เดินชิลล์ ริมเลน

Page 1

เดิ น ชิ ล ล์ ริ ม เลน

อนุรักษ์ป่า ปลูกป่าเลนที่ชายเล

ป่าไม่และชายเลน ป่​่าชายเลนเป็​็นระบบนิ​ิเวศของป่​่าชายฝั่​่�งที่​่�ทนต่​่อ สภาพความเค็​็มได้​้และเป็​็นกลุ่​่�มแรกของสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิต ที่​่�บุ​ุกเบิ​ิกชี​ีวิ​ิตความเป็​็นอยู่​่�ลงไปสู่​่�ทะเล

อ่​่าวคุ้​้�งกระเบน หรื​ือชื่​่�อเรี​ียกเต็​็มๆ คื​ือ ศู​ูนย์​์ศึ​ึกษาการพั​ัฒนาอ่​่าวคุ้​้�งกระเบนอั​ัน เนื่​่�องมาจากพระราชดำำ�ริ​ิ อยู่​่�ที่​่� ตำำ�บลคลองขุ​ุด อำำ�เภอท่​่าใหม่​่ จั​ังหวั​ัดจั​ันทบุ​ุรี​ี


สารบัญ

6-17

ป่​่าไม้​้และชายเลน มุ่งหน้าสู่การสำ�รวจ อนุ​ุรั​ักษ์​์ป่​่าโกงกางให้​้สิ่​่�งแวดล้​้อมอยู่​่� กั​ับเรา

18-31

อนุรักษ์ ป่​่าคื​ือปอดของเรา คนแปลกหน้​้าชวนปลู​ูกป่​่า บางปูสุขใจ อ่าวคุ้งกระเบน หาเรื่​่�องเข้​้าป่​่า

2


32-43

คุณค่าของป่าโกงกาง โกงกางรักษาโรค โกงกางสร้างอาชีพ โรงเรียนของสัตว์เล็ก

44-55 โลกของป่​่าเลน

3


บรรณาธิการ สำำ�หรั​ับคนทำำ�งานนิ​ิตยสารคนหนึ่​่�งก็​็ได้​้แต่​่บอกว่​่า รู้​้�สึ​ึกเศร้​้าใจกั​ับทิ​ิศทางที่​่�กำำ�ลั​ังเกิ​ิดขึ้​้�นต้​้องยอมรั​ับ ว่​่ารายได้​้หลั​ักของนิ​ิตยสารส่​่ วนใหญ่​่นั้​้�นมาจาก การขายหน้​้าโฆษณาและเมื่​่�อเม็​็ดเงิ​ินสำำ�หรั​ับการ โฆษณาย้​้ายจากสิ่​่�งพิ​ิมพ์​์ไปอยู่​่�ที่​่�สื่​่�อโทรทั​ัศน์​์ สื่​่�อ ดิ​ิจิ​ิทั​ัล หรื​ือการจั​ัดอี​ีเวนต์​์ต่​่าง ๆ ก็​็ย่​่อมกระทบกั​ับ ความอยู่​่�รอดของนิ​ิ ต ยสารโดยตรงเมื่​่� อ บวกกั​ั บ การเสพเนื้​้� อ หาสาระหรื​ือที่​่� เ รี​ียกกั​ั น ว่​่ า “คอน เทนต์​์”ของผู้​้�อ่​่าน เปลี่​่�ยนจากบนหน้​้ากระดาษไป อยู่​่�ในโลกดิ​ิจิ​ิทั​ัลออนไลน์​์มากขึ้​้�นเรื่​่�อย ๆ เราจึ​ึง จั​ั ด ทำำ� เป็​็ น นิ​ิ ต ยสารออนไลน์​์ ขึ้​้� น มาเพื่​่� อ นำำ� เสนอ ป่​่ า ชายเลนเป็​็ น แหล่​่ ง ทรั​ั พ ยากรที่​่� มี​ีคุ​ุ ณ ค่​่ า มหาศาลต่​่ อ มนุ​ุ ษ ย์​์ ปั​ั จ จุ​ุ บั​ั น ป่​่ า ชายเลนของ ประเทศถู​ูกบุ​ุกรุ​ุกทำำ�ลาย และถู​ูกเปลี่​่�ยนสภาพไป ใช้​้ประโยชน์​์ในด้​้านอื่​่�นๆเป็​็นจำำ�นวนมาก

นั​ักอนุ​ุรั​ักษ์​์ทรั​ัพยากรป่​่าโกงกาง มี​ีหน้​้าที่​่�รั​ับผิ​ิด ชอบในการฟื้​้�นฟู​ูทรั​ัพยากรป่​่าชายเลนให้​้กลั​ับคื​ืน ความอุ​ุดมสมบู​ูรณ์​์โดยสิ่​่�งสำำ�คั​ัญก็​็คื​ือ จะต้​้องได้​้ รั​ับความร่​่วมมื​ือจากประชาชนทุ​ุกหมู่​่�เหล่​่าดั​ังนั้​้�น การเผยแพร่​่ความรู้​้�ด้​้านป่​่าชายเลนแก่​่ประชาชน ผู้​้�มี​ีส่​่วนร่​่วมเป็​็นเรื่​่�องสำำ�คั​ัญจึ​ึงได้​้จั​ัดทำำ�นิ​ิติ​ิยสาร ออนไลน์​์ความรู้​้�เรื่​่�องโกงกางนี้​้�ขึ้​้�นเพื่​่�อให้​้นั​ักเรี​ียน ชั้​้�นประถมศึ​ึกษาปี​ีที่​่� 5 ได้​้เรี​ียนรู้​้�เกี่​่�ยวเรื่​่�องป่​่า โกงกางและผู้​้�สนใจได้​้นำำ�ไปศึ​ึกษาด้​้วยตนเองโดย คณะผู้​้�จั​ั ด ทำำ� นิ​ิ ต ยสารออนไลน์​์ นี้​้� ไ ด้​้ รว บรวม ข้​้อมู​ูลทั่​่�วไปเกี่​่�ยวกั​ับป่​่าโกงกาง เช่​่น เกี่​่�ยวกั​ับการ อนุ​ุรั​ักษ์​์ การลดลงของป่​่าชายเลน สั​ัตว์​์ พั​ันธุ์​์�ไม้​้ และ พื​ืชที่​่�ขึ้​้�นอยู่​่�ในป่​่าโกงกาง เป็​็นต้​้น

#อาสาพาไปหลง

4


5


6


ป่​่ าไม้​้ และ

ชายเลน

ป่​่าชายเลน เป็​็นระบบนิ​ิเวศของป่​่าชายฝั่​่�งที่​่�ทนต่​่อสภาพความเค็​็มได้​้ และเป็​็ น กลุ่​่� ม แรกของสิ่​่� ง มี​ีชี​ีวิ​ิ ต ที่​่� บุ​ุ กเบิ​ิ ก ชี​ีวิ​ิ ต ความเป็​็ น อยู่​่� ล งไปสู่​่�ท ะเล พร้​้อมๆ กั​ับการชั​ักนำำ�พื้​้�นแผ่​่นดิ​ินให้​้รุ​ุกล้ำำ��ตามลงไปในทะเล จึ​ึงนั​ับเป็​็น ปราการด่​่านแรกระหว่​่างบกกั​ับทะเล โดยจะประกอบด้​้วยพั​ันธุ์​์�ไม้​้ สั​ัตว์​์ นานาชนิ​ิดตลอดจนสภาพแวดล้​้อมอื่​่�น ๆ เช่​่น การขึ้​้�นลงของน้ำำ��ทะเล ดิ​ินเลนที่​่�มี​ีอิ​ินทรี​ียสารเป็​็นจำำ�นวนมากฯลฯ อยู่​่�รวมกั​ันเป็​็นระบบ

