สร้างสรรค์สันติ

Page 1




06

จุด (Point) จุดเริ่มต้น

11

ศรัทธา (Believe) “คำ�สอนแห่งสันติ”

15

เพื่อเธอ (For you) “น้องอิ่ม พี่อิ่ม”

18

เปลี่ยนแปลง (Change) “พลังของการศึกษา”

22

การเดินทาง (Trip) เบตง เมืองกลางสายหมอก

25

โอกาส (Chance) สงคราม สันติภาพ

27

สร้าง-สันติ (Peacemaker) ค่ายจริยธรรมกับเสรีภาพทางความคิด

ที่ปรึกษา | กุสุมา กูใหญ่ , สามารถ ทองเฝือ , ศิริชัย นามบุรี วารินทร์ นราวิทย์ , ณัฐปานี บัวอินทร์ บรรรณาธิการ | ฝ้ายลิกา ยาแดง ศิลปกรรมและช่างภาพ | บูคอรี อีซอ บริหารสัมพันธ์ | รุสนี ปาเซเลาะ จัดทำ�โดย | สหพันธ์นักเรียน นักศึกษาเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ (สสชต.) 146/82 หมู่ที่ 6 ซอยภูเขาทอง ตำ�บลรูสะมิแล อำ�เภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000


การภาวนาร้องขอเพียงอย่างเดียว อาจไม่ได้รับการตอบสนองสันติกลับ คืนมา แต่การลุกขึ้ นมาสร้ างสันติ ดว้ ยกัน จะช่ วยให้เข้าใกล้สันติ สุขมากยิ่งขึ้น “สร้างสรรค์ สันติ” คือวารสารที่ตอ้ งการท�ำหน้าที่สื่ออย่างสร้างสรรค์ ในการเป็ น กระบอกเสี ยงของผูค้ นที่ มีส่วนร่ วมต่อการสร้ างสันติ ภาพในพื้นที่ สามจังหวัด ชายแดนใต้ โดยมีจุดยืนคือ การไม่ใช้ความรุ นแรงในการแก้ไขปั ญหา รวมไปถึง ส่ งเสริ มการอยูร่ ่ วมกันบนความหลากหลายในสังคมพหุวฒั นธรรม แม้จะเป็ นการ สัมผัสสื่ อสิ่ งพิมพ์ครั้งแรก แต่ความมุ่งมัน่ ตั้งใจต่อเจตนารมณ์ของทีมงานนักศึกษา มีแรงปรารถนาต่อความต้องการภาวะปกติสุขคืนสู่ พ้นื ที่อย่างทวีคูณ วารสารเล่มนี้ เป็ นเสมือนพื้นที่แสดงความคิดเห็นจากมุมมองของเยาวชน โดยรวบรวมโครงการ กิจกรรมดีๆ ที่ทำ� เพื่อสังคม รวมไปถึงความคิดเห็นจากผูท้ ี่มากประสบการณ์ ผูน้ ำ� ศาสนาและเปิ ดพื้นที่ให้แสดงความคิดเห็นผ่านบทความต่อเหตุการณ์ความไม่สงบ เนื้อหาวารสารจึงสื่ อออกมาในรู ปแบบการมีส่วนร่ วมทางความคิด ร่ วมปฏิบตั ิดว้ ย พลังบริ สุทธิ์ของนักศึกษาจาสถาบันการศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ เรา มัน่ ใจอย่างยิง่ ว่า หากท่านได้อ่านวารสาร “สร้างสรรค์ สันติ” แล้ว ท่านจะเห็นมุม มองใหม่ ๆของพื้นที่ เห็นการมีส่วนร่ วมจิตอาสาในการพัฒนาสังคม จากบรรดาผู ้ ศรัทธาที่ร่วมสร้างสันติภาพด้วยความหวัง เพื่อน�ำความสงบสุ ขกลับคืนพื้นที่แห่ง นี้ ดังความปราถนาของมวลมนุษยชาติต่อไป ฝ้ ายลิกา ยาแดง บรรณาธิการ


นอกจากการเรียนรู้ในห้องเรียนแล้ว การแสวงหา กิจกรรมที่ทำ�เพื่อสังคม คือกิจที่สำ�คัญอย่างหนึ่งของ นักเรียน นักศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ ด้วยเหตุผลที่ว่านี้แต่ละคนจึงมีเป้าหมายเดียวกัน คือการรวมกลุ่มและร่วมรังสรรค์กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อทำ�ให้พื้นที่เกิดความสงบสุข และนี่คือจุดเริ่มต้นของ เมล็ดพันธุ์แห่งสันติ


จุด (Point) จุดเริ่มต้น

สหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษาเพือ่ สันติภาพชายแดนใต้ หรื อ สสชต. เกิดขึ้นจากการรวมตัวของกลุ่มนักเรี ยนและ นักศึกษาจากสถาบันในพื้นที่ คือ จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิ วาส ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา มหาวิทยาลัย ฟาฏอนี และมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนคริ นทร์ รวมไปถึง นักศึกษาจากสถาบันอาชีวศึกษาทั้งสามจังหวัดชายแดนใต้ จากนั้นแกนน�ำในแต่ละสถาบันได้ร่วมจัดโครงการ “สัมมนา เชิงปฏิบตั ิการคณะกรรมการสหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษาเพื่อ สันติภาพชายแดนใต้” เมื่อวันที่ 27 – 29 กรกฎาคม 2558 ซึ่ง เป็ นโครงการที่เพิ่มทักษะต่าง ๆ แก่ผนู ้ ำ� นักกิจกรรมในพื้นที่ ภายใต้แนวคิดปฏิเสธความรุ นแรงทุกรู ปแบบและยอมรับการ อยูร่ ่ วมกันในสังคมพหุวฒั นธรรม ซึ่งผูเ้ ข้าร่ วม 100 คนล้วน มาจากผูน้ ำ� ในแต่ละสถาบัน

ภายใน ระยะเวลา 3 วัน 2 คืน ในการสัมมนาครั้งนี้ ท�ำให้ผู ้ เข้าร่ วมได้แสดงศักยภาพความเป็ นผูน้ ำ� ของตนเองออกมาอย่างเต็มที่ ผ่านรู ปแบบกิจกรรมต่าง ๆ คือ กิจกรรมฝึ กทักษะบุคลิกภาพการเป็ น ผูน้ ำ� จากวิทยากรที่ มีความช�ำนาญ ผูเ้ ข้าร่ วมได้รับรู ้ ทกั ษะการปรั บ เปลี่ยนบุคลิกภาพของตนเองเพื่อเตรี ยมพร้ อมส�ำหรั บการเป็ นผูน้ ำ� กิจกรรม ซึ่งจะต้องสอดรับกับบริ บทต่าง ๆในพื้นที่ อาทิ การพูด การ วางตัว การกระท�ำ เป็ นต้น กิจกรรมบรรยายเสวนาเชิงวิชาการภายใต้ หัวข้อ อิสลามกับสันติภาพ โดยผูน้ ำ� ทางด้านศาสนาให้การบรรยายถึง หลักการน�ำค�ำสอนของศาสนามาช่วยเหลือสังคมเพือ่ ให้เกิดสันติภาพ เพราะแท้จริ งอิสลามคือศาสนาแห่ งสันติ และการบรรยายในหัวข้อ ประวัติศาสตร์ การอยูร่ ่ วมกันในสังคมพหุ วฒั นธรรมโดยนักวิชาการ ทางด้ า นวัฒ นธรรม ในการบรรยายครั้ งนี้ สร้ า งความเข้ า ใจ ประวัติศาสตร์ ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็ นอย่างยิ่งและ ท�ำให้ผเู ้ ข้าร่ วมสามารถตอบค�ำถามกับตัวเองว่า เราสามารถใช้ชีวติ ใน พื้นที่สงั คมพหุวฒั นธรรมอย่างไร โดยปราศจากการสร้างความเดือด ร้อนให้กบั คนในสังคม และตอบแทนคุณแผ่นดินด้วยการร่ วมสร้าง ความสงบสุ ขให้เกิดขึ้นในพื้นที่แห่งนี้

