ปริ ญญานิพนธ์ เรื่ อง
การศึกษาการสร้ างเมือง (machizukuri) ด้ วยศิลปะร่ วมสมัย ภายในเมือง Kanazawa จังหวัด Ishikawa 金沢市におけるまちづくり ―現代アートでのまちづくりについての一考察―
โดย นางสาว ชุติมา บริ สทุ ธิ์ รหัสนักศึกษา 530110433 เสนอ อาจารย์ ดร.พนิดา อนันตนาคม อาจารย์ Yuichi Konno ปริ ญญานิพนธ์ฉบับนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 018499 (Seminar in Japanese Language and Literature) ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา2557 สาขาวิชา ภาษาญี่ปนุ่ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ก
คานา ปริญญานิพนธ์ฉบับนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 018499 ซึ่งเป็ นการศึกษาเรื่องการพัฒนา ท้ องถิ่นในประเทศญี่ ปนที ุ่ ่เรี ยกว่า machizukuri โดยศึกษาภายในขอบเขตเมือง Kanazawa จังหวัด Ishikawa ประเทศญี่ปนุ่ วัตถุประสงค์การศึกษาคือเพื่อศึกษาและทาความเข้ าใจเกี่ยวกับ การพัฒนา ท้ องถิ่นด้ วยการใช้ ศิลปะร่วมสมัย อันเป็ นแนวคิดที่ผ้ ศู ึกษาเห็นว่าน่าสนใจและทาให้ ท้องถิ่นมีเสน่ห์ที่ แปลกใหม่นอกเหนือไปจากเสน่ห์ทางวัฒนธรรมท้ องถิ่นดังเดิ ้ มเพียงเท่านัน้ ผู้ศกึ ษาหวังว่าการศึกษาครัง้ นี ้จะสามารถให้ ข้อมูลเบือ้ งต้ นเกี่ยวกับแนวคิดการใช้ ศิลปะร่วม สมัยในการพัฒนาท้ องถิ่นในประเทศญี่ปนุ่ และสามารถจุดประกายความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาและ ส่งเสริมเสน่ห์ของท้ องถิ่นในประเทศไทยได้ ไม่มากก็น้อย การศึกษาครัง้ นี ้สาเร็จลุลว่ งได้ ด้ วยดี ด้ วยความอนุเคราะห์จากอาจารย์ ดร.พนิดา อนันตนา คม และ อาจารย์ Yuichi Konno อาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ ที่ได้ ให้ คาปรึกษาและให้ คาแนะนา ในการแก้ ไขปรับปรุงข้ อบกพร่องของการศึกษาครัง้ นี ้ตลอดมาด้ วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่ง ผู้ศึกษาจึง ใคร่ขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี ้
ชุติมา บริสทุ ธิ์ 29 เมษายน 2558
ข
บทคัดย่ อ ชุติมา บริสทุ ธิ์: การศึกษาการสร้ างเมือง (machizukuri) ด้ วยศิลปะร่วมสมัยในเมือง Kanazawa 金沢市におけるまちづくり―現代アートでのまちづくりについての一考察―
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พนิดา อนันตนาคม อาจารย์ Konno Yuichi ปริญญานิพนธ์ฉบับนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปั จจัยในการนาเอาศิลปะร่วมสมัยมาใช้ ใน การสร้ างเมืองของเมือง Kanazawa จังหวัด Ishikawa ประเทศญี่ปนุ่ โดยการศึกษาครัง้ นีจ้ ะเริ่ มศึกษา จากการใช้ ศิลปวัฒนธรรมในการสร้ างเมืองของ Kanazawa หลังจากนัน้ จะมุ่งเน้ นที่การใช้ ศิลปะร่วม สมัยเข้ ามาพัฒนาเมือง รวมถึ ง ศึก ษาเกี่ ย วกับ การใช้ ศิล ปะร่ ว มสมัย ที่ สัม พัน ธ์ กับ การท่อ งเที่ ย ว ภายในเมือง เพื่อวิเคราะห์ถึงที่มาและปั จจัยในการใช้ ศิลปะร่วมสมัยเพื่อพัฒนาท้ องถิ่น โดยวิธีการ ศึกษาจะใช้ วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซึ่งจะทาการค้ นคว้ าและรวบรวมข้ อมูล ทางเอกสารจากสื่อต่างๆที่เกี่ยวข้ อง และดาเนินการวิเคราะห์ถึงปั จจัยในการนาเอาศิลปะรวมสมัยเข้ า มาใช้ ในการสร้ างเมืองของเมือง Kanazawa ซึ่งจากการศึกษาสามารถอภิปรายปั จจัยที่สง่ ผลให้ เมือง Kanazawa นาเอาศิลปะร่วมสมัยเข้ า มาใช้ ได้ ว่าเกิด จากการที่ เมืองKanazawa มีภูมิห ลังทางประวัติศาสตร์ ที่ สัมพันธ์ กับ ด้ านศิลปะมา ยาวนาน และมีความต้ องการสร้ างเสน่ห์แบบใหม่ที่แตกต่างจากเสน่ห์เ ดิมที่มีความเป็ นเมืองเก่ า ประกอบกับ แนวคิ ดในการพัฒนาเมืองว่าจะ “พัฒนาสู่สากล” ซึ่งทาให้ เมือง Kanazawa เกิ ดการ แลกเปลี่ย นเรี ย นรู้ และเปิ ดรับ ศิ ลปะจากต่างประเทศ นอกจากนี เ้ มือง Kanazawa ยังเป็ นเมือ ง ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ เป็ นจุดศูนย์รวมของทรัพยากรมนุษย์ที่มีความรู้ความสามารถในภูมิภาคที่ สามารถร่ วมมือกับ ทางเทศบาลในการพัฒนาเมืองได้ และปั จ จัย ที่ สาคัญ คือการมีอานาจบริ ห าร ราชการส่วนท้ องถิ่ นที่ ผ้ นู าท้ องถิ่ นสามารถบริ ห ารจัดการและดาเนิน การนโยบายพัฒนาท้ องถิ่ นได้ โดยตรง ซึ่งนายกเทศมนตรีเมือง Kanazawa ในขณะนันได้ ้ มีความสนใจในด้ านการสร้ างเสน่ห์ที่แปลก ใหม่ให้ แก่เมือง Kanazawa ซึ่งเสน่ห์ที่ทางเมือง Kanazawa ได้ เลือกก็คือ “เมืองที่มีการผสมผสานกัน ของศิลปวัฒนธรรมดังเดิ ้ มและศิลปวัฒนธรรมในยุคใหม่ทีทนั สมัย” นัน่ เอง
ค
ส่วนการสร้ างเมืองด้ วยศิลปะที่สมั พันธ์กบั การท่องเที่ยวนัน้ พบว่า เมือง Kanazawaใช้ ศิลปะ ร่ วมสมัย ในด้ านการปรั บ ภูมิ ทัศ น์ ข องเมื องเป็ นหลัก เห็น ได้ จ ากการปรับ ภูมิทัศ น์ ของสถานี รถไฟ Kanazawa ฝั่ งตะวัน ออกให้ มีค วามทัน สมัย และนโยบายปรับ ภูมิทัศน์ ด้วยการติดตัง้ Public Art บริเวณจุดต่างๆ ที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยวของเมือง
ง 要旨 本研究は金沢市における現代アートでまちづくりの要因について考察し、分析することを 目的としての研究である。考察範囲は金沢市でのまちづくりで、現代アートの由来と観光に 関する現代アートの利用について考察することである。研究方法は文献考察、金沢市でのア ートでまちづくりに関係がある研究や他の資料を考察し分析することである。 金沢まちなかに現代アートを使用については、21 世紀美術館を建設すると決めることと 金沢芸村を設置したことから始まったと思われるが、これらは観光スポットを作る意向では なく、市民のために考えていた政策ではないだろうかと考えられる。 金沢市の現代アート使用する要因分析については まず、芸術的な経歴と旧市街以外の 魅力を創造意向があるため、「伝統芸術文化と新たな芸術文化が統合されたまち」を創造し ているという説が考えられる。つぎ、金沢市は国際的に開発概念で 国際と交流できるよう になり、美術の意識範囲が拡大されたということもある。そして、金沢市は北陸地方の一つ の中核都市で、経済成長もあり、人材も豊で、地方の多様な能力がある団体と共同施行する ことができる。最後、非常に必要な要因は地元からのリーダーと自治行政権があることだと 思われる。金沢出身の市長山出保氏が金沢のことがよくわかり、現代アートに関心があり、 まちに適切な魅力を創造できる。その上、金沢市は自治行政権で、市長が決める政策、方針 などの通りに直接施行できるということが考えられる。 観光支援に関する現代アートでまちづくり方針については 金沢市が景観の形成が最も重 視されていると考えられる。これは 金沢駅東口の整備や、2005 年以降の街に景観的な新 しい魅力を加えるように、現代アートの彫刻作品をまちに設置パブリックアートを設置する 「金沢まちなか彫刻設置基本方針」を制定したことからもうかがえる。
สารบัญ หน้ า บทคัดย่อ บทคัดย่อภาษาญี่ปนุ่ บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์การศึกษา คาถามการศึกษา ขอบเขตการศึกษาและวิธีการดาเนินการศึกษา นิยามศัพท์เฉพาะ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับจากการศึกษา บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม ข้ อมูลเบื ้องต้ นเกี่ยวกับการสร้ างเมือง หลักการสาคัญของแนวคิด “สร้ าง” เมือง โครงสร้ างวิธีการสร้ างเมือง ข้ อมูลเบื ้องต้ นเกี่ยวกับศิลปะร่วมสมัย การสร้ างเมืองด้ วยศิลปะ ตัวอย่างการสร้ างเมืองหรือพัฒนาท้ องถิ่นด้ วยศิลปะร่วมสมัยใน ประเทศญี่ปนุ่ Art Project กับการสร้ างเมือง บทที่ 3 วิธีการดาเนินการศึกษา ตารางแสดงแผนการดาเนินงาน
ก ข ง 1 1 2 2 2 3 3 4 4 5 7 8 9 10 12 16 17
บทที่ 4 ผลการศึกษา การสร้ างเมืองด้ วยมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของเมือง Kanazawa การใช้ ศิลปะร่วมสมัยในเมือง Kanazawa พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยแห่งศตวรรษที่ 21 หมูบ่ ้ านศิลปะ (Kanazawa geimura) สถานีรถไฟ Kanazawa ฝั่ งตะวันออก Art Avenue และ Public Art Kanazawa Art Project (KAP) และกิจกรรมทางศิลปะต่างๆ
18 18 23 23 26 27 28 31
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา ที่มาของการใช้ ศิลปะร่วมสมัยในเมือง Kanazawa การใช้ ศิลปะร่วมสมัยที่สมั พันธ์กบั การส่งเสริมการท่องเที่ยวในเมือง Kanazawa อภิปรายผลการศึกษา ข้ อเสนอแนะและประเด็นที่ควรศึกษาต่อ สรุปภาษาญี่ปนุ่ บรรณานุกรม
33 33 33 34 35 37 38 43
สารบัญแผนภาพและรูปภาพ แผนภาพที่ 1 แสดงโครงสร้ างวิธีการสร้ างเมือง ภาพที่ 1 Marcel Duchamp “Fountain” (1917) ภาพที่ 2 Yokohama creativecity center ภาพที่ 3 BankART 1929 ภาพที่ 4 ผลงาน “พิพิธภัณฑ์แห่งความจริงของต้ นไม้ และ หนังสือภาพ” โดย Seizo Tashima ภาพที่ 5 ผลงาน “สร้ างใหม่” โดย Harumi Yukutake ภาพที่ 6 ศิลปิ นกับชาวเมือง Fukiage ภาพที่ 7 เว็บไซต์โครงการ Osaka Canvas ภาพที่ 8 เว็บไซต์ Hiroshima Art Project ภาพที่ 9 เว็บไซต์ Toride Art Project ภาพที่ 10 เว็บไซต์ MAIZURU RB Art Project ภาพที่ 11 แผนที่แสดงที่ตงเมื ั ้ อง Kanazawa ภาพที่ 12 รูปปั น้ Maeda Yoshiie ภาพที่ 13 ปราสาท Kanazawa ภาพที่ 14 สวน Kenrokuen ภาพที่ 15 ศูนย์ฝึกหัตถกรรม Yuwaku sosaku no mori ภาพที่ 16 ผ้ าย้ อมจากศูนย์ฝึกหัตถกรรม ภาพที่ 17 โรงฝึ กหัตถกรรม Utatsu no yama ภาพที่ 18 ศิลปะการปัน้ ดินเผา ภาพที่ 19 ศิลปะทองคาเปลว ภาพที่ 20 ศิลปะการลงรัก Uruwashi ภาพที่ 21 นายกเทศมนตรี Yamade Tamotsu ภาพที่ 22 พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย 21st Century Museum of Contemporary Art
7 8 11 11 12 12 13 14 14 14 14 18 18 19 19 20 20 21 21 21 21 22 23
ภาพที่ 23 ผลงาน The Swimming Pool โดย Leandro Erlich ภาพที่ 24 ผลงาน Klangfeld Nr.3 für Alina โดย Florian Claar ภาพที่ 25 หมูบ่ ้ านศิลปะ Kanazawa Geimura ภาพที่ 26 สถานี Kanazawa ทางออกฝั่ งตะวันออก ภาพที่ 27 ผลงาน Yakantai, tentousuru โดย Saegu sazumasa ภาพที่ 28 ผลงาน Hashire! โดย Kouri Junchi ภาพที่ 29 Public Art Map ภาพที่ 30 กิจกรรม Battachan Arawaru!
