1
บทที่ 3. วิธ ก ี ารดำา เนิน งาน ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การใช้ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สเพื่อการ เรียนการสอนในโรงเรียนตำารวจตระเวนชายแดนภาคใต้ ในครั้งนี้ผู้วิจัย มีวิธีการดำาเนินการศึกษาและวิเคราะห์ขอ ้ มูลดังต่อไปนี้ 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 3.3 ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือ 3.4 วิธีการดำาเนินการศึกษา 3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล 3.6 สถิติที่ใช้ในการศึกษา 3.1 ประชากรและกลุ่ม ตัว อย่า ง 3.1.1 ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ครูตำารวจตระเวน ชายแดนโรงเรียนตำารวจตระเวนชายแดนภาคใต้ จำานวน 77 นาย และ นักเรียนโรงเรียนตำารวจตระเวนชายแดนภาคใต้จำานวน 1,522 คน 3.1.2 กลุ่ม เป้า หมาย ได้มาจากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ได้แก่ ครูตำารวจตระเวนชายแดน โรงเรียนตำารวจตระเวนชายแดน พีระ ยานุเคราะห์ฯ ที่ 4 จำานวน 3 นาย และนักเรียนโรงเรียนตำารวจตระเวน ชายแดน พีระยานุเคราะห์ฯ ที่ 4 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำานวน 138 คน 3.2 เครื่อ งมือ ที่ใ ช้ใ นการศึก ษา
2
1. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ติดตั้งชุดระบบปฏิบัติการและซอฟท์แวร์ สำาเร็จรูปพร้อมใช้ PSU Baby 2. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนแบบมาตรวัดค่า 5 ระดับ โดยยึดเกณฑ์ของลิเกิร์ต (Likert) 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา 3.3 ขั้น ตอนในการสร้า งเครื่อ งมือ 3.3.1 ซอฟท์แ วร์ส ำา เร็จ รูป พร้อ มใช้ PSU Baby ผู้วิจัยได้ดำาเนินการสร้างซอฟท์แวร์สำาเร็จรูปพร้อมใช้ PSU Baby โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ติดตั้งจากลีนุกซ์ไลท์อูบันตู lubuntu 12.04 desktop 32 bit ต้นฉบับดาวน์โหลดจาก http://ftp.psu.ac.th/pub/ubuntureleases/lubuntu-12.04-desktop-i386.iso แบ่ง partition ให้ /dev/sda1 มี ขนาด 15 GB แบบ primary ext3 และ /dev/sda2 มีขนาด 512 MB แบบ linux swap ตั้ง user ชื่อ baby รหัสผ่าน 123456 ให้ autologin 2. ติดตั้งเสร็จแล้ว ให้ login เข้าใช้งานด้วย user ชื่อ baby รหัส ผ่าน 123456 แล้วปรับปรุงซ่อมแซมช่องโหว่ด้วยคำาสั่ง sudo apt-get update และ sudo apt-get dist-upgrade แล้วให้รีบูทใหม่ ด้วยคำาสั่ง reboot 3. ติดตั้งโปรแกรม remastersys ทำาดังนี้แก้ไขแฟ้ม /etc/apt/sources.list เพิ่มต่อท้ายด้วยบรรทัดข้อความ ว่า deb http://www.geekconnection.org/remastersys/repository karmic/ แล้วทำางานต่อด้วยคำาสั่ง sudo apt-get update และ sudo apt-get install remastersys หากพบข้อบกพร่อง โปรแกรมไม่สร้าง /home/remastersys ให้แก้ไขด้วยการสร้างเองด้วยคำาสั่ง sudo mkdir -p /home/remastersys
3
แก้ไขตัวแปรในแฟ้ม /etc/remastersys.conf ให้เป็นดังนี้ EXCLUDES="/home/baby/.cache" LIVEUSER="baby" LIVECDLABEL="PSU-baby Live CD" CUSTOMISO="psu-baby-backup.iso" เปลี่ยนรูปที่แฟ้ม /etc/remastersys/isolinux/splash.png ให้เป็น PSU-LUG sudo wget http://ftp.psu.ac.th/pub/psu-baby/distsbaby/etc/remastersys/isolinux/psu-12.png -O etc/remastersys/isolinux/splash.png แก้ไขแฟ้ม /etc/remastersys/isolinux/isolinux.cfg.vesamenu ให้เป็นดังนี้ label live menu label live - boot the Live System kernel /casper/vmlinuz append file=/cdrom/preseed/custom.seed boot=casper nitrd=/casper/initrd.gz – label noacpi menu label noacpi - boot with no acpi kernel /casper/vmlinuz append file=/cdrom/preseed/custom.seed boot=casper initrd=/casper/initrd.gz acpi=off – label install menu label install - install PSU-baby to hard disk kernel /casper/vmlinuz append file=/cdrom/preseed/custom.seed boot=casper only-ubiquity initrd=/casper/initrd.gz – label local menu label local - boot local hard disk localboot 0 จัดการ bug ของ remastersys ไม่ autologin แก้ไขแฟ้ม /usr/bin/remastersys เลิกคำาสั่งบรรทัดเป็นดังนี้ #rm -rf $WORKDIR/dummysys/etc/gdm/custom.conf
