โครงการ รพ. ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ

Page 1

โครงการโรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพดาน อาหารและโภชนาการ


นโยบายรัฐบาล มอบใหกระทรวงสาธารณสุขขับเคลื่อนมาตรการสราง สุขภาพลดอัตราการปวย ตายจากโรคไมติดตอ และจัดทํา ยุทธศาสตร การบริหารราชการแผนดิน ๔ ป ในประเด็น นโยบาย “ครัวไทยสูครัวโลก” และ”อาหารฮาลาล” กรมอนามัยดําเนินการจัดทําโครงการโรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพดานอาหารและโภชนาการ เพื่อ เผยแพรประชาสัมพันธใหเจาหนาที่ ประชาชน และญาติ ผูปวย มีความรูและมีทางเลือกในการบริโภคอาหารสุขภาพ สะอาด ปลอดภัย และลดปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคไมติดตอเรื้อรังและ โรคติดตอทางเดินอาหาร สงผลใหประชาชนมีภาวะสุขภาพดี

อยางตอเนื่องและยั่งยืนตอไป


พื้นที่เปาหมาย

รพศ./รพท./รพช. ทุกแหงในสังกัดกระทรวง สาธารณสุข และรพ.ของศูนยอนามัย ในเขตการสาธารณสุขที่ ๑๔


วิธีการดําเนินงาน การดําเนินงานสงเสริมสุขภาพดานอาหารและโภชนาการสําหรับ โรงพยาบาล มีแนวทางดังนี้ 1. นโยบาย มีการกําหนดนโยบายและมาตรการการดําเนินงาน ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพดานโภชนาการสูการปฏิบัติ และมีแผนปฏิบัติงานรองรับ 2. อาหารปลอดภัย วัตถุดิบที่ใชในการปรุงอาหารในโรงครัวของ โรงพยาบาลตองปลอดภัยจากการปนเปอนของสารฟอกขาว ฟอรมาลีน สารกันรา บอแรกซ สารกําจัดศัตรูพืช และน้ํามัน ทอดซ้ํา


วิธีการดําเนินงาน(ตอ) 3. สถานที่ประกอบอาหารผูปวยในโรงพยาบาล - สถานที่ประกอบอาหารของโรงพยาบาลผานเกณฑ มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร - มีการบริการอาหารเฉพาะโรคสําหรับผูปวยโรค ไมติดตอเรื้อรัง - มีบริการอาหารเพื่อสุขภาพสําหรับผูปวยอื่นๆ เชน อาหารลด หวาน มัน เค็ม และเพิ่มผักผลไม ในเมนูอาหาร - มีเมนูชูสุขภาพสําหรับผูปวยทั่วไปและเจาหนาที่ - มีอาหารฮาลาลใหบริการแกผูปวยมุสลิม (เฉพาะโรงพยาบาล เปาหมายป 55)


วิธีการดําเนินงาน(ตอ) 4. อาหารเพื่อสุขภาพในรานอาหารในโรงพยาบาล - รานอาหาร แผงลอยจําหนายอาหารในโรงพยาบาล ผานเกณฑ CFGT - รานอาหารในโรงพยาบาลผานเกณฑรับรอง รานอาหารเมนูชูสุขภาพ/เมนูไรพุง ๒๑๑ - จัดการประชุมตามแนวทาง Healthy meeting โดย เนนอาหารวางเพื่อสุขภาพ


วิธีการดําเนินงาน(ตอ) 5. การสื่อสาร / การใหสุขศึกษาแกญาติและผูปวย - โรงพยาบาลควรจัดใหความรูแกผูปวยและญาติผูปวย ทั้งอาหาร เฉพาะโรค อาหารลดหวาน มัน เค็ม และเพิ่มผัก ผลไม รวมทั้ง อาหารเพื่อสุขภาพ - ติดตามเยี่ยมบาน ดูแลกลุมเสี่ยงและผูปวย หลังการใหบริการ ความรู คําแนะนํา ดานอาหาร และโภชนาการที่ไดรับขณะอยูใน โรงพยาบาล - ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร - จัดนิทรรศการเรื่องอาหาร เนนใหมีการแสดงสวนประกอบและ ปริมาณที่ชัดเจน สามารถนําไปปฏิบัติไดเองที่บาน - อบรมใหความรู อสม.ใหเปนแกนนําในการเผยแพรความรู ขอมูล ขาวสารเกี่ยวกับอาหารปลอดภัยและอาหารเพื่อสุขภาพ


