2
คานา บทฝึกอูคูเลเล่เล่มนี้ สามารถศึกษาได้ด้วยตัวเองโดยอ่านอย่างละเอียดและค่อยๆทาตามคาแนะนาไป ทีละน้อย การที่จะศึกษาให้ละเอียดในเรื่องของทฤษฎีดนตรีนั้น อาจต้องมีผู้ให้คาแนะนา การฝึกในเล่มที่ 1 จะเป็นการให้รู้จักเครื่องหมายที่ใช้ในการฝึกด้วยตนเอง โดยใช้เพลงที่เล่นง่ายๆ เป็นตัวอย่างในการฝึก อาจต้องฝึกร้องเพลงให้ได้ก่อนจึงนามาประกอบกับการเล่นอูคูเลเล่ เมื่อฝึกร้องได้แล้ว ขั้นต่อไปคือการฝึกบรรเลงทานอง จะต้องฝึกไปทีละห้องเพลง ให้จาได้ทีละน้อย เมื่อฝึกต่อจะต้องเริ่มจากที่ จาจากคราวที่แล้วก่อนเสมอ หวังว่าผู้ที่สนใจจะเรียนด้วยตนเอง จะได้ประโยชน์จากหนังสือนี้อย่างแน่นอน ผศ.ศิริพงษ์ แก้วพลอย (ครูจั๋ง) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8 ม.ราชภัฏเทพสตรี จ.ลพบุรี
3
สารบัญ ทฤษฎีเบื้องต้น บรรทัด 5 เส้นและตัวโน้ต....................................................................................................4 ชื่อของตัวโน้ต......................................................................................................................4 กุญแจทริเบิล........................................................................................................................5 เครื่องหมายแปลงเสียง
………………………………………………………………….....6
เครื่องหมายตั้งบันไดเสียง....................................................................................................6 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี…………………………………………………………………………...7 ความสัมพันธ์ของตัวโน้ต (ในแง่ค่าของตัวโน้ต)……………………………………………….…...8 การขึ้นสาย การขึ้นสายแบบบันไดเสียง D..............................................................................................8 การขึ้นสายแบบบันไดเสียง
C …………………………………………………….……....9
วิธีบรรเลงอูคูเลเล่ ใช้นิ้วดีดโดยตรง …………………………………………………………………………..9 ใช้ปิ๊คดีด ……………………………………….………………………………………….10 วิธีการอ่านแท็บอูคูเลเล่……………………………………………………………………11 การฝึกสายเปล่า……………………………………………………………………………12 การฝึกเล่นเพลง ฝึกเล่นคอร์ดพร้อมกับร้องเพลง............................................................................................13 บรรเลงคนเดียวเฉพาะทานอง……………………………………………………….…….15 บรรเลงสองคน โดยเล่นคอร์ด 1 คน และเล่นทานอง 1 คน.................................................. 15