ป่าไม้และชายเลน เรื่อง : อภิวัฒน์ ภาพ ; เรื่อง

7


ป่​่าชายเลน เป็​็นกลุ่​่�มของสั​ังคมพื​ืช ซึ่​่�งส่​่วนใหญ่​่จะเป็​็นไม้​้ไม่​่ผลั​ัดใบ มี​ีลั​ักษณะทางเสรี​ีวิ​ิทยาและ การปรั​ับตั​ัวทางโครงสร้​้าง ที่​่�คล้​้ายคลึ​ึงกั​ันและการขึ้​้�นของพรรณไม้​้ในป่​่าชายเลน จะขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับแนว เขต ซึ่​่�งผิ​ิดแปลกไปจากสั​ังคมพื​ืชป่​่าบก ทั้​้�งนี้​้�เพราะอิ​ิทธิ​ิพลจากลั​ักษณะของดิ​ิน ความเค็​็มของน้ำำ�� ทะเลและการขึ้​้�นลงของน้ำำ��ทะเลเป็​็นสำำ�คั​ัญสำำ�หรั​ับแนวเขตที่​่�เด่​่นชั​ัดของป่​่าชายเลน ได้​้แก่​่โกงกาง ทั้​้�งโกงกางใบเล็​็กและโกงกางใบใหญ่​่จะขึ้​้�นอยู่​่�หนาแน่​่นบนพื้​้�นที่​่�ใกล้​้ฝั่​่�งทะเลไม้​้แสมและประสั​ัก จะ อยู่​่�ถั​ัดจากแนวเขตของโกงกาง ไม้​้ตะบู​ูน จะอยู่​่�ลึ​ึกเข้​้าไปจากแนวเขตของไม้​้แสมและประสั​ัก เป็​็น พื้​้�นที่​่�ที่​่�มี​ีดิ​ินเลน แต่​่มั​ักจะแข็​็งส่​่วนบพื้​้�นที่​่�ดิ​ินเลนที่​่�ไม่​่แข็​็งมากนั​ักและมี​ีน้ำำ��ทะเลท่​่วมถึ​ึงเสมอ จะมี​ีไม้​้ โปรง รั​ังกะแท้​้ และฝาด ขึ้​้�นอยู่​่�อย่​่างหนาแน่​่น ไม้​้เสม็​็ด จะขึ้​้�นอยู่​่�แนวเขตสุ​ุดท้​้าย ซึ่​่�งเป็​็นพื้​้�นที่​่�เลน แข็​็งที่​่�มี​ีน้ำำ��ทะเลท่​่วม ถึ​ึงเป็​็นครั้​้�งคราว เมื่​่�อระดั​ับน้ำำ��ทะเลขึ้​้�นสู​ูงสุ​ุดเท่​่านั้​้�น และแนวเขตนี้​้�ถื​ือว่​่าเป็​็น แนวติ​ิดต่​่อระหว่​่างป่​่าชายเลนกั​ับป่​่าบก สำำ�หรั​ับพวกปรง จะพบทั่​่�วๆ ไปในป่​่าชายเลน แต่​่จะขึ้​้�น อย่​่างหนาแน่​่นในพื้​้�นที่​่�ที่​่�ถู​ูกถาง

8


ป่ า เลน เรื ่ อ ง / ภาพ : อภิ ว ั ฒ น์

ป่าไม้และชายเลนเรื่อง / ภาพ : อภิวัฒน์

9


มุ่​่�งหน้​้าสู่​่�การสำำ�รวจป่​่า มี​ีการพบว่​่าในช่​่วง พ.ศ. 2560-2561 จากข้​้อมู​ูล การแปลภาพถ่​่ายดาวเที​ียมของกรมป่​่าไม้​้ พบว่​่า ประเทศไทยมี​ีพื้​้�นที่​่�ป่​่าชายเลนคงสภาพทั้​้�งหมด ประมาณ 1,538,185 ไร่​่ เพิ่​่�มขึ้​้�นร้​้อยละ 0.24 จาก พ.ศ. 2557 ที่​่�มี​ีพื้​้�นที่​่�ทั้​้�งหมด 1,534,585 ไร่​่ กระจายอยู่​่� บ ริ​ิ เ วณชายฝั่​่� ง ทะเลภาคตะวั​ั น ออก ภาคกลาง และภาคใต้​้ รวม 24 จั​ังหวั​ัด เมื่​่�อ พิ​ิจารณาพื้​้�นที่​่�ป่​่าชายเลนในช่​่วง 23 ปี​ีที่​่�ผ่​่านมา พบว่​่าพื้​้�นที่​่�ป่​่าชายเลนมี​ีแนวโน้​้มที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น

10


ป่าไม้และชายเลนเรื่อง / ภาพ : อภิวัฒน์

11


12


ปั​ัจจุ​ุบั​ันป่​่าชายเลนของประเทศไทย ซึ่​่�งขึ้​้�นอยู่​่�ตาม บริ​ิเวณช่​่ายฝั่​่�งทะเลที่​่�เป็​็นโคลนตมและบริ​ิเวณที่​่�เชื่​่�อมต่​่อ กั​ับแม่​่น้ำำ��ลำำ�ธารในบริ​ิเวณชายฝั่​่�งของอ่​่าวไทย ชายฝั่​่�ง ทะเลด้​้านตะวั​ันออกและด้​้านตะวั​ันตกของภาคใต้​้ นั​ับแต่​่ จะลดพื้​้�นที่​่�ลงเนื่​่�องจากกิ​ิจกรรมต่​่าง ๆ ที่​่�ใช้​้ประโยชน์​์ พื้​้�นที่​่�ป่​่าชายเลน จนทำำ�ให้​้เกิ​ิดความเสื่​่�อมโทรมทำำ�ลายป่​่า ชายเลน ซึ่​่�งมี​ีดั​ังนี้​้� การป่​่าไม้​้ทั้​้�งการทำำ�ไม้​้สั​ัมปทาน ตาม วิ​ิธี​ีการที่​่�รั​ัฐกำำ�หนดการทำำ�ป่​่าไม้​้ในเขตสั​ัมปทาน แต่​่หลี​ีก เลี่​่�ยงไม่​่ทำำ�ตามข้​้อกำำ�หนดของรั​ัฐรวมทั้​้�งการบุ​ุกรุ​ุกทำำ�ลาย ป่​่าในพื้​้�นที่​่�ป่​่าชายเลนบริ​ิเวณพื้​้�นที่​่�โครงการการเกษตร กรรมในพื้​้�นที่​่�ป่​่าชายเลนการทำำ�เหมื​ืองแร่​่ในพื้​้�นที่​่�ป่​่าชาย เลนการขยายตั​ัวของชุ​ุมชนการก่​่อสร้​้างท่​่าเที​ียบเรื​ือทุ​ุกข นาด การก่​่อสร้​้างอู่​่�ต่​่อเรื​ือและสะพานปลา การก่​่อสร้​้าง ถนนรวมทั้​้�งสายส่​่งไฟฟ้​้าการก่​่อสร้​้าง โรงงาน อุ​ุตสาหกรรม การขุ​ุดลอกร่​่องน้ำำ�� โดยตั​ัดฟั​ันไม้​้เพื่​่�อนำำ�มา ใช้​้ประโยชน์​์ เฉพาะการทำำ�บ่​่อเพาะเลี้​้�ยงสั​ัตว์​์น้ำำ��และ สถานี​ีเพาะพั​ันธุ์​์�สั​ัตว์​์น้ำำ��

