1
คูมือการใชงานและปรนนิบัตบิ าํ รุง กลองตรวจการณกลางคืน
โดย กรมการทหารชาง
1
คํานํา คูมือกลองตรวจการณกลางคืน กรมทหารชาง โดยกองวิทยาการ กองคลังทหารชาง และ กรมทหารชางที่ 21 จัดทําขึน้ เพื่อตองการเนนย้ํา หนวยใชและผูใชใหสามารถปฏิบตั ิตอกลองตรวจการณ กลางคืนทุกประเภทไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ เพื่อเปนการยืดอายุการใชงานและประหยัด งบประมาณในการซอมบํารุง ทั้งนี้ เนื่องจากกลองตรวจการณกลางคืนเปนสิ่งอุปกรณที่ใชเทคโนโลยีสูง สวนประกอบหลักที่สําคัญของกลองตรวจการณกลางคืน คือ หลอดภาพขยายแสง ซึ่งมีราคาคอนขางสูง และมีอายุการใชงานที่จํากัด หากนํากลองตรวจการณกลางคืนไปใชงานไมถูกวิธี หรือละเลยในเรื่องการ ปรนนิบตั ิบาํ รุง จะทําใหอายุการใชงานของกลองลดนอยลง และชํารุดกอนเวลาอันสมควร รายละเอียดจะประกอบไปดวย คําแนะนําในการใชงาน การปรนนิบตั ิบํารุง การเก็บรักษา และการบันทึก ตลอดจนขอควรระวังตางๆ ของกลองตรวจการณกลางคืนทุกประเภท ที่สําคัญหนวยจะตอง บันทึกชั่วโมงการทํางานจริงลงในแบบบันทึกทุกครั้ง เพื่อจัดเก็บเปนขอมูลตรวจสอบชั่วโมงการใชงานของ หลอดภาพขยายแสง ทั้งนี้ ขอมูลดังกลาวจะเปนประโยชนตอกรมทหารชางเปนอยางมากตอการนําไปสูการ พัฒนาปรับปรุงในสวนอืน่ ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใหกองทัพไดมียุทโธปกรณที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพสําหรับ นําไปใชในการปฏิบตั เิ พื่อบรรลุภารกิจของหนวยไดอยางแทจริง กองวิทยาการ กรมการทหารชาง หวังเปนอยางยิ่งวา คูมอื เลมนี้จะเปนประโยชนตอหนวยของ ทานและหากมีขอคิดเห็นขอเสนอแนะ ซึ่งเปนประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนากลองตรวจการณกลางคืน หรือคูมือการใชงาน กรุณาติดตอ กองวิทยาการ กรมการทหารชาง คายภาณุรังสี อําเภอเมือง จว.ราชบุรี 70000 โทร. 032-337267, โทร.ทบ. 53148, 53150
กองวิทยาการ กรมการทหารชาง
2
เรื่อง
สารบัญ
1. กลองตรวจการณกลางคืน : เสนทางการพัฒนา 2. ความรับผิดชอบของสายยุทธบริการ 3. การแบงประเภทกลองตรวจการณกลางคืน 4. ขอมูลทั่วไป 5. คุณสมบัติ 6. สวนประกอบ 7. ปุมควบคุมและปรับแตง 8. การปรนนิบตั ิบาํ รุง 9. การใชงาน 10. ขอควรปฏิบตั ิและขอควรระวัง 11. การเก็บรักษา 12. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ยีห่ อ ITT รุน AN/PVS-14 13. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-3153 14. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคล ยี่หอ LEICA รุน BIG 2 15. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคล ยี่หอ LEICA รุน BIG 25 16. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคล ยี่หอ LITTON รุน AN/PVS-7B 17. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ IEI รุน SHABANOOR 1001 18. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LITTON รุน AN/PVS-5B 19. กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) ยี่หอ LEICA รุน BIG 25 3X 20. กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) ยี่หอ NUMAX รุน AN/PVS-4 21. กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) ยี่หอ DELFT รุน LUNOS 6X 22. กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-T4 23. กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ STARTRON รุน MK 800/300 mm 24. กลองตรวจการณกลางคืน, ประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร SIMRAD รุน KN 200 25. กลองวัดระยะดวยแสงเลเซอร ยี่หอ SIMRAD รุน LP-7 ประกอบกลองฯ รุน KN 200 26. เครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอรพรอมกลองตรวจการณกลางคืน ยี่หอ DELFT รุน MLR40 และ MUNOS WS6 27. กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน ยี่หอ NEWCON รุน NVS-6 28. กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน ยี่หอ LITTON รุน AN/AVS-6 29. กลองตรวจการณแบบวัดระยะได ยี่หอ LEICA รุน VECTOR 1500
หนา 1 4 5 6 7 7 8 9 10 10 10 11 13 15 17 19 21 23 24 26 27 28 31 33 35 36 38 40 41
3 30. 31. 32. 33. 34. 35.
กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ RAYTHEON รุน AN/PAS-13B(V)2 กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ RAYTHEON รุน AN/PAS-13B(V)3 กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ SAGEM รุน MATIS ปญหาและอุปสรรคในการสนับสนุนหนวย ขอเสนอแนะเพื่อประโยชน แบบบันทึกการใชงาน
42 43 44 45 47 48
1
กลองตรวจการณกลางคืน : เสนทางการพัฒนา กลองตรวจการณกลางคืนมีเสนทางของการพัฒนาที่ยาวนานถึง 60 ป มาแลว จากชวง ระยะเวลาที่สงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปจจุบนั เริ่มดวย Light Intensification Technology ที่สามารถสรางกลองใหสามารถมองเห็นภาพได ภายใตการสองสวางเพียงรางๆ อาทิ จากแสงจันทรขางแรม หรือแสงดาว ในชื่อวา “Starlight Scope” และพัฒนามาเปนกลองเล็งยิงในเวลากลางคืนในปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 วา “Sniper Scope” กลอง ดังกลาวนี้ ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่องจนเปนยุคที่ 4 ของการพัฒนาในปจจุบนั ในชื่อวา “Image Intensifier, Forth Generation หรือที่เรียกวา “ IV Gen. ” จากหลักการที่ไดพัฒนาวงจรใหสามารถขยายความสวาง รางๆ ของภาพทีเ่ กิดจากแสงเพียงเล็กนอยมากระทบวัสดุเรืองแสงที่เรียกวา “Detector” โดยกอนหนานี้ แสงสะทอนจากวัตถุที่เปนเปาหมายไดมีการรวมตัวผานเลนสท่มี ีกําลังขยายและมีความกวางของการมองเห็น ตางๆ กันมาแลว ตามวัตถุประสงคทจี่ ะนําไปใช เชน การตรวจการณ การเล็งยิง การตามเปาหมาย และ การควบคุมการยิงอัตโนมัติ เปนตน มีหลายๆ สถาบันวิจัย ตลอดจนมหาวิทยาลัยและบริษัทผลิตภัณฑทางทหาร มองเห็นอุปสรรค ของระบบกลองกลางคืนตรงที่ตองอาศัยแสงสวางเปนตัวสะทอนเปาใหมองเห็นภาพได ซึ่งเปนปจจัยที่มีขดี จํากัดในสมรภูมิสวนใหญ จึงไดทําการวิจัยและพัฒนาการหลายดาน ทั้งในดานคลื่นความสั่นสะเทือนของ พื้นดินจากความเคลื่อนไหว และในดานคลื่นแมเหล็กไฟฟา จากคลื่นเสียง คลืน่ เรดาห ไปจนถึงคลืน่ ความรอน (รังสีอินฟราเรด) และคลืน่ รังสีเหนือมวง (อุลตรางไวโอเลท) ในป ค.