4
ทฤษฏีดนตรีเบื้องต้น โน้ตดนตรี ประกอบด้วยสัญลักษณ์ต่างๆและตัวอักษร สิ่งแรกที่จะต้องจดจาคือ บรรทัด 5 เส้นที่ ประกอบด้วยเส้นตรง 5 เส้นขนานกัน มีช่อง 4 ช่อง โดยบันทึกตัวโน้ตและสัญลักษณ์ต่างๆลงบนเส้นและ ช่องว่างนั้น บรรทัด 5 เส้นและตัวโน้ต
ตัวโน้ตที่บันทึกอยู่ด้านล่างคือ D และบันทึกอยู่ด้านบนคือ G
ตัวโน้ตและเส้นน้อย เส้นน้อย
( Leger lines ) คือเส้นสั้นๆ เล็กๆ ที่ประกอบเข้ากับตัวโน้ต ทั้งลากผ่านตัวโน้ต เหนือ
ตัวโน้ตหรืออยู่ใต้ตัวโน้ต ตัวโน้ตและเส้นน้อย
5
ชื่อของตัวโน้ต มาจากพยัญชนะภาษาอังกฤษ 7 ตัวแรก โดยจะอ่านวนกลับไปหาอักษรตัวแรก เช่น ถ้าเริ่มด้วย A ก็จะอ่านวนกลับมาที่ A เช่น A - B - C – D – E – F - G – A
ถ้าเริ่มด้วย C ก็จบด้วยตัว C เช่น C – D - E - F - G - A - B - C และจะตั้งชื่อบันไดเสียงด้วยชื่อ โน้ตตัวแรก
ดังนั้น การบอกชื่อบันไดเสียง คือการบอกชื่ออักษรตัวแรกที่กาหนดขึ้น จากนั้นเรียงชื่อตามอักษรที่ กล่าวแล้วข้างต้นจนครบ 7 ตัว แล้วให้เรียกชื่อบันไดเสียงจากอักษรตัวแรก ตัวอย่างเช่น - เริ่มด้วย B – C – D – E – F – G – A - B เรียกว่า บันไดเสียง B ( B scale )
- เริ่มด้วย
E - F - G - A – B – C – D - E เรียกว่า บันไดเสียง E ( E scale )
กุญแจทริเบิล ( Treble Clef ) เป็นเครื่องหมายที่บันทึกลงที่ตอนต้นของบรรทัด 5 เส้น บางครั้งเรียกชื่อว่า กุญแจซอล ( G clef ) เป็นการบันทึกโน้ตในกลุ่มของเครื่องดนตรีเสียงสูง เช่น กีตาร์ อูคูเลเล่ ไวโอลิน ทรัมเป็ต แซกโซโฟน ฯลฯ
6
เครื่องหมายแปลงเสียง ( Accdentals ) คือสัญลักษณ์ที่บันทึกไว้ด้านหน้าของตัวโน้ตและอยู่ในตาแหน่งเดียวกับลาดับขั้นของตัวโน้ตนั้น มี 3 ชนิดคือ 1. ชาร์ป
# (sharp) เขียนไว้หน้าตัวโน้ตหรือหลังตัวอักษร จะทาให้ตัวโน้ตหรือตัวอักษรนั้น มีเสียง
สูงขึ้น ครึ่งเสียง หรือ 1 เฟร็ตของกีตาร์ (1 Fret)
b (Flat) เขียนไว้หน้าตัวโน้ตหรือหลังตัวอักษร จะทาให้ตัวโน้ตหรือตัวอักษรนั้น มีเสียง
2. แฟล็ต
ต่าลง ครึ่งเสียง หรือ 1 เฟร็ตของกีตาร์ (1 Fret) 3. เนเจอรัล
(natural) เขียนไว้หน้าตัวโน้ตหรือหลังตัวอักษร จะทาให้ตัวโน้ตหรือตัวอักษรนั้น
เรียกคืนเสียงกลับสู่ระดับเดิม การบันทึกไว้หน้าตัวโน้ต ถ้าตัวโน้ตเป็น F E C เครื่องหมายนี้ก็จะอยู่ในตาแหน่งของ F E C เช่นเดียวกัน
โน้ต F อยู่ในช่องที่ 1 เครื่องหมาย # ก็จะต้องอยู่ในช่องที่ 1 ด้วย อ่านว่า เอฟชาร์ป โน้ต E คาบที่เส้นที่ 1 เครื่องหมาย
b ก็จะอยู่ในตาแหน่งคาบที่เส้นที่ 1 อ่านว่า อีแฟล็ต