4
ปรับปรุงให้ ssh เข้าไปยัง live CD ได้ แก้ไขแฟ้ม /usr/bin/remastersys ยกเลิกคำาสั่งบางบรรทัดเป็น #rm -rf $WORKDIR/dummysys/etc/ssh/ssh_host_rsa_key #rm -rf $WORKDIR/dummysys/etc/ssh/ssh_host_dsa_key.pub #rm -rf $WORKDIR/dummysys/etc/ssh/ssh_host_dsa_key #rm -rf $WORKDIR/dummysys/etc/ssh/ssh_host_rsa_key.pub 4. ทำาให้เวลาใช้คำาสั่ง sudo ไม่จำาเป็นต้องใส่รหัสผ่าน แก้ไขแฟ้ม /etc/sudoers เพิ่มบรรทัดใหม่ตอ ่ ท้ายแฟ้มว่า baby ALL=NOPASSWD: ALL 5. แก้ไขแฟ้ม /etc/udev/rules.d/70-persistent-net.rules ลบข้อมูล ที่ขึ้นต้นว่า SUBSYSTEM=="net",... ออกให้หมด จากนั้นสร้างแฟ้ม /etc/udev/rules.d/75-persistent-netgenerator.rules ขึ้นมาใหม่ ใส่ข้อมูลหลอกๆไว้เพียงบรรทัดเดียวก็พอว่า #DO NOTHING 6. ยกเลิกการตั้งค่า update อัตโนมัติ ด้วยคำาสั่ง sudo apt-get remove update-notifier ปิด screen saver ของ desktop ไม่ต้องให้ทำางาน lubuntu -> Preferences -> Screensaver ปรับปรุง grub ให้แสดง text ตอนบูท แก้ไขแฟ้ม /etc/default/grub ปรับปรุงตัวแปร GRUB_CMDLINE_LINUX_DEFAULT="" แล้วทำางานต่อด้วยคำาสั่ง sudo update-grub เพิ่ม applet คลิกขวา Add / Remove Panel Items -> Add -> CPU Usage Monitor ลบ applet Desktop Pager ออก 1 อัน คลิกขวา Desktop Pager applet -> "Desktop Pager" Settings Desktops -> Number of desktops: = 1
5
7. ปรับแต่ง chromium ดังนี้ ตั้งพื้นที่ download ให้ถามทุกครั้ง Preferences -> Under the Hood -> Downloads ปิดการ translate ทุกครั้ง Preferences -> Under the Hood -> Translate ตั้ง fixfont ภาษาไทย Preferences -> Under the Hood -> Customize Fonts... -> Fixed-width Font = Loma ปิดการจำา password ให้ถามทุกครั้ง Preferences -> Personal Stuff -> Passwords ตั้ง about:blank ไว้ที่หน้าแรก Preferences -> Basics 8. ติดตั้งภาษาไทย ด้วยคำาสั่ง sudo apt-get install languagepack-th ติดตั้งฟอนต์ sipa ด้วยคำาสั่ง sudo wget ftp://ftp.psu.ac.th/pub/thaifonts/sipa-fonts/*ttf -P /usr/share/fonts/truetype/thai 9. ติดตั้งโปรแกรมต่างๆดังนี้ sudo apt-get install cups-pdf libreoffice-calc libreoffice-draw libreoffice-impress libreoffice-writer openssh-server software-center tuxmath tuxpaint usb-creator-gtk ถอดบางโปรแกรมออกด้วยคำาสั่งดังนี้ sudo apt-get purge abiword apt-xapian-index gnumeric gpicview gucview ntp osmo simple-scan sylpheed synaptic transmission update-notifier xchat xfburn 10. ติดตั้ง flash player ด้วยคำาสั่ง sudo apt-get install libcurl3 libnspr4-dev flashpluginnonfree 11. ปรับปรุง home ดังนี้ ด้วยคำาสั่งดังนี้ wget ftp://ftp.psu.ac.th/pub/psu-baby/distsbaby/home/baby/* -P /home/baby
6