จุด | เมษายน | 2559 | หนา้ 7


กิจกรรมที่สำ� คัญส�ำหรับการสัมมนาคณะกรรมการสหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษาเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ (สสชต.) ครั้งนี้ คือการคัดเลือกคณะท�ำงานในรุ่ นที่ 3 ของสหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษาเพือ่ ชายแดนใต้ (สสชต.) จ�ำนวน 17 คน เพื่อเป็ นคณะท�ำงานขององค์กร โดยทุกต�ำแหน่งหน้าที่ มาจากการเลือกตั้งด้วยการโหวตนับคะแนนจากผู ้ เข้าร่ วมค่ายทั้งหมด ซึ่ง 2 ต�ำแหน่งหลักที่จะท�ำหน้าที่บริ หารองค์กรคือ ต�ำแหน่งประธานสหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษา เพือ่ สันติภาพชายแดนใต้ (สสชต.) ท�ำหน้าที่เป็ นหัวหน้าคณะกรรมการของสหพันธ์ฯ ควบคุมการนับคะแนนเสี ยง ยืนยันมติของสหพันธ์ฯไปยังผูท้ ี่เกี่ยวข้อง เป็ นผูแ้ ทนสหพันธ์ฯ ในการติดต่อกับบุคคลภายนอกและท�ำหน้าที่เป็ น ประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ หรื อประชุมใหญ่ขององค์กร และต�ำแหน่งเลขาธิการสหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษา เพือ่ สันติภาพชายแดนใต้ (สสชต.) ท�ำหน้าที่เป็ นหัวหน้าในการบริ หารกิจการของสหพันธ์ฯ ควบคุมการท�ำรายงาน การประชุมทั้งปวง ก�ำกับดูแลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการให้เป็ นไปตามแบบแผนที่วางไว้อย่างมีประสิ ทธิภาพ

ทั้งนี้ทกุ ๆภารกิจการงาน กิจกรรม โครงการต่าง ๆ ล้วนมาจากความคิดเห็นของทุกคน เพราะทุก ๆ กิจกรรม ที่สหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษาเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ (สสชต.) จะจัดขึ้นนั้นจะต้องตอบสนองความต้องการของ กลุ่มเป้ าหมาย ทั้งเด็ก เยาวชน ผูใ้ หญ่ ชาวบ้าน เป็ นต้น เพราะทุกภาคส่ วนต่างมีความส�ำคัญต่อการแก้ปัญหาในสาม จังหวัดชายแดนใต้

จุด | เมษายน | 2559 | หนา้ 8


จุด (Point) จุดเริ่มต้น

นายซะฮ์ ดาน มะแตหะ

นางสาวรุสนี ปาเซเลาะ

ประธานสหพันธ์ นักเรียน นักศึกษาเพือ่ สั นติภาพจังหวัดชายแดนใต้ (สสชต.)

เลขาธิการสหพันธ์ นักเรียน นักศึกษาเพือ่ สั นติภาพจังหวัดชายแดนใต้ (สสชต.)

ก้ อ นหิ น เล็ ก ๆ มากมาย ก็เกิดภูเขาทีใ่ หญ่โตได้ เช่นเดียวกัน กั บ พลั ง ด้ า นบวกเล็ ก ๆ จากคน ธรรมดาหลาย ๆ คนก็ก่อให้เกิด สั น ติ ภ า พ ขึ้ น ไ ด้ เ ช่ น เ ดี ย ว กั น

ความคิ ด คื อ สิ่ ง สำ � คั ญ และ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ในการสร้ า งสั น ติ สู่ สั ง คมหากเราคิ ด ดี เราก็ จ ะขั บ เคลื่อนสังคมไปในทางที่ดี

ทุก ๆ กิจกรรมในการสัมมนา พยายามผลักดัน กระบวนการคิดให้กบั คณะกรรมการผูเ้ ข้าร่ วม ทั้งการมีส่วน ร่ วมทางความคิดกับกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้ผเู ้ ข้าร่ วมสามารถ แสดงศักยภาพของตนเองและปรับตัวอยู่ร่วมกันกับผูอ้ ื่น การคิ ด วิเ คราะห์ ส ถานการณ์ ค วามไม่ ส งบในพื้ น ที่ ส าม จัง หวัด ชายแดนใต้อ ย่ า งมี ต รรกะ มี เ หตุ มี ผ ล และ สถานการณ์การเมืองในปั จจุบนั จะต้องมีสติในการบริ โภค เพราะทุกคนคือผูท้ ี่จะน�ำอนาคตของสังคม อีกทั้งการคิดหา แนวทางแก้ไขปั ญหาในพื้นที่ โดยการมี ส่วนร่ วมฐานะ ปั ญญาชนในสถาบันการศึกษาของพื้นที่แห่ งนี้ ด้วยจุดยืน ปฏิเสธความรุ นแรงทุกรู ปแบบ และยอมรับการอยูร่ ่ วมกัน ในสังคมพหุ วฒั นรรม และสิ่ งส�ำคัญ คือปลูกฝั งให้คณะ กรรมการมีจิตอาสา รักบ้านเกิดของตนเอง ห่วงแหน พร้อม ที่จะช่วยกันแก้ไข พัฒนาพื้นที่แห่งนี้ไปด้วยกัน

เราทุกคนต่างคาดหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า จะน�ำความ รู ้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ในค่ายสัมมนาครั้งนี้ มา บูรณาการในการเป็ นส่ วนหนึ่ งที่จะแก้ไขปั ญหาในพื้นที่ และถ่ายทอดความเข้าใจของปั ญหาที่เกิดขึ้น 12 ปี ที่ผา่ นมา ให้กบั ผูอ้ ื่น รวมไปถึงแสวงหาข้อมูล ข้อเท็จจริ งต่าง ๆ และ ที่สำ� คัญคือการรังสรรค์โครงการ กิจกรรมทุกอย่างจะต้อง เกิดขึ้นภายใต้อุดมการณ์การอยูร่ ่ วมกันท่ามกลางความแตก ต่างในสังคมพหุ วฒั นธรรม ดังบทบัญญัติแห่ งพระมหา คัมภีร์อลั -กรุ อ่าน ในซูเราะห์ อัล-หุญรอต อายัตที่ 13 ซึ่งให้ ความหมายโดยสรุ ปว่า อัลลอฮฺ ได้ทรงสร้างมนุ ษย์ข้ ึนมา ทรงแยกเป็ นชนเผ่า ตระกูล เพศชาย เพศหญิง พระองค์ทรง ให้ความแตกต่างมาเพื่อต้องการให้มนุ ษย์รู้จกั แลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้ซ่ ึ งกันและกัน และผูใ้ ดสามารถกระท�ำได้ดงั ความ ประสงค์ของพระองค์ เขาคือบ่าวผูท้ ี่มีความย�ำเกรงยิง่

จุด | เมษายน | 2559 | หนา้ 9


ประธานชมรมสานศานติ / มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

อัซ-สลาม สันโต ความสงบ แท้จริ งสันติภาพ สร้างจากภายใน หัวใจ หาใช่ภายนอกไม่ หากทุกดวงใจมีความสงบสันติ ความ ไม่จะสงบจะมาจากไหน

นางสาวซู วรี ่ า สาแรหะ ประธานชมรมต้ นกล้ าร่ วมใจ จิตอาสา มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

ไม่ตอ้ งท�ำดีให้ใครชม แค่รู้วา่ ท�ำเพื่อสังคมก็พอ

นายสิ ทธิพนั ธ์ เอีย่ มพงษา หัวหน้ าส� ำนักงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี

ทุกสิ่ งทุกอย่างสามารถพัฒนาให้ดีกว่าเดิมได้ แม้กระทัง่ สิ่ งที่กำ� ลังพัฒนาอยู่ หากเรามีความตั้งใจที่จะพัฒนา โดยผ่านกระบวนการที่ดี ย่อมส่ งผลออกมาดี ตามที่ต้ งั เป้ า หมายไว้ นายกูซัยดี มูดอ ประธานชมรมนักศึกษารักสั นติ อาชีวศึกษา จังหวัดนราธิวาส วิทยาลัยสารพัดช่ างนราธิวาส น�้ำมันที่มนั ไม่ร้อน ทอดอะไรก็ไม่สุก เหมือนกับความพยายาม ถ้าไม่พยายามให้ถึงที่สุด ก็จะไม่มีทางเกิดผลส�ำเร็ จได้ นายโกศล เตบจิตร ประธานชุมนุมรักสั นติจติ อาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี win peace not win war ชัยชนะที่แท้จริ ง คือ ชัยชนะจากสันติภาพ ไม่ใช่สงคราม

นายอาตีฟ วาหับ หัวหน้ าจังหวัดปัตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี คนที่จะประสบความส�ำเร็ จ ไม่ใช่แค่เป็ นนักฝัน แต่เขาเริ่ มด้วยการลงมือท�ำ สันติภาพก็เช่นกัน

นายสนั่น หลีนายน�ำ้ ประธานชมรมนักศึกษารักสั นติ มฟน. มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

จุดก�ำเนิด ของสันติ คือการ สร้าง สันติภาพในตัวเรา และคน รอบข้าง

นายณัฐวุฒิ ราชพิทกั ษ์ นายทะเบียน/เหรัญญิก มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

จงยินดีที่เป็ นผูใ้ ห้ มากกว่าจะเป็ นผูร้ ับ มือบนย่อมดีกว่ามือล้างเสมอ

นางสาวฝ้ ายลิกา ยาแดง โฆษก สสชต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี หากปรารถนาให้สงั คมน่าอยูใ่ ห้พฒั นาคน ในสังคมนั้น หากปรารถนาให้คนมีคุณค่าให้พฒั นา ที่เบื้องลึกของจิตใจ

นายอิสกานดา สาแม หัวหน้ าจังหวัดยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

