุดก้าเนิดที่จังหวัดเชียงรายไหลมา รวมกับแควน่านที่มาจากจังหวัดน่านมาบรรจบที่ปากน้า เกรียงไกร ต้าบลเกรียงไกร อ้าเภอชุมแสงเป็นแม่น้าน่านโดยทังแม่น้าปิงและแม่น้า น่านไหลมารวมกันที่ท้ายเกาะยม ต้าบลปากน้าโพ เป็นจุดก้าเนิดของ แม่น้าสายส้าคัญที่เปรียบเสมือนสายเลือดใหญ่ของประเทศไทยคือแม่น้า เจ้าพระยาที่ไหลผ่านจังหวัดต่างๆในภาคกลางไปจนถึงกรุงเทพและไหลลง สู่อ่าวไทยที่จังหวัดสมุทรปราการ ความยาวประมาณ 307 กิโลเมตร การที่แม่น้าทังสี่แควไหลมาบรรจบกันที่ต้าบลปากน้าโพดังกล่าว บริเวณ ต้นแม่น้าเจ้าพระยาในอดีตจึงเป็นแหล่งการค้าขายที่ส้าคัญ เป็นจุดคน ถ่ายสินค้าที่เดินทางมาจากกรุงเทพและที่เดินทางลงมาจากภาคเหนือ การค้าขายในอดีตต้องอาศัยการคมนาคมทางเรือเป็นหลักบริเวณต้น แม่น้าเจ้าพระยาจึงมีความส้าคัญทาง เศรษฐกิจมาตังแต่อดีตซึ่งใน ปัจจุบันยังมีเรือแพเก่าแต่เป็นชุมชนสืบสานวัฒนธรรมให้นักท่องเที่ยวและ

ผู้ใหม่เยือนได้เห็นวิถีความเป็นอยู่ของชาวบ้านที่ยังคงอยู่ใน เรือนแพ ริมน้า ทังสองฟากฝั่งได้นอกจากชุมชนชาวเรือนแพแล้วสายน้าทังสอง สายยังสร้างความงดงามทางธรรมชาติอย่างน่าชื่นชม โดยแม่น้าน่านมี สีค่อนข้างแดงขุ่น แต่แม่น้าปิงจะมีสีค่อนข้างไปทางเขียวคล้าใส เมื่อมา บรรจบกันท้าให้บริเวณต้นแม่น้าเจ้าพระยา กลายเป็นแม่น้าสองสีเห็นได้ ชัดเจน

3-2 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

ภาพี่ 3.2 แม่น้าสองสี ที่มา : https://www.matichon.co.th/news/23180 3-3 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.3 ข้อมูลทั่วไปของที่ตังโครงการ 3.3.1 ที่ตังและขนาด - ระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงจังหวัดนครสวรรค์ 239 กิโลเมตร - พืนที่ของจังหวัด 9,597.677 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,998,548 ไร่

3.3.2 อาณาเขต ทิศเหนือ

ติดต่อกับ จังหวัดพิจิตรและก้าแพงเพชร

ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดลพบุรี,อุทัยธานี,ชัยนาทและสิงห์บุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ จังหวัดเพชรบูรณ์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ จังหวัดตาก ภาพที่ 3.3 บึงดอกบัว ที่มา : http://www.unseentourthailand.com/pgallery/? module=gallery&action=info&cate_id=all&id=397&page=all

3-4 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.3.3 ลักษณะภูมิประเทศ

3.3.4 เขตการปกครอง

ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิศาสตร์โดยทั่วไป ส่วนใหญ่เป็นที่ ราบลุ่มเหมาะแก่การเกษตร เป็นที่ราบประมาณ 3 ใน 4 ของพืนที่ จังหวัด มีแม่น้าสายส้าคัญคือ แม่น้าปิง แม่น้ายม และแม่น้าน่าน ไหลมา รวมกันเป็นแม่น้าเจ้าพระยาไหลผ่านช่วงกลางของจังหวัด แม่น้าดังกล่าว ได้แบ่งพืนที่ของจังหวัดออกเป็นด้านตะวันออกและตะวันตก และมีเพียง 6 อ้าเภอที่ตังอยู่บนแม่น้าสายหลัก สภาพภูมิประเทศทางด้านทิศตะวันตก ของจังหวัดมีภูเขาสลับซับซ้อนและเป็นป่าทึบในเขตอ้าเภอลาดยาว อ้าเภอแม่วงก์ อ้าเภอแม่เปิน และอ้าเภอชุมตาบง พืนที่ป่าของจังหวัดเป็น สภาพป่าที่เชื่อมโยงติดต่อกับป่าห้วยขาแข้งของอุทัยธานีในส่วนทางใต้ ของอ้าเภอวงก์ ส่วนบนของอ้าเภอวงก์และอ้าเภอลาดยาวเป็นส่วนติดต่อ กับป่าทึบของจังหวัดตากที่เชื่อมโยงไปถึงป่าทุ่งใหญ่นเรศวรจังหวัด กาญจนบุรี

จังหวัดนครสวรรค์จัดรูปการปกครองตามลักษณะการปกครอง ส่วนภูมิภาคโดยแบ่งออกเป็น 15 อ้าเภอ 1,431 หมู่บ้าน 128 ต้าบล และจัดรูปการปกครองตามลักษณะการปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วยองค์การบริหารส่วนจังหวัด1แห่งเทศบาล 21 แห่ง ( เทศบาลนคร 1 แห่งเทศบาลเมือง 2 แห่ง เทศบาลต้าบล 18 แห่ง ) และองค์การบริหารส่วนต้าบล 121 แห่ง

สภาพพืนที่ส่วนใหญ่ของจังหวัด เป็นที่ราบเรียบบริเวณที่ราบลุ่ม แม่น้าโดยเฉพาะตอนกลางของจังหวัดซึ่งอยู่ในเขตอ้าเภอเมือง นครสวรรค์อ้าเภอบรรพตพิสัย อ้าเภอชุมแสง อ้าเภอท่าตะโก อ้าเภอ โกรกพระ อ้าเภอเก้าเลียว และอ้าเภอพยุหะคีรีสภาพพืนที่ทางทิศตะวันตก (เขตอ้าเภอลาดยาว อ้าเภอแม่วงก์ อ้าเภอแม่เปินและอ้าเภอชุมตาบง) และ ทิศตะวันออก( เขตอ้าเภอหนองบัว อ้าเภอไพศาลี อ้าเภอตากฟ้าและ อ้าเภอตาคลี) มีลักษณะเป็นแบบลอนลูกคลื่น ยกตัวขึนจากตอนกลาง ของจังหวัดสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 20 - 100 เมตร

3-5 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.3.5 ด้านสังคม 3.3.5.1 ประชากร จำนวนประชากรรวม 1,071,754 คน แบ่งเป็นชาย 524,608 คน และหญิง 547,146 คน

3.3.6 ด้านศาสนา ประชากรของจังหวัดนครสวรรค์ร้อยละ 99.76 นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ ศาสนาคริสต์และอิสลาม ร้อยละ 0.18 และ 0.06 ตามล้าดับ ข้อมูล ทางการศาสนาจนวนศาสนสถาน (วัด คริสตจักร มัสยิด) 781 แห่ง วัด 753 วัด นิกาย มหายาน 737 วัด นิกายธรรมยุติ 16 วัด โบสถ์คริสต์ 23 แห่ง มัสยิด 5 แห่ง พระอารามหลวง 4 แห่ง 3.3.6.1 วัดโพธาราม