ศ. 1955 ไดมีการพัฒนา Infrared Technology ขึ้น นับเปนครั้งแรงที่มีการพัฒนา กลองรังสีความรอน (IR Detector) เปนหลักสําคัญในการถายทอดผานกรรมวิธีทางอิเลกทรอนิกสออกมา เปนภาพความรอนที่ไมตองอาศัยแสงสอง เชน แสงจันทร หรือแสงดาว อีกตอไป เพราะวัตถุภาคพื้นดิน ทั้งหลายจะแผรังสีความรอนที่สายตามองไมเห็น ณ ความยาวคลื่น 0.7 ไมครอน (1 ไมครอน = ความยาว 1 ในลานเมตร) จนถึงประมาณ 14 ไมครอน ในขณะที่แสงเปนคลืน่ แมเหล็กไฟฟาเชนกัน แตมีความยาว คลื่น 0.4 – 0.7 ไมครอน ซึ่งตาคนมองไมเห็นความแตกตางของแสงออกมาเปนภาพได นอกจากนี้ วัตถุ ภาคพื้นสวนใหญทั้งพื้นดิน ตนไม คน ยานพาหนะและอาคารบานเรือน จะมีพลังงานความรอนที่มากพอ แกการสรางภาพได และมีความหนาแนนอยูในชวงความยาวคลืน่ 8-12 ไมครอน ( เรียกวา Long-Wave Infrared, LWIR ) และมีอยูในชวงแคบๆ ระหวาง 3-5 ไมครอน ( เรียกวา Mid หรือ Medium-Wave Infrared, MWIR ) การพัฒนาแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ประเภทภาคพืน้ และติดตั้งบนอากาศยาน บนภาคพืน้ ไดแก กลองตรวจการณแบบมือถือ-พกพา และติดตั้งบนยานพาหนะ ไดแก กลองเล็งยิงแบบติดไรเฟล และปนกล กลองเล็งยิงในระบบควบคุมการยิงบนยานรบ ฯลฯ สวนประเภทติดตั้งบนอากาศยาน ไดแก เครื่องบิน เฮลิคอปเตอร และดาวเทียม ไดแกกลองในระบบ IR Lines Scanner (IRLS) และระบบ Forward Looking IR Sensor (FLIR) และระบบ IRLS ใชในการตรวจการณแบบมองตรงๆ ลงไป แลว บันทึกภาพความรอนภาคพื้นดินในขณะที่ยานพาหนะ เชนเครื่องบินบินอยูเหนือพื้นทีเ่ ปาหมาย สวนระบบ
2 FLIR ใชในการตรวจการณแบบสองออกไปไดทั้งทางขางหนา และดานขาง แลวบันทึกภาพความรอนใน ขณะที่ยานพาหนะบินผาน อันเปนการเพิ่มขีดความสามารถในการตรวจการณทางยุทธวิธี กลองกลางคืนในระบบอินฟราเรด สามารถใชไดทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน แมจะมืดสนิท หรือมีหมอกควันปลกคลุม ทั้งนี้ เพราะมีความไวตอ การรับทราบความแตกตางทางอุณหภูมิของวัตถุที่เปน เปาจากวัตถุหรือสิ่งแวดลอมโดยรอบ ทั้ง Back Ground และ Fore ground สวนกลองกลางคืนที่เรียกวา “Night Sight” เปนกลองในระบบ Image Intensifier แลว จะไมสามารถใชไดกับแสงสวางในเวลากลางวัน หรือแสงจา เชน จากการตอตานดวยไฟฉายของฝายตรงขามในเวลากลางคืน เพราะจะทําใหตวั Sensor หรือ Light Sensor เสื่อมสมรรถภาพหรือเสียหายได ในเสนทางของการพัฒนากลองตรวจจับรังสีความรอน ในชื่อ “IR Camera, Night Sight หรือ Thermal Imager ก็ยังแบงแนวทางการพัฒนาออกเปน 2 ระบบ คือ Cooled System และ Uncooled System Cooled System เปนระบบที่ตัว IR Sensor ทําดวยวัสดุที่ตองมีการหลอเย็นเฉียบอันไดจาก เทคโนโลยีทาง Cryogenic Cooling ดึงอุณหภูมิของวัสดุลงมาใหต่ํากวาศูนยองศาเซลเซียส ถึงกวา -190 องศาเซลเซียส เพื่อใหมีความไวตอการรับทราบความแตกตางอุณหภูมิเพียง 0.02 องศาเซลเซียส หรือ ต่ํากวานี้ลงไปไดอีกได เพื่อนําไปสรางใหเกิด Contrast ในภาพความรอนได Uncooled System เปนระบบที่พัฒนาขึน้ มาในระยะหลัง ไดมีการพัฒนาขึ้นปลายทศวรรษที่ 1970 จาก Barium Strontium Ferromagnetic Material เปน IR Detector ที่สามารถมีความไวตอการ รับทราบความแตกตางทางอุณหภูมิเพียงประมาณ 0.5 องศาเซลเซียส ไดโดยเพียงปรับอุณหภูมิใหคงไวที่ 22 องศาเซลเซียส ซึ่งเปนอุณหภูมิบรรยากาศปกติของหลายพื้นที่ในโลก ไมตองการการหลอเย็นเฉียบ ดวยวิธีไครโลจีนนิคที่กลาวในขางตน จึงนับเปนความสะดวกอยางมากในการใชงาน และประหยัดมากใน ดานราคาและการบํารุงรักษา อันเปนประโยชนอยางยิ่งทัง้ ในทางยุทธวิธี และการเฝาตรวจระวังภัยในกิจการ พลเรือน การแบงชนิดกลองตรวจการณกลางคืน (Night Observation Sight) กลองตรวจการณกลางคืนที่มีอยูในปจจุบนั แบงตามลักษณะการทํางานของระบบออกไดเปน 2 ชนิดใหญๆ คือ 1. กลองตรวจการณกลางคืนแบบขยายแสง (Light Intensifier Image) 2. กลองตรวจการณกลางคืนแบบตรวจจับรังสีความรอน (Thermal Imager) NIGHT SIGHT Light Intensifier - Gen. I - Gen. II - Gen. III -Gen. IV
Thermal Imager Cooled System
Uncooled System
3 หลักการทํางาน 1. กลองตรวจการณกลางคืนแบบขยายแสง(Light Intensifier) ใชหลักการขยายแสงที่มีความสวางนอยๆ ใหเพิ่มมากขึ้น โดยผานขบวนการทางอิเล็คโทรออปติกส (Electro Optics) คือ จะเปลี่ยนอนุภาคของแสง (Photons) ใหเปนอิเล็กตรอน และนําอิเล็คตรอนจํานวนดังกลาววิง่ ชนจอรับภาพ (Screen) เพื่อใหเกิดเปน ภาพขึน้ 2. กลองตรวจจับรังสีความรอน (Thermal Imager) จะมีหลักการทํางานที่ซับซอนกวากลองแบบขยาย แสงดาว คือจะเริ่มตั้งแตระบบเลนสรบั ภาพจะกรองเอาเฉพาะคลื่นแมเหล็กไฟฟายานอินฟราเรด (IR) มาใช โดยตัวตรวจจับรังสีความรอน (Detector) จะถูกหลอใหเย็นถึง –190 องศาเซลเซียส ขึน้ ไป เพื่อใหตัวตรวจ จับรับคลื่น IR เฉพาะยาน 3-14 ไมครอน มาสรางเปนภาพโดยผานขบวนการแปลงสัญญาณทางอิเล็ก โทรนิคสมาสรางเปนภาพ การดําเนินการวิจัยและพัฒนากลองตรวจการณกลางคืนเพื่อนําไปสูการผลิต ในสวนของกองทัพบกไทย ไดดําเนินงานโครงการพัฒนากลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล เปนโครงการ ตามนโยบายผูบงั คับบัญชาชัน้ สูง โดยคณะอนุกรรมการ จสง.ทบ. ดานยุทธการ ไดประชุมพิจารณาจัดสรร งบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ 2545 กลุมงบงานดานยุทธการ การฝกศึกษาวิจยั เมื่อ มิ.ย.44 มีมติให กช. และ สวพ.ทบ. รวมกันดําเนินการ ระยะเวลา 1 ป โดยไดรับงบประมาณจัดสรรป 2545 ของ ทบ. จํานวน 9,999,054 บาท การดําเนินงานที่ผานมาเมื่อ ส.ค.45 หนวยที่เกี่ยวของไดเยี่ยมชม หจก.นวภัณฑ อุตสาหกรรม จว.สมุทรสาคร ซึ่งเปนโรงงานทําโมลและฉีดพลาสติก เพื่อรวบรวมขอมูลในการจัดทําตัวเรือน กลองตามรูปแบบของ ทบ. คุณลักษณะเฉพาะและสมรรถนะของกลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล มีกําลังขยาย 1 เทา, มุมมองภาพ 40 องศา, น้ําหนักไมเกิน 500 กรัม, ใชหลอดภาพขยายแสงรุน Super Gen. , มีความคมชัด 45 lp/mm., มี อายุการใชงานเฉลี่ย 10,000 ชม., ใชแบตเตอรี่ขนาด AA ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ปฏิบตั งิ านไดตอ เนื่อง 40 ชม., ใชในการมองเห็นในเวลากลางคืนใตแสงดาวเห็นบุคคลไดในระยะ 150 ม. และยานพาหนะ 1 กม. ใชงานเฉพาะในเวลากลางคืนสําหรับชวยในการอานแผนที่, ตรวจการณ, ลาดตระเวน, ซอมบํารุงและงาน ทั่วไป ราคากลองที่ประกอบขึ้นตามโครงการฯ ประมาณ 140,000 บาท/ชุด (ราคาป 45-46) การดําเนินงานโครงการพัฒนากลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล ขณะนี้ กช. และ สวพ.ทบ.ไดเตรียมการ และรวบรวมขอมูลตางๆ โดยแสวงประโยชนจากอุปกรณ สถานที่ที่มีอยูเดิมใหเกิดประโยชน โดยจะ ซอมแซม, ปรับปรุง และจัดหาอุปกรณเทาที่จําเปน เพื่อใหสามารถดําเนินการไดทันทีอยางเปนรูปธรรม เมื่อไดรับการสนับสนุนงบประมาณ