การแก้ไขปัญหาอาจไม่ทำ� ให้พบกับทางออกเสมอไป แต่การเรี ยนรู ้ ยอมรับ เข้าใจ และเติบโตจากปัญหานั้น สามารถพบกับทางออกที่ดีได้เช่นกัน

นางสาวเสาวณี ดอเล๊ าะ สื่ อ/สารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

ความกลัว ท�ำให้เราเกิดความกล้า กล้าที่เผชิญ กล้าที่จะกระท�ำ ความกลัวจะเป็ นแรงผลัดดัน ให้เกิดความกล้าในตัวเองออก มา นายสมปอง ปานทอง ประธานชมรมนักศึกษารักสั นติ อาชีวศึกษาจังหวัดยะลา วิทยาลัยสารพัดช่ างยะลา ความคิดของคนเรานั้น มันห้ามกันไม่ได้ ขอเพียงคิดในสิ่ งที่ดี คิดในสิ่ งที่ถกู ต้อง และไม่ดูถกู ความคิดของคนอื่น

นายบูรฮัน โต๊ะเดร์ ประธานชุมนุมสื่ อสร้างสันติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี ความส�ำเร็ จทุกอย่าง ต้องเริ่ มจากความกล้า

นายอิมรอน มะลี ประธานชมรมฑูตสั นติภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา อย่ามัวค้นหาความผิดพลาด จงมองหาหนทางแก้ไข

นายกายสิ ทธิ์ ชู พนั ธ์ ประธานชมรมเด็กช่ างรักสั นติ อาชีวศึกษาจังหวัดปัตตานี วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี

คิดจะสร้างสิ่ งใด ให้ลงมือท�ำ เพราะทุกสิ่ งทุกอย่างจะส�ำเร็ จ ได้ ต้องมีเป้ าหมายที่จะท�ำ สันติภาพก็เช่นกัน หากแสวงหา ก็ ต้องร่ วมมือสร้างให้เกิดขึ้นโดยเร็ วพลัน

เยาวชน คนสร้างสันติ


ศรัทธา (Believe) “คำ�สอนแห่งสันติ”

ศาสนาทุกศาสนา ที่อุบัติขึ้นบนโลก มีจุดมุ่งหมาย อันเดียวกันคือ ความสงบสุข ของมนุษยชาติ เพราะแก่น คำ�สอนของทุก ๆ ศาสนา ปรารถนาให้ศาสนิกชนใช้ชว ี ต ิ ได้ อย่างปกติสุข ตามฉบับหลักปฏิบัติและหลักศรัทธา


อิสลาม หมายถึง สันติ ผู้นับถือศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม ดังนั้น มุสลิมคือผู้รักสันติ

อาหาหมัด หะยีมะ ท่านอีหม่ามได้กล่าวถึง สูเราะฮ์ อัลหุญุรอต อายะฮฺ 13 ว่า โอ้มนุษย์ท้ งั หลาย เแท้จริ งเราได้บนั ดาลพวกเจ้ามาจากชาย หนึ่ งหญิงหนึ่ ง และเราได้บนั ดาลพวกเจ้าให้เป็ นกลุ่มและเผ่าพันธุ์ ต่าง ๆ เพือ่ พวกเจ้าจะได้รู้จกั ซึ่งกันและกัน แท้จริ งผูท้ รงเกียรติที่สุด ณ โอ้ผศู ้ รัทธาทั้งหลาย แท้จริ ง อิสลามคือศาสนาแห่งสันติ มี อัลลอฮฺในหมู่พวกเจ้าได้แก่ผมู ้ ีความย�ำเกรงมากที่สุดของพวกเจ้า แท้ พระด�ำรัสของพระองค์อลั ลอฮฺใน พระมหาคัมภีร์อลั กุรอานที่พระองค์ จริ งอัลลอฮฺทรงรอบรู ้ยงิ่ ทรงตระหนักยิง่ ทรงตรัสว่า “บรรดาผูศ้ รัทธาทั้งหลาย! จงเข้าไปอยูใ่ นความสันติเถิด พระเจ้าได้สร้างมนุษย์ทุกคนขึ้นมาจากบรรพบุรุษเดียวกันแล้วจัดให้ (อัลบะกอเราะฮ์โอการที่ 208)” พึงรู ้เถิดว่า อิสลามเป็ นศาสนาที่วางอยูบ่ นรากฐานแห่งความ เป็ นกลุ่ม ๆ ที่แตกต่างกัน ทั้งศาสนา ภาษา ชาติพนั ธุ์ เป็ นต้น เพื่อให้ เมตตาเพือ่ นมนุษย์ เมตตาสรรพสัตว์ อัลลอฮฺมิได้ส่งท่านนบีมุฮมั หมัด มนุษย์ต่างเรี ยนรู ้ซ่ ึงกันและกัน และชนชั้นหนึ่งจะดูถกู ชนชั้นหนึ่งไม่ มายังโลกนี้ นอกจากเพื่อแผ่ความเมตตาต่อสรรพสิ่ งทั้งหลายบนโลก ได้ แน่นอนว่าท่ามกลางความต่างอาจส่งผลให้เกิดความขัดแย้ง ซึ่งเป็ น ธรรมชาติของมนุษย์ในการอยูร่ ่ วมกัน แต่อิสลามก็กำ� หนดให้มนุษย์ ดังค�ำด�ำรัสของอัลลอฮฺ “และเรามิได้ส่งเจ้ามาเพือ่ อื่นใดนอกจากเพือ่ ความเมตตาแก่ หาทางออกด้วยวิธีการที่นำ� ไปสู่ ความสมานฉันท์เสมอ ไม่วา่ จะเป็ น ในหมู่มุสลิมต่อมุสลิมด้วยกัน หรื อมุสลิมต่อชนต่างศาสนิก ประชาชาติท้ งั หลาย” (สูเราะฮฺ อัลอัมบิยาอฺ อายะฮฺที่ 107) อิ สลามไม่ เคยสอนให้มนุ ษย์เป็ นผูอ้ ำ� มหิ ต โหดเหี้ ยม อิ สลามไม่ ดังนั้น อิสลามคือ หนทางแห่งทางน�ำ น�ำผูศ้ รัทธาไปสู่แสงสว่าง น�ำ อนุ ญาตให้มีการบ่อนท�ำลายบนพื้นแผ่นดิน แท้จริ งอิสลามสอนให้ ไปสู่ ความเมตตาการให้อภัย การศึกษาท�ำความเข้าใจถึงหลักค�ำสอน มุสลิมเป็ นผูม้ ีจิตใจที่งดงาม รักเพื่อนมนุษย์มีความปรารถนาดีอยาก จากบทบัญญัติในอัลกรุ อานอย่างแท้จริ งเท่านั้นที่จะน�ำไปสู่การด�ำรง ให้เขาได้รับทางน�ำ (ฮิ ดายะฮฺ ) แต่ถา้ หากเขาไม่ยอมรั บใน ความ ชีวติ ท่ามกลางความต่างได้อย่างสันติ ปรารถนาดี อิสลามก็ไม่ได้บงั คับให้เขาต้องศรัทธา อิสลามสอนให้ เคารพ สิ ทธิมนุษยชนที่เขาพึงมี (ศาสนา ชีวติ ปั ญญา เกียรติยศ และ ทรัพย์สิน) อีหม่ ามประจ�ำมัสยิด ดารุสลาม อ�ำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ศรัทธา | เมษายน | 2559 | หนา้ 12


ศรัทธา (Believe) “คำ�สอนแห่งสันติ”

แ ก่ น แ ท้ ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ ศาสนาเป็ น หลั ก คำ � สอนที่ มุ่ ง ให้ เกิ ด สั น ติ ภ าพและความสงบสุ ข ในโลกอย่ า งแท้ จ ริ ง ที่ จ ะต้ อ ง เกิ ด จากสั น ติ ภ าพในจิ ต ใจของ มนุษย์เป็นจุดเริ่มต้นสันติภาพใน ใจของมนุษย์จะเกิดขึ้นได้ก็ด้วย “ปัญญา”

พระบุญมา แหมทอง

ผู้ช่วยเจ้ าอาวาสวัดทรายขาว จัดหวัดปัตตานี

พระบุญมา แหมทอง ผูช้ ่วยเจ้าอาวาสวัดทรายขาว กล่าวว่า พุทธศาสนา กับสันติภาพ คือกระบวนการควบคุมจิตใจให้ห่างไกล จากอกุศลมูลหมายถึงรากเหง้าแห่งความชัว่ อาทิ ความโลภ ความโกรธ ความหลง หรื อ อวิชา คือความไม่รู้ตามความเป็ นจริ ง