ป่าไม้และชายเลนเรื่อง / ภาพ : อภิวัฒน์

13


ป่าไม้และชายเลน / ภาพ : อภิวัฒน์

14


อนุ​ุรั​ักษ์​์ป่​่าโกงกางให้​้สิ่​่�ง ในปั​ัจ จุ​ุบั​ัน ป่​่า ชายเลนของประเทศไทย ซึ่ง่� ขึ้​้�น อยู่​่�ต ามบริ​ิเวณช่​่า ยฝั่​่ง� ทะเลที่​่เ� ป็​็นโคลนตม และบริ​ิเวณที่​่เ� ชื่​่�อมต่​่อกั​ับแม่​่น้ำำ��ลำำ �ธารในบริ​ิเวณชายฝั่​่งของอ่​่ � าวไทย ชายฝั่​่งทะเลด้​้ � าน ตะวั​ันออกและด้​้านตะวั​ันตกของภาคใต้​้ นั​ับแต่​่จะลดพื้​้�นที่​่ล� งเนื่​่�องจากกิ​ิจกรรมต่​่าง ๆ ที่​่ � ใช้​้ประโยชน์​์พื้​้น� ที่​่ป่� า่ ชายเลน จนทำำ �ให้​้เกิ​ิดความเสื่​่�อมโทรมทำำ �ลายป่​่าชายเลน ซึ่ง่ � พอ จะจำำ �แนกได้​้ดังั นี้​้� การป่​่าไม้​้ หมายถึ​ึง ทั้​้�งการทำำ �ไม้​้สัมั ปทาน ตามวิ​ิธี​ีการที่​่รั� ฐั กำำ�หนดการ ทำำ�ป่า่ ไม้​้ ในเขตสั​ัมปทาน แต่​่หลี​ีกเลี่​่ย� งไม่​่ทำำ �ตามข้​้อกำำ�หนดของรั​ัฐ รวมทั้​้�งการบุ​ุกรุ​ุก ทำำ�ลายป่​่า โดยตั​ัดฟั​ันไม้​้เพื่​่�อนำำ�มาใช้​้ประโยชน์​์ , การเพาะเลี้​้�ยงสั​ัตว์น้ำ์ ำ� � หมายถึ​ึง เฉพาะ การทำำ�บ่อ่ เพาะเลี้​้�ยงสั​ัตว์น้ำ์ ำ�� , และสถานี​ีเพาะพั​ันธุ์​์�สั​ัตว์น้ำ์ ำ� �ในพื้​้�นที่​่ป่� า่ ชายเลนบริ​ิเวณ พื้​้�นที่​่ � โครงการ , การเกษตรกรรมในพื้​้�นที่​่ป่� า่ ชายเลน , การทำำ�เหมื​ืองแร่​่ ในพื้​้�นที่​่ป่� า่ ชาย เลน , การขยายตั​ัวของชุ​ุมชน , การก่​่อสร้​้างท่​่าเที​ียบเรื​ือทุ​ุกขนาด , การก่​่อสร้​้างอู่​่ต่� อ่ เรื​ือและสะพานปลา , การก่​่อสร้​้างถนน รวมทั้​้�งสายส่​่งไฟฟ้​้า , การก่​่อสร้​้างโรงงาน อุ​ุตสาหกรรมการขุ​ุดลอกร่​่องน้ำำ ��

15


16


อนุ​ุรั​ั ก ษ์​์ ป่ ่ า โกงกาง ให้​้สิ่​่� งแวดล้​้อมอยู่​่�กั​ับเรา

17


อนุรักษ์ เรื่อง/ภาพ ; ชลธิชา เซ็งเพรียว

18


อนุ​ุรั​ักษ์​์

การปลู​ูกและการฟื้​้�นฟูปู่ ่าชายเลน มี​ีความจำำ�เป็​็นอย่​่างยิ่​่�งในการอนุ​ุรั​ักษ์​์ระบบนิ​ิเวศชายฝั่​่�งที่�่ สำำ�คั​ัญนี้​้�ไว้​้ให้​้อนุ​ุชนรุ่​่�นหลั​ังต่​่อไป การปลู​ูกและฟื้​้�นฟูปู่ ่าชายเลนเป็​็นมาตรการหนึ่​่�งในการเลี่​่�ยง และการลด ผลกระทบเนื่​่�องจากกิ​ิจกรรมการใช้​้ประโยชน์​์ป่​่าชายเลน การปลู​ูกและฟื้​้นฟู � ูป่​่าชายเลนช่​่วยเพิ่​่�มความอุ​ุดม สมบู​ูรณ์​์ของอาหาร ทั้​้�งสารอาหาร ปริ​ิมาณอิ​ินทรี​ีย์​์สารและปริ​ิมาณสั​ัตว์​์ทะเลหน้​้าดิ​ิน และเพิ่​่ม� ความหลาก หลายของถิ่​่�นที่​่�อยู่​่�อาศั​ัยของสั​ัตว์​์น้ำำ��ในการดำำ�เนิ​ินการปลู​ูกและฟื้​้�นฟู​ูป่​่าชายเลนไม่​่ใช่​่สิ่​่�งที่​่�ทำำ�ได้​้ง่​่ายโดยมี​ี การลงทุ​ุนมหาศาลอี​ีกทั้​้�งต้​้องการเทคนิ​ิคในการปลู​ูกและฟื้​้�นฟู​ู โดยเฉพาะ ปั​ัญหาอยู่​่�ที่​่�การกำำ�หนดสภาพเดิ​ิม ของป่​่าชายเลนก่​่อนมี​ีการเปลี่​่�ยนแปลง โดยเฉพาะลั​ักษณะเฉพาะของป่​่าชายเลนนั้​้�นๆ และความหลาก หลายทางชี​ีวภาพ เป็​็นต้​้น ปั​ัญหาที่​่�ตามมา คื​ือ 1. ไม่​่สามารถบอกได้​้ถึ​ึงการเปลี่​่�ยนแปลงทางพั​ันธุ​ุกรรมที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นแล้​้ว และกำำ�ลั​ังดำำ�เนิ​ินต่​่อไป 2. การขาดความเข้​้าใจในความแปรปรวนตามธรรมชาติ​ิที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นในระบบนิ​ิเวศ 3.การขาดความความรู้​้�ในเรื่​่�องการฟื้​้นฟู � ูระบบนิ​ิเวศและกระบวนการที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง 4.การลงทุ​ุนที่​่�สู​ูงมากแต่​่อย่​่างไรก็​็ตามยั​ังสามารถดำำ�เนิ​ินการได้​้โดยควรมี​ีวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ที่​่�แน่​่นอนใน การปลู​ูกและฟื้​้�นฟู​ูป่​่าชายเลน กิ​ิจกรรมการฟื้​้นฟู � ูอาจทำำ�ได้​้ 4 วิ​ิธี​ี คื​ือ 1. การลดปั​ัญหาด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อม เช่​่น การลดการตั​ัดไม้​้ทำำ�ลายป่​่า 2. การเติ​ิมวั​ัสดุ​ุลงไป พื​ืช สั​ัตว์​์ ปุ๋​๋�ย หรื​ือการปรั​ับสภาพดิ​ิน 3. การเร่​่งหรื​ือการลดกระบวนการในระบบนิ​ิเวศ เช่​่น การเร่​่งการเกิ​ิดลู​ูกไม้​้ตามธรรมชาติ​ิ 4. การเปลี่​่�ยนแปลงสภาพพื้​้�นที่�่ เช่​่น การทลายคั​ันดิ​ินกั้​้�นน้ำำ�� เป็​็นต้​้น การฟื้​้�นฟู​ูสภาพป่​่าชายเลน ควร ได้​้รั​ับความร่​่วมมื​ือจากนั​ักวิ​ิชาการหลายสาขาวิ​ิชา ในการหาวิ​ิธี​ีที่​่�เหมาะสมที่​่�ใช้​้ในการปลก และ ฟื้​้�นฟู​ู สภาพป่​่าชายเลนในแต่​่ละพื้​้�นที่​่� และควรมี​ีการประเมิ​ินผลของการปลู​ูก และฟื้​้�นฟู​ูป่​่าชายเลน ในแต่​่ละพื้​้�นที่​่�ว่​่าเป็​็นไปตามวั​ัตถุ​ุประสงค์​์หรื​ือไม่​่ ซึ่​่�งควรดำำ�เนิ​ินการศึ​ึกษาทั้​้�งด้​้านวิ​ิทยาศาสตร์​์และ สั​ังคมศาสตร์​์ด้​้วย นอกจากนี้​้�ควรมี​ีการประเมิ​ินค่​่าการลงทุ​ุนด้​้วย เช่​่น ค่​่าใช้​้จ่​่ายในการเตรี​ียม กล้​้าไม้​้ การปลู​ูกทดแทนตลอดจนค่​่าปรั​ับพื้​้�นที่​่�และการบำำ�รุ​ุงรั​ักษาด้​้วย ควรมี​ีการประเมิ​ินผลผลิ​ิตที่​่� ได้​้ จากพรรณไม้​้ และการประมงด้​้วยว่​่าได้​้คุ้​้�มค่​่ากั​ับการลงทุ​ุนหรื​ือไม่​่ ในแง่​่เศรษฐกิ​ิจนอกเหนื​ือ จากการประเมิ​ินทางด้​้านนิ​ิเวศวิ​ิทยา หรื​ือการอนุ​ุรั​ักษ์​์ทรั​ัพยากรป่​่าชายเลน