25 25 26 27 30 30 31 32
目次 1.はじめに 1.1 背景 1.2 研究目的
36 36 36
2.文献再考と先行研究 2.1 まちづくりについて 2.2 現代アートについて 2.3 日本における現代アートでまちづくり 2.4 アートプロジェクト
36 36 36 37 37 38 38
3.研究対策と研究方法 3.1 研究範囲 3.2 研究方法
4.結果と考察 4.1 金沢市の芸術文化遺産でまちづくり 4.2 金沢市の現代アートの使用 4.3 金沢市の現代アート使用する要因分析 5.今後の課題 参考文献
38 38 38
38 38 39 39 40 41
1
บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญ ประเทศญี่ปนมี ุ่ การบริหารราชการแผ่นดินแบบกระจายอานาจ และมีการปกครองส่วนท้ องถิ่น ที่เข้ มแข็ง ซึ่งภายใต้ การปกครองเช่นนี ้ ประเทศญี่ ปนได้ ุ่ เกิ ดแนวคิดในการพัฒนาท้ องถิ่น ที่เรี ยกว่า “การสร้ างเมือง (machizukuri)” หมายถึง การสร้ างเมืองบนฐานทุนทางวัฒนธรรมทังที ้ ่เป็ นสิ่งที่จบั ต้ อง ได้ และจับต้ องไม่ได้ (พีธากร, 2011) แนวคิดนี ้เป็ นการอาศัยกาลังของคนในท้ องถิ่นในการพัฒนาเป็ น สาคัญ คนในท้ องถิ่นจึงสามารถสร้ างความเป็ นท้ องถิ่นออกมาได้ อย่างเหมาะสมหรื อสอดคล้ องกับ ความต้ องการของคนในท้ องถิ่น สาหรับเมือง Kanazawa(金沢市)นันเป็ ้ นเมืองหลวงของจังหวัด Ishikawa(石川県)เป็ น ศูนย์กลางเศรษฐกิจของภูมิภาค Hokuriku(北陸地方)และยังเป็ นที่ร้ ูจกั ในฐานะแหล่งท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมดังเดิ ้ มแบบญี่ปนุ่ เนื่องจากมีประวัติศาสตร์ ที่ยาวนานมาตังแต่ ้ ศตวรรษที่ 17 ที่ปัจจุบันยัง คงไว้ ซึ่งสิ่งก่อสร้ างทางประวัติศาสตร์ตา่ งๆ เช่น วัด ศาลเจ้ า ปราสาท Kanazawa(金沢城)หมู่บ้าน ซามูไร ย่ านโรงน า้ ชา รวมทัง้ สวน Kenrokuen (兼六園)ที่ เป็ นหนึ่งใน 3 สวนที่สวยงามที่ สดุ ใน ประเทศญี่ปนุ่ และยังคงไว้ ซึ่งงานศิลปหัตถกรรมพื ้นเมืองเก่าแก่ตา่ งๆ ด้ วย จากการที่ ผ้ ศู ึกษาไปศึกษาแลกเปลี่ยนที่เมือง Kanazawa จังหวัด Ishikawa ประเทศญี่ ปนุ่ ในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 - เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2557 ที่ผ่านมา พบว่า เมือง Kanazawa นัน้ นอกจากจะมีวฒ ั นธรรมดังเดิ ้ มของญี่ปนที ุ่ ่โดดเด่นแล้ ว ยังเป็ นเมืองที่เต็มไปด้ วยศิลปะร่ วมสมัยอีกด้ วย เช่น มีพิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย 21st Century Museum of Contemporary Art งานประติมากรรม ตามจุดต่างๆ ภายในเมือง ซึ่งในเว็บไซต์การท่องเที่ยวของเมือง Kanazawa1 ก็ได้ จัดพิพิธภัณฑ์ 21st Century Museum of Contemporary Art ไว้ เป็ นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญของเมือง และยังมี การแนะนาเส้ นทางชมประติมากรรมที่อยู่ตามหัวมุมต่างๆ ภายในเมือง อีกทัง้ เว็บไซต์ท่องเที่ยวต่างๆ เช่นเว็บไซต์ของ 4travel.jp หรือ jalan.net ที่เป็ นเว็บไซต์ที่มีผ้ ใู ช้ จานวนมากในประเทศญี่ ปนก็ ุ่ ได้ มีการ
1
http://www.kanazawa-kankoukyoukai.or.jp
2
จัดอันดับสถานที่ท่องเที่ยวของเมือง Kanazawa และได้ จัดให้ พิพิธภัณฑ์ 21st Century Museum of Contemporary Art อยู่ในอันดับต้ นๆ เช่นเดียวกัน เป็ นที่น่าสังเกตว่าทางเมือง Kanazawa นัน้ ให้ ความสาคัญกับ ศิลปะร่วมสมัยที่ถูกจัดแสดง ภายในเมืองไปพร้ อมๆ กับการให้ ความสาคัญกับแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมเก่าแก่ ซึ่งศิลปะร่วม สมัยนี ้ยังได้ รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวภายนอกด้ วยเช่นกัน การนาเสนอศิลปะร่วมสมัยที่อยู่ร่วมกับวัฒนธรรมดังเดิ ้ มภายในเมืองนี ้ทาให้ Kanazawa เป็ น เมืองที่มีเ สน่ห์อยู่ที่ การผสมผสานของวัฒนธรรมดังเดิ ้ มและวัฒนธรรมร่วมสมั ย ผู้ศึกษาจึงมีความ สนใจในประเด็น การใช้ ศิ ลปะสมัย ใหม่มาส่งเสริ มการท่องเที่ ย วท้ องถิ่ น และเชื่ อว่า หากสามารถ วิ เ คราะห์ ห าปั จจั ย ที่ ท าให้ เมื อ ง Kanazawa น าเอาศิ ล ปะร่ ว มสมัย มาใช้ ในการสร้ างเมื อ ง (machizukuri) จนทาให้ ศิลปะร่วมสมัยนันกลายเป็ ้ นจุดเด่นหนึ่งของเมืองซึ่งส่ งผลดีต่อการท่องเที่ยว แล้ ว การวิจยั นี ้อาจนาไปสูแ่ นวทางการพัฒนาท้ องถิ่นในประเทศไทยได้ 1. วัตถุประสงค์การศึกษา เพื่อศึกษาปั จจัยในการนาเอาศิลปะร่วมสมัยมาใช้ ในการสร้ างเมืองของเมือง Kanazawa 2. คาถามการศึกษา ปั จจัยใดบ้ างที่ทาให้ ศิลปะร่วมสมัยกลายเป็ นส่วนหนึ่งของการสร้ างเมืองของเมือง Kanazawa 3. ขอบเขตการศึกษาและวิธีการดาเนินการศึกษา 3.1. ขอบเขตการศึกษา 3.1.1. ศึกษาแนวคิดการสร้ างเมือง (machizukuri) ที่ถกู นามาใช้ ในเมือง Kanazawa 3.1.2. ศึกษาความเป็ นมาในการนาศิลปะร่วมสมัยเข้ ามาในเมือง Kanazawa 3.1.3. ศึก ษาการใช้ ศิ ล ปะร่ ว มสมัย ที่ สัม พั น ธ์ กับ การส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วในเมื อ ง Kanazawa 3.2. วิธีการดาเนินการศึกษา 3.2.1. ศึกษาจากเอกสารงานวิจยั , หนังสือ สิ่งพิมพ์หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องทางอินเทอร์เน็ต
3
4. นิยามศัพท์เฉพาะ 4.1. “การสร้ างเมือง” หมายถึ ง นโยบายพัฒนาท้ องถิ่ น ในประเทศญี่ ปุ่น โดยอยู่บ นฐานทาง ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และสังคมวัฒนธรรมของแต่ละท้ องถิ่น ในภาษาญี่ ปนคื ุ่ อคาว่า 「まちづくり」ซึ่งเกิดจากคาว่า 「まち」ที่ แปลว่า เมือง และคาว่า 「つくり」 ที่ แปลว่า การทา, การสร้ าง ในที่นีผ้ ้ ศู กึ ษาจึงขอให้ ความหมายในภาษาไทยว่าเป็ น “การสร้ างเมือง” 4.2. ศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) หมายถึง ศิลปะที่เกิดขึ ้นจากการสร้ างสรรค์ของศิลปิ น ในยุคปั จจุบนั 5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับจากการศึกษา 5.1. ทราบถึงความเป็ นมาของแนวคิดการสร้ างเมือง (machizukuri) ด้ วยศิลปะร่ วมสมัยในเมือง Kanazawa 5.2. ทราบถึงการสร้ างเมืองด้ วยศิลปะร่วมสมัยในเมือง Kanazawa 5.3. สามารถน าผลการวิจัย ไปเป็ นข้ อมูลเบื อ้ งต้ น ในการพัฒนาแนวทางการส่งเสริ มท่องเที่ ย ว ท้ องถิ่นในประเทศไทยได้
4
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 2.1 ข้ อมูลเบือ้ งต้ นเกี่ยวกับการสร้ างเมือง (machizukuri) “machizukuri” คือ การพัฒนาที่อยู่อาศัยสิ่งแวดล้ อมใกล้ ตวั โดยมีการร่วมมือจากกลุม่ ต่างๆที่ หลากหลาย และเป็ นการพัฒนาคุณภาพเพิ่มชีวิตชีวาและเสน่ห์ของเมือง (machizukuri no houhou (2004) อ้ างใน Kazuhiko Ishihara)2 Akira Tamura (1987) ได้ กล่าวถึงที่มาการสร้ างเมือง ไว้ ในหนังสือ machizukuri no hassou ว่า หลังจากการฟื น้ ฟูประเทศหลังสงคราม ญี่ปนกลายเป็ ุ่ นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ที่จะก้ าวเข้ าสู่เวที โลก จึงเกิดกระแสการพัฒนาท้ องถิ่นที่มงุ่ เน้ นด้ านการพัฒนาอุตสาหกรรมขยายไปทัว่ ประเทศ ท้ องถิ่น ในประเทศญี่ ปนตกอยู ุ่ ่ท่ามกลางกระแสการพัฒนาให้ กลายเป็ นเมือง แต่กลับเกิดปั ญหามลพิษ และ ปั ญหาด้ านความสัมพัน ธ์ของการพัฒนากับประชาชนในท้ องถิ่น เนื่องจากหน่วยงานส่วนท้ องถิ่น ที่ เกี่ ยวข้ องแต่ละองค์ กรนัน้ มีวิธีก ารที่เ ป็ นแบบแผนเดียวกัน ทัง้ ประเทศ การบริ หารจัดการตนเองใน ท้ องถิ่นนันจึ ้ งไม่หลุดจากการบริหารท้ องถิ่นแบบดังเดิ ้ มและขาดความเป็ นอิสระในด้ านธุรกิจก็เช่นกัน กิจ การธุรกิ จต่างๆนัน้ มุ่งเน้ น สร้ างโรงงานเพีย งเท่านัน้ และเห็น ว่าการพัฒนาท้ องถิ่ น เป็ นเรื่ องของ องค์กรในท้ องถิ่น ประชาชนในท้ องถิ่นเองก็ไม่ให้ ความสนใจในการอนุรักษ์ ท้องถิ่นหรื อพัฒนาท้ องถิ่น กระทัง่ ในช่วงปี โชวะที่ 50 (ประมาณปี ค.ศ.1975) มีการนาคาว่า まちづくり(machizukuri) มาใช้ อย่างแพร่หลายในแต่ละท้ องถิ่นทั่วประเทศญี่ ปนุ่ จนกลายเป็ นกระแสใหม่กระแสหนึ่ง ในการ เขียนคานี ้สามารถเขียนได้ ทงอั ั ้ กษรฮิรางานะว่า 「まちづくり」 หรื อเขียนด้ วยอักษรคันจิ ว่า「町づ くり」 แต่การเขียนด้ วยอักษรฮิรางานะอย่างเดียวเป็ นที่แพร่หลายมากที่สด ุ นอกจากนีย้ ังเกิดคาที่มี ความหมายคล้ ายคลึงกันเช่น 「都市づくり」「地域づくり」「村づくり」「地域おこし」ซึง่ ไม่ ว่าจะใช้ ชื่อใดก็หมายความถึงแนวคิดในการพัฒนาท้ องถิ่นแบบใหม่ที่แตกต่างจากการพัฒนาท้ องถิ่น ในรูปแบบเดียวกันทังประเทศเหมื ้ อนแต่ก่อนเพราะแนวคิดนี ้เป็ นการพัฒนาด้ วยการหวนกลับมาสานึก รักท้ องถิ่นที่ใช้ ชีวิตอยู่ และมีจดุ ประสงค์คือการสร้ างเสน่ห์ที่มีชีวิตชีวาที่ เหมาะกับแต่ละท้ องถิ่นแม้ แต่ อาจารย์ประจาวิชา นโยบายการเมืองการบริหารศึกษา มหาวิทยาลัย Ritsumeikan อ้ างในเว็บไซต์แนะนากระบวนวิชา http://www.ps.ritsumei.ac.jp/pages/manabi_ishihara2 2
5
ในพื ้นที่ที่ไม่ใช่เมืองใหญ่เช่น หมูบ่ ้ านเกษตรหรือหมูบ่ ้ านประมงก็ใช้ หลักการสร้ างเมืองเดียวกัน มีเพียง แค่คาศัพท์เท่านันที ้ ่ใช้ สื่อถึงท้ องถิ่นที่ตา่ งกัน หลักการพื ้นฐานของการสร้ างเมืองคือเหล่าคนในพืน้ ที่นนั ้ ๆต้ องมีความคิดว่าปั ญหาท้ องถิ่น เป็ นปั ญหาที่เกี่ยวข้ องกับตนเองและตื่นตัวว่าตนควรจะ เป็ นผู้ “สร้ าง” ประชาชนไม่ใช่เพียงผู้อาศัย แต่ เป็ น “เจ้ าของ” พื น้ ที่ จึงต้ องสานึกว่าตนเองเป็ นผู้มีหน้ าที่ สร้ างเมืองไม่ใช่ยกความรับผิดชอบนัน้ ให้ องค์กรใดองค์กรหนึ่ง 2.1.1 หลักการสาคัญของแนวคิด “สร้ าง” เมือง Akira Tamura (1987) กล่าวอีกว่าคาว่า “สร้ าง” ของการสร้ างเมืองนัน้ ไม่ได้ หมายความถึง ปรับเปลี่ยนการสร้ างในทางวิศวกรรมหรื อทางสถาปั ตยกรรมเท่านัน้ แต่รวมถึงด้ านงบประมาณหรื อ โครงสร้ างในการขับเคลื่อนเมือง และการสร้ างองค์กรปกครองตนเอง การสร้ างจิตสานึกของชาวเมือง สามารถแยกออกได้ เป็ นสองหลักการคือ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างการบริหารมาเป็ นการเน้ นท้ องถิ่น ปกครองตนเองและการเปลี่ยนแปลงจิตสานึกชาวเมืองให้ รักท้ องถิ่น การสร้ างเมืองไม่ใช่การสร้ างจากพื ้นที่ที่ไม่มีอะไรเลยเหมือนสร้ างลงไปบนกระดาษขาว ไม่ว่า จะเป็ นพืน้ ที่ใดๆก็ตามจะมีภมู ิประเทศและธรรมชาติที่ มีมาแต่เดิม และมีวิถีชีวิตที่สืบต่อกันมาของ ผู้คนมากมาย แต่ละพื ้นที่นนมี ั ้ ประวัติศาสตร์ของท้ องถิ่นอยู่ ดังนันการ ้ “สร้ าง” จึงไม่ใช่การสร้ างขึ ้นมา ใหม่แค่เพียงเท่านัน้ แต่เป็ นการฟื น้ ฟูเมืองโดยยืนอยู่บนภูมิประเทศและประวัติศาสตร์ รวมไปถึงการ อนุรักษ์ สิ่งดังเดิ ้ มที่เคยมีมาแต่ก่อนด้ วย Akira Tamura ได้ จาแนกหลักการของการสร้ างเมืองออกเป็ น 7 ประเภทได้ แก่ 1. การสร้ างวัตถุหรือสิ่งของ (モノづくり)หมายถึง การสร้ างสิ่งต่างๆในเมืองให้ เป็ นส่ว น หนึ่งในสภาพแวดล้ อมที่ดีของเมือง เช่น สาธารณูปโภคต่างๆที่ประชาชนทุกครัวเรือนสามารถเข้ าถึงได้ การสร้ างถนน การแบ่งเขตรถวิ่งและเขตเดิน เท้ า สถาปั ตยกรรมสิ่งก่อสร้ างในเมือง รวมถึงอุปกรณ์ ประกอบถนน (Street furniture) อาทิ ตู้โทรศัพท์ เสาไฟ ม้ านั่ง ต้ นไม้ ริมถนน เหล่านีล้ ้ วนเป็ นส่วน หนึ่งของทิวทัศน์ในเมืองและสามารถแสดงลักษณะเฉพาะของเมืองได้ ตัวอย่างที่เห็นได้ ชัดในประเทศ ญี่ปนุ่ คือ การนาสายไฟลงดิน เพื่อปรับภูมิทศั น์ หรื อการตกแต่งสถานที่สาคัญในเมืองด้ วยแสงไฟใน ตอนกลางคืน เพื่อให้ ได้ สมั ผัสบรรยากาศที่แตกต่างไปจากตอนกลางวัน เป็ นต้ น ซึ่งการสร้ างวัตถุนี ้
6