พระพุทธศาสนา ถือเป็ น “ศาสนาแห่งความรู ้” เพราะเกิดจาก พระพุทธศาสนานอกจากจะเป็ นหลักค�ำสอนที่ ต้ งั อยู่บน พระปัญญาตรัสรู ้ของพระพุทธเจ้า ความรู ้แจ้งเห็นจริ งของพระพุทธเจ้า หลัก ของความรู ้ แ ละความจริ ง แล้ว ยัง มุ่ ง สร้ า งสั น ติ ภ าพในโลก ถูกถ่ายทอดเป็ นค�ำสอนของพระพุทธศาสนาอันเป็ นที่ยดึ เหนี่ยวจิตใจ สันติภาพ หรื อ peace เป็ นสภาวการณ์ในอุดมคติที่ทุกคนต่างมุ่งหวัง ของมนุ ษ ย์ แก่ น แท้ข องปรั ช ญาและค�ำ สอนในพระพุ ท ธศาสนา ให้มวลมนุษย์สามารถอยูร่ ่ วมได้ในโลกใบนี้อย่างสงบสุ ขและสันติ นอกจากจะมุ่งสอนให้มนุษย์รู้จกั คิด เรี ยนรู ้ เพื่อให้เกิดปั ญญาและ ความรู ้แจ้งเห็นจริ งด้วยตนเองแล้ว ยังมีจุดหมายสู งสุ ดให้สังคมโลก และมนุษย์ในโลกอยูก่ นั อย่างสงบร่ มเย็นและมีสนั ติสุข สันติภาพ ตรงกันข้ามกับ สงคราม ซึ่ งนับว่ามิใช่เรื่ องใหม่ แต่การ แก่งแย่งชิงดี สู ้รบ ท�ำลายล้าง และหาผลประโยชน์ ความสุ ขความ สบาย และอ�ำนาจของตนบนพื้นฐานของความทุกข์ยากของผูอ้ ื่น มีมา ช้านานตั้งแต่สมัยอดี ตการณ์ ยกตัวอย่างเช่ น สงครามมหาภารตะ สงครามโลกถึงสองครั้ง มาจนถึงสงครามอิรัก จะเห็นได้วา่ มนุษย์ไม่ สามารถก�ำจัดตัณหาในจิตใจได้ สงครามจึงเกิดเพราะตัณหาของคน เรานัน่ เอง

ศรัทธา | เมษายน | 2559 | หนา้ 13


รัก ... รักแบบเสียสละ เมตตา ... เห็นอกเห็นใจ การคืนดี... ไม่ถือโกรธ สันติสุข... ความสุข ที่มาจากภายใน

อาทิตย์ ทรัพย์ สุนทรกุล

ศิษยาภิบาล คริสตจักรความหวังปัตตานี

คริ สต์ศาสนา ให้ความส�ำคัญกับการส่ งเสริ มสันติดว้ ยความ รัก คือ “รักพระเจ้าสุ ดจิตสุ ดใจและจงรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตัวเอง” (มัทธิ ว. ๒๒:๓๗-๓๙) ซึ่ งเป็ นค�ำสอนที่แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กบั พระเจ้าและมนุษย์กบั มนุษย์ดว้ ยกัน ที่แสดงออกถึง อานุภาพแห่งความรักความเมตตาในศาสนาคริ สต์ อันเป็ นความรักที่ ไม่มีขอบเขตที่จำ� กัด ไม่วา่ จะเป็ นทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และ วัฒนธรรม ฯลฯ ซึ่ งเป็ นการปลูกฝังและสร้างความรักให้เกิดขึ้น อัน เป็ นพื้นฐานของจิตใจ เพื่อให้เกิดสันติภาพแก่ตนเอง และเผือ่ แผ่แก่ผู ้ อื่นโดยทัว่ ถึง คุณอาทิตย์ยงั กล่าวอีกว่า ในยามที่เราถูกความอยุติธรรม ท�ำร้าย อย่าให้ความชัว่ ชนะเราได้ หรื อเกิดสภาวะที่ทำ� ให้จิตใจไม่สงบ นิ่ งนั้นคริ สต์เตียนจะแก้ปัญหาด้วยการใช้ความดีชนะความไม่ดีหรื อ เราอย่าให้ความชัว่ ชนะความดี บนโลกนี้แม้เราจะถูกความไม่ยตุ ิธรรม ท�ำร้ายขอให้ทำ� ใจให้อภัย รี บน�ำการคืนดีมาเร็ วที่สุดเพราะวันสุ ดท้าย พระเจ้าจะประทานยุติธรรมให้เราเอง ทุกอย่างที่เกิดขึ้นเราจะขอบคุณ พระเจ้า ศาสนาศริ สต์มองความขัดแย้งเป็ นเรื่ องปกติ เพียงแต่ชาวคริ สต์ จะต้องมีวธิ ี การจัดการด้วยการให้อภัย การคืนดีคริ สต์เตียนจึงเน้นย�้ำ เรื่ องการรักพระเจ้า และรักเพื่อนมนุษย์รักศัตรู

ดังพระด�ำรัสของพระเยซูคริ สต์ที่วา่ : “บุคคลใดสร้างสันติ ผูน้ ้ นั เป็ นสุ ข เพราะพระเจ้าจะเรี ยกเขาว่าบุตร” (พระธรรม มัทธิว บทที่๕ ข้อที่ ๙) ค�ำสอนของพระเจ้าให้มีความรักในเพื่อนมนุ ษย์ หมายถึง ความรักด้วยความบริ สุทธิ์ใจ มีความปรารถนาให้ผอู ้ ื่นมีความสุ ข เสี ย สละให้แก่กนั เมื่อมีความจ�ำเป็ นเกิ ดขึ้น และยินดี เมื่อเห็นผูอ้ ื่นได้ดี ความรักระหว่างมนุษย์กบั พระเจ้า เปรี ยบเหมือนความรักระหว่างบิดา กับบุตร ความรักระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ พระเยซูสอนให้รักเพื่อน บ้าน (มนุษย์ท้ งั โลก) เหมือนรักตนเอง สอนให้รักศัตรู คือ รู ้จกั การให้ อภัยและเสี ยสละ และเชื่อว่า ความรักจะท�ำให้เกิดสันติภาพ จึงเห็นได้วา่ แก่นแท้ของค�ำสอนทุก ๆ ศาสนา ต้องการให้มนุษยชาติ เกิดความรักใคร่ ปรองดอง อยูร่ ่ วมกันฉันท์พนี่ อ้ ง ความขัดแย้งที่ก่อให้ เกิดความรุ นแรงทุกพื้นที่โลกนั้น มีเหตุมาจากการไม่ศึกษาและไม่ ท�ำความเข้าใจในเบื้องลึกของค�ำสอนอย่างแท้จริ ง จึงเป็ นความจ�ำเป็ น ของผูศ้ รั ท ธาทั้ง หลายที่ จ ะต้อ งเรี ย นรู ้ อย่า งถู ก ต้อ ง ปฏิ บ ัติ อ ย่า ง เคร่ งครัดและตระหนักอยูเ่ สมอว่าทุกคนจะต้องพึ่งพาอาศัยกัน ไม่โดย ทางตรงก็ทางอ้อม ความสุขและความทุกข์ของผูอ้ ื่น ก็คือความสุขและ ความทุกข์ของพวกเราทุกคนด้วย ขอความสันติแด่ผศู ้ รัทธา

ศรัทธา | เมษายน | 2559 | หนา้ 14


เพื่อเธอ (For you) “น้องอิ่ม พี่อิ่ม”

น้องอิ่ม พี่อิ่ม

“เด็กก�ำพร้า” คือ เด็กที่บิดาหรื อมารดาเสี ยชีวติ หรื อเด็กที่ไม่ ปรากฏบิดามารดาตายจากไปก่อนที่เขาจะบรรลุนิติภาวะ หน้าที่การดูแลเด็กก�ำพร้า มิใช่เป็ นหน้าที่ของมนุษย์ทุกคน หรอกหรื อ ศาสนามุ่งเน้นให้สนใจต่อเด็กก�ำพร้า พวกเขาเหล่านั้นรอ คอยการช่วยเหลือ รอคอยความเอ็นดู เมตตา และผูท้ ี่จะต้องช่วยเหลือ เด็กก�ำพร้า ก็คือผูท้ ี่ใกล้ชิดในด้านเครื อญาติ หรื อเรื อนใกล้ และทุกคน ที่อยูใ่ นชุมชนและสังคมเดียวกัน ทั้งนี้ศาสนาส่งเสริ มให้มนุษย์มีความ เมตตา โอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ต่อผูท้ ี่ยากจน ตกทุกข์ได้ยาก และ ผูท้ ี่อ่อนแอกว่า ดังนั้น การช่วยเหลือต่อเด็กก�ำพร้าจึงเป็ นความจ�ำเป็ น และเป็ นความรับผิดชอบส�ำหรับทุกคนที่มีความสามารถ รายงานจาก อบีฮุรอยเราะห์ กล่าวว่า ท่านรอซูล กล่าวว่า : ผูอ้ ุปการะเด็กก�ำพร้า ไม่วา่ จะเป็ นญาติใกล้ชิด (เช่น แม่ ปู่ หรื อพีน่ อ้ ง) หรื อเป็ นคนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ญาติสนิทก็ตาม ฉันกับเขาจะอยูใ่ กล้ชิดกัน ในสวรรค์ เช่นเดียวกับสองนิ้วนี้ (นิ้วชี้และนิ้วกลาง) บันทึกโดยมุสลิม ในการช่วยเหลือเด็กก�ำพร้า หมายถึง การเลี้ยงดู ให้อาหารการกิน และ เครื่ องนุ่งห่ม การมอบความรักและความอบอุ่น การช่วยเหลือในเรื่ อง ความจ�ำเป็ นของชีวติ การศึกษา ศาสนา วิชาชีพ การหล่อหลอม ขัดเกลา ชีวติ ของเขาให้อยูใ่ นครรลองของศาสนา และการดูแลทรัพย์สินของ เด็กก�ำพร้าอีกด้วย ภาพโดย : นายซูลกีพลี เร๊าะแลบา