4 ความรับผิดชอบของสายยุทธบริการ ตามอนุมัติ ผบ.ทบ. ทายหนังสือ ยก.ทบ. ที่ กห 0403/4276 ลง 19 เม.ย.39 เรื่อง การกําหนดความ ตองการและการใชงานกลองตรวจการณกลางคืน และตาขายพรางยุทโธปกรณ/บุคคล 1. ความรับผิดชอบของ กช. เปนกรมฝายยุทธบริการที่รับผิดชอบ (กลองเล็งกลางคืนทุกแบบ ทุกชนิด ที่มีความมุงหมายเพื่อนํามาใชในการตรวจการณ) และใหเรียกวา “กลองตรวจการณกลางคืน” 2. การแบงประเภท แบงออกตามความมุงหมายในการใชงานได 6 ชนิด คือ - กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล - กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) - กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) - กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) - กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน - กลองตรวจการณกลางคืน, ประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร 3. การกําหนดระยะในการตรวจการณ กลองตรวจการณกลางคืนชนิดบุคคล, ชนิดนักบิน และชนิด ประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร ใหยึดถือตามคุณลักษณะเฉพาะที่ กช. กําหนด และเคยจัดหา บางสวนมาใชงานใน ทบ. แลว สําหรับกลองตรวจการณกลางคืน, หนวย เห็นควรกําหนดดังนี้.- กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) กําลังขยาย 1 เทา ระยะตรวจการณ 1-500 ม. - กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) กําลังขยาย 2-4 เทา ระยะตรวจการณ 500-2,000 ม. - กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) กําลังขยาย 2-4 เทา ระยะตรวจการณ 2,000 ม. ขึ้นไป - การใชงาน : มีความมุงหมายหลักในการนํามาใชงานเพื่อชวยเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการ มองเห็นในเวลากลางคืน เพื่อเฝาตรวจ, ควบคุม, อํานวยการ ฯลฯ การปฏิบตั ิของหนวย โดยพิจารณาให เฉพาะผูบงั คับบัญชา, ฝายอํานวยการและเจาหนาที่ทีมีความสําคัญ ซึ่งจําเปนตองใชในการปฏิบตั ภิ ารกิจทาง ยุทธวิธีเทานัน้
5 การแบงประเภทกลองตรวจการณกลางคืน ตามหนังสือ ยก.ทบ. ตอที่ กห 0403/7419 ลง 2 ก.ย.42 เรื่อง ขออนุมัติหลักการเกี่ยวกับ กลองตรวจการณกลางคืน และกลองตรวจจับรังสีความรอน (Thermal Imager) 1. การแบงประเภทของกลองตรวจการณกลางคืน : แบงตามความมุงหมายในการใชงาน 6 ชนิด 1.1 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล 1.2 กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน 1.3 กลองตรวจการณกลางคืน, ประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร 1.4 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) 1.5 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) 1.6 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) 2. การกําหนดกําลังขยาย และระยะในการตรวจการณของกลองตรวจการณกลางคืน, หนวย 2.1 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) กําลังขยาย 1 เทา มีเลนสวัตถุเพิ่มกําลังขยาย ไมนอยกวา 3 เทา มีระยะตรวจการณ 0-500 ม. 2.2 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) กําลังขยายไมนอยกวา 6 เทา มีระยะตรวจการณ 500-2,000 ม. 2.3 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานไกล) กําลังขยายไมนอยกวา 9 เทา มีระยะตรวจการณ 2,000 ม. ขึ้นไป 3. การกําหนดกําลังขยาย และระยะในการตรวจการณของกลองตรวจจับรังสีความรอน ใหกําหนดแยกออก จากกลองตรวจการณกลางคืน เนื่องจากสามารถนํามาใชไดทั้งกลางวันและกลางคืน 3.1 กลองตรวจจับรังสีความรอนชนิดไมหลอเย็น (Uncooled System) กําลังขยายไมนอยกวา 3 เทา ระยะตรวจการณ 25-1,000 ม. 3.2 กลองตรวจจับรังสีความรอนระยะปานกลาง ชนิดหลอเย็น (Cooled System) กําลังขยายไมนอยกวา 4 เทา ระยะตรวจการณ 500-2,000 ม. 3.2 กลองตรวจจับรังสีความรอนระยะปานไกล ชนิดหลอเย็น (Cooled System) กําลังขยายไมนอยกวา 5 เทา ระยะตรวจการณ 2,000 ม. ขึ้นไป
6 กลองตรวจการณกลางคืน 1. ขอมูลทั่วไป กลองตรวจการณกลางคืน เปนกลองซึ่งออกแบบมาใหทํางานโดยอาศัยแสงดาวหรือแสงจันทร ซึ่งจะชวยใหทหารมองเห็นเปาหมาย ลักษณะภูมิประเทศ และสามารถที่จะปฏิบัติการในเวลากลางคืนได เหมือนเวลากลางวัน เชน การลาดตระเวน, การขับรถ, การเฝาตรวจพืน้ ที่ระยะใกล, และไกล โดยเฉพาะ กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล จะสามารถใชงานไดหลายแบบ เชน การอานแผนที่ การซอมยานพาหนะ การรักษาพยาบาล และอื่นๆ สําหรับกลองตรวจการณกลางคืนในความรับผิดชอบของ กช. ไดแบงออกเปน 6 ชนิด คือ 1. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ระยะมองเห็น 0- 500 เมตร 2. กลองตรวจการณกลางคืน, ระยะใกล ระยะมองเห็น 0-500 เมตร 3. กลองตรวจการณกลางคืน, ระยะปานกลาง ระยะมองเห็น 500–2,000 เมตร 4. กลองตรวจการณกลางคืน, ระยะไกล ระยะมองเห็น 2,000 เมตร 5. กลองตรวจการณกลางคืน , นักบิน 6. กลองตรวจการณกลางคืนพรอมเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร ระยะมองเห็น 500–2,000 เมตร กลองตรวจการณกลางคืน มีทั้งแบบสวมเขากับหนากาก,สวมกับศีรษะ,แบบใชมือถือ,แบบติดตั้ง บนขาตั้ง และประกอบอาวุธ เพื่อใหสามารถใชงานไดอยางเหมาะสมกับภารกิจของหนวยรบ ตามมาตรฐานการทํางานของกลองตรวจการณกลางคืนแลวนั้น จะเปนการตรวจการณแบบรับภาพ ทางเดียว (PASSIVE) ซึ่งขาศึกไมสามารถตรวจจับตําแหนงของผูใชไดเลย สําหรับการใชงานรวมกับหลอดใหแสงอินฟราเรด (IR) (มีเฉพาะกลองตรวจการแบบกลางคืน ,บุคคล ,ระยะใกล) ลําแสงจากหลอดจะสงไปยังวัตถุทําใหสามารถเห็นไดในระยะสัน้ ๆ แตการเปดแสง IR ใชงานขาศึกสามารถตรวจพบและเห็นได ถาขาศึกมีกลองตรวจการณกลางคืน กลองประเภทนี้จึงไดสราง อุปกรณแจงเตือนสถานะในขณะใชแสง IR โดยแสงใหเห็นไดในชองตามองภาพเปนแสงสีแดง เพื่อปองกัน การใชแสง IR โดยไมจําเปน กลองตรวจการณกลางคืน จะมีหวงวงแหวนสําหรับปรับการมองเห็นชองสายตา(สายตาสัน้ สายตา ยาว) ไดอยางอิสระทั้งสองขางของชองมองภาพ ซึ่งคุณสมบัติดังกลาวของกลองชวยใหผูใชที่มีสายตาสัน้ หรือ ยาว ไมจําเปน ตองใสแวนตาขณะใชกลองนี้ สวิทชควบคุมการทํางานของกลองตรวจการณกลางคืน (กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล, ระยะ ใกล) เปนสวิทชแบบสามตําแหนงสําหรับ ปด-เปด และดึงเปดใหแสงอินฟราเรด (เพื่อปองกันการหมุนเลย ตําแหนงเปดซึ่งจะทําใหขาศึกสามารถตรวจพบไดงา ย) ซึง่ การออกแบบสวิทชใหตองดึงกอนหมุนเปดจะชวย ลดขอผิดพลาดและปญหาที่จะเกิดในสวนนีไ้ ด กลองตรวจการณกลางคืนนี้มีตวั ตัดวงจรใหปด กลองโดยอัตโนมัติ เมื่อถอดออกจากชุดหนากาก (โดยเฉพาะกลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล รุน AN/AVS–7B) เพื่อปองกันขอผิดพลาดจากแสงหลอดใน ชองตามองภาพสองไปทางขาศึกทําใหสามารถตรวจจับไดและถาผูใชตองการดูกลองใหมก็ใหใชวิธีปดสวิทช ไปที่ตําแหนงปดแลวเปดใหมกลองก็จะทํางานตามปกติ กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล , หนวยระยะใกล ตามมาตรฐานทางทหาร จะสามารถปองกัน น้ําไดในระดับลึก 10 เมตร นานประมาณ 30 นาที