ไม่ใช่เพียงการสร้ างตามแผนที่วางไว้ แต่เริ่มเพียงเท่านัน้ แต่เป็ นการสร้ าง และ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไป ตามกาลเวลา 2. การสร้ างงานหรืออาชีพ (シゴトづくり)หมายถึง การรักษาอาชีพ ความสามารถในการ ทางาน และพื ้นที่ที่สามารถสร้ างรายได้ ภายในท้ องถิ่นไว้ รวมถึงการร่วมมือของท้ องถิ่นกับกิจการธุรกิจ หลากหลายที่อยู่บนฐานความคิดว่าอยากจะสร้ างสรรค์เพื่อท้ องถิ่น 3. การสร้ างชี วิต ความเป็ นอยู่ (クラシづくり)หมายถึ ง การท าให้ ป ระชาชนในเมือ ง สามารถดารงชีวิตได้ อย่างสะดวกสบายภายในเมืองและสร้ างวิถีชีวิตที่เป็ นเอกลักษณ์ของเมืองที่สร้ าง จากพื ้นฐานทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ นอกจากสิ่งพื ้นฐานเช่น การสาธารณสุข การศึก ษาแล้ ว การเป็ นเมืองที่มีสนุ ทรียภาพทางดนตรี การเป็ นเมืองที่มีสขุ ภาพที่ดี หรื อการเป็ นเมืองที่มีเอกลักษณ์ ด้ านการศึกษา ก็ถือเป็ นส่วนหนึ่งในการสร้ างชีวิตความเป็ นอยู่ในเมืองเช่นกัน 4. การสร้ างแบบแผนหรื อโครงสร้ าง (シクミづくり)หมายถึง การสร้ างทัง้ องค์กร และ ระบบแบบแผนการดาเนินการเพื่อวางแผนหรือโครงร่างการสร้ างเมืองที่ม่งุ สู่อนาคต เป็ นแผนการหรื อ โครงสร้ างที่ดาเนินการแก้ ปัญหาโดยการร่วมมือกันทางกาลังและความรู้ ประชาชนสามารถเข้ าร่วมได้ และสะท้ อนความคิดเห็นของประชาชน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อพัฒนาท้ องถิ่น 5. การสร้ างกฎระเบี ย บ (ルールづくり)เป็ นการสร้ างกฎเพื่ อแก้ ปั ญ หาด้ า นลบเช่ น คลี่คลายความขัดแย้ งหรือการปะทะกัน และยังมีกฎทางบวกที่ใช้ ในการดาเนินการสร้ างเมืองร่วมกัน ของหลายฝ่ ายอีกด้ วย ก่อนจะเริ่ มสร้ างวัตถุนนั ้ จะต้ องสร้ างความคิดที่จะทางานร่วมกัน และกาหนด บทบาทหน้ าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพื่อดาเนินการตามแผนการและแนวคิดในการสร้ างวัตถุตอ่ ไป 6. การสร้ างคน (ヒトづくり) หมายถึงการปลูกฝั งจิตสานึกในจิตใจคน เป็ นการสร้ างคนที่ รักท้ องถิ่น รู้และเข้ าใจในเอกลักษณ์ของท้ องถิ่น โดยการปลูกฝั งให้ เด็กรู้จกั สนใจสิ่งรอบตัวภายในเมือง และเกิ ด ความรู้ สึก เป็ นเจ้ าของร่ ว ม ในผู้ใ หญ่ นัน้ ก็ สามารถเรี ย นรู้ ความเป็ นท้ องถิ่ น ได้ โ ดยผ่า น ประสบการณ์ ที่ เ คยสัมผัสในท้ องถิ่ น การสร้ างคนยังรวมถึ งการสร้ างผู้น าและผู้เ ชี่ ย วชาญเฉพาะ ทางด้ านต่างๆอีกด้ วย 7. การสร้ างเรื่องราว (コトおこし) หมายถึง การสร้ างความพิเศษให้ กับสถานการณ์หรื อ สถานที่ภายในเมืองให้ แตกต่างจากที่เป็ นอยู่ในชีวิตประจาวัน เช่นการสร้ างเทศกาลประจาเมืองหรื อ กิจกรรมสาคัญตามโอกาสต่างๆ ซึ่งอาจจะเกิดจากการสืบทอดต่อมาจากอดีต หรื อถูกกาหนดขึ ้นมา ใหม่ในปั จจุบนั ก็ได้ สิ่งสาคัญคือการหาวิธีให้ สิ่งเหล่านี ้สามารถดารงอยู่สืบต่อไป
7
2.1.2 โครงสร้ างวิธีการสร้ างเมือง นอกจากนี ้ในหนังสือ machizukuri no hassou (อ้ างแล้ ว) ยังได้ กล่าวถึงโครงสร้ างวิธีการสร้ าง เมืองว่า มีอยู่ 3 วิธีหลักที่ควรใช้ ร่วมกัน ได้ แก่ 1. วิธีการใช้ เทคโนโลยีร่วมกับธรรมชาติ คือการ ”สร้ าง” ในด้ านที่สมั พันธ์กับลักษณะทาง ธรณี วิท ยา สภาพอากาศ สิ่งมีชี วิต รวมไปถึ ง การสร้ างทางโยธา ทางสถาปั ตยกรรม ไฟฟ้า หรือเครื่องจักร 2. วิธีการที่สมั พันธ์กับสานึกของสังคมหรื อแบบแผนการใช้ ชีวิต วิธีการจัดการ โครงสร้ าง สังคมเศรษฐกิจ โครงสร้ างการบริหาร ระบบต่างๆ 3. วิธีที่สมั พันธ์กบั จิตใจ อารมณ์ความรู้สกึ ประสาทสัมผัสของมนุษย์ เช่น ความงาม ความ สนุก ความอบอุน่ หรือความสงบ เป็ นต้ น ธรรมชาติ เทคโนโลยี 1 ระบบ สังคม 2
การออกแบบ จิตใจ 3
แผนภาพที่ 1 แผนภาพแสดงโครงสร้ างวิธีการสร้ างเมือง (ที่มา แปลจากหนังสือ machizukuri no hassou หน้ า 57)
กล่าวคื อ กลุ่ม ที่ ห นึ่ง เป็ นด้ า นกับ วิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กลุ่มที่ สองคือ ด้ านสังคม วัฒนธรรม และงานบริ หารจัดการ ส่วนกลุ่มที่สามนัน้ คือด้ านศิลปะ สามกลุ่มนีแ้ บ่งตามวิชาเฉพาะ และยังสามารถแบ่งย่อยออกไปได้ อีกหลายแขนง ดังนัน้ กุญแจสาคัญของการสร้ างเมืองคือ การให้ ความสาคัญกับทรัพยากรมนุษ ย์ที่ มีความรู้ ทางวิช าการทัง้ สามสาขานี ใ้ นแขนงต่างๆ และมีความรู้ เฉพาะท้ องถิ่น ให้ มาร่วมกันพัฒนาท้ องถิ่น โดยในงานวิจัยนีจ้ ะศึกษาการสร้ างเมืองภายในเมือง Kanazawa โดยมุ่งเน้ น ที่ก ารสร้ างเมืองด้ วยศิลปะร่ วมสมัย เพื่ อวิเคราะห์ว่าเมือง Kanazawa น า หลักการสร้ างเมืองใดมาใช้ บ้างและสัมพันธ์กบั ศิลปะร่วมสมัยอย่างไร
8
2.2 ข้ อมูลเบือ้ งต้ นของศิลปะร่ วมสมัย (Contemporary Art) ในเว็บไซต์ nikkei.com ได้ มบี ทความหัวข้ อ “เข้ าใจศิลปะร่วมสมัยใน 10 นาที” โดยเนือ้ หามา จากสัมมนาเกี่ยวกับศิลปะร่วมสมัย เมื่อวันที่ 3 เดือน มีนาคม ค.ศ.2012 ในชื่อว่า “ศิลปะร่วมสมัย AZ” ขึน้ ณ เมื อ ง Otemachi ใน Tokyo โดยมี วิ ท ยากรจาก Arts Initiative Tokyo ซึ่ ง ได้ นิ ย าม ความหมายของศิลปะร่วมสมัยไว้ วา่ ศิลปะร่วมสมัย คือ ผลงานศิลปะที่สะท้ อนปั ญหาหรือสถานการณ์ สังคมในปั จจุบัน และเป็ นผลงานที่ร้ ูสึกได้ ถึ งการวิจารณ์ สงั คมหรื อประวัติศาสตร์ ศิลปะ เป็ นการตัง้ คาถามต่อสังคมหรือวิถีชีวิตของมนุษย์โดยผ่านทางผลงานศิลปะ และเป็ นศิ ลปะที่มีความงามอิสระ โดยได้ ยกตัวอย่างผลงาน Fountain ของ Marcel Duchamp ว่าเป็ นงานที่เ รี ย กได้ ว่าเป็ นบิ ดาของ ศิลปะร่วมสมัย เพราะเป็ นผลงานที่เกิดจากการเซ็นชื่อลงไปบนโถปั สสาวะแสดงถึงการนาเสนอความ งามของโถ ซึ่งถือว่าเป็ นการนาเสนอความงามบนแนวคิดอิสระ และสลัดรูปแบบความงามในอดีตทิง้ ไป
ภาพที่ 1 Marcel Duchamp “Fountain” (1917) ในเว็บไซต์ของพิพิธภัณฑ์ The J. Paul Getty museum3 ได้ เขียนบทความซึ่งให้ ความหมายไว้ ว่า ศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) คือ ศิลปะที่ถกู สร้ างขึ ้นโดยศิลปิ นในยุคปั จจุบัน ซึ่งศิลปิ นใน ยุค ปั จ จุบัน นี ท้ างานและตอบสนองต่อสิ่งแวดล้ อ มโดยรวมที่ ป ระกอบด้ วยความหลากหลายทาง วัฒ นธรรม ความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี และอื่ น ๆในหลากหลายแง่ มุม ศิล ปะร่ ว มสมัย มัก จะ พิพธิ ภัณฑ์ศิลปะในเมือง Los Angelesสหรัฐอเมริกา http://www.getty.edu 3
9
วิพากษ์ วิจารณ์และสะท้ อนสังคมสมัยใหม่ ซึ่งในภายหลังศตวรรษที่ 20 ศิลปิ นบางคนเลือกจะหันหลัง ให้ ศิลปะสัจนิ ย ม หรื อการเน้ น ความงามเสมือนจริ งอย่างการวาดภาพเรื อนร่ างมนุษ ย์ และหัน มา สร้ างสรรค์ผลงานที่เป็ นนามธรรมมากขึ ้น บทความของพิพิธภัณฑ์ยงั กล่าวอีกว่า ศิลปะสมัยใหม่อยู่ท่ามกลางการเคลื่อนไหวในช่วงหลัง สมัยใหม่ (post modern) ที่ตอ่ ต้ านแนวคิดกระแสหลัก และเปิ ดรับแนวคิดค่านิยมความงามทางศิลปะ ที่หลากหลาย ไม่วา่ จะเป็ นการมีพื ้นฐานหรือการได้ รับอิทธิพลจาก ศิลปะแสดงสดหรือศิลปะการแสดง (performance art), ศิลปะประชานิยม หรื อ ป๊ อปอาร์ ต (pop art), ลัทธิจุลนิยม (Minimalism), มโน ทัศนศิลป์ (conceptual art), วิดิทัศน์ เป็ นต้ น ซึ่งศิลปิ นสามารถดึงรูปแบบ แหล่งที่มา หรื อวัสดุที่ หลากหลายมาสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะ ด้ วยเหตุนี ้ การสรุปนิยามแนวคิดของศิลปะสมัยใหม่จึงเป็ น เรื่องยาก และการอธิบายวัสดุอปุ กรณ์ที่ศิลปิ นนามาใช้ หรือการอธิบายแนวคิดของศิลปิ นที่สะท้ อนใน ผลงานอย่างถูกต้ องทังหมดก็ ้ เป็ นเรื่องยากเช่นกัน จากข้ อมูลที่ เกี่ ยวข้ องดังที่ กล่าวมาข้ างต้ น ในงานวิจัย นีจ้ ะขอนิ ยามความหมายของคาว่า ศิลปะร่วมสมัยโดยสังเขปว่า “ศิลปะร่วมสมัยหรื อ Contemporary Art หมายถึง ผลงานศิลปะที่ถูก สร้ างสรรค์จากศิลปิ นในยุค ปั จจุบัน โดยมีแนวคิดอิส ระในการสร้ างสรรค์ผลงาน” ซึ่งงานวิจัยนีจ้ ะ ศึกษาเกี่ยวกับศิลปะสมัยใหม่ที่ถูกนามาใช้ ในการสร้ างเมืองของเมือง Kanazawa จังหวัด Ishikawa ประเทศญี่ปนุ่ 2.3 การสร้ างเมืองด้ วยศิลปวัฒนธรรม จากยุ ท ธศาส ตร์ กา รฟื ้ น ฟู ญี่ ปุ่ น ปี ค .ศ. 2014 (日本再興戦略改訂2014) ซึ่ ง เป็ นม ติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 มิถนุ ายน ค.ศ.2014 บทที่ 2 เรื่องแผนการปฏิบตั ิ 3 ประการ ข้ อ 3 นโยบาย ที่ควรนามาปฏิบตั ิใหม่อย่างเป็ นรูปธรรม มีใจความว่า “เนื่องจากการใช้ จากยุทธศาสตร์ “Cool Japan” นันสามารถแสดง ้ “เสน่ห์ของญี่ ปน” ุ่ ในด้ าน ศิลปวัฒนธรรมได้ อย่ างมีป ระสิท ธิภาพ และจ าเป็ นจะต้ องพัฒนาให้ สัมพัน ธ์ กับ ด้ านอุตสาหกรรม ดังนันจึ ้ งควรสร้ างความมัน่ คงด้ วยการใช้ ความร่วมมือของกระทรวงที่เกี่ยวข้ องเพื่อการเจาะจงพัฒนา เฉพาะขอบเขตหรื อหัวข้ อที่ มีความสาคัญ เชิงยุท ธศาสตร์ สูง เช่น การวางแผนการจัดกิ จ กรรมที่ มี ขอบเขตขนาดใหญ่ระดับสากล การพัฒนาอาหารญี่ปนหรื ุ่ อเหล้ าญี่ ปนสู ุ่ ่ระดับสากล การสร้ างสรรค์ にほんさいこうせんりゃくかいてい
10
ศิลปะร่วมสมัย หรื อสร้ างสื่อแสดงศิ ลปะประยุก ต์ เป็ นต้ น ซึ่งจะพัฒนาไปพร้ อมกับการสร้ างความ ร่วมมือในแต่ละกระทรวง การเจริ ญสัมพันธไมตรี กับต่างประเทศ และการพัฒนาแผนการเผยแพร่ การศึกษาภาษาญี่ปน” ุ่ (ผู้ศกึ ษาแปล) ซึ่งจากแผนยุทธศาสตร์ฟืน้ ฟูประเทศฉบับนี ้แสดงให้ เห็นถึงการให้ ความสาคัญกับการพัฒนา หรือฟื น้ ฟูเมืองด้ วยการสร้ างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย 2.3.1 ตัวอย่ างการสร้ างเมืองหรือพัฒนาท้ องถิ่นด้ วยศิลปะร่ วมสมัยในประเทศญี่ปุ่น จากรายงานเรื่ อง ศิลปะร่วมสมัยกับการกระตุ้นการพัฒนาท้ องถิ่น – ความเป็ นไปได้ ในการ เป็ นเมืองสร้ างสรรค์ของเมือง Beppu – (2010) (現代アートと地域活性化~クリエティブシティ 別府の可能性~)โดย Development Bank of Japan สานักงานเมือง Oita ได้ ยกตัวอย่างการสร้ าง เมืองด้ วยศิลปะร่วมสมัยของจังหวัดต่างๆในประเทศญี่ปนุ่ ไว้ ดงั นี ้ 1. เมือง Yokohama จังหวัด Kanagawa ด้ วยความที่เมือง Yokohama เป็ นเมืองท่าที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว มากมาย ด้ วยภูมิทศั น์หรือสิ่งก่อสร้ างทางประวัติศาสตร์ ภายในเมืองที่มีความโดดเด่นแตกต่างจาก Tokyo ในปี ค.ศ.2004 เมือง Yokohama ได้ ก่อตัง้ “สานักงานสร้ างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม” (文化芸術 都市創造事業本部) และวางนโยบายด้ านการสร้ างเมืองด้ วยการสร้ างและประดิษฐ์ ศิลปวัฒนธรรม โดยสนับสนุนการเป็ น Yokohama เมืองสร้ างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม (文化芸術創造都市クリエティ ブシティ・ヨコハマ) ด้ วยการบูรณะสิ่งก่อสร้ างทางประวัติศาสตร์ คลังสินค้ าบริ เ วณท่าเรื อต่างๆ และสร้ างเป็ นสถานที่ทางวัฒนธรรมอย่าง Yokohama creative city center และ BankART1929 ให้ เป็ นสถานที่ สาหรับ แสดงผลงานของศิลปิ นและจัดกิ จ กรรมทางศิลปะ มีก ารเชิ ญแผนกวิจัย ของ มหาวิทยาลัย Tokyo University of the Arts ให้ เข้ าร่วม เพื่อการพัฒนาและสนับสนุนศิลปิ นหนุ่มสาว และ มีการพัฒนาโครงการต่างๆ ร่วมกับองค์กร NPO ฝ่ ายบริ หาร หรื อ องค์กรธุรกิจ ซึ่งในรายงานนี ้ กล่าวว่า คุณ ลักษณะพิเ ศษที่ ท าให้ เ มือง Yokohama สามารถดาเนิน การแผนพัฒนาเมืองด้ วย ศิลปวัฒนธรรมได้ คือ การมีภาวะผู้นาที่แข็งแกร่งของฝ่ ายบริ หาร, การไว้ วางใจให้ การสนับสนุนใน ด้ านต่างๆขององค์กรธุรกิจ และการมีทรัพยากรมนุษย์ในท้ องถิ่นที่อดุ มสมบูรณ์เนื่องจากอยู่ในอาณา บริเวณของเมืองหลวง
11
ภาพที่ 2 Yokohama creativecity center
ภาพที่ 3 BankART 1929
2. Echigo Tsumari จังหวัด Niigata ในปี ค.ศ.1994 จังหวัด Niigata ได้ เริ่ มใช้ นโยบายสร้ างสรรค์บ้านเกิด New Niigata (ニュー にいがた里創プラン事業) หลังจากนัน ้ เมือง Echigo Tsumari ได้ รับแรงสนับสนุนจากทางจังหวัด และได้ ริเริ่มโครงการ Art Necklace (越後妻有アートネックレス) ซึ่งโครงการนี ้ประกอบไปด้ วย 1) “โครงการตามหาความงดงามท้ องถิ่น” (すてき発見事業) เพื่อย้ อนกลับมาค้ นหาเสน่ห์ ของเมือง Tsumari 2) โครงการถนนแห่งดอกไม้ (花の道事業)เป็ นการส่งเสริมภาพลักษณ์ของเมืองด้ วยการ ให้ ชาวเมืองร่วมปลูกดอกไม้ ในพื ้นที่โล่งกว้ าง 3) “การสร้ างเวที”(ステージづくり)เป็ นการพื ้นที่เพื่อสร้ างชุมชนศิลปะโดยมีศิลปิ นจาก หลากหลายท้ องถิ่นมาใช้ ประโยชน์ 4) เทศกาลศิลปะโลก EchigoTsumari Art Triennial4 (大地の芸術祭・越後妻有アート トリエンナーレ) เทศกาลนี ม ้ ีเ ป้ าหมายคือการการดึงเสน่ห์ ของท้ องถิ่ น ออกมาและ นาเสนอผ่านความสร้ างสรรค์ทางศิลปะร่วมสมัย โดยมีศิลปิ นจากนานาชาติมาเข้ าร่วม เทศกาล และใช้ ทิวทัศน์ทางธรรมชาติของเมือง Tsumari เป็ นเหมือนผ้ าใบแสดงผลงาน เช่น การใช้ ทิวทัศน์ของนาขันบั ้ นไดหรื อเรื อกสวนไร่นา หรื อ แสดงผลงานศิลปะในย่าน ร้ านค้ าหรื อในบ้ านเก่าที่ไม่มีคนอยู่อาศัย รวมถึงการเปิ ดworkshop เกี่ยวกับศิลปะซึ่ง 4