มหานิกาย

อ้าเภอเมืองนครสวรรค์

3.3.6.2 วัดนครสวรรค์

มหานิกาย

อ้าเภอเมืองนครสวรรค์

3.3.6.3 วัดวรนาถบรรพต

มหานิกาย

อ้าเภอเมืองนครสวรรค์

3.3.6.4 วัดตากฟ้า

มหานิกาย

อ้าเภอตากฟ้า

- สังกัดกระทรวงสาธารณสุข

204 แห่ง

- สังกัดกระทรวงกลาโหม

2

แห่ง

- สังกัดกระทรวงมหาดไทย

9

แห่ง

3.3.7 ด้านสาธารณสุข 3.3.7.1 ภาครัฐ

ภาพที่ 3.4 สังคม ที่มา : http://stiri.tvr.ro/studiu-tinerii-de-25-de-ani-au

3.3.7.2 ภาคเอกชน - โรงพยาบาลเอกชน

-cei-mai-mul-i-prieteni_73068.html#view

7

แห่ง 3-6

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.3.8 ด้านโครงสร้างพืนฐาน

3.3.9 ด้านเศรษฐกิจ

3.3.8.1 พืนที่ชลประทาน

3.3.9.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด

- โครงการชลประทานขนาดใหญ่

3

แห่ง

ภาคเกษตร

31,386

บาท

- โครงการชลประทานขนาดกลาง

15

แห่ง

ภาคนอกเกษตร

61,526

บาท

- โครงการชลประทานขนาดเล็ก

168 แห่ง

ผลิตภัณฑ์จังหวัด

92,912

บาท

- โครงการสูบน้าด้วยไฟฟ้า

58

เฉลี่ยต่อคน

80,498

บาท

แห่ง

3.3.8.2 การคมนาคม

3.3.9.2 รายได้ประชากรเฉลี่ยต่อคนต่อปี

- ทางรถยนต์ ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1,32,11,117,225

เฉลี่ยต่อคนต่อปี

62,979.54 บาท

3.3.9.3 การเกษตรกรรม

- ทางรถไฟ จังหวัดนครสวรรค์มีเสนทางรถไฟผ่านตัว อ้าเภอต่างๆ ดังนี อ้าเภอตาคลี อ้าเภอเมืองนครสวรรค์ และอ้าเภอชุมแสง

จังหวัดนครสวรรค์ มีพืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญ ได้แก่ข้าวอ้อย โรงงานมันส้าปะหลังข้าวโพดเลียงสัตว์ 1 ข้าวนาปีจัดเป็นพืชเศรษฐกิจที่ ส้าคัญของจังหวัดนครสวรรค์ มีพืนที่เพาะปลูกข้าว ทุก อ้าเภอแต่อ้าเภอ ที่มีพืนที่เพาะปลูกมากในล้าดับต้นๆ ได้แก่อ้าเภอบรรพตพิสัยท่าตะโก หนองบัวลาดยาวและชุมแสงซึ่งมีการเพาะปลูกข้าวพันธุ์ที่ทางราชการ ส่งเสริม เช่นพันธุ์ชัยนาท 1, กข.31,กข.41 และ ขาวดอกมะลิ 105 เป็น หลักประกอบกับสภาพภูมิอากาศและศักยภาพของดินเพื่ออ้านวยต่อการ เพาะปลูกข้าวพืนที่ปลูกข้าวอยู่ในเขตอาศัยน้าฝนและเขตชลประทาน ผลผลิตเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีทังนีขึนอยู่กับปัจจัยสภาพแวดล้อมเช่นฝนแล้ง น้าท่วมและศัตรูพืช 2 ข้าวนาปรังจังหวัดนครสวรรค์มีพืนที่ปลูกข้าวนา ปรังซึ่งจะท้าการเพาะปลูกตังแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเมษายนของทุกปี พืนที่เพาะปลูกในแต่ละปีขึนอยู่กับปริมาณน้าที่จะใช้ในการเพาะปลูกแหล่ง น้าที่ใช้ในการเพาะปลูกได้แก่เขตชลประทานสูบน้าด้วยไฟฟ้าและน้าบาดาล

- ทางอากาศ จังหวัดนครสวรรค์ไม่มีสนามบินพาณิชย์ มีแต่สนามบินของกองบิน 4 อ้าเภอตาคลี ซึ่งเดิมเคยใช้ เป็นสนามบินของกองทัพอเมริกัน ที่มีศักยภาพสูงส้าหรับ เครื่องบินไอพ่น และสนามบินเกษตรของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ศักยภาพของสนามบิน เหล่านีสามารถปรับ เป็นสนามบินพาณิชย์ได้

3-7 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.3.10 การประมง สภาพพืนที่ของจังหวัดนครสวรรค์เป็นที่ราบลุ่มและมีพืนที่ดอน บ้างเล็กน้อยเกษตรกรที่เพาะเลียงสัตว์น้าส่วนใหญ่ด้าเนินการเลียงสัตว์ น้าแบบยังชีพเพื่อการน้ามาบริโภคภายในครัวเรือนเท่านันมีเกษตรกรผู้ เพาะเลียงสัตว์น้าในเขตพืนที่อ้าเภอเมืองนครสวรรค์ อ้าเภอชุมแสงและ อ้าเภอพยุหะคีรีเป็นส่วนใหญ่ที่ด้าเนินการเลียงสัตว์น้าแบบพาณิชย์ รูปแบบของการเพาะเลียงสัตว์น้าในเขตพืนที่จังหวัดนครสวรรค์มีทังการ เลียงในบ่อดินบ่อซีเมนต์ และนอกจากนียังมี เกษตรกรผู้เพาะเลียงสัตว์น้า ในเขตพืนที่อ้าเภอเมืองนครสวรรค์อ้าเภอพยุหะคีรีอ้าเภอชุมแสงอ้าเภอ บรรพตพิสัยและอ้าเภอโกรกพระบาง ส่วนนีโยมเลียงปลาในกระชังเช่น ปลากดแก้วปลานิลปลาเทโพปลาสวายฯลฯ จึงถือได้ว่าจังหวัด นครสวรรค์เป็นจังหวัดที่มีศักยภาพด้านการเพาะเลียงสัตว์น้าและมี ผลผลิต สัตว์น้ามากจังหวัดหนึ่งแต่ถึงอย่างไรผลผลิตสัตว์น้าที่มีอยู่ก็ยัง ไม่เต็มศักยภาพของแหล่งน้าในจังหวัดที่จะผลิตได้ชนิดสัตว์น้าที่เกษตรกร เลียงในเขตจังหวัดนครสวรรค์มีจ้านวน 24 ชนิดคือปลาสวายปลา กรายปลานวลจันทร์ปลาชะโดปลาทับทิมปลาจาระเม็ดปลากดคัง ปลาไน ปลาบึกลาเทโพปลาสลิดปลาโมงปลานิลปลาจีนปลากัด ปลาดุก ปลา ดุกบิ๊กอุย ปลาทอง ปลาตะเพียน ปลาช่อน กบ ปลายี่สกเทศ ปลาบู่ จระเข้ปลาฉลาดและปลาแรด

อ้าเภอที่มีการเพาะปลูกมากล้าดับต้นได้แก่อ้าเภอบรรพตพิสัย ชุมแสง ตาคลี ท่าตะโก ลาดยาวและอ้าเภอเมืองนครสวรรค์ ผลผลิตเฉลี่ยอยู่ใน เกณฑ์ดี 3อ้อยโรงงานจังหวัดนครสวรรค์มีพืนที่ปลูกอ้อยโรงงานอยู่ใน ระดับต้นๆของประเทศทังนีเนื่องจากมีโรงงานแปรรูป(โรงงานน้าตาล) ที่ ใหญ่ที่สุดในระดับประเทศตังอยู่ในเขตจังหวัดและมีการส่งเสริมให้ เกษตรกรเพาะปลูกร่วมกันระหว่างภาคราชการและเอกชนทังนีเรื่องของ การใช้พันธุ์ดีและปฏิบัติดูแลพันธุ์ที่ใช้ในการเพาะปลูก ได้แก่พนั ธุ์ขอนแก่น 3 ซึ่งเป็นพันธุ์ของทางราชการและพันธุ์ lk - 2-11 ซึ่งเป็นพันส่งเสริม ของส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทรายผลผลิตเฉลีย ่ ตอนล่า อยู่ในเกณฑ์ที่รวมทังเปอร์เซ็นต์ความหวานค่า(c c s )อ้าเภอที่มีพืนที่ เพาะปลูกมากอันดับต้นๆได้แก่อ้าเภอตาคลีตากฟ้าพยุหะคีรีและอ้าเภอแม่ เปิน 4 มันส้าปะหลังจังหวัดนครสวรรค์มีพืนที่เพาะปลูกมันส้าปะหลังอยู่ ในระดับต้นๆในเขตภาคเหนือรองจากจังหวัดก้าแพงเพชรท่านที่ใช้ เพาะปลูกได้แก่ระยอง 11 ระยอง 5 ระยอง 7 ห้วยบง 60 ห้วยบง 80 และเกษตรศาสตร์ 50 ซึ่งเป็นพันที่ทางราชการส่งเสริมและเหมาะสมที่จะ ใช้ปลูกในเขตพืนที่จังหวัดผลผลิตเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ที่ดีเปรียบเทียบกับ จังหวัดใกล้เคียงอ้าเภอที่มีการเพาะปลูกมากได้แก่ แม่วงก์ ไพศาลี ลาดยาวหนองบัวชุมตาบงและแม่เปิน 3-8