19


ป่​่าคื​ือปอดของเรา

ระบบนิ​ิ เ วศวิ​ิ ท ยาที่​่ � เ กิ​ิ ดขึ้​้ � น ในป่​่ า ชายเลนนั้​้� น เป็​็ น เรื่​่� อ งที่​่ � เ กี่​่ � ย วข้​้ อ งกั​ั บ ความสั​ั ม พั​ั น ธ์​์ ที่ ่ � มี​ี ต่​่ อ กั​ั น ระ ธรรมชาติ​ิ ช นิ​ิ ด ต่​่ า ง ๆ เมื่​่� อ ได้​้ รั ั บ แสงจากดวงอาทิ​ิ ตย์ ์ เพื่​่� อ ใช้​้ ใ นการสั​ั ง เคราะห์​์ แ สงจะทำำ � ให้​้ เ กิ​ิ ดอิ ิ น ทรี​ีย (producers) ของระบบส่​่ ว นต่​่ า ง ๆ ของต้​้ น ไม้​้ นอกเหนื​ื อ จากมนุ​ุษย์​์ นำ ำ � ไปใช้​้ ป ระโยชน์​์ จ ะร่​่ ว งหล่​่ น ทั​ั บ แร่​่ ธ าตุ​ุของพวกจุ​ุลิ​ิ น ทรี​ีย์​์ เช่​่ น แบคที​ีเรี​ีย เชื้​้� อ รา แพลงก์​์ ต อน ตลอดจนสั​ั ตว์ ์ เ ล็​็ ก ๆ หน้​้ า ดิ​ิ น (detritus consumers) พวกจุ​ุลิ​ิ น ทรี​ีย์​์ เหล่​่ า นี้​้� จ ะเจริ​ิ ญ เติ​ิ บ โตกลายเป็​็ น แหล่​่ ง อาหารของสั​ั ตว์ ์ น้ำ ำ � � เล็​็ ก จะเจริ​ิ ญ เติ​ิ บ โตเป็​็ น อาหารของพวกกุ้​้�ง ปู​ู และปลาขนาดใหญ่​่ ขึ้​้ � น ตามลำำ �ดั ั บ ของอาหาร (tropic leve เป็​็ น อาหารโดยตรงของสั​ั ตว์ ์ น้ำ ำ � � (litter feeding) ก็​็ ไ ด้​้ ซึ่​่ � ง ทั้​้� ง หมดจะเกิ​ิ ด เป็​็ น ห่​่ ว งโซ่​่ อ าหารขึ้​้� น ในระบ จะมี​ีความสมดุ​ุลในตั​ั ว ของมั​ั น เอง แต่​่ ถ้ ้ า มี​ีการเปลี่​่ � ย นแปลงเกิ​ิ ดขึ้​้ � น ในขั้​้� น ตอนใดขั้​้� น ตอนหนึ่​่� ง ก็​็ จ ะเป็​็ น ผ จนเกิ​ิ ด เป็​็ น ผลเสี​ียขึ้​้� น ได้​้ เช่​่ น ถ้​้ า หากพื้​้� น ที่​่ � ป่ ่ า ชายเลนถู​ูกบุ​ุกรุ​ุกทำำ � ลายจำำ � นวนสั​ั ตว์ ์ น้ำ ำ � �ก็ ็ จ ะลดลงตามไป

20


ะหว่​่ า งสิ่​่� ง มี​ีชี​ีวิ​ิ ตกั ั บ สิ่​่� ง แวดล้​้ อ ม พื​ื ช พรรณ ยวั​ั ตถุ​ุ และการเจริ​ิ ญ เติ​ิ บ โต กลายเป็​็ น ผู้​้�ผลิ​ิ ต บถมในน้ำำ � � และในดิ​ิ น ในที่​่ � สุ​ุดก็ ็ จ ะกลายเป็​็ น นที่​่ � เ รี​ียกกลุ่​่ � ม นี้​้� ว่ ่ า ผู้​้�บริ​ิ โ ภคของระบบ ก ๆ อื่​่� น ๆ และสั​ั ตว์ ์ เ ล็​็ ก ๆ เหล่​่ า นี้​้� els) นอกจากนี้​้� ใบไม้​้ ที่ ่ � ต กหล่​่ น โคนต้​้ น อาจ บบนิ​ิ เ วศป่​่ า ชายเลน และโดยธรรมชาติ​ิ แ ล้​้ ว ผลทำำ � ให้​้ ร ะบบความสั​ั ม พั​ั น ธ์​์ นี้​้ � ถู​ู กทำำ � ลายลง ปด้​้ ว ยตลอดจนอาจเกิ​ิดการเน่​่าเสี​ียของน้ำำ��

ป่าคือปอดเราเรื่อง/ภาพ ; ชลธิชา เซ็งเพรียว

อนุรักษ์ เรื่อง/ภาพ ; ชลธิชา เซ็งเพรียว

21


อนุรักษ์ เรื่อง/ภาพ ; ชลธิชา เซ็งเพรียว

คนแปลกหน้​้าชวนปลู​ูกป่​่า

ทุ​ุกวั​ันนี้​้�มี​ีกลุ่​่�มคนที่​่�ให้​้ความสนใจหรื​ือกลุ่​่�มคนที่​่�ให้​้ความสนใจหรื​ือกลุ่​่�มคนอนุ​ุรั​ักษ์​์มาทำำ�กจิ​ิกรรม ปลู​ูกป่​่าโกงกางกั​ันพอสมควรเพื่​่�อทดแทนป่​่าโกงกางที่​่�หมดสภาพไป การฟื้​้�นฟู​ูระบบนิ​ิเวศป่​่าชายเลนใน พื้​้�นที่​่�ที่​่�มี​ีอยู่​่�ก่​่อนหน้​้านี้​้� การปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฟื้​้�นฟู​ูป่​่าชายเลนเป็​็นพื้​้�นฐานต่​่อการสร้​้างวิ​ินั​ัยในการฟื้​้�นฟู​ูระบบนิ​ิเวศ ซึ่​่�งมี​ีวั​ัตถุ​ุประสงค์​์เพื่​่�อ “[ช่​่วยเหลื​ือ]การฟื้​้�นตั​ัวต่​่อความยื​ืดหยุ่​่�นและความสามารถใน-การปรั​ับตั​ัวของระบบ นิ​ิเวศที่​่�เสื่​่�อมโทรม, ได้​้รั​ับความเสี​ียหาย หรื​ือถู​ูกทำำ�ลาย ตั้​้�งแต่​่ผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมเป็​็นภั​ัยคุ​ุกคามอย่​่าง ต่​่อเนื่​่�อง เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดความสำำ�เร็​็จสำำ�หรั​ับการฟื้​้�นฟู​ูระบบนิ​ิเวศที่​่�มี​ีความหมาย จึ​ึงไม่​่เพี​ียงแต่​่คงไว้​้ซึ่�ง่ สภาพ เดิ​ิม หากแต่​่เพื่​่�อเสริ​ิมสร้​้างความสามารถในการปรั​ับตั​ัวเข้​้ากั​ับการเปลี่​่�ยนแปลงอยู่​่�ตลอดเวลา

22


ในปี​ี 2534 พระบาทสมเด็​็จพระปรมิ​ิ นทรมหาภู​ูมิ​ิพลอดุ​ุลยเดช เป็​็นพระมหากษั​ัตริย์ิ ์ ไทย รั​ัชกาลที่​่� 9 ทรงมี​ีพระราชดำำ�รัสั ให้​้ส่ว่ น ราชการที่​่เ� กี่​่ย� วข้​้อง ดู​ูแลฟื้​้นฟู​ูและอนุ​ุรั​ั � กษ์​์พื้​้น� ที่​่� ป่​่าชายเลนตามแนวแนวชายฝั่​่งทะเลของไทย � ที่​่ถู​ู� กทำำ�ลาย การไฟฟ้​้านครหลวงได้​้ร่ว่ มสนอง แนวพระราชดำำ�รัสั ในการเติ​ิมชี​ีวิ​ิตและลม หายใจแก่​่พื้​้น� ที่​่ป่� า่ ชายเลนของไทย ให้​้กลั​ับมา เป็​็นทรั​ัพย์​์ ในดิ​ินสิ​ินในน้ำำ��อันั มี​ีค่​่าของแผ่​่นดิ​ิน ไทยอี​ีกครั้​้ง� ด้​้วยการจั​ัดการโครงการปลู​ูกป่​่า ชายเลน ณ ป้​้อมพระจุ​ุลจอมเกล้​้า จั​ังหวั​ัด สมุ​ุทรปราการ รวมทั้​้�งการถ่​่ายทอดเรื่​่อ� งราว ของป่​่าชายเลน ในปฏิ​ิทินิ ประจำำ�ปี​ี 2548 ชุ​ุด “รั​ักษ์​์ป่า่ ชายเลน” นำำ�เสนอความสำำ�คัญ ั ความ งดงาม ความมี​ีชี​ีวิ​ิตชี​ีวาของผู้​้�คนและสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิ ตอื่​่�นๆ ที่​่ดำ� ำ�รงอยู่​่� ณ ป่​่าชายเลนที่​่อุ​ุด � มสมบู​ูรณ์​์ อั​ันจะก่​่อให้​้เกิ​ิดความตระหนั​ักและก่​่อพลั​ังในใจ ของคนไทย ในการร่​่วมกั​ันฟื้​้นฟู​ูและอนุ​ุรั​ั � กษ์​์ป่า่ ชายเลนของไทยให้​้เป็​็นสมบั​ัติขิ องแผ่​่นดิ​ิน