งานนิทรรศการทีจ่ ดั ขึ ้นทุก 3 ปี
12
ผสมผสานกับการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในเมือง โดยในรายงานวิเคราะห์สาเหตุที่ทาให้ เมือง Echigo Tsumari สามารถจัดเทศกาลนีต้ ่อเนื่องได้ เป็ นเวลากว่าสิบปี นัน้ ว่าเป็ น เพราะมี ผ้ ูเ กี่ ย วข้ อ งด้ า นศิ ล ปะ ชาวเมื อ งและองค์ ก รธุ ร กิ จ ต่ า งๆ รั บ หน้ าที่ ใ นการ ประสานงาน และนอกจากความพยายามในการกระตุ้นการพัฒนาผ่านกิจกรรมต่างๆ แล้ วการมีเครือข่ายที่เข้ มแข็งกับศิลปิ นนานาชาติที่จะเชิญมายังเมือง Echigo Tsumari นันก็ ้ เป็ นส่วนสาคัญเช่นกัน
ภาพที่ 4 (ซ้ าย) ผลงาน “พิพิธภัณฑ์แห่งความจริงของต้ นไม้ และหนังสือภาพ” 5 โดย Seizo Tashima (田島征三 作品 絵本と木の実の美術館) ภาพที่ 5 (ขวา) ผลงาน “สร้ างใหม่”6 โดย Harumi Yukutake (行武直美作品 再構築)
2.4 Art Project กับการสร้ างเมือง การพัฒนาท้ องถิ่นนัน้ จะมีนโยบายหรื อแนวคิดย่อยที่แตกต่างกันไปตามความแตกต่า งทาง ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ แต่ละท้ องถิ่น หลายท้ องถิ่นในประเทศญี่ ปนได้ ุ่ หันมาพัฒนาท้ องถิ่น โดย เจาะจงในด้ านศิลปะ ซึ่งหนึ่งในนันคื ้ อการสร้ างโครงการศิลปะ (Art Project) จากสัม มนาหัวข้ อ “ความคิด เกี่ ย วกับ อนาคตของการสร้ างเมือ งกับ ศิ ลปะ” เมื่อ วัน ที่ 7 กรกฎาคม ปี ค.ศ. 2014 Hayashi Akio ผู้เป็ นวิทยากรได้ กล่าวถึงโครงการศิลปะ (Art Project) ว่าเป็ น กิจกรรมสร้ างสรรค์ศิลปะของแต่ละท้ องถิ่นที่มงุ่ ใช้ ศิลปะสมัยใหม่ที่ถูกพัฒนาในช่วงปี ค.ศ.1990 เป็ น ต้ น มา และได้ ก ล่า วถึ ง หลัก การของโครงการศิล ปะว่า คื อ การมุ่ง เน้ นกระบวนการและเปิ ดให้ สาธารณชนสามารถเข้ าถึงได้ มีการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง มีผ้ ดู าเนินโครงการที่ หลากหลาย และ 5 6
เป็ นผลงานที่ใช้ พื ้นที่ในโรงเรี ยนที่ปิดไปแล้ ว เป็ นผลงานที่อยู่บนเขาที่เงียบสงบและกลมกลืนไปกับธรรมชาติบนเขาจากการใช้ กระจกสะท้ อนทิวทัศน์โดยรอบ
13
ดาเนิน การด้ วยความร่วมมือจากหลายองค์กร ได้ แก่ ศิลปิ น (Artist), ผู้กากับหรื อผู้อานวยการผลิต (Director), ผู้ผลิต (Producer), องค์การบริหารส่วนจังหวัด (都道府県) , องค์การบริ หารส่วนท้ องถิ่น (市町村), NPO หรือ องค์กรไม่แสวงผลกาไร (Nonprofit Organization), มหาวิทยาลัย และประชาชน ในท้ องถิ่น ตัวอย่ างของโครงการศิลปะในท้ องถิ่น (รวบรวมจากบทความออนไลน์7) 1. โครงการ FUKIAGE WONDER MAP เมือง Fukiage จังหวัด Kagoshima เริ่ มขึน้ เมื่อ ปี ค.ศ.2009 และจัดต่อเนื่องมาทุกปี โดยจะมีศิลปิ นจากทั่วประเทศมารวมตัวกันที่เมืองนีแ้ ละ ร่วมกันทากิจกรรมต่างๆกับชาวเมือง Fukiage และยังมีการตีพิมพ์หนังสือนาเที่ยว “Fukiage Wonder Map” เพื่อประชาสัมพันธ์เมืองอีกด้ วย
ภาพที่ 6 ศิลปิ นกับชาวเมืองFukiage ( ที่มา https://faavo.jp/kagoshima/project/157)
2. Osaka CanvasProjectเมือง Osaka เป็ นกิจกรรมที่จดั ให้ มองว่า เมืองทัง้ หมดคือ ผ้ าใบ โดยการ ให้ ศิลปิ นแสดงผลงานผ่านเมือง 3. Hiroshima Art Project จัง หวัด Hiroshima เป็ นการจัด กิ จ กรรมเพื่ อเผยแพร่ ก ารศึก ษา แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และฟื น้ ฟูศิลปวัฒนธรรมโดยมุ่งเน้ นที่ศิลปะร่วมสมัย โดยมีความคิดเรื่ อง การออกแบบสร้ างสรรค์พืน้ ที่ ภายในเมืองด้ วยการจัดนิ ทรรศการ, event, workshop หรื อการ จัดการบรรยาย 4. Toride Art Project เมือง Toride จังหวัด Ibaraki ด้ วยความร่วมมือของชาวเมืองกับ มหาวิทยาลัย Tokyo University of the Arts มีทงการแลกเปลี ั้ ย่ นวัฒนธรรมนานาชาติและมี 7
บทความแนะนาโครงการศิลปะในประเทศญี่ ปนุ่ http://follec-flack.blogspot.com/2012/09/blog-post_8869.html และบทความโดยทีมงานจัดโครงการ FUKIAGE WONDER MAP https://faavo.jp/kagoshima/project/157
14
โปรแกรมสาหรับเด็กปัจจุบนั อยู่ในระหว่างการพัฒนาให้ มี “กลุม่ อาคารที่มีศิลปะ” และ “เกษตร ครึ่งหนึ่งศิลปะครึ่งหนึ่ง” 5. MAIZURU RB Art Project เป็ นโครงการสร้ างเมืองโดยใช้ ศิลปวัฒนธรรมที่นามาสู่เครื อข่ายและ วิถีชีวิตอันอุดมสมบูรณ์ของชาวเมือง ซึ่งเกิดจากชีวิตที่ผสมผสานกับรากฐานทางศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และลักษณะทางภูมิศาสตร์ การมองทรัพยากรท้ องถิ่นในมุมใหม่ และการร่วมมือ ขององค์กร NPO กับเมือง Maizuru ใน Kyoto
ภาพที่ 7 เว็บไซต์โครงการ Osaka Canvas ภาพที่ 8 เว็บไซต์ Hiroshima Art Project
ภาพที่ 9 เว็บไซต์ Toride Art Project ภาพที่ 10 เว็บไซต์ MAIZURU RB Art Project (ที่มา http://follec-flack.blogspot.com/2012/09/blog-post_8869.html)
6. Beppu Project จากรายงาน “ศิลปะร่วมสมัยกับการกระตุ้นการพัฒนาท้ องถิ่น ”8 ได้ กล่าวถึงการ สร้ างเมืองด้ วยศิลปะร่วมสมัยของเมือง Beppu โดยมี Beppu Projectเป็ นส่วนหนึ่งในแผนงาน ซึ่ง เริ่มจากการบูรณะบ้ านเรื อนหรื อร้ านค้ าเก่าแก่ และการก่อตังพื ้ น้ ที่สาหรับการพบปะพูดคุยและ
รายงาน “ศิลปะร่ วมสมัยกับการกระตุ้นการพัฒนาท้ องถิ่น– ความเป็ นไปได้ ในการเป็ นเมืองสร้ างสรรค์ของเมือง Beppu –” (2010) โดย Development Bank of Japan สานักงานเมือง Oita 8
15
แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเรี ยกว่า “Platform” ขึ ้น จากนัน้ ในปี ค.ศ. 2009 เมือง Beppu ได้ เริ่ มจัด เทศกาล Beppu Contemporary Art Festival (別府現代美術フェスティバル) 7. Naoshima Art Project รายงานที่ ได้ ก ล่าวถึ ง ข้ างต้ น ยังได้ ย กตัวอย่ างโครงการนี ข้ องเกาะ Naoshima จังหวัด Kagawa ที่เกิดจากความร่วมมือของเมือง Naoshima กับบริ ษัท Benesse (ベネッセ) และจัด เทศกาลร่วมกับเกาะต่างๆ ซึ่งมีศิลปิ นทัง้ ในและต่างประเทศเข้ าร่ วมงาน รวมทังมี ้ กิจกรรมของกลุม่ อาสาสมัคร koebitai (こえび隊) อีกด้ วย ในการศึกษาครัง้ นีผ้ ้ ศู กึ ษามีความสนใจในการศึกษาการสร้ างเมืองของเมือง Kanazawa ว่ามี นโยบายหรือแนวทางในการสร้ างเมืองด้ วยศิลปะร่วมสมัยอย่างไรบ้ าง และวิเคราะห์หาปั จจัยที่มีผล ต่อการนาศิลปะร่วมสมัยมาใช้ ภายในเมือง Kanazawa ซึ่งจะทาการศึกษาและวิเคราะห์ในบทที่ 4 ต่อไป
16
บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา ในการศึก ษาครัง้ นี ผ้ ้ ศู ึก ษามี ความสนใจศึกษาการสร้ างเมืองของเมือง Kanazawa ว่ามี นโยบายหรือแนวทางในการสร้ างเมืองด้ วยศิลปะร่วมสมัยอย่างไรบ้ าง และต้ องการศึกษาวิเคราะห์หา ปั จจัยที่มีผลต่อการนาศิลปะร่วมสมัยมาใช้ ภายในเมือง Kanazawa ซึ่งในการศึกษานี ้ได้ รวบรวมข้ อมูล จากเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ์ อาทิ รายงานนโยบายการสร้ างเมืองด้ วยศิลปะของเมือง Kanazawa รวมทัง้ สื่อ ออนไลน์ ต่างๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อง เช่น เว็บ ไซต์ อ งค์ ก รที่ ท าหน้ าที่ เ กี่ ย วกับ การสร้ างเมื อ งของเมื อ ง Kanazawa โดยรวบรวบข้ อมูลจากเอกสารภาษาญี่ปนเป็ ุ่ นหลัก เนื่องจากเป็ นข้ อมูลเฉพาะท้ องถิ่นซึ่ง อยู่ใ นประเทศญี่ ปุ่ น ในเบื อ้ งต้ น นัน้ ได้ เ ริ่ มศึก ษาเกี่ ย วกับ นโยบายหรื อ แนวคิ ดการสร้ างเมื องใน ความหมายกว้ าง เพื่อทาความเข้ าใจความหมายและหลักการของการสร้ างเมือง รวมทัง้ ศึกษาความรู้ เบื ้องต้ นเกี่ยวกับศิลปะร่วมสมัย เพื่อนิยามความหมายของศิลปะร่วมสมัยโดยสังเขป ดังที่ได้ กล่ าวถึง ในนิยามศัพท์เฉพาะและในบทที่2 ทบทวนวรรณกรรม การศึกษาและรวบรวมข้ อมูลเบือ้ งต้ นเพื่อจัดทาโครงร่างปริ ญญานิพนธ์ เริ่ ม ช่วงปลายเดือน มกราคมถึ งช่วงต้ น เดื อนกุมภาพัน ธ์ หลังจากนัน้ จึงน าเสนอโครงร่ างปริ ญญานิ พนธ์ และในเดือน กุมภาพันธ์ เริ่ มศึกษาข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องจากหนังสือ เอกสาร หรื อสื่อออนไลน์ที่เกี่ ยวข้ องเพื่อนาเสนอ ข้ อมูลในส่วนของบทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม และ บทที่ 3 วิธีการดาเนินการศึกษา เพื่อจะนาเสนอผล การศึกษาครึ่ งแรกในเดือนมีนาคม โดยจะเข้ าพบอาจารย์ ที่ป รึก ษาทุกสัปดาห์ตลอดช่วงเวลาการ ทาการศึกษา
หลังจากนัน้ จะศึก ษาและรวบรวมข้ อมูลเพิ่ มเติ มและน าข้ อมูล มาวิ เ คราะห์ เพื่ อ
นาเสนอผลการศึกษาในบทที่ 4 ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เดือนมีนาคม จากนัน้ นาเนือ้ หาการศึกษามา สรุปผลการศึกษาในบทที่ 5 และนาเสนอผลการศึกษาครึ่งหลังในเดือนเมษายน จากนัน้ จะจัดท า รูปเล่มปริ ญญานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ โดยในส่วนของปริ ญญานิพนธ์ฉบับภาษาญี่ ปนุ่ ผู้ศึกษาจะสรุป เนื ้อหาแต่ละบทโดยสังเขปและเริ่มดาเนินการแปลภายหลังการนาเสนอโครงร่างปริ ญญานิพนธ์ , การ นาเสนอผลการศึกษาในครึ่งแรก และภายหลังการนาเสนอผลการศึกษาในครึ่งหลังแล้ ว
17
ตารางแสดงแผนการดาเนินงาน กิจกรรม รวบรวมข้ อมูลเบื ้องต้ น จัดทาโครงร่างปริญญานิพนธ์ นาเสนอโครงร่างปริญญานิพนธ์ ศึกษาข้ อมูลเพิ่มเติม จากหนังสือ เอกสาร และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องเพื่อนาเสนอในบทที่ 2 (ทบทวนวรรณกรรม) และ บทที่ 3 (วิธีดาเนินการวิจยั ) นาเสนอผลการศึกษาครึ่งแรก ศึกษาข้ อมูลเพิ่มเติม จากหนังสือ เอกสารและงานวิจยั ที่ เกี่ยวข้ อง และนาข้ อมูลที่ได้ มาพิจารณาและวิเคราะห์ เพื่อนาเสนอในบทที่ 4 (ผลการศึกษา) สรุปเนื ้อหาที่ได้ จากการศึกษาเพื่อนาเสนอในบทที่ 5 (สรุปผลการศึกษา) นาเสนอผลการศึกษาครึ่งหลัง แปลปริญญานิพนธ์เป็ นภาษาญี่ปนุ่ นาเสนอปริญญานิพนธ์เป็ นภาษาญี่ปนุ่ และส่งรูปเล่ม ปริญญานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
เดือน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน
18
บทที่ 4 ผลการดาเนินการศึกษา ดังที่ได้ กล่าวถึงข้ างต้ นว่า การสร้ างเมือง หรือ まちづくり นันประกอบไปด้ ้ วยการ ”สร้ าง” ใน หลายองค์ประกอบ และหัวใจสาคัญของการสร้ างเมืองคือการให้ ความสาคัญทังทางด้ ้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ด้ านระบบการบริ หารจัดการ และด้ านการออกแบบหรื อศิลปะ การศึกษาครัง้ นีจ้ ะศึกษา แนวคิดการสร้ างเมืองภายในเมือง Kanazawa โดยเริ่มจากศิลปวัฒนธรรมในภาพรวม หลังจากนัน้ จะ มุง่ เน้ นที่การใช้ ศิลปะร่วมสมัยเข้ ามาพัฒนาเมือง 4.1 การสร้ างเมืองด้ วยมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของเมือง kanazawa เมือง Kanazawa เป็ นเมืองหลวงของจังหวัด Ishikawa ซึ่งตังอยู ้ ่ตอนกลางของเกาะฮอนชู ประเทศญี่ ปุ่ น มีแม่น า้ หลัก สองสายไหลผ่านคือ Saigawa (犀川) และแม่น า้ Asano(浅野川) มีจานวนประชากรประมาณ 460,000 คน (ข้ อมูลเมื่อปี ค.ศ. 2010)9
ภาพที่ 11 แสดงที่ตั ้งของเมือง Kanazawa ที่มา http://www.kanazawa-tourism.com/thai/info/info1.php
ภาพที่ 12 รูปปั น้ Maeda Toshiie บริเวณปราสาท Kanazawa ที่มา http://4travel.jp/travelogue/10187681
พื ้นที่จงั หวัด Ishikawa และ Toyama ในปั จจุบันคือแคว้ น kaga (加賀藩) ในอดีตจนถึงสมัย ปฏิรูป เมจิ (ปี ค.ศ.1868) ปกครองโดยตระกูล มาเอดะ (前田家) โดยไดเมีย วคนแรกคือ Maeda Toshiie (前田 利家) เมือง kanazawa อยู่ภายใต้ การปกครองของตระกูลมาเอดะเป็ นเวลา 280 ปี
9
ข้ อมูลจากองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวประเทศญี่ปนุ่ (JNTO)
19
ซึ่งบริ เวณใจกลางเมือง Kanazawa ในปั จจุบันนีย้ ังคงเหลือปราสาท Kanazawa ซึ่งเป็ น ปราสาทที่ไดเมียวตระกูลมาเอดะใช้ พานักอาศัย และบริ เวณใกล้ กับปราสาทยังมีสวน Kenrokuen ที่ สร้ างขึ ้นโดยตระกูลมาเอดะเช่นกัน ปั จจุบนั ปราสาท Kanazawa และสวน Kenrokuen นีไ้ ด้ กลายเป็ น สถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญของเมือง Kanazawa