7 2. คุณสมบัติ กลองตรวจการณกลางคืนสามารถเปลี่ยนหลอดขยายแสงที่มีวิวัฒนาการสูงกวาขึน้ ได โดยไมตอง เปลี่ยนระบบเลนสแตอยางใด มีระบบแจงเตือนระดับแรงไฟจากแบตเตอรี่ต่ํา โดยแสดงเปนสีแดงใหเห็นทางชองมองภาพดาน ขวา ซึ่งจะกระพริบเตือนเมื่อระดับแรงไฟจากแบตเตอรี่ตา่ํ และเมื่อสัญญาณเตือนนี้แสดงขึ้นจะสามารถใชงาน ตอไปไดอีกประมาณ 2 ชัว่ โมง มีระบบปองกันแสงสวางเกิน เพื่อปองกันอันตรายอันจะเกิดขึน้ กับตัวหลอดขยายแสงกลองตรวจ การณกลางคืน มีวงจรตรวจวัดความเขมของแสง โดยกลองตรวจการณกลางคืนจะปดตัวเองหลังจากโดนแสง ที่มคี วามเขมของแสงสวางเกินระดับภายใน 70 วินาที มีสัญญาณแจงเตือนการใชแสงสวางจากหลอดอินฟราเรด โดยแจงเตือนเปนแสงสีแดงปรากฏ ขึ้นทางชองมองภาพ ซึ่งจะชวยเตือนผูใชกลองใหทราบวากําลังใชหลอดใหแสงอินฟราเรดอยู และขาศึก สามารถตรวจพบไดถา มีกลองตรวจการณกลางคืนในลักษณะเดียวกัน มีระบบตัดไฟอัตโนมัติ กลองตรวจการณกลางคืนมีสวิทชแมเหล็กสําหรับตัดไฟอัตโนมัติ เมื่อ กลองถูกถอดออกจากชุดหนากากในขณะเปดใชงานอยู (เฉพาะกลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล รุน AN/PVS7B) เพื่อปองกันการผิดพลาดจากการถอดกลอง และหันชองมองภาพไปทางขาศึก ทําใหขาศึกมองเห็น ตําแหนงผูใชได 3. สวนประกอบ 3.1 ตัวกลองตรวจการณกลางคืน ซึ่งเปนอุปกรณพนื้ ฐาน 3.2 หนากากแบบสวมศีรษะ เพื่อใหสามารถใชงานไดโดยไมตองใชมือถือ (กลองฯ, บุคคล ) 3.3 กระเปาบรรจุกลอง ใชสํารับบรรจุกลองและอุปกรณ นําไปใชงานในสนาม 3.4 สายสะพายกระเปา ใชสําหรับบรรจุกลองสําหรับสะพายไปใชงานในสนาม 3.5 ฝาครอบเลนส ใชครอบเลนสวตั ถุเพื่อปองกัน ฝุน ผง ทราย ที่จะกระทบกับเลนสโดยตรง 3.6 ฝาครอบเลนสตา ใชปอ งกันเลนสตาและฝาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนอุณหภูมิและความชื้นทันที 3.7 ยางครอบเลนสตา ใชปอ งกันแสงสีเขียวจากชองมองภาพไปสองสวางบนใบหนาทําใหขาศึกสามารถ มองเห็นได 3.8 ฝาครอบยางสําหรับเลนสวัตถุใชปอ งกันเลนสวัตถุขณะทีไ่ มใชงาน และฝาครอบดังกลาวตรงกลางจะ มีรขู นาดเล็กอยู ซึ่งจะใชสําหรับตรวจสอบการทํางานและความพรอมของอุปกรณกลองในการมองเห็นเวลา กลางวัน 3.9 เชือกคลองคอ ใชสําหรับรอยฝาครอบเลนสวัตถุและคลองตัวกลองเขากับตัวผูใช ชวยปองกันไมให ลวงหลนในขณะใชงาน (กลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล,ระยะใกล) 3.10 กระดาษเช็ดเลนส ใชสําหรับทําความสะอาดเลนสของกลอง 3.11 กลองบรรจุ ใชบรรจุอุปกรณทั้งหมดสําหรับการขนยาย และการเก็บรักษาในที่ตั้งปกติ 3.12 คูมือการใชงาน จะมีรายละเอียดการใชงาน, การปรนนิบตั ิบํารุง, การซอมบํารุง, และสิ่งที่ควรรู จะตองปฏิบตั เิ กี่ยวกับตัวกลอง
8 3.13 แบตเตอรี่ ใชแบตเตอรี่ ขนาด AA 1.5 โวลท ชนิด อัลคาไลน หรือดีกวา จํานวน 2 กอน (กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล, ระยะใกล, ระยะปานกลาง, ระยะไกล ยี่หอ ORTEK ) สวนระยะไกล ยี่หอ STAR TRON 1 จะใชแบตเตอรี่ขนาด AAA 1.5 โวลท ชนิด อัลคาไลน 2 กอน 4. ปุมควบคุมและปรับแตง กลองตรวจการณกลางคืนออกแบบมาใหมีปมุ ควบคุมการใชงานไดงายดังตาราง 1-1 นี้ ตาราง 1-1 ปุมควบคุมและการปรับแตง ลําดับ 1
2
ตําแหนงการควบคุมและปรับ
การทํางาน
สวิชท ปด-เปด-เปดหลอดใหแสงอินฟราเรด RESET OFF ON PULL (IR) (มีเฉพาะกลองฯ,บุคคล)
ตําแหนงเดียวกับตําแหนงปด ปดการทํางานกลองตรวจการณกลางคืน เปดใชกลองตรวจการณการกลางคืน ดึงแลวเปดแหลงจายแสงอินฟราเรด (IR
หวงปรับความชัดเลนสวตั ถุ
ใชปรับความคมชัดของภาพในระยะตางๆ
3-4 ขายึดกลอง (LATCH MOUNTING COUPLER กลองตรวจการณกลางคืน , บุคคล)
ใชสําหรับปลดออกและยึดตัวกลองใหติดกับชุดหนากาก และ (ที่ LATCH นี้ จะมีสวิทชแมเหล็กซึ่งจะตัดไฟอัตโนมัติ ถาปลดกลองออกจากชุดหนากาก (เฉพาะ AN/PVS – 7 B) ใชสําหรับปรับเลนสตา ใหไดภาพชัดเจน ตามลักษณะสายตา ของแตละบุคคล ซึ่งมีความสัน้ -ยาวของแตละตาไมเทากัน ขณะใชกลองนีไ้ มจําเปนตองใสแวนสายตา ใชปรับกึ่งกลางของเลนสตาใหไดระยะหางเทากับตาผูใช
5
หวงปรับระยะสายตา
6
กานปรับความหางชวงตา (กลองตรวจการณ กลางคืน,บุคคล,ระยะใกล,และระยะปานกลาง) ปุมปรับระยะหางตัวกลองจากตา (กลองตรวจการณ ใชปรับระยะหางของตัวกลองจากตา เพือ่ ใหไดภาพที่ดีที่สดุ กลางคืน,บุคคล,ระยะใกล) และพอดีกับยางครอบตา
7
9 5. การปรนนิบัติบาํ รุงและการเปลีย่ นชิ้นสวน การปรนนิบัติบาํ รุง กลองตรวจการณกลางคืนจะตองปรนนิบัติบํารุงเปนประจําจากผูใชประจํา คือ การทํา ความสะอาดระบบเลนสและตัวกลอง โดยใชกระดาษเช็ดเลนสและทําความสะอาดเลนสและผาสะอาดเช็ดตัว กลองกอนและหลังใชงานทุกครั้ง การเปลี่ยนชิ้นสวน ในระดับผูใชการเปลี่ยนชิน้ สวนที่ทําได คือเปลี่ยนเพียงฝาครอบเลนสเมื่อหมาดอายุ หรือหายเทานั้น 6. การใชงาน 6.1 การเตรียมการกอนใชงานกลองตรวจการณกลางคืน ตรวจสอบกลองและอุปกรณที่จะนําไปใชงานใหพรอมและเพียงพอสําหรับไปใชงานในสนาม ทดสอบ การทํางานของกลอง สวิทชควบคุมและปุมปรับแตงตางๆรวมทั้งหนากาก(กลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล) ที่ตองปรับใหพอดีกับศีรษะของผูใชโดยปฏิบตั ติ ามลําดับดังนี้ 6.1.1 นําตัวกลองออกมาจากถุงบรรจุ เปดฝาครอบเลนสตรวจดูสภาพเลนส หากสกปรกหรือมีฝนุ ใหทําความสะอาดแลวใสฝาครอบไวดงั เดิม 6.1.2 บรรจุแบตเตอรี่ขนาด AA 1.5 โวลท ชนิดอัลคาไลน 2 กอน หรือขนาด AAA 1.5 โวลท (กลองตรวจการณกลางคืนระยะไกล) 2 กอน เขาในชองใสแบตเตอรี่ปดฝาครอบ ( แบตเตอรี่ที่ใชควรตรวจ สภาพกอนเสมอวามีแรงเคลื่อนพอหรือไม หรือ ควรเปนของใหม 6.1.3 เปดสวิตชไปที่ตําแหนง (ON) โดยไมตองเปดฝาครอบเลนส ใชตามองไปที่ชองมองภาพและ หันกลองไปยังตําบลใดตําบลหนึ่งเพื่อมอง ปรับหวงปรับระยะมองเห็นของตา (DIOPTOR) ใหไดภาพ คมชัดโดยหมุนทีละขางจนไดภาพที่คมชัดที่สุด ปรับระยะหางระหวางสายตา (INTERPUPILLALY) และ ปรับระยะชัดภาพ(OBJECTIVE FOCUS) (ในเวลากลางวันฝาครอบเลนสวัตถุตองครอบอยูเ สมอ ไมจําเปน ตองออก เพราะที่ฝากลองฯ มีรรู บั แสงสําหรับทดสอบในเวลากลางวันอยูแลว) 6.1.4 ดึงและหมุนสวิทชตอไปที่ตาํ แหนง IR (กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล, ระยะใกล) จะ ปรากฏแสงสีแดงที่ชองมองภาพ เพื่อแจงเตือนวาขณะนี้ใชแหลงกําเนิดแสงจากตัวกลองอยู (ขาศึกอาจจะ มองเห็นผูใชกลองที่เปดแสงอินอินฟราเรดได) แลวกลับบิดไปที่ตําแหนง ON ดังเดิม 6.1.5 นําชุดหนากากมาสวมเขากับศีรษะและปรับแตงใหเขากับศีรษะของผูใช (กลองตรวจการณ กลางคืน,บุคคล ) 6.1.6 นํากลองประกอบเขากับชองติดกลองของชุดหนากากที่สวมศีรษะไว แลวกดปุมปรับระยะกลอง ใหหางพอดีกับหนาของผูทดสอบโดยหันหนาไปมาทุกทิศทาง กลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล 6.1.7 ทดสอบเดินและปฏิบตั ิงาน โดยใชรวมกับกลองตรวจการณกลางคืนใหเกิดการคุน เคย (กลอง ตรวจการณกลางคืน, บุคคล ) 6.1.8 ใชนิ้วมือกดที่ขายึดกลอง และถอดกลองออกจากหนากาก เพื่อทดสอบระบบการปดกลอง อัตโนมัติโดยมองที่ชองมองภาพ (เฉพาะกลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล รุน AN/PSV-B7 หากมืดแสดงวา กลองปกติใหบดิ สวิตชไปที่ตําแหนง OFF แลว บิดสวิตชไปที่ตําแหนง ON อีกครั้งหนึ่งกลองจะทํางานปกติ 6.1.9 ปดสวิตชหยุดการทํางานของกลองไปที่ตําแหนง OFF ทําความสะอาดและบรรจุกลองถอด แบตเตอรี่ออกเก็บอุปกรณไวตําแหนงดังเดิมของบรรจุ