23


สถานตากอากาศบางปู ถือเป็นอีกแลนด์มาร์คสำ�คัญของจังหวัดสมุทรปราการ

ถูกสร้างขึน้ มาเมือ่ ปี พ.ศ. 2480 ตามดำ�ริของ จอมพลแปลก พิบลู สงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนัน้ มี พืน้ ทีท่ ง้ ั หมด 639 ไร่ ซึง่ เป็นทีพ ่ กั ผ่อนหย่อนใจ และออกกำ�ลังกายสำ�หรับชาวบางปูและระแวกใกล้เคียง เลยก็วา่ ได้ ในช่วงปลายเดือนตุลาคม ถึงเดือนมีนาคมของทุกปี จะมีนกนางนวลจำ�นวนมากอพยพหนี หนาวจากไซบีเรียจำ�นวนนกไม่ต�ำ ่ กว่า 5,000 ตัวในแต่ละปี เข้ามาทีส่ ถานตากอากาศบางปู ด้วยความ ทีม่ นี กเข้ามาเยอะเลยเป็นจุดสนใจ

24


อนุรักษ์ เรื่อง/ภาพ ; ชลธิชา เซ็งเพรียว

ทำ�ให้นกั ท่องเที่ยวต่างหลัง่ ไหลเข้ามาถ่ายรูป และให้อาหารนกกันเป็นจำ�นวนมาก ไม่รว้ ู า่ คนหรือนก ใคร เยอะกว่ากัน ครที่ชอบถ่ายรูป ไม่ควรพลาดจริงๆ บอกเลยว้าถ่ายเพลินมาก แต่ถา่ ยยากเหมือนกัน กว่าจะ ได้แต่ละรูปนัน้ เหงือ่ ตกเลย แต่รบั รองว่ามาแล้วคม้ ุ ค่าแน่นอน สำ�หรับใครที่ชอบให้อาหารนก ที่สถานตาก อากาศมีบริการกากหมูด้วยน้าาา ราคาถุงเล็ก ถุงใหญ่ 10-20 บาท แล้วแต่ตามที่เราต้องการเลย นอกจาก จะมีอาหารนกแล้ว ยังมีอาหารคนบริการด้วยนะ เผือ่ หิว

25


อ่​่าวคุ้​้�งกระเบน หรื​ือชื่​่�อเรี​ียกเต็​็มๆ คื​ือ ศู​ูนย์​์

ศึ​ึกษาการพั​ัฒนาอ่​่าวคุ้​้�งกระเบนอั​ันเนื่​่�องมาจากพระ ราชดำำ�ริ​ิ อยู่​่�ที่​่� ตำำ�บลคลองขุ​ุด อำำ�เภอท่​่าใหม่​่ จั​ังหวั​ัด จั​ันทบุ​ุรี​ี ก่​่อตั้​้�งขึ้​้�นตามพระราชดำำ�ริ​ิของในหลวง รั​ัชกาลที่​่�9 ว่​่าให้​้หาพื้​้�นที่​่�ที่​่�เหมาะสมจั​ัดทำำ�โครงการ พั​ัฒนาด้​้านอาชี​ีพการประมงและการเกษตรในพื้​้�นที่​่�

26

ชายฝั่​่�งทะเลจั​ันทบุ​ุรี​ี เพื่​่�อดำำ�เนิ​ินงานด้​้านการอนุ​ุรั​ักษ์​์ การจั​ัดการทรั​ัพยากรชายฝั่​่�ง ส่​่งเสริ​ิมและพั​ัฒนา อาชี​ีพราษฎรของศู​ูนย์​์ฯ คุ้​้�งกระเบนแห่​่งนี้​้� ต่​่อมาได้​้ส่​่ง เสริ​ิมให้​้เป็​็นสถานที่​่ท่� ่องเที่​่�ยว เพื่​่�อศึ​ึกษาสภาพ แวดล้​้อมทางธรรมชาติ​ิ ให้​้เกิ​ิดความเข้​้าใจด้​้านระบบ นิ​ิ เ วศในป่​่ า ชายเลนและรู้​้�จั​ั ก ใช้​้ ทรั​ั พ ยากรให้​้ เ กิ​ิ ด


อนุรักษ์ เรื่อง/ภาพ ; ชลธิชา เซ็งเพรียว ประโยชน์​์สู​ูงสุ​ุด โดยจะมี​ีเส้​้นทางศึ​ึกษาธรรมชาติ​ิเป็​็น ทางเดิ​ินสะพานไม้​้ยาว 1,600 เมตร ระหว่​่างทางก็​็จะ มี​ีศาลาและป้​้ายสื่​่�อความหมายให้​้ความรู้​้�ต่​่างๆ เกี่​่�ยว กั​ับพื​ืชและสั​ัตว์​์ในป่​่าชายเลนตลอดเส้​้นทาง ในเส้​้น ทางเดิ​ินศึ​ึกษาธรรมชาติ​ินั้​้�น จะมี​ีพรรณไม้​้หลายชนิ​ิด มากมาย ไม่​่ว่​่าจะเป็​็น โกงกางใบเล็​็ก โกงกางใบใหญ่​่

โปรงแดง ป่​่าสั​ักดอกแดง ป่​่าสั​ักดอกขาว ลำำ�พู​ูทะเล แสมทะเล เป็​็นต้​้น รวมถึ​ึงเราจะได้​้เห็​็นสั​ัตว์​์น้​้อยน่​่ารั​ัก แห่​่งป่​่าชายเลน อย่​่าง ปลาตี​ีน ปู​ูแสม และนกนานา ชนิ​ิด รวมถึ​ึง บรรยากาศของ อ่​่าวคุ้​้�งกระเบน ที่​่�ค่​่อน ข้​้ า งจะร่​่ ม รื่​่� น และเย็​็ น สบายเพราะมี​ีต้​้ น ไม้​้ ป กคลุ​ุม ตลอด 2 ข้​้างทาง

27


หาเรื่​่อ� งเข้​้าป่​่า สถานการณ์​์ป่​่าชายเลนในประเทศไทย

ในอดี​ีตที่​่�ผ่​่านมา ป่​่าชายเลนของประเทศไทยถู​ูกโค่​่นตั​ัดฟั​ันไป กว่​่าล้​้านไร่​่ เพื่​่�อการพั​ัฒนาต่​่างๆ โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งการทำำ�นา กุ้​้�ง ทำำ�ให้​้ ความสมบู​ูรณ์​์ของระบบนิ​ิเวศน์​์ป่​่าชายเลน ต้​้อง เสื่​่�อมโทรมไปจนใกล้​้ถึ​ึงจุ​ุดวิ​ิกฤติ​ิ ทั้​้�งนี้​้�พื้​้�นที่​่�ป่​่าชายเลนของ ประเทศไทยได้​้ลดลงอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง นั​ับตั้​้�งแต่​่ ในช่​่วง พ.ศ. 2560-2561 จากข้​้อมู​ูลการแปลภาพถ่​่ายดาวเที​ียมของกรมป่​่า ไม้​้ พบว่​่า ประเทศไทยมี​ีพื้​้�นที่​่�ป่​่าชายเลนคงสภาพทั้​้�งหมด ประมาณ 1,538,185 ไร่​่ เพิ่​่�มขึ้​้�นร้​้อยละ 0.24 จาก พ.ศ. 2557 ที่​่�มี​ีพื้​้�นที่​่�ทั้​้�งหมด 1,534,585 ไร่​่ กระจายอยู่​่�บริ​ิเวณชายฝั่​่�งทะเล ภาคตะวั​ันออก ภาคกลาง และภาคใต้​้ รวม 24 จั​ังหวั​ัด เมื่​่�อ พิ​ิจารณาพื้​้�นที่​่�ป่​่าชายเลนใน ช่​่วง 23 ปี​ีที่​่� ผ่​่านมาว่​่าพื้​้�นที่​่ป่� า่ ชายเลนมี​ีแนวโน้​้มเพิ่​่�มขึ้​้�น