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.3.11 ด้านแรงงาน -

ก้าลังแรงงาน จังหวัดนครสวรรค์ มี จ้านวนประชากรอายุ 15 ปีขึนไปทังสิน 943,734 คน เป็นผู้อยู่ในก้าลังแรงงาน 691,430 คนจ้าแนกเป็นผู้มีงานท้า 683,735 คน (ร้อยละ 98.9 ของผูอ้ ยู่ใน ก้าลังแรงงานทังหมด) ผู้ว่างงาน 1,360 คน (อัตราการว่างงานร้อยละ 0.2 ) และผู้ที่รอฤดูกาล 6,335 คน (ร้อยละ 0.9 )

-

การมีงานท้า ในกลุ่มผู้มีงานท้าทังหมด 683,735 คนเป็นผู้ ท้างานในภาคเกษตรรวม 341,861 คน (คิดเป็นร้อยละ 50.0 ของผู้มี งานท้าทังหมด) ในขณะที่นอกภาคเกษตรนันมีผู้ท้างานทังสิน 341,874 คน (ร้อยละ 50.0 ของผู้มีงานท้าทังหมด) โดยสาขานอกภาคเกษตรที่มี ผู้ท้างานมากที่สุด ได้แก่ สาขาการขายส่ง การขายปลีกฯ โดยมีผู้ ท้างานรวมทังสิน 119,641 คน รองลงมาได้แก่ สาขาการก่อสร้าง 69,928 คนและสาขาการผลิต 33,728 คนตามล้าดับ เมื่อพิจารณา กลุ่มผู้มีงานท้าจ้าแนกออกตามระดับการศึกษาที่จบพบว่าแรงงานส่วน ใหญ่มีการศึกษาในระดับต่้ากว่าประถมศึกษาซึ่งมีจ้านวน 276,293 คนรองลงมาคือแรงงานที่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา 145,824 คนในขณะที่แรงงานซึ่งจบการศึกษาในระดับอุดมศึกษานันมีเพียง 69,465 คนเท่านัน

-

การว่างาน จังหวัดนครสวรรค์มีผู้ว่างงานจ้านวนทังสิน 1360 คน คิดเป็นอัตราการว่างานร้อยละ 0.2 ของผู้อยู่ในก้าลัง แรงงาน โดยเพศหญิงมีอัตราการว่างงานสูงกว่าชาย 3-9 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.3 วิเคราะห์ศักยภาพของที่ตังโครงการ

3.3.1 ด้านเศรษฐกิจ 3.3.1.1 2554

โครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดนครสวรรค์ ขึนอยู่กับภาค เกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรมและภาคการค้าส่ง-ค้าปลีก ซึง่ มีสัดส่วน มูลค่ารวมเกินกว่าร้อยละ 60 เกษตรกรรม มีพืชที่ส้าคัญ 5 ชนิด ซึ่ง เรียงล้าดับความส้าคัญ ดังนี ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง อ้อยโรงงาน มัน ส้าปะหลังและข้าวโพดเลียงสัตว์ ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดส่วนใหญ่ เป็นอุตสาหกรรมประเภทอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมที่สร้าง มูลค่ามากที่สุด ได้แก่อุตสาหกรรมน้าตาล รองลงมาคืออุตสาหกรรม นม มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดนครสวรรค์ปี 2553 มีมูลค่ารวม ทังสิน 92,912 ล้านบาท แบ่งเป็น ภาคเกษตรกรรม 30,628 ร้าน บาทคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 32.96 ภาคอุตสาหกรรม 20,000 ล้าน บาทคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 21.53 ภาคการค้าส่ง-ค้าปลีก 11,551 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12.43 และภาคอื่นๆ 30,733 ล้าน บาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 33.08

ข้อมูลเชิงประเด็นที่เป็นปัญหาส้าคัญเร่งด่วนในระดับจังหวัดปี

จากการศึกษาข้อมูลการส้ารวจสถานการณ์ทางสังคมของ ท้องถิ่นจังหวัดนครสวรรค์ปี 2554 จากองค์กรปกครองท้องถิ่น จ้านวน 142 (อปท.1) ในส่วนที่ 2 พบว่าประเด็นปัญหาสังคมฯซึ่งควร เร่งด้าเนินการจัดท้าแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพ ชีวิตปี 2555 ตามล้าดับ มีดังนี

- ประเด็นปัญหาประชาชนได้รับผลกระทบจากสาธารณ ภัยทังภัยที่เกิดจากธรรมชาติและภัยที่เกิดจากมนุษย์ - ประเด็นปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในกลุ่มเด็กและ เยาวชน - ประเด็นปัญหาผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้ 3 - 10

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.3.1.2 ประเด็นสังคมและกลุ่มเป้าหมายที่ควรได้รับการ พัฒนาในปี 2555 - ประเด็นที่ 1 ปัญหาประชาชนได้รับผลกระทบจากสาธารณภัย ทางภัยที่เกิดจากธรรมชาติและภัยที่เกิดจากมนุษย์ จากการเก็บข้อมูลประเด็นสังคมที่ต้องได้รับการพัฒนา จ้านวน 6 ประเด็นได้แก่ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมสุขภาพอนามัย การศึกษาการมีงานท้าและรายได้ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินและวัฒนธรรมและจริยธรรมพบว่าประเด็นปัญหาสังคม ที่ต้องได้รับการพัฒนาได้แก่ประเด็นปัญหาด้านความไม่ปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สินโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นที่ประชาชนได้รับ ผลกระทบจากสาธารณภัยทังภัยที่เกิด จากธรรมชาติและภัยที่ เกิดจากมนุษย์ ส้าหรับปัญหาด้านความไม่ปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินในรอบปีที่ผ่านมามีจ้านวนทังสิน 70,200 คนโดย พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากสาธารณภัยร้อยละ 78.38 รองลงมาคือประชาชนที่ประสบภัยจากการท้างานร้อย ละ 16.44 ประชาชนที่ได้รับอุบัติเหตุจากยานพาหนะร้อยละ 3.82 ประชาชนถูกลักทรัพย์ / ชิงทรัพย์/ถูกท้าลายทรัพย์สิน ร้อยละ 0.77. ประชาชนถูกท้าร้ายทางร่างกายร้อยละ 0.39 คนสูญหาย/ติดต่อไม่ได้ร้อยละ 0.12 และประชาชนถูกล่วงละเมิด ทางเพศร้อยละ 0.08 ตามล้าดับ ประเด็นปัญหาดังกล่าว สอดคล้องกับปัญหา อุทกภัยเมื่อเดือนสิงหาคม 2554 ซึ่งส่งผล กระทบต่อประชาชน ในจังหวัดเป็นจ้านวนมากโดยจังหวัดได้ประกาศพืนที่ประสบภัย พิบัติ ทัง 15 อ้าเภอแบ่งออกเป็น - พืนที่ประสบภัยทางน้าหลาก 5 อ้าเภอ( อ้าเภอตากฟ้า อ้าเภอแม่เปิน อ้าเภอไพศาลี อ้าเภอชุมตาบงและอ้าเภอแม่ วงก์) - พืนที่ประสบ ภัยจากน้าท่วมขัง 10 อ้าเภอ( อ้าเภอ ชุมแสงอ้าเภอเก้าเลียวอ้าเภอ เมืองอ้าเภอ ท่าตะโก อ้าเภอโกรกพระ อ้าเภอพยุหะคีรี อ้าเภอตาคลี อ้าเภอ หนองบัว อ้าเภอลาดยาวและอ้าเภอบรรพตพิสัย )