10 6.1.10 สวนกลองตรวจการณกลางคืน ระยะปานกลาง และระยะไกล ใหปฏิบตั ติ ามขอ 6.1.1, 6.1.2 และ 6.1.3 ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.
*** ขอควรปฏิบัตแิ ละขอควรระวัง *** ตองมีฝาครอบเลนสวัตถุเสมอ สําหรับการทดสอบเวลากลางวันทุกครั้ง ตองทําความสะอาดเลนสและตัวกลองเสมอกอนและหลังใชงาน ตองนําแบตเตอรี่ออกจากตัวกลองเสมอหลังใชงานเพื่อปองกันการรั่วซึมและการทําลายวงจร ระวังอยาใหกลองตกหรือกระแทกของแข็งอยางรุนแรง กลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล ,ระยะใกลและปานกลาง เมื่อนําออกจากกลองหรือกระเปาบรรจุควร นําสายคลองคอมาคลองคอไวทุกครั้งกอนใชงาน
6.2. การใชงานในเวลากลางคืน 6.2.1 ปฏิบตั ิเชนเดียวกับการเตรียมการกอนใชงาน แตใหนําฝาครอบเลนสวตั ถุออกและประกอบ ฝาครอบกันฝุนและครอบเลนสตากันชื้นประกอบถาจําเปนตองใช ปรับใหไดภาพที่คมชัดในระยะที่ตองการ ตรวจการณ 6.2.2 ในพื้นที่ที่ไมมีแสงสวางใหปดสวิทช IR เพื่อชวยใหสามารถมองเห็นภาพไดชัด เชน การอาน แผนที,่ การซอมเครื่องมือ, การรักษาพยาบาล แตควรมีการพรางแสงสวางที่ใชเสมอเพราะการใชแสงสวาง IR จะทําใหขาศึกมองเห็นผูใชกลองไดงาย 6.2.3 รูขอจํากัดและขอควรระวังในขณะใชตลอดเวลาที่เปดกลองฯ ๗. การเก็บรักษากลองตรวจการณกลางคืน การเก็บรักษากลองตรวจการณกลางคืนเมื่อเสร็จสิ้นภารกิจหลังจากการใชงาน ใหทําความสะอาดอุปกรณ โดยใชผาสะอาดที่ออนนุมทําความสะอาดตัวกลอง สวนตัวเลนสใหใชกระดาษเช็ดเลนสทําความสะอาด เทานั้น และตรวจสอบความชํารุดของกลองฯ ถาหากพบการชํารุด จะตองรีบสงกลองฯ ใหเจาหนาที่ซอม บํารุงดําเนินการแกไขทันที หากไมพบการชํารุดบกพรอง ใหนํากลองฯ เก็บใสกลองบรรจุ จากนั้นใหนําไปเก็บไวในหองควบคุม อุณหภูมิ (ประมาณ 25 องศาเซลเซียส) และควบคุมความชื้น สําหรับกลองฯ ที่เก็บรักษาในกลองบรรจุ ควรนําออกมาทําการตรวจเช็คและไลความชื้นภายในกลอง และทดสอบใชงานอยางสม่ําเสมอหรืออยางนอย ทุกๆ 6 เดือน การเก็บรักษาในกรณีที่ไมมีหองควบคุมอุณหภูมิ การเก็บรักษา ตองเปนหองที่อากาศสามารถถายเทไดสะดวก ไมอับชืน้ และแสงแดดสองไมถึงมี อุณหภูมิไมสูงมากเกินไป ซึ่งการเก็บรักษาในหองที่ไมมีการควบคุมอุณหภูมิ จําเปนอยางยิ่งทีจ่ ะตองหมัน่ นํา กลองออกมาตรวจทําความสะอาด และตรวจสอบชิน้ สวนประเภทยางใหบอ ยครั้งขึ้น คําเตือน !!!!! และขอควรระวังสําหรับผูใชงาน 1. ควรถอดแบตเตอรี่ออกจากกลองทุกครั้ง หลังจากการใชงาน 2. แบตเตอรี่ที่ใชงานแลว ควรแยกเก็บออกจากตัวกลอง เมื่อไมใชงานกลอง 3. ควรเก็บแบตเตอรี่ไวในหองควบคุมอุณหภูมิและความชื้น
11 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ITT รุน AN/PVS-14
ครอบเลนสตามอง
ครอบเลนสวัตถุ
ชองใสแบตเตอรี่
หวงปรับความคมชัดของภาพ
หวงปรับความคมชัดของสายตา
12
กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ITT รุน AN/PVS-14 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 400 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน GEN. III อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 57 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 50 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ
13 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-3153
ชองใสแบตเตอรี่
ครอบเลนสวัตถุ
ครอบเลนสตามอง
หวงปรับความคมชัดของภาพ
หวงปรับความคมชัดของสายตา
14 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-3153 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 400 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 30 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ
15
กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LIECA รุน WILD BIG 2
16
กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LIECA รุน WILD BIG 2 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 41 ( + 1) องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 820 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน GEN. II อายุการใชงานตอเนื่อง 2,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 32-36 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 40 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ
17
กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LIECA รุน WILD BIG 25
18
กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LIECA รุน WILD BIG 25 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 41 ( + 1 องศา) 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 790 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงานตอเนื่อง 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 40 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ
19
กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LITTON รุน AN/PVS-7B
20
กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LITTON รุน AN/PVS-7B 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 680 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน GEN. II อายุการใชงานตอเนื่อง 2,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 32-36 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 60 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ
21 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ IEI รุน SHABANOOR 1001
22 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ IEI รุน SHABANOOR 1001 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 680 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงานตอเนื่อง 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 50 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ
23
กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LITTON รุน AN/PVS-5B 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,100 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน GEN. II อายุการใชงานตอเนื่อง 2,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 32-36 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 30 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 100 ม. 2.2 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 200 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ
24
กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) ยี่หอ LEICA รุน BIG25 3X
25
กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) ยี่หอ LEICA รุน BIG25 3X 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 เทา, มีเลนสเพิ่มกําลังขยาย 3 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา เมื่อประกอบเลนสเพิ่มกําลังขยาย 12.5 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,190 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” 1.5 โวลท จํานวน 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 40 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง - ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง - ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 400 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชการเฝาตรวจ หรือตรวจการณในเวลากลางคืนระยะใกล
26
กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) ยี่หอ NUMAX รุน AN/PVS-4 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 3.7 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 14.5 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,700 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 25 มม. รุน GEN. II อายุการใชงาน 2,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 32-36 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ BA-1567/U จํานวน 2 กอน 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ภายใตแสงดาวไดในระยะทาง 200 ม. 2.2 เปาหมายยานพาหนะ ภายใตแสงดาวไดในระยะทาง 400 ม. 3. การใชงาน ใชการเฝาตรวจ หรือตรวจการณในเวลากลางคืนระยะใกล หรือติดอาวุธ
27
กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) ยี่หอ OIP รุน LUNOS 6X
28
กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) ยี่หอ OIP รุน LUNOS 6X 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 6 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 6.5 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,110 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 50 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมาย (Nato Taget 2.3 m. x 2.3 m.) ใตแสงดาวไดในระยะทาง 1,000 ม. 2.2 เปาหมาย (Nato Taget 2.3 m. x 2.3 m.) ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 2,000 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองรอย, เฝาตรวจพืน้ ที่การรบในเวลากลางคืน, รักษาความปลอดภัยพืน้ ที่
29
กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-T4
30
กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-T4 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 11.6 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 4.7 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,390 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 25 มม. รุน GEN. II อายุการใชงาน 2,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 32-36 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายยานพาหนะ ภายใตแสงดาวไดในระยะทาง 2,000 ม. 2.2 เปาหมายยานพาหนะ ภายใตแสงจันทรไดในระยะทาง 3,000 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองพัน, เฝาตรวจพื้นที่การรบในเวลากลางคืน, รักษาความปลอดภัยพืน้ ที่
31
กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ STAR*TRON รุน MK-880
32
กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ STAR*TRON รุน MK-880 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 11 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 4 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 15 กิโลกรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 50 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายยานพาหนะ ภายใตแสงดาวไดในระยะทาง 2,600 ม. 2.2 เปาหมายยานพาหนะ ภายใตแสงจันทรไดในระยะทาง 5,000 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณระดับกองพัน เฝาตรวจพืน้ ที่ทําการรบในเวลากลางคืน รักษาความปลอดภัยในพื้นที่
33
กลองตรวจการณกลางคืน, ประกอบเครือ่ งวัดระยะดวยแสงเลเซอร ยี่หอ SIMRAD รุน KN200
ฝาครอบเลนสวัตถุ
ชุดสวมเขากับเลนสหนา LP7
ชองใสแบตเตอรี่
ตัวล็อคยืดกับเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร LP7
34 กลองตรวจการณกลางคืน, ประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร ยี่หอ SIMRAD รุน KN200 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 10 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,460 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น ขึ้นอยูกับกลองวัดระยะดวยแสงเลเซอร LP-7 3. การใชงาน ใชประกอบกับกลองวัดระยะดวยแสงเลเซอร LP-7 เพื่อวัดระยะในเวลากลางคืน ไมสามารถถอดแยก ในการใชงานได
35 กลองวัดระยะดวยแสงเลเซอร ยี่หอ SIMRAD รุน LP-7 ประกอบกับกลองตรวจการณกลางคืนยี่หอ SIMRAD รุน KN200 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 7 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 7 องศา 1.3 น้ําหนัก (ไมรวมแบตเตอรี)่ 2 กิโลกรัม 1.4 ระบบเครื่องสง ความยาวคลืน่ ลําแสง (WAVELENGTH) 1,064 um. 1.5 มุมบานลําแสง (BEAM DIVERGENCE) 2 mrad 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่พิเศษ 12 โวลท ชนิด Ni-cd 2. ขีดความสามารถ 2.1 สามารถประกอบกับกลองตรวจการณกลางคืน สําหรับวัดระยะทางในเวลากลางคืนได 2.2 วัดระยะใกลสุดไดไมมากกวา 150 เมตร 2.3 วัดระยะไกลสุดไดไมนอยกวา 9,995 เมตร 2.4 ความถูกตองในการวัดคลาดเคลื่อนไดไมเกิน + 5 เมตร 3. การใชงาน 3.1 สําหรับวัดระยะทางในเวลากลางวัน และเปนกลองสองทางไกล 3.2 สําหรับหมูตรวจการณหนา สําหรับกําหนดที่ตั้งเปาหมายและปรับการยิงปนใหญ 3.3 เมื่อประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอรเขากับกลองตรวจการณกลางคืนแลว ผูใชสามารถใช เครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร ไดเหมือนกับการใชงานในเวลากลางวัน โดยไมใชเครื่องมือพิเศษ หรือ ปรับแตงแตอยางใด และสามารถถอดแยกใชงานได