28


อนุรักษ์ เรื่อง/ภาพ ; ชลธิชา เซ็งเพรียว

29


30


คุ​ุณค่​่ า ของป่​่ า โกงกาง

31


คุณ

รั ก ษาโรคด้ ว ยโกงกาง

ต้​้นโกงกางมี​ีสรรพคุ​ุณมากมายทุ​ุกส่​่วนของต้​้นโกงกางสามารถนำำ �มาใช้​้ประโยชน์​์ ได้​้เกื​ือบทั้​้�งหมด และยั​ังสามารถนำำ � มี​ีต้​้นโกงกางที่​่นำ� ำ�มาปรุ​ุงยาได้​้หลายชนิ​ิด เช่​่น ต้​้นสี​ีง้ำ�� � ต้​้นโกางกางใบเล็​็ก ต้​้นโกงกางใบใหญ่​่ เป็​็นต้​้น ทุ​ุกส่​่วนสามาร เปลื​ือกของต้​้นและใบของของต้​้นโกาง ส่​่วนจะนำำ �ไปปรุ​ุงยาอะไรได้​้บ้า้ งนั้​้�นไปอ่​่านละเอี​ียดต่​่อไปกั​ันเลย

32


ณค่าของป่าโกงกางเรื่อง/ภาพ : เมธินี

�มาเป็​็นยารั​ักษาโรคได้​้อี​ีกด้​้วย รถนำำ �มาปรุ​ุงเป็​็นยาได้​้ ทั้​้�ง

33


34


คุณค่าของป่าโกงกางเรื่อง/ภาพ : เมธินี

ต้​้นโกงกางใบใหญ่​่

ต้​้นโกงกางใบใหญ่​่จะมี​ีลั​ักษณะเป็​็นไม้​้ยื​ืนต้​้นขนาดเล็​็กความ

สู​ูงประมาน20-30เมตรเมื่​่�อโตเต็​็มที่​่�แล้​้วขนาดของลำำ�ต้​้นใหญ่​่ประมาณ30 เซนติ​ิเมตร เปลื​ือกมี​ี สี​ีน้ำำ��ตาล

เรี​ียบหรื​ือบางต้​้นก็​็มี​ีรอยแตกเป็​็นร่​่องตื้​้�นๆ

เปลื​ือกข้​้างมี​ีสี​ีส้​้มเปลื​ือกของลำำ�ต้​้น

สามารถช่​่วยแก้​้การอาเจี​ียนเป็​็นเลื​ือดได้​้ โดยการนำำ�เปลื​ือกมาต้​้มน้ำำ��แล้​้วดื่​่�ม นอกจากนนี้​้�แล้​้ว เปลื​ือกยั​ังแก้​้อาการบิ​ิด หรื​ือบิ​ิดเรื้​้�อรั​ัง หรื​ือต้​้มดื่​่�มเป็​็นยาสมานได้​้

35


ต้​้นจิ​ิกทะเล

จิ​ิกทะเลเป็​็นไม้​้ต้​้นขนาดใหญ่​่ ใบ เดี่​่�ยว เรี​ียงเวี​ียนสลั​ับตอนปลายกิ่​่�งแผ่​่น ใบหนา รู​ูปใหญ่​่หอกกว้​้างประมาณ 15 เซนติ​ิเมตรยาวประมาณ 35เซนติ​ิเมตร สี​ีเขี​ียวเข้​้ม 1. ดอก สี​ีขาว มี​ีเกสรเพศผู้​้�สี​ีม่​่วงแซมบานเวลากลางคื​ืน กลางวั​ันดอกจะโรย เมื่​่�อดอกตู​ูมมี​ีสี​ีขาวคล้​้ายดอกยี่​่�หุ​ุบ เวลาบานจะเห็​็นเกสรเพศผู้​้�ชั​ัดเจน 2. ผล เป็​็นเหลี่​่�ยมและ-ปลายแหลมคลี่​่�คลายลู​ูกดิ่​่�ง นิ​ิเวศวิ​ิทยาชอบขึ้​้�นตามรมชายหาดที่​่�มี​ีดิ​ิน เลน และขึ้​้�นได้​้ในที่​่�มี​ีดิ​ินเลนแข็​็งและป่​่าชายหาด สรรพคุ​ุณ มี​ีรสฝาด ขม เฝื่​่�อน เป็​็นยาสมาน เหมื​ือนจิ​ิกเขา เนื้​้�อเปลื​ือกดองแก้​้พิ​ิษในคนแพ้​้ต้​้นรั​ัก วิ​ิธีใี ช้​้ นํ​ําเอามาทุ​ุบหรื​ือตํ​ําแล้​้วเอามาแช่​่น้ํ​ํ�าอาบแก้​้รั​ักกั​ัด

36


คุณค่าของป่าโกงกางเรื่อง/ภาพ : เมธินี

ต้​้นสี​ีง้ำ���

เป็​็นไม้​้พุ่​่�มในวงศ์​์ Rubiaceae ต้​้นอ่​่อนลำำ�ต้​้นสี​ีเหลื​ืองแดง แก่​่แล้​้วเป็​็นสี​ีเทาอมดำำ� เปลื​ือกแตกเป็​็นร่​่อง ใบเดี่​่�ยว หลั​ังใบสี​ีเขี​ียวอ่​่อนออกนวล ดอกช่​่อออกตามง่​่ามใบ ผลเดี่​่�ยว ติ​ิดเป็​็นกระ จุ​ุก ทรงรี​ี สี​ีเขี​ียวอ่​่อน ผิ​ิวเป็​็นร่​่องตามยาวไม้​้สี​ีง้ำ���ใช้​้ทำำ�เครื่​่�องประมงพื้​้�นบ้​้าน ชื่​่�อเมื​ืองหลวงของฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์ (กรุ​ุงมะนิ​ิลา) ในภาษาตากาล็​็อกเรี​ียกว่​่า Maynila แปลว่​่า “มี​ีต้​้นสี​ีง้ำ���” เนื่​่�องจากบริ​ิเวณอ่​่าวมะนิ​ิลามี​ี ต้​้นสี​ีง้ำ���ขึ้​้�นอยู่​่�มาก คำำ�ว่​่านี​ีลั​ัดหรื​ือนี​ีลาที่​่�แปลว่​่าสี​ีง้ำ��� อาจมาจากภาษาสั​ันสกฤต nila

37


38


โกงกางสร้ า งอาช ี พ

ส่​่วนประโยชน์​์ของต้​้นกางโกงนั้​้�นนี​ีมากมายทั้​้�งประโยชน์​์ทางตรงและทางอ้​้อม ลำำ�ต้​้นของโกงกางมี​ีลั​ักษณะเหนี​ียวและทนทานจึ​ึงนิ​ิยมนำำ�มาแปรรู​ูปทำำ�เป็​็เฟอร์​์นิ​ิเจอร์​์และยั​ังนำำ� มาใช้​้ทำำ�เป็​็นฟื​ืนและถ่​่านเกรดคุ​ุณภาพดี​ีปั​ัจจุ​ุบั​ันก็​็นิ​ิยมกั​ันเป็​็นอย่​่างมากเนื่​่�องจากให้​้ความร้​้อน สู​ูงและยั​ังใช้​้ได้​้นานกว่​่าฟื​ืนทั่​่�วไปอี​ีกด้​้วย