ภาพที่ 13 ปราสาท Kanazawa
ภาพที่ 14 สวน Kenrokuen
นอกจากนีย้ ังมีศ าลเจ้ า วัด และสถานที่ทางประวัติศาสตร์ อื่นๆในเมืองอีกมากมาย ซึ่งด้ วย ความที่เมือง Kanazawa ไม่เคยเกิดสงครามหรื อการปะทะใดๆเลยมาเป็ นเวลา 430 ปี ในสมัยที่ยัง เป็ นแคว้ น kaga นัน้ ไดเมียวผู้ครองแคว้ นพยายามหลีกเลี่ยงสงครามและทุ่มเทกับด้ านศิลปวัฒนธรรม ตลอดมา อีกทังในช่ ้ วงสงครามโลกครัง้ ที่สอง Kanazawa นันไม่ ้ ได้ รับผลกระทบจากการทิง้ ระเบิดของ สหรั ฐ อเมริ ก า ดังนัน้ สภาพแวดล้ อ มภายในเมือ งที่ เ ป็ นสิ่ งก่ อ สร้ างเก่ าแก่ จึงยังคงอยู่จ นปั จ จุบั น นอกจากนี ้ศิลปวัฒนธรรมดังเดิ ้ มที่มีมาตังแต่ ้ สมัยเอโดะบางอย่างยังได้ รับการสืบทอดมาจนปั จจุบนั อีก ด้ วย ซึ่ง Kanazawa ถูก จัด ให้ เ ป็ นหนึ่งในเมืองที่ ถูก เรี ย กว่า Little Kyoto ซึ่งเมืองเหล่านี ล้ ้ วนมี ประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน มีทิวทัศน์และบรรยากาศที่คล้ ายคลึงกับเกียวโต และมีวฒ ั นธรรมดังเดิ ้ มที่สืบ ทอดต่อกันมา10 โดยมีการจัดตังกลุ ้ ม่ 全国京都会議加盟市長 ซึ่งเป็ นการรวมกลุม่ เครื อข่ายของเมือง ที่มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกับเมืองเกียวโต สาหรับเมือง Kanazawa นัน้ ได้ เข้ าเป็ นสมาชิกเมื่อปี ค.ศ.1988 แต่ต่อ มาในปี 2009 ก็ ไ ด้ ถอนตัว ออกจากกลุ่ม นี ด้ ้ ว ยเหตุผ ลว่า Kanazawa เป็ นเมื อ งที่ มี ค วาม เจริญรุ่งเรืองของวัฒนธรรมนักรบและการค้ าขายเนื่องจากเป็ นเมืองบริเวณรอบปราสาท (城下町) ใน อดีตซึ่งเป็ นจุดที่แตกต่างกับเกียวโตที่เป็ นเมืองที่มีวฒ ั นธรรมขุนนาง (Yabuuchi, 201411) 10
ที่มา บทความ Little Kyoto : small cities and town similar to Kyoto (2014) (ออนไลน์) http://travel-around-japan.com/blog/little-kyoto-small-cities-and-towns-similar-to-kyoto เว็บไซต์ Little Kyoto หน้ าของเมือง Kanazawa (ออนไลน์) http://www.little-kyoto.com/ishikawa/kanazawa.html 11 เขียนลงในบทความเรื่ อง 『 北陸新幹線で地方創生の優等生に』 -北陸新幹線開業で注目を浴びる小京都・金沢- http://www.nli-research.co.jp/report/researchers_eye/2014/eye141229-4.pdf
20
เมือง Kanazawa มีอานาจบริ หารราชการส่วนท้ องถิ่นตนเอง และยังได้ ประกาศเทศบัญญัติ อนุรักษ์ สภาพแวดล้ อมเก่าแก่ของเมือง (金沢市伝統環境保存条例) ขึ ้นอีกด้ วย โดยประกาศใช้ ในปี ค.ศ.1968 เพื่อเป็ นการอนุรักษ์ สภาพแวดล้ อมในเมือง Kanazawa หลังจากนันก็ ้ ได้ มีการประกาศเทศ บัญญัติที่สมั พันธ์กบั ด้ านภูมิทศั น์ออกมาอีกหลายฉบับ ซึ่งมีเนื ้อหาเรียงตามลาดับเวลาดังนี ้ ค.ศ. 1968 เทศบัญญัติการอนุรักษ์ สภาพแวดล้ อมเก่าแก่เมือง Kanazawa ค.ศ.1989 เทศบัญญัติการอนุรักษ์ สภาพแวดล้ อมเก่าแก่และการสร้ างภูมิทศั น์เมือง Kanazawa ค.ศ.1994 เทศบัญญัติการอนุรักษ์ อาคารบ้ านเรือนเก่าเมือง Kanazawa ค.ศ. 2002 เทศบัญญัติการอนุรักษ์ วดั และศาลเจ้ าอันเป็ นมรดกทางประวัติศาสตร์ของเมือง Kanazawa ค.ศ. 2005 เทศบัญญัติการปรับภูมิทศั น์ริมทางในเมือง Kanazawa ค.ศ. 2005 เทศบัญญัติการปรับภูมิทศั น์ยามกลางคืนของเมือง Kanazawa ค.ศ. 2009 เทศบัญญัติการสร้ างเมืองด้ านภูมิทศั น์ที่สวยงามของเมือง Kanazawa ( ที่มา 条例制定の流れ จาก 金沢市景観総合計画 หน้ า 6) นอกจากสถานที่อนั เป็ นมรดกทางประวัติศาสตร์แล้ ว Kanazawa ยังมีสถานที่สาคัญเกี่ยวกับ ศิลปหัตถกรรมดังเดิ ้ มมากมาย อาทิ พิพิธภัณฑ์ศิลปะ จังหวัด Ishikawa (石川県立美術館) จัดแสดง ศิลปะโบราณ เช่น ผลงานที่ตระกูลมาเอดะมีในครอบครอง ภาพวาดญี่ ปนุ่ ประติมากรรม งานศิลปะ และงานฝี มื อแบบดัง้ เดิ มของช่ างฝี มือ หรื อ อาคารจัด แสดงหัตถกรรมดัง้ เดิ มต่างๆที่ มี ชื่ อเสีย ง ระดับประเทศ และมีศนู ย์หตั ถกรรม Kanazawa Yuwaku Sosaku no mori ซึ่งมีการจัดแสดงกิจกรรม สร้ างสรรค์พิมพ์บล็อคไม้ ย้ อมและทอผ้ า เป็ นต้ น
ภาพที่ 15 (ซ้ าย) ศูนย์หตั ถกรรม Kanazawa Yuwaku Sosaku no mori ภาพที่ 16 (ขวา) ผ้ าย้ อมจาก Kanazawa Yuwaku Sosaku no mori ที่มา http://www.sousaku-mori.gr.jp/
21
นอกจากนีย้ ังมีโรงฝึ กงานหัตถกรรม Utatsuyama ซึ่งเป็ นสถานที่สาหรับเรี ยนรู้และฝึ กการ สร้ างผลงานหัตถกรรมอย่างอิสระด้ วยตนเอง โดยมี หัตถกรรม 5 สาขา คือ งานช่างแก้ ว งานช่างทอง งานช่างย้ อม ศิลปะการลงรัก ศิลปะการปั น้ ดินเผา ซึ่งทางเทศบาลเมือง Kanazawa มีการตังองค์ ้ กร สนับสนุนผู้ที่ผา่ นการฝึ กอบรมจากที่นี่แล้ วมาเปิ ดแกลเลอรีหรือร้ านของตนเองภายในเมือง Kanazawa
ภาพที่ 17 (ซ้ าย) โรงฝึ กงานหัตถกรรม Utatsuyama ภาพที่ 18 (ขวา) ศิลปะการปั น้ ดินเผา ที่มา http://www.utatsu-kogei.gr.jp/
ภาพที่ 19 (ซ้ าย) ศิลปะทองคาเปลว ภาพที่ 20 ศิลปะการลงรัก (漆器) ที่มา http://www.kanazawa-kankoukyoukai.or.jp/movphoto/photo/photo_category.html
ในปี 2009 Kanazawa ได้ รับการบันทึกให้ เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ด้านศิลปหัตถกรรม จากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรื อ ยูเนสโก (UNESCO) ซึ่ง ยูเนสโกได้ จดั ตังระบบเครื ้ อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขึ ้นมาในปี 2004 ซึ่ง Kanazawa ได้ วางเป้าหมายว่าจะ เป็ นหนึ่งในเมืองสร้ างสรรค์และในช่วงแรกนันคณะกรรมการเมื ้ องสร้ างสรรค์ Kanazawa ได้ มีความคิด ว่าจะมุง่ เป็ นเมืองสร้ างสรรค์ด้านการออกแบบ เนื่องจาก Kanazawa มีมหาวิทยาลัยศิลปะ (金沢美 術工芸大学) แต่ ก่ อ นที่ จ ะยื่ น ความจ านงการพิ จ ารณาเมื อ งสร้ างสรรค์ นั น ้ คณะกรรมการเมื อ ง สร้ างสรรค์ และนายกเทศมนตรี ได้ มีความเห็นตรงกัน ว่าจะเปลี่ยนจากด้ านการออกแบบเป็ นด้ าน ศิล ปหัต ถกรรมแทน ซึ่ ง ภายหลัง การได้ รั บ การแต่งตัง้ เป็ นเมื อ งสร้ างสรรค์ ด้า นศิล ปหัต ถกรรม
22
Kanazawa ได้ จดั ตังส ้ านักงานวิจยั เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสินค้ าหัตถกรรมและพัฒนาศิลปหัตถกรรม ต่างๆ และเพื่อเป็ นเมืองสร้ างสรรค์ที่มีความหมายว่า “เมืองที่มีวฒ ั นธรรมเชิงสร้ างสรรค์ที่ยังมีชีวิตที่ สัมพันธ์กับอุตสาหกรรมการผลิตที่ถูกปฏิรูปใหม่อนั มีส่วนช่วยผลักดันเมือง” ซึ่ง Yamade Tamotsu นายกเทศมนตรี เ มือง Kanazawa ได้ ก ล่าวว่า การตัง้ “เมืองสร้ างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม” ไว้ เ ป็ น เป้าหมายของการพัฒนาเมืองนันเริ ้ ่มมาจาก Kanazawa เป็ นที่แรก Yamade Tamotsu ผู้ดารงตาแหน่งนายกเทศมนตรี เมือง Kanazawa คือผู้ที่มีแนวคิดสร้ าง เมืองด้ วยศิ ลปวัฒนธรรมที่ มีอิท ธิ พลอย่ างมากต่อ เมือง เขาดารงตาแหน่งเป็ นนายกเทศมนตรี ถึ ง 5 สมัย โดยเข้ ารับตาแหน่งเมื่อปี 1990 รวมระยะเวลาทังหมด ้ 20 ปี Yamade ต้ องการแสดงเสน่ห์ ของ Kanazawa ให้ เ ป็ นที่ ป ระจัก ษ์ ส่สู ากล และได้ พัฒนา นโยบายการสร้ างเมืองมากมายในการเพิ่ มชี วิตชี วาให้ กับ เมือง Kanazawa ตลอดช่วงเวลาดารง ตาแหน่ง ซึ่งรวมถึงนโยบายการสร้ างเมืองด้ วยศิลปะร่วมสมัยด้ วย
ภาพที่ 21 Yamade Tamotsu ที่มา http://www.umashi-kuni.com/keikanron/kubicho/13.html
Yamade เป็ นผู้ริเริ่มความคิดสร้ างพิพิธภัณฑ์ 21st Century Museum of Contemporary Art ด้ วยความคิดว่า “Kanazawa ที่มีการให้ ความสาคัญกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมตลอดมา ควรจะ พัฒนาให้ รับวัฒนธรรมที่แตกต่างและแปลกใหม่บ้าง” ซึ่งเทศบาลเมือง Kanazawa ภายใต้ การบริหาร ของ Yamade ในขณะนัน้ ได้ กาหนดประเด็นที่จะเป็ นนโยบายทางวัฒนธรรมต่อไปว่า ต้ องการการ ยอมรั บ ในฐานะ “เมือ งประวัติ ศ าสตร์ ” “เมื องศิ ลปหัต ถกรรม” และ “เมืองสร้ างสรรค์ ” ในระดับ นานาชาติให้ เพิ่มมากขึ ้น ซึ่ง Kanazawa มีแผนจัดตังส ้ านักงานวิจัยนโยบายศิลปวัฒนธรรม โดยมี จุด ประสงค์ คื อ เพื่ อ สนับ สนุน การฟื ้น ฟูศิ ล ปวัฒ นธรรมด้ ว ยการจัด งานแสดงศิ ล ปะนานาชาติ
23
ประชาสัมพันธ์และสนับสนุนกิจกรรมในต่างประเทศของศิลปิ น และผลักดันศิลปหัตถกรรมให้ ได้ รับ การประเมินจากสากล ซึ่งสิ่งที่จะเป็ นประโยชน์ต่อการดาเนินนโยบายเหล่านีค้ ือ มหาวิทยาลัยศิลปะ Kanazawa โรงงานหั ต ถกรรม Utatsuyama และพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ 21st Century Museum of Contemporary Art12 4.2 การใช้ ศิลปะร่ วมสมัยภายในเมือง Kanazawa 4.2.1 พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย 21st Century Museum of Contemporary Art
ภาพที่ 22 พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย 21st Century Museum of Contemporary Art ที่มา http://www.japan-photo.de/e-mo-j191-04.htm
ในปี 2004 ได้ มีการสร้ างพิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย 21st Century Museum of Contemporary Art (金沢 21 世紀美術館) ขึ ้น ซึ่งหนังสือ Kanazawa no kikotsu -bunka de machizukuri- โดย Yamade Tamotsu ได้ กล่าวถึงการสร้ างพิพิธภัณฑ์ไว้ วา่ พื ้นที่บริเวณนันเดิ ้ มคือโรงเรี ยนในสังกัดคณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย Kanazawa ภายหลังการย้ ายโรงเรียนแล้ วก็เกิดเป็ นประเด็นของทางเมือง Kanazawa ว่า จะจัด การอย่ า งไรกับ พื น้ ที่ นี ซ้ ึ่ ง อยู่ใ นบริ เ วณเดี ย วกับ ปราสาท Kanazawa สวน Kenrokuen และพิพิธภัณฑ์ศิลปะจังหวัด Ishikawa นอกจากนี ้ยังอยู่ใกล้ เคียงกับย่านการค้ าในเมือง อย่างย่าน Katamachi (片町)และ Korimbo(香林坊)อีกด้ วย ก่อนหน้ านีใ้ นปี 1991 ทางเมือง Kanazawa ประสงค์ จ ะยกพื น้ ที่ นี ใ้ ห้ กับ มหาวิท ยาลัย Kanazawa แต่ท างองค์ ก รศิล ปวัฒนธรรม จังหวัด (県美術文化協会) ได้ ขอพื ้นที่สาหรับสร้ างพิพิธภัณฑ์ศิลปะ 12
Yamade Tamotsu ได้ กล่าวไว้ ในหนังสือ Kanazawa no kikotsu -bunka de machizukuri-
24
ซึ่ง Yamade นายกเทศมนตรี ใ นขณะนัน้ ได้ ตัด สิน ใจว่าเมือง Kanazawa ในฐานะเมือ ง สร้ างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมควรจะมีพิพิธภัณฑ์ศิลปะเพิ่มอีกแห่งเพื่อแยกออกจากพิพิธภัณฑ์ของทาง จังหวัด แต่เขาไม่ต้องการสร้ างพิพิธภัณฑ์ที่ เหมือนกับพิ พิธภัณฑ์ จังหวัดที่เน้ นด้ านศิลปวัฒนธรรม ดังเดิ ้ มของแคว้ น Kaga และคิดว่าการสร้ างพิพิธภัณฑ์ซ ้ากับที่มีอยู่แล้ วนันเป็ ้ นการใช้ เงินภาษี อย่างสูญ เปล่า จึงอยากจะสร้ างสิ่งที่ใหม่ขึ ้นมาในเมือง ซึ่งหมายถึง ศิลปะร่วมสมัย ด้ วยความที่ Kanazawa เป็ นเมืองที่มีภาพลักษณ์โดดเด่นด้ านศิลปวัฒนธรรมเก่าแก่ ทาให้ มี เสียงต่อต้ านว่าเมืองแห่งวัฒนธรรมเก่าแก่นนไม่ ั ้ เหมาะกับความร่วมสมัย แต่นายกเทศมนตรี ยืนยันที่ จะท าตามความตัง้ ใจเดิ ม เพราะจากการไปส ารวจพิ พิธ ภัณ ฑ์ ทัง้ ในและต่างประเทศ เขาพบว่า พิพิธภัณฑ์ในประเทศญี่ปนนั ุ่ นโดยทั ้ ว่ ไปแล้ ว ผู้เยี่ยมชมจะมาเพื่อดื่มด่ากับผลงานศิลปะ ส่วนฝั่ งยุโรป และอเมริกานันจะพบว่ ้ ามีการพาเด็กนักเรียนมาชมพิพิธภัณฑ์ได้ บ่อยครัง้ ทาให้ เกิดความคิดว่าอยาก สร้ างพิพิธภัณฑ์สาหรับชาวเมืองที่เด็กๆ สามารถกระโดดโลดเต้ นหรื อส่งเสียงดังในพิพิธภัณฑ์ได้ และ อยู่ใกล้ ตวั เมืองโดยอยากแวะมาเมื่อไรก็ได้ หลังจากนัน้ ปี 1996 มีการจัดตังคณะที ้ ่ปรึกษาการสร้ างพิพิธภัณฑ์(美術館等構想懇話会) เพื่อร่างแผนเบื ้องต้ นและกาหนดรูปแบบของพิพิธภัณฑ์ โดยคณะที่ปรึกษาประกอบด้ วยผู้ทรงคุณวุฒิ ด้ านศิลปวัฒนธรรมจากหลากหลายหน่วยงาน ซึ่งคณะที่ปรึกษาออกความเห็นว่า ควรสร้ างสถานที่ แลกเปลี่ย นวัฒ นธรรมที่ เ หมาะกับ ความเป็ นเมือ งแห่ งวัฒ นธรรมของ Kanazawa ในการก่ อตัง้ พิพิธภัณฑ์ โดยพิจารณาความสะดวกในการที่สามารถเดินทางไปยังย่านการค้ าในเมืองได้ ในเวลา สันๆ ้ และพิจารณาให้ มีพื ้นที่วา่ ง หรือลานกว้ าง หลังจากนัน้ ก็เริ่ มพิจารณาคัดเลือกผลงานศิลปะที่จะ จัดแสดงโดยเห็นตรงกันว่าจะมีทงั ้ “ผลงานที่โดดเด่นเนื่องจากสามารถมองเห็นได้ จากระยะไกล” ซึ่ง ประกอบด้ วยศิลปะในกระแสปั จจุบัน และศิลปะร่วมสมัยทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ผสมผสาน รวมกับ “ผลงานศิลปะที่นาเสนอเอกลักษณ์ของ Kanazawa” ซึ่งในพิพิธภัณฑ์จะมีพืน้ ที่สาหรับแสดง ผลงานที่ติดตังถาวร ้ (交流ゾーン) ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นศิลปะเชิงทดลองที่สามารถให้ ผ้ เู ยี่ยมชมเข้ าไป สัมผัสกับตัวชิ ้นงาน และเป็ นพื ้นที่ที่ผ้ มู าเยี่ยมชมสามารถพบปะกันได้ นอกจากนี ้ยังมีพื ้นที่สาหรับการ จัดนิทรรศการศิลปะที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ อย่างอิสระ (展覧会ゾーン)