เพื่อเธอ | เมษายน | 2559 | หนา้ 15


โครงการ น้องอิ่ม พี่อิ่ม (หนึ่งน�้ำใจจากพี่ หนึ่งแรงผลักดันถึงน้อง) ซึ่งที่ผา่ นมาได้จดั ขึ้นถึง 4 ครั้ง ณ สถานเลี้ยง เด็กก�ำพร้ามูลนิ ธิอุมมูลกูรอเพื่อการกุศล สถานเลี้ยงเด็กก�ำพร้านิ ดาอัลฆัยรี ห์ และสถานเลี้ยงเด็กก�ำพร้าดารุ ลอีหม่าน ใน จังหวัดนราธิ วาส เพื่อส่ งเสริ มให้คนในสังคมมีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่ งกันและกัน โดยเฉพาะกับเด็กก�ำพร้า ซึ่ งขาดบิดา มารดา ผูเ้ ป็ นก�ำลังส�ำคัญของครอบครัว เด็กเหล่านี้ ขาดความรัก ความอบอุ่นจากพ่อแม่ ขาดอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่ างกาย ขาดโอกาสทางการศึกษา จึงจัดกิจกรรมนี้ เพื่อเป็ นขวัญก�ำลังใจให้กบั เด็ก ๆ ที่ขาดโอกาส ในแต่ละครั้งมีเด็กก�ำพร้าเข้าร่ วม โครงการเฉลี่ยประมาณ 50 คนและมีพี่สตาฟหรื อพี่เลี้ยงที่มีความสมัครใจ ต้องการอุทิศความสุ ขให้กบั เด็กได้เข้าร่ วมแต่ละ ครั้งประมาณ 20 คน โดยงบประมาณการท�ำกิจกรรม มาจากเงินสนับสนุนของพี่เลี้ยงผูม้ ีจิตศรัทธา ด้วยการจ่ายเลี้ยงเด็ก ก�ำพร้า 100 บาท เลี้ยงตนเอง 100 บาท รวม 200 บาท ซึ่งถือเป็ นการบริ จาค ช่วยเหลือเพื่อน้อง

ส�ำหรับลักษณะกิจกรรมนั้นขึ้นอยูก่ บั บริ บทของสถาน ที่ และความสะดวกของผูป้ กครอง ณ สถานเลี้ยงเด็กก�ำพร้า ใน บางครั้งมีโอกาสได้สร้างความสุ ข ด้วยการพาน้องไปเล่นฟุต ซอลริ มชายหาด เพื่อให้เกิ ดความผ่อนคลาย ส่ งเสริ มความ สัมพันธ์และสุ ขภาพให้กบั พี่และน้อง อีกทั้งการได้พร�่ำสอน ปลูกฝังให้นอ้ ง ๆ เกิดกระบวนการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองและรักการ เรี ย น อี ก ทั้ง การสร้ า งแรงบัน ดาลใจให้มี แ รงผลัก ดัน ที่ จ ะ ท�ำความฝันของตนเองให้สำ� เร็จ และกิจกรรมส่งท้ายคือการจัด เลี้ยงอาหาร เครื่ องดื่ม และขนมหวานให้กบั น้อง ในการรับ ประทานอาหารมีการแบ่งพี่เลี้ยงให้นง่ั ร่ วมกับน้องทุก ๆ โต๊ะอาหาร เพือ่ ท�ำหน้าที่ตกั อาหาร พูดคุย ให้กำ� ลังใจ ให้ความ อบอุ่นกับน้อง เพราะทุกคนเชื่อว่าเด็กกลุ่มนี้มีความปรารถนา ความรักและก�ำลังใจจากคนรอบข้างเสมอ ส�ำหรับกิจกรรม น้องอิ่ม พี่อิ่ม ครั้งต่อไปจะจัดขึ้น เร็ ว ๆ นี้ (อินชาอัลลอฮฺ) ขอเชิญชวนผูศ้ รัทธาเข้าร่ วมโครงการ ร่ วมสร้างสรรค์ความดีงามด้วยการเป็ นส่ วนหนึ่ งในการมอบ ความสุ ขให้กบั เด็กก�ำพร้า ทั้งนี้ตอ้ งขอขอบคุณผูป้ กครองของ สถานเลี้ยงเด็กก�ำพร้าทั้ง 3 แห่ง ที่เปิ ดโอกาสให้ผสู ้ นใจได้เข้า ร่ วมกิ จกรรมลักษณะนี้ (ขออัลลอฮฺ ทรงตอบแทน) และขอ ขอบคุณผูจ้ ดั โครงการที่ทำ� ให้เรารู ้จกั รักเพือ่ นมนุษย์มากขึ้น ได้ ท�ำหน้าที่ผศู ้ รัทธาอย่างสมบูรณ์

เพื่อเธอ | เมษายน | 2559 | หนา้ 16


เพื่อเธอ (For you) “น้องอิ่ม พี่อิ่ม”

การดูแลลูกกำ�พร้า ถือเป็นหน้าที่ ของผู้ศรัทธาทุกคน ท่านรอซูลรุลลอฮฺ ท่านก็เป็นเด็กกำ�พร้าทีแ ่ บกรับอัลอิสลาม เพื่ อ ผู ้ ศ รั ท ธา ลู ก กำ�พร้ า จึ ง ควรได้ รั บ ความรักเหมือนท่านนบี (ซล.)

วาริน นราวิทย์

อาจารย์มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนคริ นทร์ ผูจ้ ดั กิจกรรม น้องอิ่ม พี่อิ่ม

อัลลอฮฺตะอาลาตรัสว่า... “และจงให้แก่บรรดาเด็กกำ�พร้า ซึง่ ทรัพย์สมบัตขิ องพวกเขาและจงอย่าเปลีย ่ นเอาของเลวด้วยของดี และจงอย่ากินทรัพย์ของพวกเขาร่วมกับทรัพย์ของพวกเจ้า แท้จริง มันเป็นบาปที่ยิ่งใหญ่ (อัน-นิซาอ อายะห์ที่ 2) หากวันนี้เรามิได้มีทรัพย์สินมากมายที่จะให้เด็กก�ำพร้า จงคิดไว้เสมอว่า สิ่ งที่ทุกคนสามารถ ให้ได้ คือการให้โดยไม่ตอ้ งลงทุน เช่น รอยยิม้ ก�ำลังใจ ความรัก และเมื่อเรามีมากกว่านั้นจงท�ำการ บริ จาค ช่วยเหลือพวกเขาตามก�ำลังความสามารถ ตามบทบัญญัติในอัลกุรอานและซุนนะฮฺของท่านนบี ที่ได้ให้ความส�ำคัญต่อการอุปถัมภ์และการให้ความสนใจต่อเด็กก�ำพร้า เสมือนดังอิสลามให้กำ� หนด กฎเกณฑ์ต่อประชาคมมุสลิม ให้เขารักษาสิ ทธิของเด็กก�ำพร้า จะสามารถใกล้ชิดกับอัลลอฮฺดว้ ยการให้ ความเมตตา เอ็นดูต่อเด็กก�ำพร้าและจะได้ผลบุญมากมาย

เพื่อเธอ | เมษายน | 2559 | หนา้ 17


“ สังคมและบ้านเมืองใด ให้การศึกษาทีด ่ แ ี ก่เยาวชน ได้อย่างครบถ้วน ล้วนพอเหมาะกันทุก ๆ ด้านสังคมและ บ้านเมืองนั้น ก็จะมีพลเมืองที่มีคุณภาพ ซึ่งสามารถธำ�รง รักษาความเจริญมั่นคงของประเทศชาติไว้ และพัฒนาให้ ก้าวหน้าต่อไปได้โดยตลอด ผูม ้ ห ี น้าทีจ ่ ด ั การศึกษาทุก ๆคนจึงต้องถือว่า ตัวของ ท่านมีความรับผิดชอบต่อชาติบ้านเมืองอยู่อย่างเต็มที่ใน อันที่จะต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เที่ยงตรง ถูกต้อง สมบูรณ์ โดยเต็มกำ�ลัง จะประมาทหรือละเลยมิได้ ” พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว (วันที่ 27 กรกฎาคม 2527)