39นี คุณค่าของป่าโกงกางเรื่อง/ภาพ : เมธิ


40


โรงเรี​ียนของสั​ัตว์​์เล็​็ก

นอกจากประโยชน์​์ที่​่�มนุ​ุษย์​์นำำ�ต้​้นไปแปรรู​ูปแล้​้วนั้​้�น ต้​้ น โกงกางยั​ั ง มี​ีประโยชน์​์ อ ย่​่ า งมากต่​่ อ ทะเลสั​ั ตว์​์ นาๆชนิ​ิดเพราะเป็​็นแหล่​่งอนุ​ุบาลสั​ัตว์​์ทะเลเป็​็นที่​่� วาไข่​่ แ ละฟั​ักตั​ั ว อ่​่ อ นเป็​็ น แหล่​่ ง ที่​่� มี​ี สมดุ​ุลทาง ธรรมชาติ​ิสู​ูงมาก ป่​่าไม้​้โกงกางยั​ังสามารถช่​่วย ป้​้ อ งกั​ั น รั​ั ก ษาชายฝั่​่� ง ทะเลจากการกั​ั ด เซาะของ กระแสน้ำำ�� ได้​้ และยั​ังใช้​้เป็​็นแนวกำำ�บั​ังคลื่​่�นลมที่​่� เคลื่​่�อนเข้​้ามาปะทะชายฝั่​่�งได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ีอี​ีกด้​้วย

คุณค่าของป่าโกงกางเรื่อง/ภาพ : เมธินี

เศษซากพื​ืชหรื​ือเศษไม้​้ใบไม้​้และส่​่วนต่​่างๆ ของไม้​้ ป่​่าชายเลนที่​่�ร่​่วงหล่​่นลงมา จะถู​ูกย่​่อย สลายกลาย อิ​ินทรี​ียวั​ัตถุ​ุ กระบวนการย่​่อยสลายของอิ​ินทรี​ีย วั​ัตถุ​ุเหล่​่านี้​้�จะทำำ�ให้​้เกิ​ิดสารอิ​ินทรี​ีย์​์ที่​่� ละลายน้ำำ�� เช่​่น กรดอะมิ​ิโน ซึ่​่�งสาหร่​่ายและจุ​ุลิ​ินทรี​ีย์​์ต่​่างๆ จะ สามารถใช้​้เป็​็นอาหารได้​้ และ จุ​ุลิ​ินทรี​ีย์​์เหล่​่านี้​้�เป็​็น แหล่​่งอาหารที่​่�สำำ�คั​ัญสำำ�หรั​ับสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิตต่​่างๆ ที่​่�อาศั​ัย อยู่​่�ในป่​่าชายเลนต่​่อไป สั​ัตว์​์น้ำำ��ที่​่�มี​ีคุ​ุณค่​่าทาง เศรษฐกิ​ิจหลายชนิ​ิดได้​้ใช้​้ป่​่าชายเลนเป็​็นที่​่�อยู่​่�อาศั​ัย และอนุ​ุบาลตั​ัว อ่​่อนในบางช่​่วงของวงจรชี​ีวิ​ิตของ มั​ัน เช่​่น ปลากะพงขาวปลานวลจั​ันทร์​์ทะเล ปลาก ระบอก ปลา เก๋​๋า กุ้​้�งกุ​ุลาดำำ� กุ้​้�งแชบ๊​๊วย หอยดำำ� หอย นางรม หอยแมลงภู่​่� หอยแครง และหอยกะพง ปู​ู แสม ปู​ูม้​้า แต่​่สั​ัตว์​์น้ำำ��บางชนิ​ิดอาจใช้​้ป่​่าชายเลน เป็​็นทั้​้�งแหล่​่งเกิ​ิดและอาศั​ัยจนเติ​ิบโตสื​ืบพั​ันธุ์​์� เช่​่นปู​ู ทะเล

41


โลกของป่า เลน

42


43


44


ปลาตี​ีน มี​ีลั​ักษณะลำำ�ตั​ัวเป็​็นรู​ูปทรงกระบอก มี​ีหั​ัวขนาดใหญ่​่ ตามี​ี 2 ข้​้าง มี​ีขนาดใหญ่​่ และ

โปนออก ลำำ�ตั​ัวมี​ีความยาวได้​้มากถึ​ึง 30 เซนติ​ิเมตร ปากโค้​้ง และเฉี​ียงลงเล็​็กน้​้อย มี​ีมุ​ุมปากยาว สามารถอ้​้าได้​้กว้​้างมาก ครี​ีบหลั​ังแบ่​่งเป็​็น 2 ตอน ครี​ีบหลั​ังตอนแรกสั้​้�นกว่​่าครี​ีบหลั​ังตอนที่​่� 2 ส่​่วนครี​ีบ ท้​้องมี​ีลั​ักษณะกลม คล้​้ายจาน ทำำ�หน้​้าที่​่ช่� ่วยในการเคลื่​่�อนไหว ส่​่วนครี​ีบอกมี​ีลั​ักษณะแตกต่​่างจากครี​ีบ ปลาทั่​่�วไป คื​ือ ฐานครี​ีบอกเป็​็นกล้​้ามเนื้​้�อ คล้​้ายต้​้นแขน พื้​้�นสี​ีลำำ�ตั​ัวของปลาตี​ีน มี​ีสี​ีที่​่�แตกต่​่างกั​ันใน แต่​่ละส่​่วน โดยส่​่วนหั​ัวจะมี​ีสี​ีน้ำำ�ต � าลอมเขี​ียว บริ​ิเวณเหนื​ือเส้​้นข้​้างลำำ�ตั​ัวจะมี​ีแถบสี​ีดำำ�พาดผ่​่าน ซึ่​่�งเริ่​่�ม จากหลั​ังจะพาดยาวจนถึ​ึงโคนหาง ตามลำำ�ตั​ัวมี​ีจุ​ุดสี​ีน้ำำ�ต � าลดำำ� บริ​ิเวณท้​้องมี​ีสี​ีจาง ส่​่วนครี​ีบหลั​ังมี​ีสี​ีเทา หรื​ือสี​ีน้ำำ�ต � าลอมดำำ� ส่​่วนครี​ีบท้​้อง และครี​ีบก้​้นมี​ีสี​ีเทาจางๆ ส่​่วนครี​ีบอกมี​ีสี​ีน้ำำ��ตาลอมเขี​ียว

ตามหาสัตว์ในเลนเรื่อง/ภาพ : ภูสิต

นกกระยาง นกขนาดใหญ่​่มี​ีขนาดความยาวลำำ�ตั​ัวประมาณ 90 เซนติ​ิเมตร สี​ีขาวตลอด

ตั​ัว คอยาว ปากยาวแหลมมี​ีสี​ีเหลื​ืองตาเหลื​ืองไม่​่มี​ีเปี​ีย ขาและนิ้​้�วเท้​้าดำำ� ในฤดู​ูผสมพั​ันธุ์​์�มี​ีขนประดั​ับ เป็​็นเส้​้นยาวๆ อยู่​่�บนหลั​ังและยาวเลยหางออกไปเล็​็กน้​้อย นกกระยางมี​ีสี​ีโทนขาวทั้​้�งตั​ัวผู้​้�และตั​ัวเมี​ีย มี​ีลั​ักษณะคล้​้ายกั​ัน ในฤดู​ูผสมพั​ันธุ์​์�ปากจะมี​ีสี​ีดำำ� เป็​็นนกน้ำำ�� ที่​่�มี​ีทั้​้�งขนาดเล็​็กขนาดกลางและขนาด ใหญ่​่มี​ีคอและขายาว มั​ักพบเดิ​ินท่​่องน้ำำ�� หากิ​ิน ยื​ืนนิ่​่�งบนกอหญ้​้าหรื​ือพื​ืชน้ำำ��คอยใช้​้ปากแหลมยาวจั​ับ สั​ัตว์​์น้ำำ��เล็​็กๆ หรื​ือแมลงบนพื้​้�นเป็​็นอาหาร ขณะบิ​ินจะพั​ับหั​ัวและคอแนบลำำ�ตั​ัวเหยี​ียดขาไปข้​้างหลั​ัง

45


ปู​ูแสมก้​้ามแดง ขนาดกลาง กระดองกว้​้างประมาณ 2.5 เซนติ​ิเมตร เป็​็นรู​ูปสี่​่�เหลี่​่�ยม

ก้​้ามสี​ีแดง ขุ​ุดรู​ูอาศั​ัยอยู่​่�ตามพื้​้�นป่​่าชายเลนหรื​ือริ​ิมคั​ันนาน้ำำ�� เค็​็มกิ​ินเศษอิ​ินทรี​ีย์​์ต่​่างๆ เป็​็นอาหาร พบ ชุ​ุกชุ​ุมและมี​ีการแพร่​่กระจายทั่​่�วไป