wget ftp://ftp.psu.ac.th/pub/psu-baby/distsbaby/home/baby/Desktop/* -P /home/baby/Desktop sudo chmod +x /home/baby/Desktop/*.desktop 12. ปรับแต่ง Wallpaper ดาวน์โหลด wallpaper มาเก็บไว้ด้วยคำา สั่ง sudo wget http://ftp.psu.ac.th/pub/psu-baby/distsbaby/usr/share/lubuntu/wallpapers/psu-baby2-wallpaper.png -P /usr/share/lubuntu/wallpapers แก้ไข Desktop Preferences -> Appearance -> Background wallpaper: 13. จัดทำาระบบ autostart ด้วยคำาสั่งดังนี้ mkdir /home/baby/.config/lxsession/ mkdir /home/baby/.config/lxsession/Lubuntu touch /home/baby/.config/lxsession/Lubuntu/autostart mkdir /home/baby/.config/autostart 14. ปรับเปลี่ยนให้เป็นระบบภาษาไทย lubuntu -> System Tools -> Language Support 15. สร้างต้นแบบแผ่น PSU-baby live CD ดังนี้ คลิ๊กที่จุดเริ่มต้นล่าง-ซ้ายสุด -> Preferences -> Remastersys Backup เลือกหัวข้อ Backup Backup Complete System Including User Data แล้วคลิกปุ่ม OK รอสักครู่ เมื่อทำางานเสร็จแล้วจะได้แฟ้มซีดีแบบ iso อยู่ที่ /home/remastersys/remastersys/psu-baby-backup.iso 3.3.2 แบบประเมิน ความพึง พอใจของผู้เ รีย นแบบมาตรวัด ค่า 5 ระดับ ผู้วิจัยได้ดำาเนินการสร้างแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน ต่อซอฟท์แวร์สำาเร็จรูปพร้อมใช้ PSU Baby โดยมีขั้นตอนในการสร้าง แบบประเมินดังนี้
7
3.3.2.1 ศึก ษาวิธ ีก ารสร้า งแบบประเมิน รวบรวมข้อมูลและ ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำาหนดแนวทางการสร้างแบบประเมิน ความพึงพอใจตามวิธข ี องลิเกิร์ต (Likert) จากนั้นดำาเนินการออกแบบ ประเมินสำาหรับการประเมินความพึงพอใจสำาหรับผู้เรียน ในแบบประเมิน ความพึงพอใจได้กำาหนดระดับความคิดเห็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับ 5 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง พึงพอใจมาก ระดับ 3 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง พึงพอใจน้อย/พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง พึงพอใจน้อยที่สุด/ควรปรับปรุง การแปลผลความพึงพอใจ คะแนน 4.51 – 5.00 ความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด คะแนน 3.51 – 4.50 ความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก คะแนน 2.51 – 3.50 ความพึงพอใจอยู่ในระดับ ปานกลาง คะแนน 1.51 – 2.50 ความพึงพอใจยู่ในระดับ น้อย/พอใช้ คะแนน 0.01 – 1.50 ความพึงพอใจมีคุณภาพอยู่ในระดับ น้อยที่สุด/ควรปรับปรุง 3.3.2.2 นำา แบบประเมิน ความพึง พอใจที่ส ร้า งขึ้น นำา ไป ตรวจสอบ ผู้วิจัยได้นำาแบบประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพที่สร้าง ขึ้น ให้ที่ปรึกษาโครงการวิจัยพิจารณาตรวจสอบและแนะนำา เพื่อ ปรับปรุงแก้ไขให้มีความถูกต้องเหมาะสมสามารถนำาไปใช้ เพื่อให้ผู้ เชี่ยวชาญสามารถประเมินคุณภาพได้จริง 3.3.3 แบบทดสอบวัด ผลสัม ฤทธิ์ท างการศึก ษา ผู้วิจัยได้ดำาเนินการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ ศึกษา จำานวน 6 วิชา ได้แก่
8
เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือก มีขั้นตอนการสร้างและ พัฒนา ดังนี้ 1. ศึกษาหลักการ ทฤษฎีในการสร้างแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. วิเคราะห์เนือ ้ หาสาระและตัวชีว้ ด ั /มาตรฐานการเรียนรู้ เรื่อง............ชัน ้ 3. สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนให้ครอบคลุม เนือ ้ หาสาระและตัวชีว้ ด ั ....... เรื่อง............ชัน ้ ……… 4. ขอความร่วมมือผู้ เชี่ ยวชาญ จำานวน 3 คน ตรวจสอบ คุณภาพของแบบทดสอบด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ผู้ เชี่ ยวชาญดัง กล่าวประกอบด้วย 4.1 ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จำานวน 1 คน 4.2 ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน
จำานวน