เปลี่ยนแปลง (Change) “พลังของการศึกษา”

แนะแนวการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา สัญจร สานฝันสู่น้อง

สหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษาเพือ่ สันติภาพชายแดนภาคใต้ (สสชต.) จัดโครงการแนะแนวการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา สัญจร สานฝันสู่นอ้ ง ให้กบั โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ เพื่อ แนะแนวหลักสูตรการศึกษาในระดับปริ ญญาตรี ควบคูไ่ ปกับการแนะแนว เส้นทางการเข้าสู่มหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาอื่น ๆ รวมไปถึงการ ใช้ชีวติ ในรั้วมหาวิทยาลัยที่เต็มไปด้วยพหุวฒั นธรรมในฐานะเยาวชนที่ดี ให้แก่นกั เรี ยนระดับมัธยมศึกษา

ในการแนะแนวมีการปลุกพลัง สานฝัน ให้แนวทางการท�ำความฝันให้เป็ น จริ ง เกิดการเปลี่ยนความคิด ให้ความส�ำคัญต่อการศึกษามากยิง่ ขึ้น โดย ให้ขอ้ มูลการศึกษาทั้งสถาบันในพื้นที่ นอกพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ และข้อมูลการศึกษาในสถาบันต่างประเทศ รวมไปถึงข้อมูลทุนการศึกษา ต่าง ๆ และปลูกฝังค่านิยมที่ดีงามให้เกิดขึ้นกับเยาวชน อาทิ การสร้างคุณค่า ให้กบั ตนเองจากการห่างไกลสิ่ งอบายมุขทั้งมวล การประพฤติตนให้เป็ น ที่รักของสังคม บทบาทเยาวชนในการมีส่วนร่ วมให้เกิดสันติภาพในพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนใต้

“ ความรู ้น้ นั เป็ นสิ่ งที่มีความส�ำคัญในการด�ำรงชีวติ อย่างยิง่ ส�ำหรับ ทุกคน การได้มาซึ่งความรู ้กต็ อ้ งมีการศึกษา สหพันธ์ ฯ เราได้ให้ ความส�ำคัญกับการศึกษาอย่างมากโดยผ่านโครงการในรู ปแบบ ต่าง ๆ ทั้งการสร้างแรงบันดาลใจ และการแนะแนวการศึกษาต่อ ทั้งสายสามัญและศาสนา เพราะเราเชื่อว่าการศึกษาจะช่วยยกระดับ ฐานะและคุณภาพชีวติ ของน้อง ๆ ให้ดีข้ ึน เราจึงต้องการที่จะส่ ง ต่อความรู ้ และโอกาส เพื่อให้นอ้ ง ๆ สามารถเข้าถึงการศึกษาได้ มากยิง่ ขึ้น” นายอาตีฟ วาหับ

หัวหน้าจังหวัดปัตตานี สหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษาเพื่อสันติภาพชายแดนใต้(สสชต.)

เปลีย่ นแปลง | เมษายน | 2559 | หนา้ 19


Education for Change “ การศึกษานำ�มาสู่การเปลี่ยนแปลง ” จากการแนะแนวการศึกษา สหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษา เพื่อสันติภาพชายแดนใต้ (สสชต.)ได้เปิ ดโอกาสให้กบั นักเรี ยน มัธยมปลายโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ได้เข้าร่ วมโครงการ Education for Change “การศึกษาน�ำมาสู่ การเปลี่ยนแปลง” ซึ่งได้ ท�ำการจัดทั้งหมด 4 รุ่ นในปี การศึกษา 2558 โดยได้รับความสนใจ ในแต่ละรุ่ นประมาณ 150 คน รวม 600 คน กิ จ กรรมได้รั ง สรรค์ ข้ ึ นในรู ป แบบค่ า ย 3 วัน 2 คื น โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ ให้นกั เรี ยนชั้นมัธยมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ใต้ เกิดความตระหนักรู ้ ตระหนักคิดและให้ความส�ำคัญกับการเรี ยน ต่อในระดับอุดมศึกษา ด้วยการให้ขอ้ มูล แนะแนว แนะน�ำทางเลือก ในการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาทั้งสายศาสนาและ สามัญ ด้วยการจัดติวเข้มข้อสอบ O-net และ Gat Pat เพื่อเป็ นการ เตรี ยมความพร้อมก่อนท�ำการสอบจริ ง นอกจากนี้ เพื่อสร้างแรง บันดาลใจ สร้างความมุ่งมัน่ และเป้ าหมายในชีวติ ตามความฝันให้ กับนักเรี ยนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ ซึ่ งเป็ นโอกาสที่ดีใน แต่ละรุ่ นได้รับเกียรติจากผูป้ ระสบความส�ำเร็ จจากคนในพื้นที่และ นักจิตวิทยาเป็ นผูส้ ร้างแรงบันดาลใจและเป็ นบุคคลต้นแบบให้กบั น้องค่าย อีกทั้งมีกิจกรรมแชร์ประสบการณ์จากพี่เรี ยนดี กิจกรรม เด่น มาตอกย�้ำแนวทาง วิธีการ เข้าเรี ยนในแต่ละมหาวิทยาลัย ที่ ส�ำ คัญ เพื่ อ ปู พ้ื น ฐานและท�ำ ความเข้า ใจเกี่ ย วกับ การใช้ชี วิต ใน มหาวิทยาลัยท่ามกลางสังคมพหุวฒั นธรรมให้กบั นักเรี ยนในพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนใต้

และสิ่ งที่เป็ นเกิดขึ้นเหนื อความคาดหมายคือ แม้โครงการจะจัด เสร็จสิ้นไปแล้ว แต่ความสัมพันธ์และความผูกพันระหว่างพีค่ า่ ยกับ น้องค่ายยังคงมีตลอดมา โดยเฉพาะน้องค่ายที่สอบติดมหาวิทยาลัย หรื อสถาบันการศึกษาที่มีพี่ค่ายก�ำลังศึกษาอยู่ จึงท�ำให้นอ้ งๆมีพี่ เลี้ยงในการให้คำ� แนะน�ำ คอยให้คำ� ปรึ กษาแนวทางที่ดีและพร้อม เดินไปด้วยกันในทิศทางการท�ำกิจกรรมเพื่อสังคมควบคู่กบั การ เรี ยนต่อไป

เปลีย่ นแปลง | เมษายน | 2559 | หนา้ 20


เปลี่ยนแปลง (Change) “พลังของการศึกษา”

สิง่ ทีค ่ าดหวังสำ�หรับค่ายนีค ้ อ ื ภายหลังจาก การร่วมโครงการ เราจะเห็นพัฒนาการเติบโตของ น้องๆ ว่าจบชั้นมัธยมจะเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น และเมื่อจบการศึกษาจะเป็นบัณฑิตที่เป็นคนเก่ง และดี ตระหนักถึงประโยชน์ส่วนรวม พร้อมต่อ การรับใช้สังคม เพราะเราเชื่อเสมอว่า พลังแห่ง การศึกษา นำ�มาสู่พลังแห่งการเปลี่ยนแปลง

นางสาวฝ้ ายลิกา ยาแดง

โฆษก สหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษาเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ (สสชต.)

“ แท้ จริงแล้ วความรู้ น้ัน เกิดขึน้ มาด้ วยกับการศึกษา ” การศึกษาเป็ นสุ ดยอดของสิ่ งที่มนุษย์ทุกคนแสวงหา เป็ นอาวุธส�ำคัญที่จะน�ำพาเราไปสู่แสงสว่าง ในการด�ำเนินชีวติ เป็ นแสงสว่างน�ำพาให้เราพ้นจากความมืดมิดแห่งความโง่เขลา ท�ำให้เราพ้น จากการตกเป็ นเครื่ องมือของผูท้ ี่ประสงค์ร้าย รายงานโดยบูคอรี ,มุสลิม

เปลีย่ นแปลง | เมษายน | 2559 | หนา้ 21


เบตงเมืองกลางสายหมอก ในอ้อมกอดหุบเขาชายแดนใต้

นับว่าเป็ นการเดิ นทางที่ แสนพิเศษกับการได้สัมผัส ความงดงามของเสน่หเ์ มืองหนาวชายแดนใต้ ดังค�ำขวัญที่วา่ “เมือง ในหมอก ดอกไม้งาม ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน” ที่นี่คือ เบตง อ�ำเภอเบตงตั้งอยูใ่ ต้สุดของประเทศไทย “เบตง” ชื่อนี้มาจากภาษา มลายู คือ “Buluh Betong” ที่หมายถึง “ไม้ไผ่” หรื อ “ไผ่ตง” เนื่อง เพราะในอดี ตพื้นที่ แห่ งนี้ อุดมไปด้วยต้นไผ่แต่ ปัจจุ บนั ต้นไผ่ สู ญหายไปตามสภาพเมืองที่เติบโตขึ้นแต่ความงดงามของเมืองนี้ ยังคงเป็ นที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้อย่างทวีคูณด้วยความลงตัวของ ทรัพยากรธรรมชาติ ประชากร ประเพณี วฒั นธรรม ฯลฯ