โน้ต C อยู่ในช่องที่ 3 เครื่องหมาย ก็จะต้องอยู่ในช่องที่ 3 ด้วย อ่านว่า ซีเนเจอรัล การบันทึกไว้หลังตัวอักษร ถ้าเป็นตัวอักษร
G เครื่องหมายแปลงเสียงจะเขียนอยู่ด้านหลังในแนวบน
(อีแฟล็ต) ส่วนเครื่องหมาย เนเจอรัล
อ่านว่า จีชาร์ป
ไม่ต้องใช้กับตัวอักษร เพียงแต่เขียนตัวอักษรธรรมดา
ก็แสดงว่าเป็นเสียงระดับเดิม เครื่องหมายตั้งบันไดเสียง ( Time signature ) เป็นเครื่องหมายที่เขียนต่อจากกุญแจเสียง เพื่อบ่งชี้ว่าในการบันทึกโน้ตแต่ละห้องเพลงนั้น จะมี จานวนตัวโน้ต หรือจังหวะนับจานวนเท่าใด และจะต้องมีค่าเท่ากันทุกห้องเพลงยกเว้นมีการเปลี่ยนแปลง พิเศษ จะประกอบด้วยเลขอารบิค 2 ตัวซ้อนกันในแนวตั้ง เช่น
อ่านว่า สอง – สอง ดังตัวอย่างต่อไปนี้
7
1. เลขด้านล่างเป็น 2 เช่น
เป็นการบ่งบอกว่า เลข 2 ด้านล่างหมายถึง
เลข 2 ด้านบน หมายถึงจานวน
( 2 ตัว )
และอาจแตกกระจายค่าให้เป็นโน้ตตัวอื่นๆ แต่นับแล้วต้องไม่เกินหรือขาดจาก 2. เลขตัวล่างเป็น 4 เช่น
เป็นการบ่งบอกว่า เลข 4 ด้านล่างหมายถึง
เลข 4 ด้านบน หมายถึงจานวน
( 4 ตัว )
และอาจแตกกระจายค่าให้เป็นโน้ตตัวอื่นๆ แต่นับแล้วต้องไม่เกินหรือขาดจาก 3. เลขตัวล่างเป็น 8 เช่น
เป็นการบ่งบอกว่า เลข 8 ด้านล่างหมายถึง
เลข 6 ด้านบน หมายถึงจานวน
( 6 ตัว ) และอาจแตกกระจายค่าให้เป็นโน้ตตัวอื่นๆ แต่นับแล้วต้องไม่เกินหรือขาดจาก ความนิยมในการเขียนเครื่องหมาย ความรู้พื้นฐานทางดนตรี ( Rudiments of music ) ดนตรี ได้ถูกสร้างขึ้นจากการกาหนดระดับเสียง ( pitch ) ความสั้น – ยาว ( duration ) ตัวหยุด ( rest ) และการแบ่งห้อง ( bar lines ) ของการบันทึกโน้ต ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 1. ระดับเสียงตัวโน้ต (
pitch )
8
2. ความสั้น
– ยาวตัวโน้ต ( duration )
3. ตัวหยุด ( rest )
4. เส้นกั้นห้อง
( bar lines )
นาสัญลักษณ์ทั้ง 4 ข้อ มาเรียงร้อยเป็นเพลงได้ดังนี้
ค่าความสัมพันธ์ของตัวโน้ต ( relative value of notes ) เป็นการเปรียบเทียบค่าของตัวโน้ตที่สัมพันธ์กันเกี่ยวกับความสั้น – ยาว ของโน้ตแต่ละรูปแบบ เปรียบได้กับค่าของเหรียญ 1 บาท สามารถแตกค่าออกเป็นเหรียญ 1 สลึงได้ 4 อัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
การขึ้นสาย ( Tuning ) อูคูเลเล่ เป็นเครื่องดนตรีที่สามารถขึ้นสายได้ 2 แบบคือ - ขึ้นสายแบบบันไดเสียง D สายเปล่าทั้งหมด เมื่อขึ้นสายแล้วจะเป็นคอร์ด D major 6th
9
- ขึ้นสายแบบบันไดเสียง C เมื่อขึ้นสายแล้วสายเปล่าทั้งหมด จะเป็นคอร์ด C major 6th