36 เครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอรพรอมกลองตรวจการณกลางคืน ยี่หอ DELFT รุน MLR40 และ MUNOS WS6 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 6 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 6 องศา 1.3 น้ําหนัก 1.6 กิโลกรัม 1.4 ระบบเครื่องสง ความยาวคลืน่ ลําแสง (WAVELENGTH) 1,540 nm. (ไมเปนอันตรายตอสายตา) 1.5 มุมบานลําแสง (BEAM DIVERGENCE) 1 mrad 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 8 กอน 2. ขีดความสามารถ 2.1 สามารถประกอบกับกลองตรวจการณกลางคืน สําหรับวัดระยะทางในเวลากลางคืนได 2.2 สามารถเชื่อมตออุปกรณภายนอก เพือ่ สงผานขอมูลไปใชงานรวมกับระบบ อื่นๆ เชน เครื่องคอมพิวเตอร, โทรศัพทสื่อสาร, GPS., หรือ C3I ฯลฯ 2.3 วัดระยะใกลสุดไดไมมากกวา 80 เมตร 2.4 วัดระยะไกลสุดไดไมนอยกวา 20,000 เมตร 2.5 ความถูกตองในการวัดคลาดเคลื่อนไดไมเกิน + 5 เมตร 2.6 สามารถวัดระยะเปาหมายที่อยูในแนวเสนเล็งเดียวกันได 3. การใชงาน เมื่อประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอรเขากับกลองตรวจการณกลางคืนแลว ผูใชสามารถใชเครื่อง วัดระยะดวยแสงเลเซอรไดเหมือนกับการใชงานในเวลากลางวัน โดยไมใชเครื่องมือพิเศษหรือปรับแตงแต อยางใด และสามารถถอดแยกใชงานได
MLR40 WS6
37 คุณลักษณะเฉพาะกลองตรวจการณกลางคืน ยี่หอ DELFT รุน MUNOS WS6 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยาย (MAGNIFICATION) 6 เทา 1.2 มุมมองภาพ 6.7 องศา 1.3 น้ําหนัก 1,200 กรัม 1.4 หลอดขยายแสงขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายใตแสงดาวไดในระยะทาง 1,000 ม. 2.2 เปาหมายใตแสงจันทรไดในระยะทาง 2,000 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองรอย, เฝาตรวจเปนพื้นที่การรบในเวลากลางคืน, รักษาความปลอดภัยพืน้ ที,่ ติดอาวุธ, ประกอบกลองวัดระยะดวยแสงเลเซอรสําหรับวัดระยะทางในเวลากลางคืน
38
กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน ยี่หอ NEWCON รุน NVS-6
39
กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน ยี่หอ NEWCON รุน NVS-6 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 590 กรัม 1.4 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.5 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน 2.ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายใตแสงจันทรไดในระยะทาง 150 ม. 3.การใชงาน ใชสําหรับชวยในการมองเห็นในเวลากลางคืนของนักบิน
40
กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน ยี่หอ LITTON รุน AN/AVS-6 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 650 กิโลกรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน GEN. III อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 57 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายใตแสงจันทรไดในระยะทาง 150 ม. 3. การใชงาน ใชสําหรับชวยในการมองเห็นในเวลากลางคืนของนักบิน
41
กลองตรวจการณแบบวัดระยะได ยี่หอ LEICA รุน VECTOR 1500 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 7 เทา 1.2 น้ําหนัก 1.6 กิโลกรัม 1.3 ระบบเครื่องสง ความยาวคลืน่ ลําแสง (WAVELENGTH) 860 nm. (ไมเปนอันตรายตอสายตา) 1.4 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ชนิด Lithium ขนาด 6 โวลท 1 กอน 2. ขีดความสามารถ 2.1 ใชสําหรับวัดระยะ, ตรวจการณ, การวัดมุมภาคของทิศ, การวัดมุมลาดเอียง, การวัดระยะหาง ระหวาง 2 เปาหมาย และการวัดความสูง 2.2 วัดระยะไกลสุดไดไมนอยกวา 10,000 ม. + 5 %
42
กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ RAYTHEON รุน AN/PAS-13B(V)2 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1.7 - 5 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 6 x 15 1.3 น้ําหนัก 4.5 ปอนด 1.4 หลอดสรางภาพดวยรังสีความรอนแบบหลอเย็น (COOLED SYSTEM) ยาน 3 - 5 um 1.5 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่พิเศษ ชนิด , LITHIUM อายุใชงาน 1.5 ชม. 2. ขีดความสามารถ ในการมองเห็น มองผานหมอก ฝุน ควัน ได 2.1 เปาหมาย คน ในระยะทาง 1500 ม. 2.2 เปาหมาย ยานพาหนะ ในระยะทาง 4200 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองรอยและกองพัน ระยะปานกลางและระยะไกล, คนหาเปาหมาย, ประกอบอาวุธ ปนในการเล็งยิง
สวิทช เปด-ปด และปรับความสวาง
ปุมปรับความคมชัดของภาพ
ชองใสแบตเตอรี่
หวงปรับระยะสายตา
หวงปรับมุมมองภาพ
43
กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ RAYTHEON รุน AN/PAS-13B(V)3 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 3.3 - 10 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 6 x15 1.3 น้ําหนัก 5.0 ปอนด 1.4 หลอดสรางภาพดวยรังสีความรอนแบบหลอเย็น (COOLED SYSTEM) ยาน 3 - 5 um 1.5 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่พิเศษ ชนิด LITHIUM อายุใชงาน 1.5 ชม. 2. ขีดความสามารถ ในการมองเห็น มองผานหมอก ฝุน ควัน ได 2.1 เปาหมาย คน ในระยะทาง 2,800 ม. 2.2 เปาหมาย ยานพาหนะ ในระยะทาง 6,900 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองรอยและกองพัน ระยะปานกลางและระยะไกล, คนหาเปาหมาย, ประกอบอาวุธ ปนในการเล็งยิง
44
กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ SAGEM รุน MATIS 1.คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 9 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 9 x 2 1.3 น้ําหนัก 5.0 ปอนด 1.4 หลอดสรางภาพดวยรังสีความรอนแบบหลอเย็น (COOLED SYSTEM) ยาน 3 - 5 um 1.5 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่พิเศษ ชนิด LITHIUM 2.ขีดความสามารถ ในการมองเห็น มองผานหมอก ฝุน ควัน ได 2.1 เปาหมาย คน ในระยะทาง 3,600 ม. 2.3 เปาหมาย ยานพาหนะ ในระยะทาง 15,000 ม. 3.การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองรอยและกองพัน ระยะปานกลางและระยะไกล, คนหาเปาหมาย
ปุมปรับมุมมองภาพ
ปุมปรับความสวางของภาพ
ชองใสแบตเตอรี่
ปุมปรับความคมชัดของภาพ
45 ปญหาและอุปสรรคในการสนับสนุนหนวย 1. การฝกอบรมในการใชกลองตรวจการณกลางคืน กอนแจกจาย หนวยใชงานมักจัดเจาหนาที่ที่ไมเกี่ยวของ กับการใชงานมาทําการฝกอบรม หรือเจาหนาที่ที่ไมสามารถนําความรูกลับไปถายทอดใหกับผูใชงานไดอยาง มีประสิทธิภาพ ทําใหผูใชงานจริงนํากลองไปใชอยางไมถกู วิธี ซึ่งกอใหเกิดความเสียหายไดงาย ขอเสนอแนะ หนวยใชงานควรจัดนายทหารระดับ ผบ.มว., ผบ.หมู ที่รับผิดชอบตอยุทโธปกรณและ การฝกของหนวย เขารับการฝกเพื่อจะสามารถรับผิดชอบยุทโธปกรณและการถายทอดใหผูใชงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ 2. การแจกจายกลองฯ นัน้ เนื่องจากกลองมีลักษณะพิเศษ แตกตางจาก สป. ประเภทอื่นๆ กช. จึงงด การสงกลองไปใหหนวยใชทาง สขส. โดยจะมีวิทยุแจงใหหนวยสงเจาหนาที่ไปรับที่ กคช.กช. ซึ่งสวนใหญ ไดรับความรวมมือในการจัดเจาหนาที่ไปรับกลองฯ ดังกลาว แตปจ จุบนั มีบางหนวยไมไปรับกลองฯ ทั้งที่ได แจงเตือนแลว จึงทําให สป. ตกคางอยูที่ กคช.