เบตงอยูใ่ ต้สุดของเขตแดนไทย ตัวเมืองตั้งอยูใ่ นเขตที่ โอบล้อมด้วยทิ วเขาสู งอากาศเย็น“จนได้ชื่อว่าเมื องในหมอก ดอกไม้งาม” ปั จจุบนั เบตงกลายเป็ นอ�ำเภอที่ถกู พูดถึงในแวดวง ช่างภาพ นักท่องเที่ยว ในการวางแผนเดินทางมาสัมผัสของความ เป็ นที่สุดของสถานที่ท่องเที่ยว ณ เบตง ทั้งแหล่งที่เที่ยวเพิ่งเปิ ด ใหม่ในปี 59 และสถานที่เดิมที่ครองชื่อเสี ยงตลอดมา

การเดินทาง | เมษายน | 2559 | หนา้ 22


การเดินทาง (Trip) เบตง เมืองกลางสายหมอก

หากต้องการสัมผัสอากาศหนาว เบตงมีสถานที่ ท่องเที่ยวเปิ ดใหม่ตอ้ นรับหน้าหนาวเมื่อปลายปี ที่ผา่ นมา และก�ำลังได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวเป็ นอย่างมาก คือ “ทะเลหมอกอัยเยอร์เวง” สุดยอดทะเลหมอกที่สวยที่สุด ในภาคใต้ อยูใ่ นเขตพื้นที่ของเขาไมโครเวฟ เป็ นยอดเขาสูง กว่า 2,000 ฟุต จากบริ เวณยอดเขา ปั จจุบนั ทะเลหมอกอัยเยอร์ เวงกลายเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสี ยงมากที่สุดในเบตง ในแต่ละวันมีนกั ท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ โดยเฉพาะนักท่องเที่ยว ชาวมาเลเซี ยที่มกั นิยมมาเที่ยวอ�ำเภอเบตงเป็ นจ�ำนวนมาก อีกหนึ่งสถานที่ชมหมอก คือ ยอดเขากุนุงซิลิปัตเป็ นจุดชม ทะเลหมอกที่สวยงามอีกหนึ่งจุดของเบตง แม้การเดินทาง จะมีความล�ำบากกว่าทะเลหมอกอัยเยอร์ เวง แต่น้ นั ก็เป็ น ความท้าทายของนักท่องเที่ยว ที่ตอ้ งเดินเท้า ปี นผาเพือ่ พิชิต ยอดเขากุนุงซิลิปัตให้จนได้ อย่างไรก็ตามหากต้องการรับ หมอก ชมวิว ทิวทัศน์ความซับซ้อนของภูเขา ทั้งสองยอด เขา การันตีได้วา่ จะไม่ผดิ หวังกับการตื่นเช้าอย่างแน่นอน

สถานที่ท่องเที่ยวต่อมา หากเอ่ยถึง “สวนไม้ดอกเมือง หนาว” นักท่องเที่ยวทุกคนจะนึกถึงภาคเหนือ แต่จะมีกี่คนที่รู้วา่ บรรยากาศแบบนั้นก็มีที่ “เบตง” แถมไม่ตอ้ งรอถึงช่วงปลายปี “สวนหมื่นบุปผา” เป็ นสวนไม้ดอกเมืองหนาวแห่งเดียวในภาค ใต้ของประเทศไทย อากาศเย็นสบายตลอดทั้งปี มีพ้ืนที่กว่า 10 ไร่ เต็มไปด้วยไม้ดอกเมืองหนาวนานาชนิด เป็ นโครงการใน พระราชด�ำริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราช กุมารี ซึ่งทรงเห็นว่าเป็ นพื้นที่เหมาะสมในการปลูกไม้ดอกเมือง หนาว เพราะอยูส่ ูงจากระดับน�้ำทะเลประมาณ 800 เมตร มีสภาพ อากาศที่หนาวเย็น มีบริ การห้องพักเหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ ต้องการรับบรรยากาศยามเช้าท่ามกลางดอกไม้และสายหมอก ที่ นี่จึงเป็ นสถานที่ที่เป็ นจุดโฟกัสส�ำหรับผูท้ ี่จะมาเยือนเบตง

การเดินทาง | เมษายน | 2559 | หนา้ 23


และสถานที่ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งมาช้า นาน ต้อ งยกให้ก ับ “บ่อน�้ำร้อนเบตง” ปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างหนึ่งของเบตง ที่มีน้ ำ� พุเดือดขึ้นมาจากพื้นดิน ตรงจุดบริ เวณน�้ำเดือดสามารถ ต้มไข่สุกภายใน 7 นาที และเชื่อกันว่าน�้ำแร่ น้ ี สามารถรักษา โรคผิวหนังได้ นอกจากนี้ยงั มีแหล่งท่องเที่ยวที่อยูใ่ นพื้นที่ใกล้ เคียงกัน คอื “อุโมงค์ปิยะมิตร” เคยเป็ นฐานที่ต้งั กลุม่ ขบวนการ จีนคอมมิวนิสต์มลายา สร้างเพื่อใช้เป็ นฐานปฏิบตั ิการ หลบ ภัยทางอากาศและสะสมเสบียง ตั้งอยูบ่ นเนินเขากลางป่ าดงดิบ ล้อมรอบด้วยป่ าทึบ

เข้าตัวเมืองเบตง จะเห็นยอดเขา “พุทธาธิวาส” มีเจดียต์ ้ งั อยูบ่ น เนิ น เขาสู ง สถาปั ต ยกรรมที่ ง ดงาม เป็ นศาสนสถานอัน ศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวพุทธนับถือยึดเหนี่ ยวจิตใจ และถัดมาเจอ “ตู ้ ไปรษณียใ์ หญ่ที่สุดในประเทศไทย” สัญลักษณ์ของอ�ำเภอเบตง ในเรื่ องการติดต่อสื่ อสาร นับจากฐานขึ้นไปรวมความสู งของ ตูว้ ดั ได้ 320 เซนติเมตร ปัจจุบนั ยังคงใช้งานอยู่ กลางเมืองเบตง มี “อุโมงค์เบตงมงคลฤทธิ์” อุโมงค์รถยนต์ลอดภูเขาแห่งแรก ของเมืองไทย เป็ นจุดที่นกั ท่องเที่ยวพักถ่ายรู ปใน-หน้าอุโมงค์ ที่สำ� คัญพลาดไม่ได้กบั ความงดงามของเบตงยามค�่ำคืน บริ เวณ หอนาฬิกาที่เต็มไปด้วยนกนางแอ่น รอบเมืองมีแสงสีที่สวยงาม อีกทั้งเรื่ องอาหารการกิน ที่ข้ ึนชื่ อสุ ด คือ “ไก่เบตง” และมี อาหารพื้นเมืองที่มีชื่อเสี ยงอีกมายมาย หากตั้งเป้ าหมายว่าจะ สัมผัสเบตง เพื่อการเดินทางที่พิเศษควรวางแผนการเดินทาง ท่องเที่ยวอย่างน้อย 2 วัน 1 คืน มิเช่นนั้นจะเที่ยวเบตงไม่ครบ ทุกสถานที่อย่างแน่นอน เพราะอ�ำเภอแห่งนี้ได้รวบรวมแหล่ง ที่เที่ยวไว้ท้ งั หมดแล้ว “แม้ เ บตงจะเป็ นอ� ำ เภอที่ อ ยู่ใ นพื้น ที่ ส ามจั ง หวั ด ชายแดนใต้ ท่ามกลางเหตุการณ์ ความไม่ สงบ แต่ ผ้ คู นยังคงเดิน ทางมาสัมผัสเมืองในหุบเขาแห่ งนี้อย่ างล้ นหลาม เพียงพบว่ า ภายใต้ ภาพเชิ งลบยังคงมีความงดงามที่ซ่อนอยู่ รอผู้คนมา เชยชมและเก็บภาพความประทับใจกลับไปบอกต่ อว่า.....ทีส่ าม จังหวัดชายแดนใต้ ยงั คงมีเพชรเม็ดงามทีร่ ออยู่ ”

การเดินทาง | เมษายน | 2559 | หนา้ 24


โอกาส (Chance) สงคราม สันติภาพ

[[[ สงครามสันติภาพ ]]]

เรื่อง โดย : นายหัวใจ

อีกกีล่ ้ านละอองน�้ำตาทีล่ อยเหือดหาย อีกกีแ่ สนหยดเลือดทีห่ ลัง่ ริ นรดพสุ ธา อีกกีห่ มื่นชีวติ ทีต่ ้ องดับสู ญ อีกกีพ่ นั ฤดูกาล อีกกีร่ ้ อยปี อีกกีส่ ิบศตวรรษ อีกนานแค่ ไหนถึงจะจบสิ้นความเสียใจสักที…