ภาพที่ 3.5 เศรษฐกิจ ที่มา : https://kairosphotos.photoshelter.com/image/I0000w8fiLJb_Cq8 3 - 11

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.3.2 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3.3.2.1 ทรัพยากรน้า

3.3.2.2 สภาพปัญหา

สถานการณ์จังหวัดนครสวรรค์มีแม่น้าที่ส้าคัญหลายพัน หลายสาย เช่น แม่น้าปิงแม่น้ายมแม่น้าน่านแม่น้าเจ้าพระยาและมี พืนที่ชุ่มน้า (Wet land) ที่มีความส้าคัญระหว่างประเทศ (Remsar Site) จ้านวน 1 แห่งคือบึงบอระเพ็ด ( แต่ยังไม่ขึน ทะเบียนขออนุสัญญาว่าด้วยพืนที่ชุ่มน้า ) มีพืนที่ชุ่มน้าที่มี ความส้าคัญระดับชาติจ้านวน 3 แห่งคือแม่น้าปิงแม่น้ายมแม่น้า น่านและแม่น้าเจ้าพระยารวมทังพืนที่ชุ่มน้าที่มีความส้าคัญระดับ ท้องถิ่นจ้านวน 711 แห่งและการบ้าบัดน้าเสียชุมชนจังหวัด นครสวรรค์มีท้องถิ่นระดับเทศบาล 20 แห่งมีระบบบ้าบัดน้าเสีย 3 แห่งใช้งานได้ 2 แห่งเทศบาลที่อยู่ริมแม่น้า 10 แห่งมีระบบ บ้าบัดน้าเสีย 2 ห้ามมีองค์การบริหารส่วนต้าบลริมแม่น้า 35 แห่งไม่มีระบบบ้าบัดน้าเสียก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้า

ปริมาณน้าในแม่น้ามากและล้นตลิ่งท่วมพืนที่ทางการเกษตรและที่ อยู่อาศัยในช่วงฤดูฝน สาเหตุของปัญหา -

ปริมาณน้าที่ไหลผ่านจากพืนที่ทางเหนือจังหวัดนครสวรรค์มี ปริมาณมาก

แนวทางแก้ไขของปัญหา - จัดท้าแนวป้องกันน้าท่วมในเขตเมืองเขต เศรษฐกิจ - เฝ้าระวังสถานการณ์ปริมาณน้าในเขต ภาคเหนือ

- จัดหาพืนที่แก้มลิงรองรับน้าและการผัน ลดปริมาณน้าผ่านเขตเมือง -

ปริมาณน้าฝนที่ตกในพืนที่ไหลมาสมทบกับน้าที่ไหลมาจาก พืนที่ทางเหนือของจังหวัด แนวทางแก้ไขของปัญหา

จัดหาพืนที่เก็บกักน้าโดยปรับปรุงแหล่งน้า ธรรมชาติที่ตืนเขินมาขุดลอกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การเก็บกักน้า - อนุรักษ์แหล่งน้าธรรมชาติและพืนที่ชุ่มน้าเช่น คลองบึงหนองน้าไว้รองรับปริมาณน้าฝน 3 - 12 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

ภาพที่ 3.6 ทรัพยากรน้า ที่มา : http://www.vinatrade.info/p/portable-water.html 3 - 13 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.4 วิเคราะห์ท้าเลของที่ตังโครงการ 3.4.1 วิเคราะห์เมืองของที่ตังโครงการ

ภาพที่ 3.7 ประเทศไทย

ภาพที่ 3.8 จังหวัดนครสวรรค์

ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 3 - 14

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

ภาพที่ 3.9 อ้าเภอเมืองนครสวรรค์

ภาพที่ 3.10 ย่านต้นแม่น้า

ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 3 - 15

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.42 วิเคราะห์ย่านของที่ตังโครงการ วัดนครสวรรค์

อุทยานสวรรค์หนองสมบุญ

ลานศิลป์

ต้นแม่น้าเจ้าพระยา

ศาลเจ้าพ่อเทพารักษ์-เจ้าแม่ทับทิม

บิ๊กซี นครสวรรค์

บึงบอระเพ็ด เกาะยม

สะพานเดชาติวงศ์ ท่าข้าวก้านันทรง

อุทยานสวรรค์หนองสมบุญ

พุทธอุทยานนครสวรรค์

ภาพ 3.11 NODE

ภาพ 3.12 PATH

ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

ต้นแม่น้าเจ้าพระยา

บึงบอระเพ็ด

สะพานเดชาติวงศ์

ภาพที่ 3.13 LANDMARKS

ภาพที่ 3.14 EDGE

ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 3 - 16

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

ภาพที่ 3.15 DISTRICT ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 3 - 17 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

SITE 3

SITE 2

SITE 1

3.4.3 วิเคราะห์ที่ตังโครงการ

ภาพที่ 3.16 SITE SELECTION ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 3 - 18 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.4.3.1 การประเมินความเหมาะสมของท้าเลทีต ่ ังอาคาร

ระดับคะแนน

SITE 1

SITE 2

SITE 3

สังเกตมองเห็นได้ง่าย

40

30

35

40

มีอาณาเขตติดกับอาคารที่เอือกับโครงการ

30

15

20

30

การเข้าถึง SITE ได้สะดวก

20

20

15

15

อาคารข้างเคียงไม่บดบังทัศนียภาพ

10

5

10

10

รวมคะแนน

100

70

80

95 ตารางที่ 3.1 ประเมินท้าเล ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

3 - 19 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.4.3.2 แสดงบริเวณที่ตังโครงการ 1.สะพานเดชาติวงศ์

2.ชุมชนเมือง

3.ท่าข้าวก้านันทรง

4. เพราะพันธุ์ปลา

2 WIND

SITE SUNSET

SUNRISE 3

1 WIND

4

ภาพที่ 3.17 SITE ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 3 - 20 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

3.4.3.3 รายละเอียดที่ตังโครงการ

สรุปการเลือกที่ตังโครงการ

ข้อมูลที่ตังโครงการ

การเลือกที่ตังโครงการตังอยู่ทขี่ ้างกับสะพานเดชาติวงศ์ ท้าให้ โครงการนันสังเกตและมองเห็นโครงการได้ง่าย เพราะขึนเหนือหรือเข้า กรุงเทพมหานคร ถ้ามาในถนนสายหลัก หมายเลข 1 จะต้องขึนสะพาน เดชาติวงศ์ก็จะสามารถมองได้โครงการได้ง่าย มีอาณาเขตติดกับอาคาร ที่เอือกับโครงการ 2 อาคาร คือ ท่าข้าวก้านันทรงและอาคารเพราะพันธุ์ ปลา เพื่อสนับสนุนวัตถุประสงค์โครงการ การเข้าถึง SITE ได้สะดวก เพราะอยู่ติดกับแหล่งชุมชนเมือง ไม่มีอาคารข้างเคียงมาบดบัง ทัศนียภาพของโครงการสามารถมองเห็นสะพานเดชาติวงศ์ ที่เป็น LANDMARKS ของจังหวัดนครสวรรค์