25
ภาพที่ 23 (ซ้ าย) ผลงาน The Swimming Pool โดย Leandro Erlich ภาพที (2004)่ 24 (ขวา) ผลงาน Klangfeld Nr.3 für Alina โดย Florian Claar (2004) ที่มา https://www.kanazawa21.jp/
Yamade กล่าวว่า เขาได้ ตงชื ั ้ ่อพิพิธภัณฑ์ ว่า 21 世紀美術館 เพราะอยากจะให้ พิพิธภัณ ฑ์ แห่งนี เ้ ป็ นดั่ง “สัญ ลัก ษณ์ ของการสร้ างสรรค์วัฒ นธรรมแห่ง อนาคต” ช่วงที่ ดาเนิ น การก่ อ สร้ าง ที่มา https://www.kanazawa21.jp/ พิพิธภัณฑ์นนมี ั ้ การประชุมอภิปรายนับถอยหลังสูว่ นั เปิ ดทาการของพิพิธภัณฑ์ ว่า “พิพิธภัณฑ์ศิลปะ ร่วมสมัยจะเปลี่ยนเมือง” และยังมีการประชาสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์ในคอลัมน์หนังสือพิมพ์ทกุ เดือนจนถึง วัน เปิ ดท าการอีก ด้ วย โดยเนื อ้ หาในคอลัมน์ นัน้ เป็ นการพูดถึ งความคืบ หน้ า ในการก่ อสร้ าง หรื อ ประชาสัมพันธ์งานศิลปะชัว่ คราวที่รวั ้ กันเขตก่ ้ อสร้ าง ซึ่งศิลปะสาธารณะเหล่านีก้ ็ช่วยสร้ างสีสนั ให้ กับ เมืองเช่นกัน ในด้ านสถาปั ตยกรรมของพิ พิธภัณฑ์ก็ได้ มีการจัดตังคณะกรรมการพิ ้ จารณาขึ ้นในปี 1998 และมีแผนการออกแบบสถาปั ต ยกรรมว่า จะสร้ างให้ ตัวพิพิธภัณ ฑ์ ไม่มีการแบ่งเขตด้ านหน้ าหรื อ ด้ านหลัง ให้ เป็ นพื ้นที่สาธารณะด้ วยอาคารทรงกลมที่ใช้ กระจกกรุผนัง และจัดพื ้นที่โล่งกว้ างด้ านนอก สาหรับการแลกเปลี่ย นพบปะกั น ซึ่งภายหลังการเปิ ดทาการในวัน ที่ 9 กันยายน ปี 2004 นัน้ ได้ มี นักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์เพิ่มมากขึ ้นเรื่ อยๆ โดยในปี 2011 มีผ้ มู าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ถึง 1 ล้ านคน ในกลุม่ ผู้มาชมพิพิธภัณฑ์แห่งนี ส้ ว่ นใหญ่จะเป็ นกลุ่มวัยรุ่นช่วงอายุระหว่าง 10-30 ปี ซึ่งเป็ น 60% ของนักท่องเที่ยวทังหมด ้
26
4.2.2 หมูบ่ ้ านศิลปะ 金沢市民芸術村
ภาพที่ 25 หมู่บ้านศิลปะ 金沢市民芸術村 ที่มา http://www.artvillage.gr.jp/
ในปี ค.ศ.1996 เมือง Kanazawa ได้ เปิ ดทาการ หมู่บ้านศิลปะ 金沢市民芸術村 ขึ ้น ซึ่งตัว อาคารบูรณะมาจากโกดังในโรงงานยาเส้ นเก่า โดยให้ คงสภาพตัวอาคารภายนอกดังเดิม แต่ใช้ พืน้ ที่ บริเวณโรงงานเก่านี ้ทังหมดในการพั ้ ฒนาให้ เป็ นพืน้ ที่สาธารณะที่ให้ ชาวเมืองมาใช้ ประโยชน์ในด้ าน ศิลปวัฒนธรรม เช่น ซ้ อมการแสดงละคร ซ้ อมดนตรี หรื อแสดงผลงานศิลปะแขนงต่างๆ อย่างอิสระ เนื่องจากหมูบ่ ้ านศิลปะนี ้อยู่ไกลจากตัวเมือง มีพื ้นที่โล่งกว้ าง และด้ านหลังตัวอาคารเป็ นทางเดินรถไฟ ทาให้ สามารถส่งเสียงดังได้ โดยไม่รบกวนชุมชน หมูบ่ ้ านศิลปะนี ้เปิ ดทาการตลอด 24 ชัว่ โมง และไม่มี วันหยุดทาการ หลังจากเปิ ดทาการมีผ้ เู ข้ ามาใช้ บริการจานวนมาก เฉลี่ยปี ละ 170,000 คน นอกจากนี ้ หมูบ่ ้ านศิลปะแห่งนี ้ยังได้ รับรางวัลออกแบบดีเด่นอีกด้ วย (Yamade,2013)
27
4.2.3 สถานีรถไฟ Kanazawa ฝั่ งตะวันออก(金沢駅東口)
ภาพที่ 26 สถานี Kanazawa ฝั่ งประตูตะวันออก ที่มา http://www.toyoko-inn.com/hotel/00110/photo.html
ช่วงปี 1955 มีการขนส่งสินค้ าเข้ ามาในเมือง Kanazawa เพิ่มมากขึ ้น และมีการเพิ่มจานวนตู้ รถไฟสาหรับขนส่งสินค้ ามากขึ ้น ส่งผลให้ เกิดการร้ องเรี ย นว่าควรสร้ างชานชาลาแยกระหว่างรถไฟที่ ขนส่งสินค้ ากับรถไฟโดยสาร ต่อมาได้ มีก ารด าเนิ น การแบ่ ง ทางออกของสถานี ออกเป็ นสองฝั่ ง โดยแบ่ งให้ ช านชาลา ผู้โดยสารอยู่ฝั่งตะวัน ออกที่ ติดกับ ย่านเมืองเก่าที่ กลายเป็ นย่านการค้ า ในปั จ จุบัน และย้ ายที่ เก็บ ตู้ สินค้ าให้ อยู่ฝั่งตะวันตก ซึ่งการดาเนินการนีส้ าเร็จเมื่อปี 1971 หลังจากนัน้ ก็มีการวางแผนปรับปรุง พื ้นที่ในฝั่ งตะวันออกและตะวันตก โดยในปี 1989 เมือง Kanazawa ได้ ก่อตังคณะที ้ ่ปรึกษาเกี่ยวกับ การปรับปรุงลานกว้ างฝั่ งตะวันออก ซึ่งมีทงั ้ บุคลากรจากมหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้ าน และ ตัวแทนท้ องถิ่ น มาร่วมกันเตรี ยมแผนการปรับ ปรุ งพื น้ ที่ ครัง้ นี ้ ในการสารวจพืน้ ที่ครัง้ แรกนัน้ มีการ สารวจความคิดเห็นจากชาวเมือง ซึ่งส่วนใหญ่ให้ ความสาคัญ แก่มรดกทางประวัติศาสตร์ เช่น สร้ าง ป้อมปราการแบบเดียวกับที่ปราสาท Kanazawa หรื อสร้ างสวนหย่อมเพื่อสื่อถึง Kenrokuen เป็ นต้ น แต่สาหรับ คณะที่ปรึ กษานัน้ กลับมีความเห็นว่า Kanazawa เป็ นเมืองที่มีป ระวัติศาสตร์ ทับซ้ อนกัน หลายชัน้ ดังนันการเพิ ้ ่มความร่วมสมัยในปั จจุบันนีเ้ ข้ าไปอีกชัน้ หนึ่งก็เป็ นสิ่งที่มีความหมาย คณะที่ ปรึกษาจึงลงความเห็นว่าจะให้ พืน้ ที่บริ เวณฝั่ งตะวัน ออกของสถานี Kanazawa เป็ นพืน้ ที่ที่สร้ างขึน้ ใหม่โดยมีรากฐานมาจากศิลปวัฒนธรรมดังเดิ ้ ม และให้ เป็ นพื ้นที่แสดงการต้ อนรับผู้มาเยือน ด้ วยโดม กระจกขนาดใหญ่เพื่อคุ้มกันแขกบ้ านแขกเมืองจากฝนที่ตกชุก ซึ่งตังชื ้ ่อโดมนีว้ ่า motenashi dome
28
(もてなしドーム) ถือเป็ นสถานีแรกในประเทศญี่ปนที ุ่ ่ มกี ารใช้ โดมกระจกที่สามารถให้ ความสว่างทัว่ พืน้ ที่ได้ และมีก ารใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการสร้ างโครงหลังคาโดมจากอลูมิเนีย ม นอกจากนีใ้ น จุดสิ ้นสุดหลังคาโดมยังมีประตูใหญ่ชื่อว่า tsuzumimon ( 鼓門 ) ที่สร้ างจากไม้ โดยด้ านบนเป็ นหลังคา ทรงกล่อง ส่วนเสาประตูเป็ นรูปทรงที่ประกอบจากเสาไม้ ที่เรียงกันเป็ นเกลียว สื่อถึงกลองพืน้ เมืองของ แคว้ น kaga ที่ ใ ช้ ใ นการแสดงละครโน ซึ่งประตูนีอ้ อกแบบให้ ผ้ พู บเห็น สัมผัสได้ ถึงวัฒนธรรมทาง ประวัติ ศ าสตร์ ของ Kanazawa และประตูนีย้ ังมีเ ทคโนโลยี สมัย ใหม่คือท่อเพื่ อระบายอากาศของ ทางเดินใต้ ดินที่ทอดมาถึงสถานี และระบบระบายน ้าฝนจากหลังคาโดมอีกด้ วย โดมกระจกและประตู นีส้ ร้ างเสร็ จสมบูรณ์ในปี 2005 และบริ เวณสถานี Kanazawa ฝั่ งตะวันออกได้ กลายมาเป็ นพืน้ ที่ ที่ สามารถสังเกตเห็น การเที ย บเคี ย งกัน ระหว่างความดัง้ เดิมกับ ความร่ วมสมัย ซึ่งต่อมาในปี 2011 นิตยสาร Travel and leisure จากสหรัฐอเมริ กาได้ คดั เลือกให้ สถานี Kanazawa เป็ นหนึ่งในรายชื่อ สถานีที่สวยที่สดุ ในโลก ร่วมกับ สถานีใ นประเทศอื่นๆ อีก 13 สถานี ซึ่งในประเทศญี่ ปุ่นนัน้ มีเ พีย ง Kanazawa เท่านัน้ 13 4.2.4 Art Avenue และ Public Art พื ้นที่ตา่ งๆ ภายในเมือง Kanazawa นันมี ้ ผ้ คู นมากมายในหลายยุคสมัยร่วมกันใช้ สอย ซึ่งการ ใช้ พืน้ ที่ ที่สมั พันธ์กับ การใช้ ศิลปะสามารถพบเห็นได้ ทั่วไปในเมือง เช่น สภาพอาคารบ้ านเมืองทาง ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม อนุสาวรี ย์ สิ่งก่ อสร้ างทางสถาปั ตยกรรมต่างๆ หรื อการตกแต่งตู้โชว์ สินค้ า ตกแต่งงานเทศกาลต่างๆ โดยเมือง Kanazawa ได้ ตงชื ั ้ ่อพื ้นที่สองฝั่ งถนนจากสถานี Kanazawa ถึงพิพิธภัณฑ์ 21st Century Museum of Contemporary Art ว่าเป็ น Art Avenue เพราะมีการใช้ พื ้นที่ ในการจัดแสดงผลงานศิลปะของนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปะ Kanazawa ราวกับเป็ นงานนิทรรศการ เช่น การแสดงผลงานผ่านตู้โชว์สินค้ าของร้ านค้ าหรืออาคารต่างๆ ซึ่งสามารถพบเห็ นศิลปะเก่าแก่ที่มี อยู่แต่เดิมในพื ้นที่นี ้ด้ วยเช่นเดียวกัน นอกจากนี ้ยังมีการจัดประกวดประติมากรรมนานาชาติ (まちなか彫刻作品国際コンペ) ขึ ้นซึ่งผลงานของผู้ได้ รับรางวัลจะถูก นามาติดตังภายในเมื ้ องอย่างถาวร โดยจัดผลงานเหล่านีเ้ ป็ น Public Art หรือศิลปะสาธารณะที่อยู่ในนโยบายการจัดวางประติมากรรมในเมือง เพื่อสร้ างพืน้ ที่ที่มี เสน่ห์และให้ สามารถสัมผัสกับศิลปะภายในเมือง 13
http://www.travelandleisure.com/slideshows/worlds-most-beautiful-train-stations/6
29
ซึ่งนโยบายนีเ้ ป็ นการเพิ่ม Public Art เข้ าไปซ้ อนเป็ นเสน่ห์อีก ชัน้ หนึ่งของเมือง Kanazawa เพื่อสร้ างภูมิทศั น์หรือสภาพแวดล้ อมที่สวยงามและเป็ นการสร้ างเมืองที่มีลกั ษณะเฉพาะ 14 ต่อไปใน อนาคต เมือง Kanazawa มีโครงการร่วมมือกับ กลุ่มชาวเมืองที่หลากหลาย ทัง้ มหาวิทยาลัยศิลปะ Kanazawa และ นักศึกษามหาวิทยาลัยอื่นๆ ที่มีความชอบด้ านศิลปะ ในการปรับสร้ างภูมิทัศน์ หรื อ สภาพแวดล้ อมต่อไป นโยบายเบื ้องต้ นในการจัดวางประติมากรรมในเมือง Kanazawa 1. จัด วางประติ มากรรมที่ เ หมาะสมกับ สภาพแวดล้ อม มุ่งเน้ น ความกลมกลืน ของ ชิน้ งานกับ ทิวทัศน์ สถานที่ และสภาพแวดล้ อม โดยทา Kanazawa ให้ เ ป็ นเหมือน พิพิธภัณฑ์ โดยพิจารณาพื ้นที่โดยรอบในการจัดวาง 2. การวางประติมากรรมชิน้ ใหม่ โดยคณะกรรมการจัดตังประติ ้ มากรรมจะพิจ ารณา สถานที่ในการวางชิ ้นงาน แนวคิด วิธีดาเนินการจัดวางประติมากรรม การดูแลรักษา เป็ นต้ น 3. การบูรณะชิ ้นงาน คณะกรรมการจะพิจารณาทบทวนการสร้ างหรือการบูรณะชิน้ งาน ที่ไม่กลมกลืนกันกับสภาพแวดล้ อมโดยรอบ โดยวัดจากการรับรู้เ สน่ห์แบบใหม่ของ เมืองที่เกิดขึ ้นจากประชาชนในพื ้นที่นนๆ ั้ 4. การผลัก ดัน ความสาคัญ ของการสร้ างเมืองที่ มีประติมากรรม จะผลักดันการสร้ าง เมืองที่มีการวางประติมากรรมในพืน้ ที่ใจกลางเมืองต่อไป โดยวางแผนให้ เป็ นพืน้ ที่ ท่องเที่ยวเพื่อปรับสภาพแวดล้ อมให้ เกิดความรู้สกึ เพลิดเพลินได้ ยามเดินเล่นในเมือง โดยจัดให้ เป็ น “เส้ นทางศิลปะ” หรือ “เวทีศิลปะ” นอกจากนี ้ เพื่อรักษาความต่อเนื่อง กลมกลืนของเส้ นทางนี ้ เมือง Kanazawa ได้ มีการพิจารณาสงวนบริเวณ Art Avenue และพื ้นที่ทางวัฒนธรรมโดยรอบสวน Kenrokuen ให้ เป็ นพืน้ ที่แสดงศิลปวัฒนธรรม แห่งใหม่ 5. การเปิ ดให้ นานาชาติเ ข้ าร่วมการจัดวางประติมากรรม การวางแผนการจัดแสดง ประติมากรรมที่เปิ ดให้ นานาชาติสามารถเข้ าร่วมได้ กล่าวคือ การให้ โอกาสและพืน้ ที่ แสดงผลงานแก่ศิลปิ นทัว่ โลก และการเปลี่ยนพื ้นที่ให้ เป็ นพืน้ ที่จัดแสดงผลงานอันมี เสน่ห์ที่จะคงอยู่ตอ่ จากนี ้สืบไป 14
ที่มา
金沢まちなか彫刻設置基本方針
เข้ าถึงได้ จาก www4.city.kanazawa.lg.jp/11001/choukoku
30
6. ผลัก ดัน การอนุรัก ษ์ ป ระติมากรรมที่ ชาวเมืองคุ้น เคย คาดหวังการมีกิ จกรรมทาง ศิลปวัฒนธรรมที่ม่งุ เน้ นการผลักดันชาวเมือง และการเข้ าร่วมของชาวเมืองในการ ปรับสร้ าง Public Art (ที่มา 金沢まちなか彫刻設置基本方針 (ผู้ศกึ ษาแปล))
เมือง Kanazawa มีนโยบายผลักดันการสร้ างเมืองที่มีประติมากรรม ด้ วยการจัดการประกวด ประติ มากรรมนานาชาติ ผลัก ดัน นโยบายที่ เ กี่ ย วกับ ศิลปะที่ ร่วมมือกับ พิ พิธภัณ ฑ์ 21st Century Museum of Contemporary Art และมหาวิทยาลัยศิลปะ Kanazawa ( 金沢美術工芸大学)และ ผลักดันการจัดแสดงประติมากรรมให้ เป็ น Public Art ที่สามารถทาให้ ชาวเมืองรู้สกึ คุ้นเคย
ภาพที่ 27 (ซ้ าย) ผลงาน Yakantai, tenntousuru โดย (三枝 一将作品 やかん体、転倒する) เป็ นผลงานที่ชนะการประกวดในปี 2006 ปั จจุบนั ผลงานนี ้ถูกติดตั ้งบริเวณสถานีรถไฟ Kanazawa ที่มา http://www.tamatimes.co.jp/article/1375 ภาพที่ 28 (ขวา) ผลงาน Hashire! โดย Kouri Junchi (郡順次作品 走れ!) เป็ นผลงานที่ชนะการประกวดในปี 2004 ปั จจุบนั ผลงานนี ้ถูกติดตั ้งย่านการค้ า kourinbo http://www.landolia.com/kanazawa/downtown/9200/