ผลการดําเนินงาน ระดับ การประเมิน นครราชสีมา

ดีเดน

ดี

(200 คะแนน) (180-199)

พัฒนาได

ไมผาน

(160-179)

(<160 คะแนน)

ชัยภูมิ

๑๑

-

บุรีรัมย

-

-

สุรินทร

-


ปญหาอุปสรรค การดําเนินงานที่ยังไมครอบคลุมในทุกโรงพยาบาล ความเขาใจในเกณฑการประเมินของผูรับผิดชอบ

ยังคลาดเคลื่อน ที่ผานมาเกณฑการประเมินยังไมนิ่งมีการ เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา


แบบประเมินโครงการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ดานอาหารและโภชนาการ ที่

๑. ๒. ๓. ๔.

ผลการประเมิน เกณฑการประเมิน

องคประกอบที่ ๑ : การบริหารจัดการ แตงตั้งคณะทํางานเพื่อกําหนดนโยบายและ มาตรการการขับเคลื่อนในโรงพยาบาล(๒๕ คะแนน) ประกาศนโยบายและมาตรการการดําเนินงาน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพดานโภชนาการ(๒๕ คะแนน) สื่อสารนโยบายและมาตรการโรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพดานโภชนาการใหผูเกี่ยวของ และประชาชนทราบอยางนอยปละครั้ง(๒๕ คะแนน) นํานโยบาย / มาตรการสูการปฏิบัติ และมี แผนปฏิบัติงานรองรับ(๒๕คะแนน)

ผาน

ไมผาน

หมายเหตุ

๑. คําสั่ง / นโยบาย ๒. ประกาศ ๓. - เอกสาร - ภาพกิจกรรม ๔. แผนปฏิบัติการ


ที่

ผลการประเมิน เกณฑการประเมิน

องคประกอบที่ ๒: การดําเนินงาน ๕. อาหารปลอดภัยในสถานที่ประกอบอาหาร ผูปวยในโรงพยาบาล (๒๐คะแนน) ๕.๑ คัดเลือ กวัตถุดิบจากแหลงผลิต จํ า หน า ยที่ ผ า นการรั บ รองอาหาร ปลอดภัย เชื่อถือได ๕.๒ ส ง เสริ ม ให มี แ หล ง ผลิ ต อาหาร ปลอดภัยในพื้นที่อยางยั่งยืน ๕.๓ สุ ม ตรวจสารปนเป อ น ๖ ชนิ ด ใน วัตถุดิบที่นํามาปรุงอาหารไดแก สารฟอก ขาว ฟอรมาลิน สารกันรา บอแรกซ สาร กําจั ดศั ตรูพื ช(๔ กลุม ) และน้ํา มัน ทอด ซ้ํา เปนระยะอยางนอยเดือนละ ๑ ครั้ง

ผาน

ไมผาน

หมายเหตุ

๕.๑ บันทึกแหลงวัตถุดิบจัดซื้อ ๕.๒ มีขอมูลเครือขายผูผลิต อาหารปลอดภัยในพื้นที่

๕.๓ บันทึกการตรวจและผล การตรวจ ทั้งนี้โดยใชชุด ตรวจสอบ (test kits) ที่ใช ตรวจสอบสารกําจัดศัตรูพืช มี ๔ชนิดไดแก


ที่

ผลการประเมิน เกณฑการประเมิน ผาน

๖ สถานที่ประกอบอาหารผูปวยในโรงพยาบาล (๓๐ คะแนน) ๖.๑ ผา นเกณฑ มาตรฐานสุ ขาภิบ าลอาหาร ๓๐ ขอ ๖.๒ ลดการปรุงอาหารหวาน มัน เค็ม