กช. จําหนึง่ 3. การใชงาน หรือการฝกอบรมกลอง ซึ่งอาจเกิดจากความบกพรอง หรือความรูเทาไมถึงการณของ เจาหนาที่หนวยใช โดยเปดฝาครอบเลนสในขณะที่มีแสงมากๆ ในเวลากลางวัน ทําใหหลอดภาพขยายแสง (Image Intensifier Tube) เกิดการไหม และชํารุดใชการไมได ขอเสนอแนะ เจาหนาที่ผูรับผิดชอบ สป. ควรศึกษาคูมือการใชงานใหถองแท และระวังอยาใหผูอนื่ ที่ ไมเกี่ยวของกับ สป. มารับผิดชอบหรือฝกทดลองใชโดยที่ยังไมไดศึกษาคูมือการใชงานอยางชัดเจน 4. การเก็บรักษาของหนวยใชไมเหมาะสม เชน เก็บไวในที่ที่มีความชื่น, ในที่อุณหภูมิสูง หรือหลังจาก การใชงานแลวไมนําแบตเตอรี่ออกจากตัวกลองฯ และเมื่อระยะเวลาผานไป ทําใหแบตเตอรี่เกิดการรั่วซึม เปนเหตุทําใหกลองฯ เสียหายได ขอเสนอแนะ ควรศึกษาคูมือการใชงานใหเขาใจอยางถองแท และกํากับดูแลการใชงานใหเปนไปตามที่ คูมือกําหนด 5. การสงซอมกลองฯ หนวยสงซอม (หนวยใช) ไมสงแบบบันทึกจํานวนชั่วโมงการใชงานใหกับหนวยซอม เปนผลทําใหชางซอมไมสามารถตรวจสอบและวิเคราะหหาสาเหตุการชํารุดที่แทจริงได ขอเสนอแนะ หนวยใชตองกําชับเจาหนาที่ เพื่อใหบนั ทึกชั่วโมงการใชงานของกลองฯ เมื่อนําไปใชงาน จริงหรือทดสอบการทํางาน เพื่อเปนการเช็คจํานวนชัว่ โมงการทํางานของหลอดภาพ และวิเคราะหสาเหตุ ของการชํารุด 6. หนวยซอมฯ กลองของ กช. ยังไมมีเครื่องมือทดสอบมาตรฐานอายุการใชงานของหลอดภาพขยายแสง เพื่อใหเปนไปตามคุณลักษณะเฉพาะที่กําหนดไว เนื่องจากเครื่องมือดังกลาวมีราคาสูงถึงกวา 6 ลานบาท (ป 46) จึงทําใหไมไดรับการจัดสรรงบประมาณในการจัดหา แตเมื่อเปรียบเทียบกับความคุมคากับการ จัดหากลองตรวจการณกลางคืนมาใชงานแลว จะมีความคุมคาสูง ขอเสนอแนะ ควรพิจารณาอนุมัติให กช. จัดหาเครื่องดังกลาวเขามาใชงาน เพื่อการตรวจสอบมาตรฐาน ของกลองเพื่อใหเปนไปตามคุณลักษณะเฉพาะ และราคาในการจัดหา 7. การจัดหากลองตรวจการณกลางคืน : การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของกลองกวางเกินไป ทําใหมีหลาย บริษัทสามารถนํา สป. ที่มคี ุณภาพต่าํ เขามายื่นซองประกวดราคาได
46 ขอเสนอแนะ ควรกําหนดใหกลองตรวจการณกลางคืนมีลักษณะเชนเดียวกับยุทโธปกรณประจํากาย เชน ปลย. M16, ปนใหญ หรือรถถัง หรือใชวิธีพิเศษในการจัดหาเพื่อใหได สป. ที่มคี ณ ุ ภาพสูงเขามาใชงาน 8. เนื่องจากชิน้ สวนซอมหลอดภาพขยายแสง (Image Intensifier Tube) บางชนิดตองสั่งซื้อจากตางประเทศ ทําใหการซอมบํารุงตองใชระยะเวลานาน ขอเสนอแนะ หากไมมีขอจํากัดดานการสงกําลังบํารุง ควรพิจารณาใหหลอดภาพขยายแสงมีระดับสบสม ชิ้นสวนซอมดวย 9. เจาหนาที่ใชกลองตรวจการณกลางคืน สวนใหญขาดความรู, การอบรม และการใชงานอยางถองแท จึงเปนสาเหตุหลักการชํารุดของกลองฯ ขอเสนอแนะ หนวยควรมีการฝกอบรมถายทอดความรูใหผูรับผิดชอบการใชงาน และกําหนดตัวบุคคลที่ จะกลองฯ ไปใชงานใหชัดเจน โดยบุคคลดังกลาวตองมีคุณสมบัติที่ผานมาตรฐานการอบรมการใชงานกลอง อยางแทจริง 10. การสงซอม สป. ที่ซอมเสร็จคืนหนวย : หนวยมารับ สป. ชา ซึ่งไดรับการแจงวาไมมีงบประมาณใน การเดินทางมารับ สป. หรือใหสง สป. ทาง สขส. ซึ่งกลองฯ เปน สป. ที่มีความสําคัญ, ราคาสูงและชํารุด งาย และมีความสําคัญทางดานยุทธการ ขอเสนอแนะ ใหหนวยพิจารณางบประมาณสําหรับจัดเจาหนาที่มารับ สป. ดวยตนเอง 11. การพัฒนา และปรับปรุงโครงการพัฒนากลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว และแบบ สองตา) โดยสงชิน้ สวนกลองฯ เพื่อนํามาประกอบเอง จะทําใหประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อจากตาง ประเทศโดยตรง ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับจํานวนในการประกอบ ซึ่งหากมีการประกอบจํานวนมากๆ ราคาชิ้นสวนก็ จะถูกลง แตการปฏิบตั จิ ริงยังขาดการสนับสนุนจากกองทัพบก ขอเสนอแนะ ควรมีการสนับสนุนโครงการพัฒนากลองฯ เพื่อการประหยัดงบประมาณ 12. กําลังพลของหนวยซอมฯ ไมสามารถซอมบํารุงกลองฯ รุนใหมๆ ที่มีเทคโนโลยีสูงได ขอเสนอแนะ เห็นควรมีขอกําหนดใหมีการบริการหลังการขายในเรื่องการซอมบํารุง และการถายทอด เทคโนโลยีในดานการซอมบํารุงใหกับหนวยซอมฯ 13. งบประมาณการซอมฯ ที่หนวยไดรับประจําปไมมีเพียงพอตอการปฏิบตั ิงาน ขอเสนอแนะ กองทัพควรพิจารณาสนับสนุนงบประมาณใหเพียงพอตอการซอมบํารุง
47 ขอเสนอแนะเพื่อประโยชน 1. การเสนอความตองการกลองตรวจการณกลางงคืนของแตละเหลา ควรพิจารณาถึงความจําเปนในการ ใชงาน ความสามารถ/คุณสมบัตขิ องผูใชงาน รวมทั้งขีดความสามารถในการซอมบํารุง 2. การพิจารณาความเรงดวนในการแจกจายกลองตรวจการณกลางคืน ควรมีการกําหนดในภาพรวมของ ทบ. เนื่องจากเปนยุทโธปกรณที่มีราคาแพง เจาหนาที่ตองมีความรู รวมทั้งอุปกรณมีอายุการใชงาน จึงควร กําหนดการแจกจายใหหนวยที่มีความจําเปนทางยุทธการของ ทบ. กอนหนวยเปาหมายที่ไมมีภารกิจทาง ยุทธการ 3. กลองตรวจการณกลางคืนตองเปน สป. ที่มีการปรับปรุงพัฒนาดานเทคโนโลยี และความเหมาะสมกับ การปฏิบตั ิภารกิจของหนวยทั้งในดานบุคคลและใชรวมกับยุทโธปกรณอื่นหรือเพิ่มขีดความสามารถประสิทธิภาพ ใหกับหนวยใชไดอยางแทจริง 4. การจัดหากลองตรวจการณกลางคืน ซึ่งเปนยุทโธปกรณที่ทุกเหลาเสนอความตองการเพื่อความทันสมัยใน แผนปรับปรุงหนวย/เหลา การจัดหาจึงควรใหมีลักษณะที่เหมาะสมในแตละเหลาและใหมีแบบเดียวกัน 5. การซอมบํารุงกลองตรวจการณกลางคืน เปนยุทโธปกรณที่มีอายุการใชงานคอนขางสั้น ดังนัน้ จึงควร มีการฝกอบรมเจาหนาที่ซอมบํารุงในสวนของ ทภ./บชร. ใหสามารถซอมบํารุงได รวมทั้งใหมีเครื่องมือ สําหรับทดสอบ และซอมบํารุงประจําในแตละสวน 6. กช. มีกําลังพลที่มีความรูความสามารถในการซอมบํารุงกลองตรวจการณกลางคืนทุกชนิดที่มีใชใน ทบ. ในระดับหนึ่ง ซึ่งยังไมมีความหลากหลายตอดานเทคโนโลยีของกลองฯ จึงเห็นควรใหมีการสงกําลังพลไป ศึกษาและดูงานจากบริษัทผูผลิตกลองฯ เพื่อเปนการเพิ่มขีดความสามารถของกําลังพลในการซอมบํารุงตอไป 7. หนวยใชควรมีมาตรการการควบคุม หรือกําหนดตัวบุคคลในการใชอยางชัดเจน มีบนั ทึกการใชงานใน รูปแบบที่เหมาะสม สะดวก เชื่อถือได เพื่อตรวจสอบอายุการใชงานของหลอดภาพไดอยางชัดเจน 8. หากมีระยะเวลาในการปฏิบตั ิและความตองการของหนวยมีความชัดเจน ควรจะมีการการจัดหากลองตรวจ การณกลางคืนโดยวิธี FMS เพื่อประโยชนสูงสุดของ ทบ. ตอไป
1
แบบบันทึกการใชงาน กลองตรวจการณกลางคืน ยี่หอ ............................................ รุน .....................................หมายเลข.....................................S/N……......................... ลําดับ
วัน, เดือน, ป, เวลา เริ่มใชงาน เลิกใชงาน
รวมชั่วโมง การทํางาน
งาน/ภารกิจ
หมายเหตุ - “เริ่มการใชงาน” หมายถึง เมื่อนํากลองออกมาใชงาน และเปดสวิทชไปตําแหนง “ON” - “เลิกการใชงาน” หมายถึง เมื่อปดสวิทชไปตําแหนง “OFF”
ผูใช
ผูอนุมัติ
หมายเหตุ
1
คูมือการใชงานและปรนนิบัตบิ าํ รุง กลองตรวจการณกลางคืน
โดย กรมการทหารชาง
2