ขนาดพืนที่

3,000 ตารางเมตร

ภาพที่ 3.18 สะพานเดชาติวงศ์

ภาพที่ 3.19 .ชุมชนเมือง

ภาพที่ 3.20 ท่าข้าวก้านันทรง

ภาพที่ 3.21 เพราะพันธุ์ปลา

ที่มา : http://www.allnewtaxi.com/provicial/

ที่มา : http://thailandtopvote.com/หอชมเมือง

ที่มา : https://thaipublica.org/2012/11/wassana-

ที่มา : https://www.facebook.com/

provicial/

นครสวรรค์/

thakaokumnunsong/

bestfish4u/photos/

3 - 21 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


ภาพที่ 4.1 ข้าว ที่มา : http://www.euneed7.com/gallery.html

บทที่ 4 การศึกษาและก้าหนดรายละเอียดโครงการ 4 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

4.1 ความเป็นมาของโครงการ

โครงการศูนย์พฒ ั นาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยาเกิดจาก ปัญหาทีใ่ นอนาคตทีโ่ ลกจะถูกปกคลุมไปด้วยพืนน้า เกษตรกรต่างดินรนเอา ชีวต ิ รอดการเรียนรูแ้ ละการปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติเป็นส่วนหนึง่ ทีท่ ้าให้ เกษตรกรสามารถก้าวผ่านช่วงวิกฤตการณ์ของโลก ระหว่างทีเ่ กษตรกร ก้าลังค้นหาทรัพยากรเพือ่ น้าไปใช้ประโยชน์นนบางส่ ั วนของกระบวนการก็ น้ามาซึง่ สภาวะสิง่ แวดล้อมโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปหลายครังทีธ่ รรมชาติได้สง่ สัญญาณภัยพิบต ั ทิ งเล็ ั กและใหญ่เช่นน้าท่วม,พายุหรือสึนามิ

จากประเด็นดังกล่าวท้าให้เกิดการศึกษาถึงปัจจัยทีจ่ ะท้าให้อยูร่ อดใน ภาวะทีเ่ มืองถูกปกคลุมด้วยพืนน้า มนุษย์ทกุ คนต้องการปัจจัย 4 ในการ ด้ารงชีวต ิ ด้วยกันทังนัน ไม่วา่ จะเป็นคนทีม่ ฐี านะมากมายเพียงใดหรือเป็นคน ยากจนเพียงใด ทุกคนต้องการปัจจัยดังกล่าวในการด้ารงชีวต ิ ไม่วา่ จะเป็น เครือ่ งนุง่ ห่ม ยารักษาโรค ทีอ่ ยูอ่ าศัยและอาหาร ดังนันโครงการศูนย์ พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา มีจด ุ ประสงค์ทจี่ ะมุง่ เน้นใน เรือ่ งของการสร้างพืนทีผ ่ ลิตอาหาร พืนทีด ่ งั กล่าวจะเป็นในรูปแบบทีเ่ รา สามารถพึง่ พิงตัวเองได้ในระดับของครอบครัวและชุมชน ส่งผลให้เกิดความ สะดวกในการควบคุมปริมาณการจัดการคนและพืนทีใ่ ห้เพียงพอต่อความ ต้องการ ซึง่ พืนทีโ่ ครงการจะใช้พนที ื ช ่ มุ ชน ทีม่ บี ริเวณส่วนใหญ่ปกคลุมไป ด้วยน้า เป็นการจ้าลองสถานการณ์น้าท่วมเมือง เกิดเป็นพืนทีก่ รณีศกึ ษา ถึงเหตุการณ์ในอนาคต ท้าให้มค ี วามเข้าใจและเตรียมพร้อมรับมือต่อสิง่ ทีจ่ ะ เกิดขึน

จากการคาดการณ์ของผูเ้ ชีย่ วชาญระบุวา่ ภาวะโลกร้อนท้าให้ธาร น้าแข็งละลายส่งผลให้ระดับน้าเพิม่ ขึนถึงประมาณ 3 ฟุตภายในปี 2010 และจัดส่งผลต่อพืนทีข่ นาดใหญ่บริเวณชายฝัง่ รวมทังเมืองใหญ่ๆ ของโลก เหตุการณ์ดงั กล่าวท้าให้พนที ื ใ่ นการอยูอ่ าศัย การใช้ชวี ต ิ ประจ้าวัน การ ผลิตอาหารนันลดลงและค่อยๆหมดลงจากผืนทีด ่ นิ ถูกแทนด้วยพืนน้า ซึง่ ปรากฏการณ์ตา่ งๆเหล่านี ท้าให้มนุษย์ตอ้ งยอมรับและเผชิญหน้ากับสิง่ ที่ ก้าลังจะเปลีย่ นไป 4-1

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center ภาพ 1.1 คลื่น ที่มา : https://twitter.com/magalimarta/media

4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ

4.2.1 เพื่อเป็นพืนที่ต้นแบบของการปลูกผักในภาวะน้าท่วม 4.2.2 เพื่อเป็นตัวอย่างในการใช้ชีวิตท่ามกลางพืนนา้ ภาพที่ 4.2 ลูกเกษตรกร

4.2.3 เพื่อเป็นพืนที่เกษตรกรให้กับคนในชุมชน

ที่มา : http://taamkru.com/?page=4&show=บทความ 4-2

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

4.3 การก้าหนดโครงการ โครงการศูนย์พฒ ั นาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยาเป็น สถานทีก่ ารเกษตรในสถานทีแ่ ปลงปลูกทีเ่ ปลีย่ นไปจากเดิมเพือ่ เป็นต้นแบบ การเกษตรไว้บริโภคในยามทีล่ กู ถูกปกคลุมไปด้วยพืนน้า

4.3.1 รูปแบบการบริหารของโครงการ 4.3.1.1

การวางแผนงาน

4.3.1.2

การปฏิบต ั งิ าน

4.3.1.3

การวัดผลและประเมินผล

4.3.1.4

การปรับปรุงและการแก้ไข

4.3.2 โครงสร้างการบริหารงานของโครงการแบ่ง เจ้าหน้าทีด ่ งั นี 4.3.2.1 4.3.2.2 4.3.2.3

เจ้าหน้าทีป ่ ระจ้าโครงการซึง่ ท้างานประจ้าอยู่ ภายในโครงการ เจ้าหน้าทีม่ าจากสาขาต่างๆจากหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องท้างานประสานกับโครงการและเข้า ร่วมสังเกตและประเมินผล วิทยากรทีไ่ ด้รบ ั เชิญมาเป็นเจ้าหน้าที่

ภาพที่ 4.3 เครือข่าย ที่มา : https://www.cigna.co.th/about/cigna-management-team 4-3

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center ภาพ 1.1 คลื่น

4.2.3 ผังการบริหารงาน ประธานที่ปรึกษา ประธานกรรมการบริหาร

ฝ่ายบริหาร

ฝ่ายกิจกรรมและ นิทรรศการ

ฝ่ายนโยบายและ พัฒนา

ฝ่ายการเกษตรและ ผลผลิต

ฝ่ายเทคนิคอาคาร

ผู้อ้านวยการ

หัวหน้า

หัวหน้า

หัวหน้า

หัวหน้า

รองผู้อ้านวยการ เลขานุการ

รองหัวหน้า

รองหัวหน้า

รองหัวหน้า

รองหัวหน้า

เจ้าหน้าที่

เจ้าหน้าที่

เจ้าหน้าที่

เจ้าหน้าที่

แผนกบัญชีและการเงิน แผนกธุรกิจ แผนภูมิที่ 4.1 ผังบริหาร

ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560.