นอกจากนีย้ ังมีการจัดทา Public Art Map ซึ่งเป็ นแผนที่ เพื่อแนะนาผลงานประติมากรรม ทัง้ หมดที่ ถูก จัด วางไว้ ต ามจุด ต่างๆของเมือง รวมไปถึ งค าอธิ บ ายข้ อมูลเบื อ้ งต้ น เกี่ ย วกับ ผลงาน เหล่านันอี ้ กด้ วย
31
ภาพที่ 29 Public Art Map แผนที่แนะนาผลงานศิลปะสาธารณะตามจุดต่างๆในเมือง Kanazawa ที่มาhttp://www4.city.kanazawa.lg.jp/11001/choukoku
4.2.5 Kanazawa Art Project (KAP) และกิจกรรมทางศิลปะต่างๆ KAP เป็ นหน่วยงานที่ จัด กิจกรรมเพื่อการเรี ยนรู้ และสัมผัสศิลปะของชาวเมือง Kanazawa โดยมีวตั ถุประสงค์คือการนาเสนอวัฒนธรรมใหม่ที่เกิดขึ ้น ตังแต่ ้ การเปิ ดทาการของ พิพิธภัณฑ์ 21st Century Museum of Contemporary Art และการสร้ างความสัมพันธ์กับนานาชาติในการสร้ างสรรค์ ศิลปะ โดยมีอาจารย์จ ากมหาวิท ยาลัยศิลปะ Kanazawa เป็ นผู้อานวยการ และมีการร่วมมือกับ นัก ศึก ษาหลากหลายสาขาวิช าในมหาวิท ยาลัย ศิลปะ Kanazawa ในการจัดโครงการศิลปะ เช่น โครงการปรั บ ภูมิ ทั ศ น์ ย่ า นตลาดปลา Omicho (横安近江町商店街アートプロジェクト) ซึ่ ง แบ่งย่อยโครงการให้ นกั ศึกษาแต่ละกลุม่ รับผิดชอบในการสร้ างผลงาน ซึ่งมีทงั ้ การสร้ างเส้ นทางรอบ พื ้นที่ด้วยแสงไฟในยามค่าคืน หรือการออกแบบตู้แสดงสินค้ าในพื ้นที่ ซึ่งในการจัดทาโครงการเหล่านี ้ นักศึกษาจะต้ องออกสารวจพื ้นที่เพื่อสร้ างผลงานศิลปะที่เหมาะสมกับพื ้นที่นนๆ ั้
32
นอกจากหน่วยงาน KAP แล้ ว ยังมีการจัดกิจกรรมหรื อ workshop จากหน่วยงานอื่นๆ ใน เมือง Kanazawa อีกมากที่ ตื่น ตัวกับศิลปะร่วมสมัยที่ เ ริ่ มเข้ ามามีบ ทบาทในเมือง ยกตัวอย่างเช่น กิจกรรมชื่อว่า Batta chan arawaru! ( ばったちゃんあらわる!) เป็ นกิจกรรมที่ให้ เป่ าลมผีเสือ้ ขนาดใหญ่ชื่อว่า Battachan โดยมีแนวคิดที่ต้องการสื่อว่า การจะเป่ าลม Battachan ให้ ขยายใหญ่ เต็มที่ได้ นนต้ ั ้ องอาศัยความสามัคคีในการเป่ าลมร่วมกันทุกคน กิจกรรมนีเ้ ป็ นการร่วมมือกัน ระหว่าง พิพิธภัณฑ์ 21st Century Museum of Contemporary Art กับโรงเรียน โดยจะจัดกิจกรรมจะจัดขึ ้นใน โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้ นภายในเมือง
ภาพที่ 30 กิจกรรม Battachan Arawaru! ที่มา http://rucalio3.blog.so-net.ne.jp/2008-05-04-1
33
บทที่ 5 สรุ ปและอภิปรายผลการศึกษา การศึกษาครัง้ นี ผ้ ้ ศู ึกษาได้ ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาท้ องถิ่นด้ วยแนวคิดการสร้ างเมือง หรื อ machizukuri ด้ วยการใช้ ศิ ลปะร่วมสมัย โดยศึก ษาจากกรณี เ มือง Kanazawa จังหวัด Ishikawa ประเทศญี่ปนุ่ เพื่อวิเคราะห์ถึงที่มาและปั จจัยในการใช้ ศิลปะร่วมสมัย เพื่อพัฒนาท้ องถิ่น เนื่องจากเห็น ว่าการพัฒนาท้ องถิ่นด้ วยการใช้ ศิลปะร่วมสมัยนันท ้ าให้ เมือง Kanazawa มีเสน่ห์ที่แปลกใหม่คือ การ นาเสนอศิลปะที่มีความเป็ นสมัยใหม่ร่วมกับการนาเสนอศิลปวัฒนธรรมเก่าแก่ อนั เป็ นเอกลักษณ์ของ เมือง และจากการศึกษาในประเด็นเกี่ยวกับนโยบายการนาเอาศิลปะร่วมสมัยเข้ ามาใช้ ในการพัฒนา ท้ องถิ่นและวิธีการดาเนินการสร้ างเมืองด้ วยศิลปะครัง้ นี ้ทาให้ ทราบถึงความเป็ นมาในการนาเอาศิลปะ ร่วมสมัยมาใช้ ในการพัฒนาท้ องถิ่นและทราบวิธีใช้ ศิลปะร่วมสมัยที่ สมั พันธ์กับการท่องเที่ยว ซึ่งจาก การศึกษาสามารถสรุปและอภิปรายผลการศึกษาได้ ดงั นี ้ 5.1 สรุปผลการศึกษา 5.1.1. ที่มาของการใช้ ศิลปะร่ วมสมัยในเมือง Kanazawa เมือง Kanazawa มีนโยบายการสร้ างเมืองที่เน้ นการใช้ ศิลปวัฒนธรรมเป็ นหลัก ซึ่งแต่เดิมจะ เน้ นด้ านการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมดังเดิ ้ ม ดังจะเห็นได้ จากเทศบัญญัติการอนุรักษ์ สภาพแวดล้ อม เก่าแก่ภายในเมือง การสร้ างพื ้นที่สาหรับเผยแพร่ความรู้ทางศิลปวัฒนธรรมดังเดิ ้ มแก่ชาวเมือง และ การผลัก ดัน ศิ ลปหัต ถกรรมดัง้ เดิ มให้ เ ป็ นจุดสาคัญ ในการยื่ น ขอรับ รองเป็ นเมืองเครื อข่ายเมือ ง สร้ างสรรค์ จ ากองค์ ก ารการศึก ษา วิท ยาศาสตร์ และวัฒ นธรรมแห่งสหประชาชาติ หรื อ ยูเ นสโก (UNESCO) แต่ในระยะหลัง ทางเมือง Kanazawa เริ่ มมีแนวคิดการใช้ ศิลปะร่วมสมัยเข้ ามาเพิ่มใน สร้ างเมืองในด้ านของการเพิ่มเสน่ห์ที่แปลกใหม่และแตกต่างให้ แก่เมือง Kanazawa ตามเทศบัญญัติ เกี่ยวกับการปรับภูมิทศั น์ของเมืองที่ถกู ประกาศใช้ ในช่วงปี 2005 เป็ นต้ นมา
34
สาหรับการใช้ ศิลปะร่วมสมัยภายในเมือง Kanazawa นัน้ ช่วงแรกนาย Yamade Tamotsu นายกเทศมนตรี เป็ นผู้ริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการใช้ ศิลปะร่วมสมัยขึ ้น โดยเริ่ มจากความคิด ที่จะสร้ าง พิพิธภัณฑ์ แห่งใหม่ขึ ้นในตัวเมือง Kanazawa ซึ่งประสงค์จ ะสร้ างความแปลกใหม่ที่ แตกต่างจาก พิพิธภัณฑ์ศิลปะจังหวัด Ishikawa ที่จดั แสดงผลงานที่เกี่ยวกับศิลปะดังเดิ ้ ม จนเป็ นที่มาของการสร้ าง พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยชื่อว่า 21st Century Museum of Contemporary Art พิพิธภัณฑ์แห่งนีเ้ ป็ น สิ่งที่แสดงถึง ความเป็ นปั จจุบนั และความทันสมัยให้ แก่เมือง Kanazawa และเป็ นพิพิธภัณฑ์ที่สร้ าง ขึ ้นโดยมีวตั ถุประสงค์หลักคือให้ ชาวเมืองเข้ าชมชิน้ งานจากศิลปิ นทัง้ ในและต่างประเทศ เป็ นความ ตังใจของท้ ้ องถิ่น ที่จ ะสร้ างพื น้ ที่ สาหรับพบปะแลกเปลี่ยนกันของชาวเมืองมากกว่า มุ่ง สร้ างเพื่ อให้ นักท่องเที่ยวจากต่างเมืองเข้ ามาเที่ ยวชม ซึ่งพิพิธภัณฑ์แห่งใหม่นี ส้ ามารถสร้ างการเรี ย นรู้เกี่ยวกับ ศิลปะร่วมสมัยให้ แก่ชาวเมือง ผ่านผลงานศิลปะ นิ ทรรศการศิลปะ รวมทัง้ กิจกรรมทางศิลปะอื่น ๆ ที่หน่วยงานต่างๆ สามารถร่วมมือกับทางพิพิธภัณฑ์ได้ เช่น การแสดงดนตรีจากวงออเครสตร้ าประจา เมือง Kanazawa(オーケスト・ラアンサンブル金沢)ในบริเวณพิพิธภัณฑ์ให้ ชาวเมืองได้ ชมฟรี ก่อนหน้ านี ้ ในปี 1996 เมือง Kanazawa ได้ ดาเนินการสร้ างหมู่บ้านศิลปะขึน้ เพื่อเป็ นการ สนับ สนุน ความรู้ ความสามารถทางศิลปวัฒนธรรมแก่ ช าวเมือง Kanazawa ให้ ผ้ ทู ี่ มีใ จรัก ศิลปะ สามารถฝึ กซ้ อมหรือจัดแสดงผลงานได้ อย่างอิสระ ไม่ว่าจะเป็ นศิลปวัฒนธรรมดังเดิ ้ มหรื อศิลปะแบบ ใดก็ตาม ซึ่งตอบสนองต่อกลุ่มเยาวชนที่รักการแสดง ดนตรี และศิลปะแขนงต่างๆ รวมถึ งนักศึกษา จากมหาวิทยาลัยศิลปะ Kanazawa ด้ วย จะเห็น ได้ ว่าการเปิ ดหมู่บ้ านศิลปะ และการเปิ ดพิ พิธภัณ ฑ์ ศิลปะร่ วมสมัย 21st Century Museum of Contemporary Art นีล้ ้ วนเป็ นแนวคิดการพัฒนาท้ องถิ่นที่มีจุดประสงค์เพื่อชาวเมือง Kanazawa เองมากกว่าจะต้ องการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยตรง 5.1.2 การใช้ ศิลปะร่ วมสมัยที่สัมพันธ์ กับการส่ งเสริมท่ องเที่ยวในเมือง Kanazawa ในส่วนของการสร้ างเมืองด้ วยศิลปะที่สมั พันธ์กบั การท่องเที่ยวนัน้ ผู้ศกึ ษามีความเห็นว่าเมือง Kanazawa ใช้ ศิลปะร่วมสมัยในด้ านการปรับภูมิทศั น์ของเมืองอย่างกว้ างขวาง เช่นการปรับภูมิทัศน์ ของสถานีรถไฟ Kanazawa ฝั่ งตะวันออกด้ วยการออกแบบโดมกระจกขนาดใหญ่ ที่ ทันสมัย และมี
35
ความหมายสื่อถึงหัวใจของเมือง Kanazawa กล่าวคือ การยินดีต้อนรับแขกผู้มาเยือนด้ วยความยินดี และมีการออกแบบประตู tsuzumimon ที่ได้ รับแรงบันดาลใจมาจากกลองพืน้ เมืองแบบดังเดิ ้ มแต่ใช้ การออกแบบเชิงประยุกต์ให้ ดทู ันสมัยซึ่งกลายเป็ นจุดดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวที่สาคัญอีก แห่งหนึ่งของเมือง Kanazawa นอกจากนี ้เมือง Kanazawa ยังมีนโยบายปรับภูมิทศั น์ที่ให้ ความสาคัญกับ Public Art ภายใน เมือง โดยผลักดันให้ Public Art กลายมาเป็ นเสน่ห์อีก อย่างหนึ่งของเมือง ด้ วยการกาหนดพืน้ ที่ ที่ เรียกว่า Art Avenue ให้ เป็ นพื ้นที่แสดงศิลปะสาธารณะซึ่งได้ รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยศิลปะ Kanazawa นอกจากนีย้ ังมีก ารการจัด วางประติมากรรมในจุดอื่น ๆภายในเมือง ซึ่งมีการคัดเลือก ผลงานทังจากในประเทศและต่ ้ างประเทศ รวมถึงการจัดประกวดผลงานประติมากรรม อีกทังยั ้ งจัดทา Public Art Map แสดงเส้ นทางการเที่ยวชมศิลปะตามจุดต่างๆ ภายในเมืองอีกด้ วย 5.2 อภิปรายผลการศึกษา จากการศึก ษาการสร้ างเมืองด้ วยศิลปะร่วมสมัย ภายในเมือง Kanazawa ครัง้ นี ้ ผู้ศึกษาผู้ ศึกษาตังข้ ้ อสังเกตเกี่ยวกับการนาเอาศิลปะร่วมสมัยมาใช้ ในการดาเนินการสร้ างเมือง ในกรณีเมือง Kanazawa ได้ ดงั นี ้ 5.2.1 Kanazawa มีความต้ องการที่จะหลุดจากภาพลักษณ์ของความเป็ น Little Kyoto โดย ในช่วงแรก Kanazawa เองก็อยู่ในกลุม่ สมาชิกเมือง Little Kyoto แต่ภายหลังก็ได้ ถอนตัวออกจากกลุม่ ในปี 2009 แสดงให้ เห็นความต้ องการของเมือง Kanazawa ว่าไม่อยากเป็ นเมืองที่ถูกเรี ยกว่า Little Kyoto อีกต่อไป ความต้ องการลบภาพความเป็ น Little Kyoto ออกไปจากเมืองนีเ้ องที่เป็ นแรงผลักดัน ให้ มีการสร้ างเสน่ห์ใหม่ที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวขึ ้น 5.2.2 Kanazawa มีมรดกทางประวัติศาสตร์ที่สมั พันธ์กบั ด้ านศิลปะมายาวนาน ดังจะเห็น ได้ จากศิลปหัตถกรรม วัฒนธรรม ศิลปะการแสดงต่างๆ ภายในเมืองที่สืบทอดมาจากวัฒนธรรมของ นักรบซามูไร ตังแต่ ้ สมัยยังเป็ นแคว้ น Kaga ดังนันเมื ้ ่อผู้นาหรือนายกเทศมนตรีของเมือง Kanazawa มี ความคิ ดจะสร้ างสรรค์ ความแปลกใหม่ขึ ้นมาเป็ นเสน่ห์ของเมือง จึงยังอยู่บนฐานคิด ที่ยังคงเสน่ห์
36
ดังเดิ ้ มของเมืองผสมผสานกับการสร้ างสรรค์ เ สน่ห์ ใ หม่ของ Kanazawa ซึ่งก็ คือ การน าเอาความ ทันสมัยในด้ านศิลปะเข้ ามาผสมผสานกับศิลปวัฒนธรรมเดิมในเมืองนัน่ เอง 5.2.3 Kanazawa มี ค วามมุ่ ง มั่น เป็ นเมื อ งที่ มี เ อกลัก ษณ์ ท างด้ านการสร้ างสรรค์ ศิลปวัฒนธรรมในระดับสากล เห็นได้ จากการยื่นเรื่ องเสนอเป็ นเมืองสร้ างสรรค์ต่อยูเนสโกและได้ รับ การแต่งตัง้ ในปี 2009 ซึ่งท าให้ Kanazawa มีเ ครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ ทงั ้ จากในประเทศและ ต่างประเทศ ทาให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน มีการนาผลงานศิลปะจากศิลปิ นนานาชาติ มาแสดงในพิพิธภัณฑ์ รวมถึงผลงานประติมากรรมที่นามาจัดวางในเมืองด้ วย 5.2.4 Kanazawa เป็ นเมื อ งศูน ย์ ก ลางที่ มี ค วามเจริ ญ ทางด้ า นเศรษฐกิ จ แห่ ง หนึ่ง ของ ภูมิภาค Hokuriku เป็ นจุด ศูน ย์ รวมของทรัพยากรมนุษ ย์ ที่ มี ความรู้ ความสามารถของภูมิภาค เนื่องจากมีมหาวิทยาลัยหลายแห่งทังของรั ้ ฐและเอกชน รวมถึงผู้ที่มีความรู้ความสามารถ และความ เชี่ยวชาญทางศิลปะในมหาวิทยาลัยศิลปะ Kanazawa ที่มีนกั ศึกษาที่สามารถผลิตผลงานศิลปะเพื่อ เข้ าร่วมโครงการปรับภูมิทศั น์ภายในเมืองอย่างต่อเนื่อง เป็ นต้ น อีกทัง้ ทางเทศบาลเมือง Kanazawa มีการสร้ างความร่วมมือกับหลากหลายองค์กรในการดาเนินการสร้ างเมืองด้ วยศิลปะร่วมสมัย เช่น การจัดตังคณะกรรมการที ้ ่ปรึกษาที่มีสมาชิ กเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญด้ านศิลปะ ตัวแทนจาก หน่วยงานต่างๆ รวมถึงตัวแทนจากชุมชนในการวางแผนและพัฒนาปรับปรุงแผนการสร้ างหมู่บ้าน ศิลปะและพิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยนี ้ ซึ่งเป็ นการดาเนินการร่วมกันในระยะยาวตังแต่ ้ เริ่มวางแผนจน สร้ างแล้ วเสร็จ 5.2.5 Kanazawa มีผ้ นู าที่เป็ นคนในท้ องถิ่นที่เข้ าใจถึงความเป็ นเมือง Kanazawa อย่าง แท้ จริงและสามารถดึงเสน่ห์ที่เหมาะสมกับเมือง Kanazawa ออกมาได้ และผู้นาอย่างนายกเทศมนตรี Yamade Tamotsu นันเป็ ้ นผู้ริเริ่มดาเนินการใช้ ศิลปะร่วมสมัยเข้ ามาใช้ ในการสร้ างเมือง ประกอบกับ การมีอานาจบริหารราชการส่วนท้ องถิ่นอย่างเข้ มแข็งทาให้ สามารถดาเนินการตามนโยบายได้ โดยไม่ ต้ องพึ่งพิงงบประมาณหลักจากส่วนกลาง ทาให้ นายกเทศมนตรีมีอานาจตัดสินใจตัดสินใจดาเนินการ ตามจุดมุง่ หมายที่วางไว้ ได้