วิธีการขึ้นสายบันไดเสียง C ( C major 6th ) 1. ขึ้นสายเส้นที่ 3 ก่อน ด้วยเสียง C ด้วยระดับเสียงที่สูงเหนือกว่า middle C หนึ่งออกเตฟ ( 1 Octave)
2. กดนิ้วลงบนเส้นที่ 3 ช่องที่ 4 จะได้เสียง E แล้วขึ้นสายที่ 2 ให้มีเสียง E เท่ากับสายที่ 3
3. กดนิ้วลงบนเส้นที่ 2 ช่องที่ 5 จะได้เสียง
A แล้วขึ้นสายที่ 1 ให้มีเสียง A เท่ากับสายที่ 2
4. กดนิ้วลงบนเส้นที่ 2 ช่องที่ 3 จะได้เสียง
G แล้วขึ้นสายที่ 4 ให้มีเสียง G เท่ากับสายที่ 2
วิธีบรรเลงอูคูเลเล่ การบรรเลงอูคูเลเล่ สามารถทาได้ 2 แบบคือ 1. ใช้นิ้วดีดโดยตรง
( finger style )
2. ใช้ปิ๊คดีด ( plectrum ) หรือเรียกว่า ( pick style )
10
1. ใช้นิ้วดีดโดยตรง ( finger style ) ทาได้ 2 แบบคือ 1.1 การตีคอร์ด (strumming ) สามารถใช้นิ้วโป้งหรือนิ้วชี้ ตีคอร์ดได้ แต่วิธีที่ต้องฝึกฝนมากเป็น พิเศษคือการตีคอร์ดแบบ กรีดนิ้ว ( roll ) มีวิธีเล่นดังนี้ - ใช้นิ้วกรีดลง ( down stroke roll ) โดยเริ่มจากนิ้วก้อย นิ้วนาง นิ้วกลาง นิ้วชี้ และจบด้วย นิ้วโป้ง กรีดลงไปที่สายทั้งสี่เส้นตามลาดับ โดยไม่ต้องสะบัดข้อมือ ใช้เครื่องหมาย - ใช้นิ้วกรีดขึ้น (
up stroke roll ) ทาย้อนกลับจากข้อที่ 1 คือ เริ่มจาก นิ้วโป้ง ตามด้วยนิ้วชี้
นิ้วกลาง นิ้วนาง และน้อยก้อย กรีดลงไปที่สายตามลาดับโดยไม่ต้องสะบัดข้อมือ ใช้เครื่องหมาย 1.2 การดีดทีละเส้น (
picking style ) คือการบรรเลงที่สามารถสร้างทานองและจังหวะได้พร้อมกัน
ซึ่งทาให้เพลงมีความไพเราะและสมบูรณ์มากขึ้น ผู้ฝึกจะต้องจดจาสัญลักษณ์ประจานิ้วมือขวาและซ้ายดังนี้ - นิ้วมือซ้าย ไม่ใช้
= นิ้วโป้ง 1
=
นิ้วชี้
2
= นิ้วกลาง
3
= นิ้วนาง
4
= นิ้วก้อย - นิ้วมือขวา
x
= นิ้วโป้ง =
นิ้วชี้
= นิ้วกลาง = นิ้วชี้และนิ้วกลาง = นิ้วโป้ง นิ้วชี้และนิ้วกลาง 2. ใช้ปิ๊ค ( plectrum ) ใช้นิ้วโป้งและนิ้วชี้มือขวาจับปิ๊กให้มั่นคง ดีดขึ้นและลงตามเครื่องหมาย ( ดีดพร้อมกันทั้ง 4 เส้น )
11
การการบันทึกโน้ตและแท็บ ( note and tab ) แท็บ หรือ แท็บเลเจอร์ ( tab or tablature ) เป็นรูปแบบของโน้ตดนตรีที่แสดง ตาแหน่งของนิ้ว ( fingering ) แทนการใช้ตัวโน้ต ซึ่งมีใช้มาตั้งแต่ยุค เรเนสซองและบาร๊อค โดยเฉพาะเครื่องดนตรีที่มีเฟล็ต ( fretted stringed instruments ) เช่น ลู้ท ( lute ) กีตาร์ (gutar ) สามารถบันทึกได้ทั้งคอร์ดและทานองเพลง วิธีการอ่านแท็บอูคูเลเล่ แท็บของคูคูเลเล่ จะประกอบด้วยเส้นตรงขนานกัน 4 เส้น โดยเรียกเส้นบนสุดเป็นเส้นที่ 1 เส้น ต่อมาเป็น 2 , 3 และ 4 ตามลาดับ โดยเส้นที่ 1 จะหมายถึงสายที่ 1 บนอูคูเลเล่ด้วย และสาย 2, 3 และ 4 ก็ เช่นเดียวกัน การบันทึกตัวเลขบนแท็บ จะบันทึกทับลงบนเส้นเท่านั้น ดังตัวอย่าง
ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 ฯลฯ ที่บันทึกอยู่บนเส้น แสดงถึงตาแหน่งของการกดนิ้วซ้ายลงบนเฟล็ต เช่น สายที่ 1 ใช้นิ้วมือซ้ายกดลงบนเฟล็ตที่ 5 หรือ สาย ที่ 2 ใช้นิ้วมือซ้าย กดลงบนเฟล็ตที่ 2 ฯลฯ การเล่นให้ เล่นเฉพาะสายที่มีตัวเลขเท่านั้น ถ้าไม่มีตัวเลขแสดงว่าไม่ต้องเล่นสายนั้น ดังตัวอย่าง
สายที่ 3 และ 4 ไม่ต้องเล่น
สายที่ 4 ไม่ต้องเล่น
12
การฝึกสายเปล่า ( open string ) ดังที่ได้กล่าวแล้วข้างต้นว่า สายทั้ง 4 เส้นของอูคูเลเล่ ประกอบด้วย เสียง A, E, C และ G การบันทึก และการอ่าน มีความแตกต่างกันที่สายที่ 4 ( G ) จะเขียนด้วยตัวโน้ตเสียงต่าแต่เสียงที่ได้จะสูงกว่า 1 อ๊อกเตฟ
แบบฝึกสายเปล่า 1
เลข 0 ที่ตัวโน้ต หมายถึง นิ้วมือซ้าย ( สายเปล่า ) เลข 0 ที่
Tab หมายถึง นิ้วมือขวา ( สายเปล่า ) X หมายถึง ใช้นิ้วโป้งมือขวาดีด
แบบฝึกสายเปล่า 2
หมายถึง นิ้วชี้ และนิ้วกลางมือขวาดีดพร้อมกัน โน้ตที่ไม่ได้กาหนดสัญลักษณ์ หมายถึงดีดเหมือนห้องแรก วิธีฝึก - ดีดช้าๆจนสามารถจาตาแหน่งการวางนิ้วมือขวาได้ - ดีดโดยมองที่โน้ตไม่ต้องมองนิ้วมือขวา - ดีดจนจาได้และเล่นให้เร็วขึ้นเท่าที่จะทาได้
13
การฝึกเล่นคอร์ด สามารถเล่นได้ทั้งแบบ
นิ้วดีด (finger style) และใช้ปิ๊คดีด (plectrum) ในการฝึกเบื้องต้น จะใช้
คอร์ดเพียง 3 คอร์ด ได้แก่ คอร์ด F คอร์ด C และคอร์ด Dm เพื่อฝึกเพลง เดือนเพ็ญ ประพันธ์โดย อัศนี พลจันทร์ โดยฝึกใน 3 รูปแบบคือ 1. ฝึกเล่นคอร์ดพร้อมกับร้องเพลง โดยเปลี่ยนคอร์ดให้ตรงกับเนื้อเพลง
14
15
2. บรรเลงคนเดียวเฉพาะทานองด้วยแท็ปเลเจอร์
3. บรรเลงสองคน โดยเล่นคอร์ด 1 คน และเล่นทานอง 1 คน
16
ใบบทฝึกเล่นที่ 1 นี้ ให้ท่านที่สนใจได้ฝึกด้วยตัวเองก่อน เมื่อพบข้อสงสัย หรือต้องการเรียนใน ระดับที่สูงขึ้น โปรดติดต่อ ผศ.ศิริพงษ์ แก้วพลอย siripongkae@gmail.com ฝึกเพลงบรรเลงที่สามารถบรรเลงเดี่ยว เพลงที่ 1 เป็นเพลงในสไตล์ แร็คทาม (Rag time) เมื่อผู้เรียนสามารถจาเพลงได้ทั้งหมดแล้ว สามารถแต่งเติม ทานองที่ต้องการได้ หรือเรียกว่า ด้นสด (Improvise) Rag time study ท่อนที่ 1 (ไม่ทราบชื่อผู้แต่ง)
17
ในการฝึกบรรเลงเดี่ยวท่อนที่ 1 นี้ ให้ท่านที่สนใจได้ฝึกด้วยตัวเองก่อน เมื่อพบข้อสงสัย หรือต้องการเรียน ในระดับที่สูงขึ้น โปรดติดต่อ ผศ.ศิริพงษ์ แก้วพลอย siripongkae@gmail.com Rag time study ท่อนที่ 2
18
Rag time study ท่อนที่ 3
19