4-4 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

4.4 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ 4.4.1 ประเภทของจ้านวนผู้ใช้โครงการ

นักท่องเที่ยว

การแบ่งประเภทผู้ใช้โครงการเพื่อเป็นแนวทางที่จะ น้าไปใช้ในงานออกแบบของโครงการสามารถแบ่งผู้ใช้โครงการได้เป็น 2 กลุ่มดังนี

25 %

4.4.1.1 ผู้มาใช้โครงหลัก

- เกษตรกรในชุมชน

วิทยากร

- เจ้าหน้าที่

5%

- วิทยากร

ผู้ใช้งานโครงการ 100 %

เกษตรกร 60 %

เจ้าหน้าที่

4.4.1.2 ผู้มาใช้โครงรอง

10 %

- นักท่องเที่ยว

แผนภูมิที่ 4.2 ผู้ใช้โครงการ ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 4-5 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center ภาพ 1.1 คลื่น ที่มา : https://twitter.com/magalimarta/media

4.5 องค์ประกอบของโครงการ

โปรแกรมหลัก 60 %

โปรแกรมหลัก 25 %

บริการ 15 %

ภาพที่ 4.4 โปรแกรม ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 4-6 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

นิทรรศการ 10 %

งานระบบ 10 %

บ้านพัก 20 %

ห้องสมุด 10 %

ออฟฟิศ 5 %

ร้านค้า 10 %

บริการนักท่องเที่ยว 5 %

ฟาร์ม 30 % - ผัก - ปลา

- อาหาร - ของฝาก

ภาพที่ 4.5 รายละเอียดโปรแกรม ที่มา : รัตนชัย ปุกค้า, 2560. 4-7 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

4.6 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

4.6.1 Aquaponics แนวคิดของระบบนีก็คล้ายกับการปลูกผักแบบไฮโดรโปนิกส์ โดยทั่วไป เพียงแต่สารอาหารที่ส่งให้พืชนัน น้ามาจากของเสียจากระบบ การเลียงปลา ซึ่งสามารถอธิบายโดย วัฏจักรไนโตรเจน (Nitrogen Cycle) ในระบบได้ดังนี 4.6.1.1 ปลาขับของเสีย เช่น ขีปลา เมือกปลา หรืออาหารที่ เหลือในตู้ปลาเป็นต้น ของเสียเหล่านี จะถูกย่อยสลายจนเปลี่ยนรูปเป็น แอมโมเนียซึ่งมีพิษต่อปลา 4.6.1.2 จากนันแบคทีเรีย (Nitrosomonas Bacteria) ซึ่งเป็น แบคทีเรียในกลุ่ม Aerobic Bacteria ที่มีอยู่ทั่วไปในระบบ ก็จะท้าการ ย่อยสลายแอมโมเนีย ให้เป็นไนไตรท์ ซึ่งตัวไนไตรท์เองนัน มีพิษกับปลา ต้องถูกขจัดออกไป 4.6.1.3 หลังจากนันแบคทีเรีย (Nitrobacter Bacteria) ซึ่ง เป็นแบคทีเรียในกลุ่ม Aerobic Bacteria เช่นกัน จะท้าการย่อยสลาย ไนไตรท์ให้เป็นไนเตรท ซึ่งไม่มีพิษทางตรงกับปลา และพืชเองก็สามารถ น้าไปใช้เป็นสารอาหารได้เลยเช่นกัน แต่ผลเสียทางอ้อมในกรณีที่ไนเตรท ในระบบมากเกินไป จะท้าให้ค่า ph ของน้าเปลี่ยนเป็นกรด ท้าให้ แบคทีเรีย Nitrosomonas Bacteria และ Nitrobacter Bacteria มี จ้านวนที่ลดลง เป็นผลท้าให้การย่อยสลายของเสียต่างๆหยุดลงได้ แต่ หลังจากที่ได้ไนเตรทจากระบบเลียงปลาแล้ว ไนเตรทจะถูกส่งผ่านไปยัง ระบบการปลูกผัก และผักก็จะดูดซึมไนเตรทออกไปก็เหมือนกับได้ถูก กรอง บ้าบัดให้น้ากลับมาสะอาดเหมาะกับการเลียงปลาอีกครัง ถือเป็น การเกือกูลกันได้เป็นอย่างดี ได้ทังปลูกผักและเลียงปลา ไปในเวลา เดียวกัน

ภาพที่ 4.6 Aquaponics ที่มา : https://www.aquaponicsbulgaria.com/copy-of-akvaponika-1 4-8

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

4.6.2 แปลงเกษตรลอยน้า แปลงเกษตรลอยน้าจะฟังดูเป็นเรื่องแปลกใหม่ส้าหรับใครหลาย คน แต่ชาวน้า ที่อยู่กับทะเลสาบอย่างชาวอินเล ประเทศพม่า ชาวบ้านที่ นั่นมีภูมิปัญญาในการท้าแปลงเกษตรลอยน้ามาเป็นเวลานับร้อยๆ ปี มาแล้ว นับตังแต่เกิดเหตุการณ์น้าท่วม ดูเหมือนว่าแปลงเกษตรลอยนา้ จะ กลายเป็นที่สนใจของใครหลายคน และก็มีบางชุมชนริมน้าที่ได้ปรับตัว เพื่อรับมือกับสถานการณ์น้าท่วม ซึ่งเกิดขึนบ่อยครังมากขึนกันบ้างแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการท้านาลอยน้าริมแม่น้าท่าจีน ของคุณสุพรรณ เมธ สาร เกษตรกรบ้านสามชุก จ.สุพรรณบุรี ซึ่งได้น้าไม้ไผ่ที่มีอยู่ในสวนมา ท้าแพ และใช้ฝากล่องโฟมใส่ผลไม้เก่ามาเจาะรู ส้าหรับใส่กระถางปลูก และใช้ดินเลนรวมถึงวัชพืชในน้าเป็นวัสดุปลูก โดยจากการทดลองก็ พบว่าได้ผลผลิตดีทีเดียว อีกทังยังไม่ต้องดูแลรักษามากด้วย นอกจากนีก็ยังมี คุณกิมฮวด ไม้เนือทอง และชาวบ้านในชุมชน ราชธานีอโศก ริมแม่น้ามูลที่ได้ทดลองท้าแพผักและแปลงปลูกข้าวลอยน้า โดยใช้เศษโฟมท้าเป็นทุ่น ก่อนใช้สแลน ไม้ไผ่ และผักตบชวามาท้าเป็น แปลงปลูก ซึ่งก็ช่วยท้าให้ชาวบ้านมีอาหารไว้กินยามน้าท่วมได้อย่าง พอเพียง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าแปลงเกษตรลอยน้าจะฟังดูเป็นเรื่องแปลกใหม่ ส้าหรับใครหลายคน แต่หากเราลองมองออกไปนอกประเทศและได้เรียนรู้ วิถีชีวิตของชาวน้า ที่อยู่กับทะเลสาบอย่างชาวอินเล ประเทศพม่า ก็จะ พบว่าชาวบ้านที่นั่นมีภูมิปัญญาในการท้าแปลงเกษตรลอยน้ามาเป็น เวลานับร้อยๆ ปีมาแล้ว

ภาพที่ 4.7 แปลงเกษตรลอยน้า ที่มา : https://sites.google.com/site/2200405muthita/ thekhnoloyi-5-xyang

4-9 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

4.6.2.1 วิธีการท้าแปลงลอยน้า ของเขาก็คือการน้าหญ้าไซซึ่งขึน หนาแน่นบริเวณชายฝั่งทะเลสาบมาตัด เป็นแพ ให้มีความกว้างขนาด 1 เมตร ยาวประมาณ 10 เมตร จากนันจึงน้าไม้ ไผ่ล้ายาวๆมาปักลงไปที่ก้นทะเลสาบเพื่อ เป็นเสายึดแพหญ้าไว้ จากนันก็จะโกยดิน เลนก้นทะเลสาบ รวมถึงพืชและสาหร่าย ใต้น้าขึนมาโปะบนแปลงหญ้า โดยจะใช้ หญ้าและดินเลนมาโปะซ้อนๆกันขึนไปจน แพหญ้ามีความหนาประมาณ 50 เซนติเมตร ก็จะได้แปลงส้าหรับเพาะปลูก และได้กลายเป็นแหล่งเพาะปลูกมะเขือเทศที่ ใหญ่ที่สุดในพม่าเลยทีเดียว