ลิ​ิงแสม มี​ีหางยาวใกล้​้เคี​ียงกั​ับความยาวจากหั​ัวถึ​ึงลำำ�ตั​ัว ขนมี​ี 2 สี​ี คื​ือ สี​ีเทาน้ำำ��ตาลและ

46

สี​ีแดง โดยสี​ีขนจะเปลี่​่�ยนแปลงไปตามอายุ​ุฤดู​ูกาล และถิ่​่�นที่​่�อยู่​่�อาศั​ัย ลิ​ิงแสมในป่​่าจะมี​ีสี​ีเข้​้มกว่​่าลิ​ิง แสมที่​่�อยู่​่�บริ​ิเวณป่​่าชายเลนซึ่�ง่ มี​ีเกลื​ือในอากาศและสั​ัมผั​ัสกั​ับแสงแดดมากกว่​่า ลิ​ิงชนิ​ิดนี้​้�มี​ีหางกลม ขนบริ​ิเวณหั​ัวสั้​้�นตั้​้�งชี้​้�ไปด้​้านหลั​ัง ลิ​ิงอายุ​ุน้​้อยหั​ัวจะมี​ีขนเป็​็นหงอน และจะยื​ืดยาวออกเมื่​่�อมี​ีอายุ​ุมาก ขึ้​้�น


เงูปากกว้างน้ำ�เค็ม งูน้ำ� ลำ�ตัวกลม อ้วนใหญ่ พื้นลำ�ตัวสีเขียวอมเทาหรือสีเทา มีลาย

เลือนๆ ท้องสีขาว ตากลม อยู่ค่อนทางด้านบน ยาว 40-50 ซม. เป็นงูพิษอ่อน ที่มีเขี้ยวพิษ แต่ไม่ เป็นอันตรายถึงชีวิต อาศัยในป่าชายเลนน้ำ�ตื้นๆ

ตามหาสัตว์ในเลนเรื่อง/ภาพ : ภูสิต

หอยนางรม หอยทะเลกาบสอง 2 ฝา มีกาบหนาแข็ง ซึ่งฝาทั้งสองมีขนาดไม่เท่ากัน บางชนิดมีสี

น้ำ�ตาล หรือสีเทา กาบบนจะใหญ่และแบนกว่ากาบล่าง ส่วนกาบล่างที่มีลักษณะโค้งเว้านี้ จะเป็นส่วนที่ มีตัวหอยติดอยู่ ด้านที่มีเนื้อฝังอยู่จะเว้าลึกลงไปคล้ายรูปถ้วย หรือจาน และยึดติดกับวัตถุแข็ง เช่น ก้อน หิน ไม้หลัก ส่วนฝาปิดอีกด้านหนึ่งแบนบาง

47


ต้​้นโกงกางใบเล็​็ก

เป็​็นไม้​้ขนาดกลางถึ​ึงขนาดใหญ่​่ที่​่�ขึ้​้�นได้​้ในดิ​ินเลนที่​่�ค่​่อนข้​้าง อ่​่อน ลึ​ึกและมี​ีน้ำำ��ทะเลท่​่วมถึ​ึงตลอดเวลา โกงกางใบเล็​็กเป็​็นไม้​้ต้​้นขนาดใหญ่​่ สู​ูง 25-35 เมตร ระบบรากเป็​็นระบบรากแก้​้วมี​ีรากเสริ​ิมออกมาเหนื​ือโคนต้​้น 3-8 กม. รากที่​่�โคนต้​้นหรื​ือรากค้ำำ��ยั​ัน ลำำ�ต้​้นแตกแขนงระเกะระกะไม่​่เป็​็นระเบี​ียบ ทำำ�มุ​ุมเกื​ือบตั้​้�งฉากกั​ับลำำ�ต้​้นและหั​ักเกื​ือบเป็​็นมุ​ุมฉาก ลงดิ​ินเพื่​่�อพยุ​ุงลำำ�ต้​้น เรื​ือนยอดรู​ูปกรวยคว่ำำ��แคบ ๆ

48


ตามหาสัตว์ในเลนเรื่อง/ภาพ : ภูสิต

ต้​้นโกงกางใบใหญ่​่

ที่​่�มี​ีขนาดใหญ่​่ สู​ูง 30-40 เมตร เปลื​ือกหยาบสี​ีเทาถึ​ึงดำำ� แตกเป็​็นร่​่องทั้​้�งตามยาวและขวาง หรื​ือแตกเป็​็นร่​่องตารางสี่​่�เหลี่​่�ยม หากทุ​ุบเปลื​ือกทิ้​้�งไว้​้สั​ักครู่​่� ด้​้านในของเปลื​ือกจะเป็​็นสี​ีเหลื​ืองถึ​ึงส้​้มรอบๆโคนต้​้นมี​ีรากค้ำำ��จุ​ุนทำำ�หน้​้าที่​่�พยุ​ุงลำำ�ต้​้น บางครั้​้�ง พบว่​่ามี​ีรากอากาศที่​่�งอกจากกิ่​่�งอยู่​่�บ้​้าง แต่​่ไม่​่มากนั​ัก

49


ต้​้นแสมทะเล

ไม้​้ต้​้นขนาดเล็​็กเป็​็นพุ่​่�ม สู​ูง 5-8 ม. ส่​่วนใหญ่​่มี​ีสองลำำ�ต้​้น หรื​ือมากกว่​่า ไม่​่มี​ีพู​ูพอน ทรงพุ่​่�มโปร่​่ง มี​ีรากหายใจคล้​้ายดิ​ินสอ ยาว 10-20 ซม. เหนื​ือผิ​ิวดิ​ิน เปลื​ือกเรี​ียบเป็​็นมั​ัน สี​ีขาวอมเทา หรื​ือขาวอมชมพู​ู ต้​้นแก่​่มากเปลื​ือกจะหลุ​ุดออกเป็​็นเกล็​็ดบางๆ คล้​้าย แผ่​่นกระดาษ และผิ​ิวของเปลื​ือกใหม่​่จะมี​ีสี​ีเขี​ียว

50


ตามหาสัตว์ในเลนเรื่อง/ภาพ : ภูสิต

ต้นโปรงแดง

เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก - กลาง สูง 7 - 15 เมตร ในบางพื้นที่ อาจสูงได้กว่า 30 เมตร หรือ 40 เมตร โคนต้นมีพูพอนเล็กน้อย มีรากพิเศษออกตามลำ�ต้น เป็นค้ำ�จุน ขนาดเล็ก และรากหายใจรูปคล้ายเข่า อ้วนกลม เหนือผิวดิน สีน้ำ�ตาลอมชมพู

51


ขอบคณ ุ ขอขอบคุณ คุณ ธนาวัฒน์ มาลัยศรี เจ้าหน้าที่สิ่งแวดล้อมศึกษาอาวุโส และ จ่าสิบเอกหัส ชัย ไกรยะวุธ เจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก บางปู ที่ให้ความรู้ด้านสภาพแวดล้อมป่า โกงกางโดยให้สัมภาษณ์เพื่อนำ�มาลงในวีดีโอในสื่อนิตยสารออนไลน์ ขอขอบคุณสถานตากอากาศบางปู จังหวัดสมุทรปราการ และ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชาย เลนอ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรีที่ให้เข้าไปเก็บขอมูลถ่ายทำ�วีดีโอและภาพ ขอขอบคุณเพื่อนๆสมาชิกทุกท่าน ที่ช่วยกันทำ�สื่อนิตยสารจนสำ�เร็จผ่านไปด้วยดี

52


53


พระราชดำ�รัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุยเดช เมื่อวันที่16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 ณ ตำ�บลปากนำ�้ปราณ อำ�เภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ “ พื้นที่ป่าชายเลนที่ปลูกแล้ว ถ้าแน่นเกินไป แสงแดดส่อง ลงไปไม่ถึง ไม่มีออกซิเจนสัตว์น้ำ�ไม่สามารถอยู่ได้จำ�เป็นต้องตัดสาง และต้นไม้ที่ตัดสางออกมาให้นำ�ไปเผาถ่าน หรือใช้ประโยชน์อย่างอื่น “ “ พื้นที่ป่​่าชายเลนคววรขุดเป็นหลุมเป็นแอ่งบ้าง เพื่อเป็นที่ อาศัยของสัตว์น้ำ� “

54


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.