๖.๓ สงเสริมการกินผักผลไม

ไมผาน

หมายเหตุ

๖.๑ ใบรับรองการผานเกณฑ ๖.๒ สถิติการสั่งซื้อ น้ําตาล น้ํามัน และ เครื่องปรุงรสเค็ม (ใช เ กณฑ ๖๖๑ ( น้ํ า ตาล:ไขมั น : เครื่องปรุงรสมีโซเดียม)) ๖.๓ สถิติการสั่งซื้อผักผลไม(บริโภคผัก มื้อละ ๒ ทัพพี ผลไมมื้อละ ๑-๒ สวน)

๖.๔ อาหารเฉพาะโรค ๖.๕ อาหารเมนู ชู สุข ภาพสํ า หรับผู ป วยทั่ ว ไป และเจาหนาที่ ๖.๖ อาหารฮาลาล*

* รพ.กลุมเปาหมายป 55 และรพ.ที่มี การใหบริการแกผูปวยมุสลิมในพื้นที่


ที่

เกณฑการประเมิน

๗ รานจําหนายอาหารในโรงพยาบาลทุกราน (๒๐ คะแนน) ๗.๑ สุ ม ตรวจสารปนเป อ น ๖ ชนิ ด ใน วัต ถุ ดิ บ ที่ นํ ามาปรุ ง อาหารได แ ก สารฟอก ขาว ฟอรมาลิน สารกัน รา บอแรกซ สาร กํ า จั ด ศั ต รู พื ช (๔ กลุ ม ) และน้ํ า มั น ทอดซ้ํ า เปนระยะอยางนอย ๓ เดือนตอครั้ง ๗.๒ รานอาหาร แผงลอยจําหน ายอาหารใน โรงพยาบาลผานเกณฑมาตรฐาน CFGT ปละ ครั้ง ๘ จัดการประชุมตามแนวทาง Healthy Meeting โดยเนนจัดเมนูอาหารวางเพื่อสุขภาพ (๑๐ คะแนน)

ผาน

ผลการประเมิน ไมผาน

หมายเหตุ

- บันทึกการตรวจและผลการ ตรวจ ทั้งนี้โดยใชชุดตรวจสอบ (test kits) ที่ใชตรวจสอบสาร กํ า จั ด ศั ต รู พื ช มี ๔ชนิ ด ได แ ก Organophosphate, cabarmate, organochlorine, pyrithroid - ปายรับรองCFGT

สมุดบันทึกการจัดเมนูอาหารวาง


ที่

ผลการประเมิน เกณฑการประเมิน

๙. คลินิกผูปวยนอกและการติดตามเยี่ยมบาน (๒๐คะแนน) ๙.๑ ใหความรูเรื่องการบริโภคอาหารที่ดีตอสุขภาพ เชน การบริโภคอาหาร ลด หวาน มัน เค็ม และเพิ่มการกินผัก ผลไม รวมทั้งอาหารเฉพาะโรคตางๆ ใหกับผูปวยและญาติ ผูปวยที่มารับบริการ ๙.๒ ติ ด ตามเยี่ ย มบ า นและให ค วามรู เ รื่ องการบริ โ ภค อาหาร ๙.๓ ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารอยางนอยปละ ๑ ครั้ง ๙.๔ จัดนิทรรศการเรื่องอาหารอยางนอย ๓ เดือนตอครั้ง ๙.๕ การมีสวนรวมของชุ มชนโดยอบรมใหความรู กับ อสม.หรือ ใหอสม. เปนแกนนําในการเผยแพร ความรู ขอมูลขาวสาร เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย และ อาหารเพื่อสุขภาพ อยางนอย ๑ เดือน/ครั้ง

ผาน

ไมผาน

หมายเหตุ

๙ . ๑ ส มุ ด บั น ทึ ก ก า ร ปฏิบัติงานและภาพกิจกรรม

๙ . ๒ ส มุ ด บั น ทึ ก ก า ร ปฏิบัติงานและภาพกิจกรรม ๙.๓ สรุ ป ผลการประเมิ น พฤติกรรม ๙.๔ สมุดบันทึกการ ปฏิบัติงานและภาพกิจกรรม


เกณฑการใหคะแนน รายละเอียดการใหคะแนน (คะแนนเต็ม 200 คะแนน) ระดับดีเดน ไดคะแนน 200 คะแนน ระดับดี ไดคะแนน 180-199 คะแนน ระดับพัฒนาได ไดคะแนน 160-179 คะแนน

















Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.