โอกาส | เมษายน | 2559 | หนา้ 25


บางคนไม่รู้ร้อนรู ้หนาว ไม่รู้สึกรู ้สากับเหตุการณ์เหล่านี้ อาจเป็ น เพราะเขาไม่ได้สูญเสี ยอะไรจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แค่ให้มีงานท�ำ มีเงินกิน มีครอบครัวอบอุ่นก็พอล่ะ คนอื่นจะเป็ นอย่างไร นั้นก็ ช่างปะไร บางคนต้องทุกข์ทรมานจากเหตุการณ์ ต้องเจ็บปวด ล้มตาย สู ญ เสี ยคนรัก จนตรอมใจอยูก่ บั ความเสี ยใจ หรื อไม่กอ็ าฆาตแค้นต้อง ทวงคืน บางคนก็ใช้เหตุการณ์เป็ นตัวกอบโกยเงินทองและสิ่ งที่ตอ้ งการ เข้าตัว ใช้น้ ำ� ตา เลือดเนื้อ และชีวติ ของผูบ้ ริ สุทธิ์สงั เวยบูชายันต์

เหตุน้ ีเราต้องเปิ ดใจให้กว้าง ไม่ตาบอด หูเบา เอียงซ้ายเอียงขวา หรื ออคติปิดใจ แล้วเราลองศึกษาท�ำความเข้าใจในอุดมการณ์ นิยามสันติภาพของทั้งสองฝ่ าย แล้วคิดดูวา่ สิ่ งไหนที่ถูกต้องดี กว่า หรื อสามารถหาจุดร่ วมไหนที่ลงตัวกันได้บา้ ง โดยใช้“หลัก ศาสนา ความดี หรื อมนุษยธรรม” และแล้วเมื่อนั้น เราก็จะพบ “สันติภาพที่แท้จริ ง” ที่ท้ งั สองฝ่ าย ยอมรับและได้รับสันติภาพทั้งสองฝ่ าย ถ้าทุกคนเข้าใจและ ยอมรับเช่นนี้ ได้ สักวันเราก็จะได้สัมผัสกับสันติภาพไปด้วย กัน….For peace

บางคนจะดับไฟที่โหมกระพือ แต่กลับไปเพิม่ ฟื นเข้าไป บ้างก็จะ ช่วยวีรบุรุษ แต่กลับไปหลงกลเป็ นเครื่ องมือให้ซาตาน บางคนก็ ต าบอด หู เ บา เป็ นใบ้ เอี ย งซ้า ยเอี ย งขวา แกล้ง โง่ ต่างๆนานา คุณรู ้ไหมว่าเหตุการณ์ที่เราประสบอยู่ ณ เพลานี้คืออะไร??? มัน คือ “สงครามสันติภาพ” ที่ข้วั หนึ่งต่อสู ้ เพื่อสันติภาพ และอีกขั้ว ก็ สู ้ เ พื่ อ สั น ติ ภ า พ เ ช่ น กั น แ ล้ ว ท� ำ ไ ม ต้ อ ง สู ้ กั น ด้ ว ย ในเมื่อเพื่อสันติภาพ เหมือนๆกัน ไม่เหมือนหรอก!!! ค�ำว่าสันติภาพนั้นเหมือนกัน แต่นิยามความหมายของสันติภาพ แต่ละฝ่ ายนั้นต่างกัน จะมีสกั กี่คนที่เข้าใจอุดมการณ์หรื อนิยามสันติภาพของทั้งสองขั้ว ได้อย่างลึกซึ้ งจริ ง ๆ ถ้าเขาไม่ได้ตาบอด หูเบา เอียงซ้ายเอียงขวา หรื ออคติปิดใจไปซ่ะก่อน แล้วจะใช้หลักเกณฑ์ใด ที่จะบอกว่า สันติภาพของฝ่ ายใดถูกต้อง และดีกว่าจริ งๆ? มนุษย์ทุกคนย่อมมีสิทธิเสรี ภาพเป็ นของตัวเอง ค�ำว่า “มนุษยธรรม” จะเป็ นตัวแปรที่ทำ� ให้มนุษย์อยูร่ ่ วมกันได้ ถ้า เราถูกลิดรอนสิ ทธิ หรื อไปลิดรอนสิ ทธิคนอื่น ก็จะท�ำให้เกิดการ แตกแยก

หนังสื อ “เมื่อรักฉันเกิด” เขียนโดยนายหัวใจ หาซื้อ ได้ตามร้านขายหนังสื ออิสลามทัว่ ไป หรื อสัง่ ซื้อได้จาก FACEBOOK : ฟูอดั นายหัวใจ

โอกาส | เมษายน | 2559 | หนา้ 26


สร้าง-สันติ (Peacemaker) ค่ายจริยธรรม กับ เสรีภาพทางความคิด

ค่ายจริยธรรมกับเสรีภาพทางความคิด

เมื่อวันที่ 1- 3 เมษายน 2559 สหพันธ์นกั เรี ยน นักศึกษา เพือ่ สันติภาพชายแดนใต้ (สสชต.) ได้จดั ค่ายจริ ยธรรมกับเสรี ภาพ ทางความคิด รุ่ นที่ 5 จากสถาบันการศึกษาในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนใต้ คือ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัย นราธิวาสราชนคริ นทร์ สถาบันอาชีวศึกษาจังหวัดปัตตานี สถาบัน อาชีวศึกษาจังหวัดยะลา สถาบันอาชีวศึกษาจังหวัดนราธิวาส และ รุ่ นนี้ เป็ นครั้ งแรกที่ ได้รับความสนใจจากมหาวิทยาลัยทักษิ ณ วิทยาเขตพัทลุง ทางผูจ้ ดั มีความคิดเห็นว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ไม่ใช่เป็ นเพียงปัญหาของคนในพื้นที่เท่านั้น แต่เป็ นปัญหาของทุก คนที่ตอ้ งร่ วมกันแก้ไข

สร้างสันติ | เมษายน | 2559 | หนา้ 27


“คนเรามี เ สรี ภ าพทางความคิ ด แต่ ค วามคิ ด นั้ น จะต้ อ งไม่ ล ะเมิ ด สิ ท ธิ หรือส่งผลทำ�ให้ผอ ู้ น ื่ เดือนร้อนคุณธรรม และจริ ย ธรรม จะทำ�หน้ า ที่ ก ลั่ น กรอง ความคิ ด นั้ น ว่ า สมควรทำ�ได้ ห รื อ ไม่ ”

ภายในค่ายเน้นการมีส่วนร่ วมทางความคิดในประเด็น ความไม่สงบในพื้นที่ รวมไปถึ งการเสนอแนวทางการแก้ไข ปั ญหาในฐานะฝี มือชน และปั ญญาชนของชาติ ผ่านกิจกรรมภาค ปฏิบตั ิ และภาคทฤษฎี การฟังบรรยายและการนันทนาการเพือ่ ให้ ชาวค่ายเกิดความรัก ความสามัคคีและความผูกพันฉันท์พนี่ อ้ งบน หลักการยอมรับความหลากหลาย ไม่แบ่งแยกศาสนาและสถาบัน แต่จะอยูร่ ่ วมกันเสมือนคนในครอบครัว

สร้างสันติ | เมษายน | 2559 | หนา้ 28


สร้าง-สันติ (Peacemaker) ค่ายจริยธรรม กับ เสรีภาพทางความคิด

“ดีใจทีไ่ ด้เจอเพือ่ น ๆ ต่ างสถาบันภูมใิ จทีไ่ ด้เป็ นส่ วนหนึง่ ของ ค่ายความสุ ขทีจ่ ะได้น�ำประสบการณ์ สิ่งดี ๆ ครั้งนี้ไปบอกต่ อ กับผู้อื่น” นางสาวซูนีตา สะแลแม มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา “ได้ รับสาระความรู้หลาย ๆ อย่ าง โดยใช้ ความหลากหลายทางศาสนาช่ วยกันเสริ มสร้ างความเข้ าใจ ในเรื่ องของพหุวัฒนธรรมเพื่อให้ สามารถอยู่ร่วมกันในพื้นที่อย่ างมีความสุ ขและจะน�ำมาซึ่ ง สันติภาพในทีส่ ุ ด” นายฟาอิซ ยาอีด มหาวิทยาลัยฟาฎอนี “ในการท�ำหน้ าทีเ่ ป็ นพีเ่ ลีย้ งค่ ายไม่ ร้ ูสึกเหน็ดเหนื่อย แต่ ร้ ูสึกได้ ถงึ ความรั ก ความผูกพันระหว่ างน้ องพี่ และเชื่อว่ าน้ อง ๆ เองก็ร้ ูสึกเช่ นเดียวกัน” นางสาวสุมิตรา เจ๊ะอุมาร์ สถาบันอาชีวศึกษาจังหวัดปัตตานี

สร้างสันติ | เมษายน | 2559 | หนา้ 29





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.