ทังนีทังนัน น่าเสียดายที่การผลิต เพื่อขายเป็นจ้านวนมากๆ อาจส่งผลท้า ให้เกษตรกรต้องใช้สารเคมี ซึ่งส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมาก จนท้าให้ มีหลายฝ่ายออกมาคัดค้านการท้าเกษตร ลอยน้าของชาวอินเล แต่อย่างน้อยวิถี ชีวิตของชาวอินเลก็น่าเป็นตัวอย่างที่ สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาในการใช้ชีวิต ให้สอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศซึ่ง แวดล้อมไปด้วยน้าได้อย่างดี และน่าจะเป็น ประโยชน์ไม่น้อย หากเรารูจ้ ักเลือกรับ ปรับใช้ประสบการณ์ความรู้เหล่านีให้ สอดคล้องกับวิถีชีวิต รวมถึงทรัพยากร ต่างๆที่มีอยู่ในประเทศของเรา 4 - 10 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T

ที่ส้าคัญสภาพปัญหาจากการท้า แปลงเกษตรลอยน้าของชาวอินเล ยังเป็น บทเรียนส้าคัญที่สะท้อนให้เราเห็นว่า การ คิดท้าแปลงเกษตรลอยน้าเพื่อตอบสนอง ความต้องการทางอาหาร หรือเพื่อสร้าง รายได้ให้กับครัวเรือนหรือชุมชนเพียง อย่างเดียวคงไม่เพียงพอ ทว่าเราควร ตระหนักถึงกระบวนการผลิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมด้วย เพราะคนกับ ธรรมชาติต่างเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน และก็ตอ้ งมีความสัมพันธ์ พึ่งพาอาศัย เกือกูลกันอยู่เสมอ ไม่ว่าเวลาจะผ่านไป นานเท่าไหร่ หรือสถานการณ์บนโลกนีจะ แปรปรวนไปมากเท่าใดก็ตาม


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

4.6.3 บ้านลอยน้า บ้านลอยน้าที่เหมาะสมกับการใช้งานสามารถอยู่บนทุ่นลอยน้า และใช้ประโยชน์ทุกส่วนของอาคารบ้านสามารถอยู่บนทุ่นลอยน้าหรือมี วัสดุที่สามารถรองรับน้าหนักของบ้านได้ โดยเมื่อรับน้าหนักบรรทุกทัง หมดแล้ววัสดุนันควรจมลงจากผิวน้าประมาณ 0.15 - 0.20 เมตร ทังนีเพื่อให้การก้าวขึนบ้านได้สะดวกในกรณีที่บ้านวางอยู่บนดินและไม่มี ปัญหาบ้านเกยตืน ในกรณีระดับน้าต่้า น้าหนักรวมของบ้านควรมี น้าหนักประมาณ 600 กิโลกรัม หรือประมาณครึ่งตัน ซึ่งสามารถยกได้ ด้วยแรงคนประมาณ 6 - 10 คน จึงเกิดรูปแบบการออกแบบบ้านลอย น้าที่มีความยืดหยุ่นสูง คือพืนแบนเรียบสามารถวางอยู่บนดินได้ บนพืน หญ้าได้ หรืออยู่ในสวนได้สามารถเคลื่อนย้ายได้ เมื่อไม่เกิดการใช้งานก็ สามารถใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้ ในบทความนีจึงน้าเสนอ การใช้วัสดุโฟม หนาประมาณ 0.30 เมตร สามารถรับน้าหนักบรรทุก 280 กิโลกรัม ต่อตารางเมตร ในขณะที่บ้านพักอาศัยส่วนใหญ่การออกแบบเพื่อ ป้องกันการโคลงของบ้าน บทความนีเสนอรูปแบบให้เป็นทุ่นลอยที่เน้น การใช้งานบริเวณพืนที่ตรงกลางที่ใช้เป็นทางสัญจรหลัก และกิจกรรม หลักอื่นๆ ของบ้าน เพื่อท้าให้เกิดความสมดุลของน้าหนักบ้าน ตลอดเวลา นอกจากนีการที่บ้านลอยน้าเป็นบ้านชันเดียวจะช่วยให้เกิด ความเสถียรมากขึน โดยการก้าหนดความสูงของบ้านเพื่อสร้าง จุดศูนย์ถ่วง (Center of Gravity; C.G.) ของบ้านให้ต่้า ป้องกันการ เกิดการพลิกคว่้าออกแบบน้าหนักจร (Live Load) เท่ากับ 150 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ดังนันจะเหลือน้าหนักที่ทุ่นรับได้อีกประมาณ 130 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ซึ่งเพียงพอส้าหรับตัวบ้าน (Dead L o a d ) [ 5 ]ขนาดและรูปทรงของบ้านออกแบบให้การใช้สอยหลักอยู่ บริเวณตรงกลางเน้นความแคบ ซึ่งสามารถเคลื่อนย้ายไปตามถนนได้ ความกว้างไม่เกิน 3.60 เมตร เพื่อให้สามารถเคลื่อนย้ายง่ายหากมี ความจ้าเป็นต้องการการใช้สอยแบบขยายเป็นชุมชน (Community)สามารถจับกลุ่มของบ้านเป็นเรือนกลุ่มได้

ภาพที่ 4.8 บ้านลอยน้าในอดีต ที่มา : http://www.loupiote.com/photos/18320185.shtml 4 - 11

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

อย่างไรก็ตามในเชิงปฏิบัติ มุมลาดเอียดอาจมีความยืดหยุ่นได้ ในช่วง 15 - 30 องศา และนอกจากมุมเอียงทางแนวระนาบแล้ว มุม ของผืนหลังคาในแปลนควรกระท้ากับทิศทางของดวงอาทิตย์เป็นมุมตัง ฉาก กล่าวคือบ้านต้องสามารถหมุนเพื่อปรับมุมส้าหรับกระท้ากับ ทิศทางดวงอาทิตย์ได้ ส้าหรับขนาดของบ้านลอยน้า การออกแบบนันตังอยู่บนพืนฐาน ของวัสดุที่มีขายอยู่ทั่วไปตามท้องตลาด ซึ่งหาซือได้ง่าย อีกทังยัง ก่อสร้างได้ง่ายด้วยเช่นกัน เนื่องจากมีโครงสร้างเป็นรูปแบบที่ไม่ซับซ้อน ชาวบ้านที่มีความรู้ด้านช่างในระดับทั่วไปก็สามารถก่อสร้างเองได้ ส่วน บ้านที่เห็นในภาพตัวอย่าง มีขนาดพืนที่รวมประมาณ 60 ตารางเมตร ซึ่งเป็นขนาดที่ไม่ใหญ่มาก เพื่อความสะดวกในการก่อสร้างและการลอย น้า แต่หากมีความต้องการพืนที่เพิ่มขึนก็อาจเชื่อมต่อหลายหลังเข้า ด้วยกัน โดยใช้สะพานทางเชื่อมพาดระหว่างชานรอบตัวบ้าน อย่างไรก็ ตาม แบบบ้านลอยน้านี หวังว่าจะเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยบรรเทาความ เดือดร้อนของประชาชนที่ ต้องอยู่อาศัยในพืนที่ที่ประสบภัยได้เป็นอย่าง ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่เป็นที่ลุ่ม ซึ่งอาจจะ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรูปแบบและพืนที่ใช้สอยให้มีความเหมาะสม และ สอดคล้องต่อความต้องการต่อไป

ภาพที่ 4.9 ชุมชนลอยน้า ที่มา : http://lproject.rid.go.th/site/index.php/thai/? option=com_content&view=article&id=260&Itemid=14