37
5.3 ข้ อเสนอแนะ (ประเด็นที่ควรศึกษาต่ อ) ด้ วยเวลาที่จากัดทาให้ ผ้ ศู กึ ษาไม่สามารถศึกษาการดาเนินนโยบายสร้ างเมืองได้ อย่างละเอียด เช่น การให้ รายนามกิจกรรมหรือ Art Project ต่างๆ รวมถึงรายละเอียดของกิจกรรมที่ถกู จัดขึ ้นในเมือง Kanazawa เพื่อศึกษาความหลากหลายขององค์กรหรื อหน่วยงานที่จัดกิจกรรมส่งเสริ มการใช้ ศิลปะ ร่วมสมัยในเมือง รวมถึ งวิ ธีการใช้ ศิลปะร่ วมสมัย ในแขนงต่างๆในการดาเนิ น กิ จ กรรม ซึ่ง ผู้วิจัย มี ความเห็นว่าเป็ นประเด็นการศึกษาที่น่าสนใจ เช่น ศึกษาการจัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้ ศิลปะร่วมสมัย ให้ กบั เด็กว่ามีการดาเนินการอย่างไรบ้ างเพื่อสื่อให้ เด็กเข้ าใจและสามารถเกิดการเรี ยนรู้ศิลปะได้ เป็ น ต้ น อีกประเด็นที่น่าสนใจศึกษาคือ ความเห็นของชาวเมือง Kanazawa ต่อการใช้ ศิลปะร่วมสมัยใน การส่งเสริมเสน่ห์ของเมือง นโยบายหรื อแนวคิ ด การสร้ างเมืองด้ วยศิลปะร่ วมสมัย นี ถ้ ื อเป็ นประเด็น ใหม่ที่ เ กิ ดขึน้ ใน ประเทศญี่ปนในปั ุ่ จจุบนั ซึ่งในการศึกษาครัง้ นี ้จากัดการศึกษาให้ อยู่ แค่ขอบเขตของเมือง Kanazawa ที่เริ่ มมีการใช้ แนวคิ ดนีใ้ นช่วงเวลาไม่เ กิน 30 ปี หากมีการศึก ษาการใช้ นโยบายการสร้ างเมืองใน ช่วงเวลาต่อจากนี ้ รวมถึงการศึกษาแนวทางการประเมินผลการดาเนินงาน และศึกษาการปรับเปลี่ยน นโยบายที่จะนามาใช้ อย่างต่อเนื่อง ผู้ศึกษาเชื่อว่าจะสามารถเข้ าใจหลักการดาเนินงานการพัฒนา ท้ องถิ่นของประเทศญี่ปนุ่ และค้ นพบแนวทางการพัฒนาท้ องถิ่นที่สามารถนาไปปรับใช้ กับการพัฒนา ท้ องถิ่นในประเทศไทยต่อไปได้ โดยเฉพาะในประเด็นของการท่องเที่ยวที่ท้ายที่สดุ แล้ วการสร้ างเมือง ให้ น่าอยู่สาหรับผู้อยู่อาศัยเป็ นสาคัญต่างหากจึงจะเป็ นเมืองที่น่ามาเยี่ยมเยือนของนักท่องเที่ยว
38
日本語のまとめ 金沢市におけるまちづくり ―現代アートでのまちづくりについての一考察― 1. はじめに 1.1. 研究背景 日本は地方分権で地方自治という制度がある。このような制度によって、『まちづくり』 という地域発展政策が定まった。地方自治制度は地方や地域が自分の事情より適切で統治を 行うことができるため、各地域が自分の地域の適切な特色を表せるようになっており、各地 域の『まちづくり』が進められている。 筆者が留学生として訪問した経験がある金沢について考えてみると、金沢市は 城下町で、 茶屋街、武士の町も残っており、日本古代雰囲気が感じられる町である。さらに、金沢城と 兼六園の辺りには 21 世紀美術館という現代アートの美術館もあり、市内では彫刻の作品も 様々なところに設置されている。インターネットで金沢市の観光スポットランキングでも金 沢の有名な兼六園や、金沢城の他に 21 世紀美術館が上位にされている。 従って、金沢市が市内の現代アートにも重視しているではないだろうかと思われる。日本 の伝統的な文化だけではなく、外から注目されている現代アートもあるため、金沢市の魅力 は新旧が交差する町だと考えられる。そこで、金沢市の観光振興に関する現代アートでまち づくりについて考察し、分析したい。 1.2. 研究目的 金沢市の現代アートでまちづくりを考察 1.3. 研究課題 金沢市が現代アートでまちづくりする要因について考察 1.4. 研究意義 1.4.1. 金沢市における現代アートでまちづくりが理解できる。 1.4.2. 金沢市における観光に関する現代アートでまちづくりが分かる。 1.4.3. タイでの地方観光支援方針を発展する基礎的な情報として使用できる
2. 文献再考と先行研究 2.1. まちづくりについて 日本建築学会編『まちづくり教科書第 1 巻「まちづくりの方法」』(丸晋,2004)は「まち づくり」という言葉の意味として、次のように定義している。 「まちづくりとは、地域社会に存在する資源を基礎として、多様な主体が連携・協力し て、身近な居住環境を漸進的に改善し、まちの活力と魅力を高め、『生活の質の向上』 を実現するための一連の持続的な活動である」15 15
石原一彦、立命館大学政策科学部まちづくり学の教授が学部案内ページに引用されている。
http://www.ps.ritsumei.ac.jp/pages/manabi_ishihara2
39
また、田村昭(1987)によると、まちづくりということばは昭和 50 年ごろに日本全国に普 及していおり、「都市づくり」にはじめ、「地域づくり」、「村づくり」のような相似な意 義の言葉が起こっていた。地域によって言葉遣いは違うが、意味的には「地域に適切な生き 生きとする魅力を創造することを目的として、地域の価値感を開発ということが説明られて いた。さらに、田村はまちづくりの概念について大きく「行政体制を地域自治化」と「市民 の地域への意識改善」を二つ分け、 まちづくり対象には「①モノづくり」「②シゴトづく り」「③クラシづくり」「④シクミづくり」「⑤ルールづくり」「⑥ヒトづくり」「⑦コト おこし」と 7 つを分類し、まちづくり手法は 次の 3 つの構造に重視するべきだと指摘して いる。第一に理学、技術で自然、土木、建築等に関する開発ということである。第二は社会、 文化、行政、あるいは社会意識に関わる社会経済構造や行政体制の開発という。第三は人間 精神、感情や感覚に関わるデザインや芸術的の開発である。 この三つの中の分野で能力が ある人材に重視して支援することはまちづくりのがカギだと示した。 本研究は現代アートを中心に金沢市における現代アートと関わるまちづくりについて考 察したい。 2.2. 現代アートについて 日本経済新聞(日経)のサイトで東京都の大手町で行われた「現代アート A-Z」というセミ ナーから予約された内容を「10 分で現代アート分かる」という記事が書かれ、現代アート は現代の社会現象や社会事情を反映する作品で、自由な「美感」を持っているアートである と定義されていた。 また、米国にある J. Paul Getty Museum という美術館のサイトでは現代アートの定義に ついて 現代に生きているアーティストにより、現代のグローバル化社会に対し、多様な美 感を認めている概念で自由な資材で作成される作品である。従って、現代アートの作品の資 材、作成コンセプトを示し、意味を定義するのは難しいことだと言っていた。 それで、本研究では現代アートの定義として「現代のアーティストより 多様な美感の 概念で創造された作品」とまとめておく。 2.3. 日本における現代アートでまちづくり 日本再興戦略改訂 2014 年、三.国際展開戦略では 『クール・ジャパン体制によりコンテンツ、文化芸術などの戦略「日本の魅力」を効果的に 発信し、産業化に結び付けていく ことが重要である。このため、(中略)メディア芸術・現 代アートの創造・発信など、戦略的重要性の高いテーマ・分野を特定し、新たな各省連携プ ロジェクトを創出していくとともに、日本語教育の普及等も図りつつ、在外公館を活用した 発信を強化する』 と発表した。 これから見ると、日本が現代アートにも「戦力的重要性が高いテーマ・分野」として重視 していると考えられる。
40
それから、日本における現代アートでまちづくりの事例として、日本政策投資銀行 大分事務所の「現代アートと地域活性化~クリエティブシティ別府の可能性~」との報告書 により、いくつかの事例を挙げている。 1) 神奈川県 横浜市 2004 年に「文化芸術都市創造事業本部(現 APEC・創造都市事業 本文)」を設置、「文化芸術創造都市クリエティブシティ・ヨコハマ」を標榜している。歴 史的建造物・倉庫などをリノベートして、「ヨコハマ・クリエティブシティ・センター」や 「BankART1929 」などの文化芸術施設を整備し、様々な団体が芸術的プロジェクトを展開し ている。 2) 新潟県 越後妻有地域(大地の祭)世界中のアーティストが越後妻有につなげて地域 の魅力を広くアピールし、地域活性化を目指すことを目的として現代アートフェスティバル。 2.4. アートプロジェクト 日本において現代アートで地域開発を始めた以来、一つの普及している方法は「Art Project」というものである。林昭雄(2014) は「地域課題×アートプロジェクト!アートと まちづくりの未来について考える [マチノコトオープンゼミ] 」というセミナーで述べてい た。Art Projectとは現代アートを中心し、多様な市民団体の協力で行う各地域を芸術創造 活動ということである。 以下に Art Project を列挙する。16 1) FUKIAGE WONDER MAP 鹿児島県吹上市 2) Osaka Canvas Project 大阪府 3) Hiroshima Art Project 広島県 4) Toride Art Project 茨城県 取手市 5) Maizuru RB Art Project 京都府
3. 研究対策 ・研究方法 本研究は金沢市における現代アートでまちづくりについて調べ、アートでまちづくり概 念や方針はどうだろうか。それで、現代アートでまちづくりする要因について考察し、分析 する。 3.1. 研究範囲 3.1.1. 金沢市でのまちづくりを考察 3.1.2. 金沢市での現代アートの由来を考察 3.1.3. 金沢市の観光に関する現代アートの利用を考察 3.2. 研究方法 金沢市でのアートでまちづくりに関係がある研究や他の資料を考察し分析する。
4.結果と考察 4.1 金沢市の芸術文化遺産でまちづくり 金沢市は元々歴史と伝統芸術文化のような伝統遺産に重視して町開発政策があるというこ とが分かった。金沢市は城下町であり、加賀藩主の金沢城や兼六園、茶屋街などの加賀藩の
16
日本におけるアートプロジェクトの紹介ページから収集した
http://follec-flack.blogspot.com/2012/09/blog-post_8869.html
41
ときからある歴史的な施設が現在まで残っている。それに、金沢は日本伝統工芸も有名であ る。古い町並みや歴史的な風情があり、景観と雰囲気は京都と似ているため、「小京都」と いわれていた。金沢市は1998年には全国京都会議に加盟していたが2009年には脱会した。 1943年から自治行政権がもらえ、自治体の条例を制定するようになった。従って、景観、 街並み保存などに関連する条例を制定した。1968年から2002年の条例を見てみると、伝統遺 産の伝統環境、歴史的風情を保存することに重視していることが見られる。また、市内には ゆわく
「石川県美術館」という伝統工芸美術館、「湯涌創作の森」という工芸制作工房、「金沢卯 辰山工芸工房」などの伝統工芸についての施設もある。金沢市は2009年にユネスコに創造都 市のクラフトとフォークアート部門を認定された。ここでは、金沢市が伝統遺産と文化を重 視するまちづくり方針を開発していると思われる。 4.2 金沢市の現代アートの使用 まず、まちなかに現代アートを使用し、最も斬新なことは21世紀美術館を建設すると決め ることだと思われる。山出保氏金沢市長(1990年-2010年)によって「金沢が伝統文化を重 んじつつ、斬新、異質の文化も受容して発展すべきまちである」と述べた。そして、現代ア ート美術館を建設することにした。 そのうえ、1996年には金沢芸村を施設した。ここでは 自由に演劇、演奏練習、作品発信などができる。市民の芸術、文化的の能力を支える場所で ある。これらは 観光スポットを作る意向ではなく、市民のために考えていた政策ではない だろうと考えられる。それから、21世紀美術館ができた以来、新しい現代芸術文化を発信す ることを目的にした「金沢アートプロジェクト」(KAP)という団体が創立した。美術館をは じめ、金沢美術大学の教員、国際などとコラボして行わるアートプロジェクトが増えてい く。 観光支援の関する現代アートでまちづくり方針については 金沢市が景観の形成が最も重 視されていると考えられる。金沢駅東口の整備でもてなしドームという大きいガラス屋根を 作り、伝統な鼓の形から現代的にデザインした鼓門を作り、現在は金沢の有名な観光スポッ トになっていた。 また、金沢市は金沢駅から21世紀美術館までの道路沿いを「アート・アベニュー」と名付 け、商店やビルのショーウィンドーや空地で芸術作品の展覧会を開くということである。そ のなかに国内外の彫刻作品を展示する「まちなか彫刻国際コンペ」が行われ、入賞した作品 はまちなかに設置される。2005年以降の金沢市は街に景観的な新しい魅力を加えるように、 現代アートの彫刻作品をまちに設置パブリックアートを設置する「金沢まちなか彫刻設置基 本方針」を制定した。さらに、市内に設置している彫刻や工芸作品を案内する「Public Art Map」も作った。 4.3
金沢市の現代アート使用する要因分析 4.3.1 美術、芸術的な経歴:まちの元魅力は伝統芸術文化だという認識が持ち、街 の新しい魅力について考えると芸術文化をモダンにすることになった 4.3.2 旧市街以外の魅力を創造意向:金沢市が小京都会議加盟から脱会し、旧市街 雰囲気の小京都の印象を消すために新しい魅力を創造することにした。そこで、金沢市の新 しい魅力は「伝統芸術文化と新たな芸術文化が統合されたまち」という説が考えられる。 4.3.3 国際的に開発概念:ユネスコに創造都と認定され、国内外の創造都市のネッ トワークが多くあるようになったため、互いに交流できるようになった。
42
4.3.4.中核都市:金沢市は北陸地方の中核都市で、経済成長もあり、人材も豊であ る。多様な能力がある団体と共同施行することができる。例えは、美術大学があり、学生の 協力でアートプロジェクトを行うこと。 4.3.5 地元からのリーダーと自治行政権:金沢出身の市長山出保氏が金沢のことが よくわかり、金沢に適切な魅力を創造できる。その上、金沢市は自治行政権で、市長が決め る政策、方針などの通りに直接施行できる。
5.今後の課題 本稿は石川県金沢市の範囲で現代アートでまちづくりを考察した。アートでまちづくりと の概念は日本にもまだ新しいことで、金沢市では30年以内に施行されている。現代アートで まちづくりに関する団体、アートプロジェクト施行方法をより詳細に考察は今後に残された 課題である。 さらに、金沢市のアートでまちづくり方針の施行評価、方針の改訂などを考察していく必 要がある。そして、他の地方の現代アートでまちづくりについての考察は、また稿を改めて 論じることにしたい。
43
บรรณานุกรม องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศญี่ปน. ุ่ (มปป.) เมืองประวัติศาสตร์ ของญี่ปนุ่ คานาซาวาท่องเทีย่ วสัมผัสวัฒนธรรมดัง้ เดิ มและวัฒนธรรมสมัยใหม่-. ค้ นจาก http://www.yokosojapan.org/th/wp-content/uploads/2014/05/Kanazawa-TouristReference-Thai.pdf 石原 一彦. 個別科学から総合科学へ —まちづくり学— Retrieved from http://www.ps.ritsumei.ac.jp/pages/manabi_ishihara2 金沢まちづくり市民研究機構. (2004). 市民研究機構報告書『アートからのまちづくり』 Retrieved from http://www4.city.kanazawa.lg.jp/11001/shiminkikou/1ki/seika.html 田村昭. (1987)『まちづくりの発想』岩浪新書 中島 正人. 金沢市のまちづくりと条例. Retrieved from http://bunken.nga.gr.jp/kenkyuusitu/seminar/siryou/kanazawa_1.pdf 日本経済新聞(日経). (2012). 10 分で分かる現代アート、理解深める 20 のキーワード 「日経アートプロジェクト」セミナーから.Retrieved from http://www.nikkei.com/article/DGXBZO39979240Z20C12A3000000/ 山出保. (2013).『金沢の遺骨 -文化で街づくり‐』.北国新聞社. 薮内. (2014). 『 北陸新幹線で地方創生の優等生に-北陸新幹線開業で注目を浴びる小京都・ 金沢-Retrieved 20 March 2015 from http://www.nli- research.co.jp/report/ researchers_eye/2014/eye141229-4.pdf 「彫刻のあるまちづくり」先進事例検討. (2012).Retrieved from http://www.city.chiryu.aichi.jp/cmsfiles/contents/0000009/9022/2_siryo01.pdf 4Travel.jp. (2015).金沢観光人気スポット.Retrieved from http://4travel.jp/domestic/area/ hokuriku/ishikawa/kanazawa/Kanazawashinai/kankospot Creative Library Media-Social Interestgraph Service- . (2012). アートでまちづくり、アート プロジェクト 10 選.Retrieved from http://follec-flack.blogspot.com/2012/09/blogpost_8869.html.
44
Development Bank of Japan. (2010). Gendai art to chiikikasseika –Creativecity Beppu no kanousei-. Retrieved from http://www.dbj.jp/investigate/area/kyusyu/index FUKIAGE WONDER MAP 実行委員会. (2014).アートでまちおこし‼.Retrieved from https://faavo.jp/kagoshima/project/157 Jalan.net. (2015).石川県の観光スポットランキング.Retrieved from http://www.jalan.net/kankou/190000/ Kanazawa 21st Century Museum of Contemporary Art Website. Retrieved from https://www.kanazawa21.jp/. Kanazawa Art Project (KAP) Retrieved from http://www.kanazawa-bidai.ac.jp/~manabeju/ kap/shoutengai02/index.html Kanazawa city. (2005) 『金沢まちなか彫刻設置基本方針』Retrieved from http://www4.city.kanazawa.lg.jp/11001/shiminkikou/1ki/seika.html Kanazawa City Tourism Association Site. http://www.kanazawa-kankoukyoukai.or.jp/movphoto/photo/photo_category.html Little kyoto website. http://www.little-kyoto.com/ishikawa/kanazawa Prime minister of Japan and His Cabinet. (2014). Japan Revitalization Strategy Revised in 2014 -Japan’s challenge for the future – Retrieved from http://www.kantei.go.jp/jp/singi/keizaisaisei/pdf The J.Paul Getty Museum. About Contemporary Art. Retrieved from http://www.getty.edu/education/teachers/classroom_resources/curricula/contempo rary_art/background1.html (in English)