1 คน 4.3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการใช้ภาษาไทย จำานวน 1 คน 5. แก้ไข ปรับปรุงแบบทดสอบตามคำาแนะนำา ข้อเสนอแนะ ของผู้เชี่ยวชาญ 6. นำาแบบทดสอบทีปรั ่ บปรุงแล้วไปทดสอบกับนักเรียนชันประถม ้ ศึกษาปีที่ 1. – 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนตำารวจตระเวน ชายแดน พีระยานุเคราะห์ฯ 4 ตำาบลปะโด อำาเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จำา นวน คน 7. หาค่าความเชือ ่ มัน ่ (rtt) ของแบบทดสอบทัง้ ฉบับ โดยใช้สต ู ร KR-20 ซึง่ แบบทดสอบที่สร้างขึ้นมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ
9
8. จัดทำาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้เพียงพอ กับจำานวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง 3.4 วิธ ีก ารดำา เนิน การศึก ษา 3.4.1 ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกวิชา ผู้วิจัยดำาเนินการทดสอบ วัดผลสัมฤทธิท ์ างการเรียน (Pretest) กับผูเ้ รียนทุกวิชากับกลุม ่ ตัวอย่าง 3.4.2 ดำาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับกลุ่มตัวอย่างตาม โครงการสอนในแต่ละวิชา โดยใช้เวลาสอนในแต่ละวิชาทั้งสิ้น 16 ชั่วโมง 3.4.3 เมือ่ สอนครบทุกวิชาแล้ว ดำาเนินการทดสอบเพือ่ วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียน (Posttest) กับกลุม ่ ตัวอย่างโดยใช้แบบวัดชุด เดียวกันกับทีใ่ ช้วด ั ก่อนเรียน 3.4.3 ตรวจผลการสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ์ ยน
แล้วนำาคะแนนที่ได้
มาวิเคราะห์ทางสถิติ 3.5 การเก็บ รวบรวมข้อ มูล และการวิเ คราะห์ข ้อ มูล 3.6 สถิต ิท ี่ใ ช้ใ นการศึก ษา การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้ค่าสถิติสำาหรับการแปรผลข้อมูล ดังนี้ 3.6.1
ค่า ร้อ ยละ ค่า เฉลี่ย และค่า ความเบี่ย งเบนมาตรฐาน 3.6.1.1 ค่าร้อยละ (Percentage) ใช้สูตรดังนี้ f Ρ = × 100 N
เมื่อ P
= ร้อยละ
10
f
= ความถี่ต้องแปลงเป็นร้อยละ
N
= จำานวนความถี่ทั้งหมด X
3.6.1.2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean: ) ใช้สูตรดังนี้ X=
เมื่อ
X
∑X N
∑X N
= ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = ผลรวมทั้งหมดของข้อมูล = จำานวนข้อมูล
3.6.1.3 ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.:Standard Deviation) ใช้ สูตรดังนี้ n
SD=
(
)
∑ xi− x i =1
2
n− 1
เมื่อ SD = ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน x X
n 3.6.2
= ข้อมูลแต่ละตัว
= ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
= จำานวนข้อมูล
ค่า ความยากง่า ย (p) และค่า อำา นาจจำา แนก (r) 3.6.2.1
ค่าความยากง่าย (p) ใช้สูตรดังนี้
P =
R N
11
เมื่อ P
3.6.2.2
= ค่าความยากง่าย
R
= จำานวนคนที่ทำาข้อนั้นถูก
N
= จำานวนคนที่ทำาข้อสอบนั้นทั้งหมด
ค่าอำานาจจำาแนก (r) ใช้สูตรดังนี้
R− R U
D = เมื่อ D
R U
เก่ง
R L
N 2
L
= ค่าอำานาจจำาแนก = จำานวนนักเรียนที่ตอบถูกในกลุ่ม = จำานวนนักเรียนที่ตอบถูกในกลุ่ม
อ่อน N
= จำานวนคนในกลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อน
3.6.3 ค่า ความเที่ย งตรงเชิง เนื้อ หา (IOC : Item Objective Congruence) ใช้สูตรดังนี้ R IOC= ∑ N
เมื่อ IOC = ดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ข้อสอบกับจุดประสงค์ R ของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด
= ผลรวมของคะแนนความคิดเห็น
12
= จำานวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด
N 3.6.4
ค่า ความเชื่อ มั่น ของแบบทดสอบ โดยใช้วิธีของคูเดอร์ ริ ชาร์ดสัน (KR-20) (Kuder Richardson Method) (พวงทิพย์ ทวี รัตน์, 2540) ซึ่งมีสูตรดังนี้ rtt =
เมื่อ
rtt
n ∑ pq 1− 2 n− 1 st
= ค่าความเชื่อมั่นที่คำานวณจากสูตร
n
= จำานวนข้อของเครื่องมือวัด
p
= สัดส่วนของผู้ตอบข้อสอบถูกแต่ละ
q
= สัดส่วนของผู้ตอบข้อสอบผิดแต่ละ
ข้อ ข้อ (1-p) st2
ทั้งหมด
= ความแปรปรวนของคะแนนรวม