4 - 12 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

4.6.3.1 แบบแปลนบ้านลอยน้า - ขนาดพืนที่ ประมาณ 60 ตารางเมตร ประกอบด้วยพืนที่อยู่ อาศัย 23 ตารางเมตร ส่วนท้าอาหารห้องน้าและซักล้าง รวม 37 ตารางเมตร

- ราคาค่าก่อสร้าง โดยประมาณ 719,000 บาท (กรณีปลูก สร้างเอง) ไม่ต้องใช้ผู้รับจ้างเหมาและประมาณ 915,000 บาท (กรณีมี ผู้รับจ้างเหมา) - วัสดุก่อสร้าง ใช้วัสดุก่อสร้างพืนฐานทั่วไปที่สามารถหาได้ง่าย ในท้องตลาด ซึ่งสามารถดัดแปลงได้ตามความเหมาะสมกับแต่ละพืนที่ ทุ่นลอยเป็นถังน้ามันขนาด 200 ลิตร หรือถังไฟเบอร์กลาส กรณี ต้องการความทนทานเพิ่มขึน

ระบบสุขาภิบาล ใช้ระบบการย่อยสลายโดยมีถังบรรจุ จุลินทรีย์ EM ติดตังอยู่ใต้ห้องน้า เพื่อย่อยสลายและเร่งการตกตะกอน ของสิ่งปฏิกูล

ภาพที่ 4.10 บ้านลอยน้าปัจจุบัน ที่มา : http://reddit.h0.re/post/43dbag/ The_floating_saunas_of_Finland

4 - 13 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

4.6.3.2 คุณสมบัตบ ิ ้านลอยน้า - สามารถลอยน้าและเคลื่อนที่ได้ในฤดูน้าท่วม เมื่อน้าลด สามารถเป็น Living Unit ที่อยู่ได้ด้วยตัวเองบนพืนดินเช่นกัน - มีน้าหนักเบา ด้วยองค์ประกอบแผ่นโฟมและไฟเบอร์กลาส ชนิดไม่ติดไฟและไม่ท้าลายสิ่งแวดล้อม - เป็นนวัตกรรมที่อยู่อาศัยแห่งยุคอนาคตที่ไม่ต้องพึ่งพาระบบ สาธารณูปโภคของภาครัฐใช้ได้ในทุกสภาพภูมิอากาศลัก - สามารถอยู่อาศัยได้ทังครอบครัว - พืนที่ใช้สอยภายในบ้านลอยน้าขนาดครอบครัว สามารถใช้ เป็นพืนที่ส่วนต่างๆดังนี ส่วนห้องนอน ส่วนห้องน้า ส่วนห้องครัว และ ส่วนสันทนาการ - สามารถจอดรถยนต์และเคลื่อนที่ ไปพร้อมกับตัวบ้านได้

- ได้รับการออกแบบให้มีความเสถียร (Stable) ไม่โยกโคลง เหมือนเรือ - สามารถอยู่ได้ด้วยตัวเองด้วยระบบต่างๆที่เสริมเข้าไป เช่น - ระบบผลิตไฟฟ้าโซล่าเซลล์ เก็บพลังงานไว้ในแบตเตอรี่ จ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ส้าหรับไฟฟ้าแสงสว่าง และไฟฟ้า กระแสสลับส้าหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไป ได้แก่ เครื่องชาร์ต แบตเตอรี่โทรศัพท์ โทรทัศน์ ตู้เย็น และเตาไมโครเวฟ เป็น ต้น - ระบบน้าดื่มเป็นระบบ Reverse Osmosis - ระบบสุขาภิบาล เป็นระบบบ่อดักไขมันและกักเก็บของ เสียแบบพกพา (Portable) น้าไปถ่ายเทสู่ระบบสาธารณะ 4 - 14

T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

บ้านลอยน้าในบทความนีเป็นแนวทางในการรับมือปัญหาน้าท่วม ด้านที่อยู่อาศัยและมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่อยู่อาศัยส้าหรับ ยุคปัจจุบันและอนาคต เป็นจุดเริ่มต้นที่ใช้หลักคิดเพื่อความยั่งยืน ไม่ต้อง ใช้ไฟฟ้า ไม่ต้องใช้น้าประปา จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการอยู่อาศัยที่ยั่งยืนได้ โดยไม่ใช้พลังงานจากภายนอก แนวคิดนีก่อให้เกิดการสร้างชุมชนได้โดย ใช้พืนที่ใช้สอยอย่างถูกต้อง ประหยัด และน้าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้อย่างยั่งยืนที่เป็นการบูรณาการองค์ความรู้ทุกสาขา มาสรรค์ สร้างเป็น “นวัตกรรมบ้านลอยน้า” ที่อยู่-อาศัยยุคปัจจุบันและอนาคต

ภาพที่ 4.11 ระบบบ้านลอยน้า ที่มา : https://duranvirginia.wordpress.com/2014/09/11/9floating-homes-which-youd-love-to-live-in/

4 - 15 T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

บรรณานุกรม หนังสือ วีระ อินพันทัง. (2543). เรือนลอยน้า : เรือนแพ ปลูกเรือนคล้อยตามผืนดิน ปักถิ่นคล้อยตามน้า. กรุงเทพมหานคร : ก้ามะหยี่

อรศิริ ปาณินท์. (2540). เรือนแพ. กรุงเทพมหานคร : แก้วกานณ์ อรศิริ ปาณิณท์. (2539) เรือนพืนถิ่นไทย-มอย ที่สังขละบุรี. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศิลปากร อรศิริ ปาณิณท์. (2538) เรียบ ง่าย และเป็นสถาปัตยกรรมพืนถิ่นลอยไปแล้วก็ลอยมา. นนทบุรี : แก้วกานณ์

วิทยานิพนธ์

ไพบูลบ์ กิตติกูล. (2549) สถาปัตยกรรมธรรมชาติ : ปรากฏการณ์น้าขึนน้าลง ที่ส่งผลกระทบต่อรูปแบบในสถาปัตยกรรม. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาสถาปัตยกรรม, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศิลปากร. สิริชัย เหลืองวิสุทธิ์. (2551) สถาปัตยกรรมผันแปรภายใต้สภาวะน้าท่วม. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาสถาปัตยกรรม, คณะสถาปัตยกรรม, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ด T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T


โครงการศูนย์พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรต้นแม่น้าเจ้าพระยา Chao Phraya Network Agriculture development center

บรรณานุกรม (ต่อ) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการป้องกันและจัดการภัยพิบัติ. (2556). เทคโนโลยีบ้านลอยน้า…แนวคิดบ้านสู้ภัยน้าท่วม. วันที่ค้นหาข้อมูล 7 กันยายน 2560, จาก http://dpm.nida.ac.th/main/index.php/articles/flood/item ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ส้านักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้. (2559). เจาะเทรนด์โลก 2017 โดย TCDC: แฟชั่น วัสดุ เทคโนโลยี สี พืนที่ ไลฟ์สไตล์. วันที่ค้นหาข้อมูล 12 กันยายน 2560, จาก http://www.tcdc.or.th/upload/downloads/tcdc_trend2017_final_app.pdf Greentheearth.info. (2560). ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน. วันที่ค้นหาข้อมูล 11 กันยายน 2560, จาก http://www.greentheearth.info Krupenka. (2560). ปัญหาอุทกภัย. วันที่ค้นหาข้อมูล 11 กันยายน 2560, จาก https://krupenka.wordpress.com THAILAND CAN HEALTH. (2556). ร่างกายต้องการพลังงาน แคลอรี่อาหาร เท่าไหร่ในแต่ละวัน. วันที่ค้นหาข้อมูล 11 กันยายน 2560, จาก http://www.thailandcanhealth.com/category WE LOVE ENVIRONMENTAL. (2560). ผลกระทบจากอุทกภัย (น้าท่วม). วันที่ค้นหาข้อมูล 11 กันยายน 2560, จาก https://sites.google.com/site/vloveenvi/effect/flood

ต T H E S I S 2 0 1 7 FACULTY OF ARCHITECTURE R M U T T



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.