1
บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา ปัจจุบันนี้ทั้งในประเทศและต่างประเทศมีการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าในด้านของการสื่อสารทาง โลกของอินเทอร์เน็ต มาช่วยในการหาข้อมูล และเทคโนโลยียังช่วยในเรื่องของการสื่อสารที่รวดเร็ว กลายเป็นเรื่องง่ายของมนุษย์ไปแล้ว ผู้จัดทาโครงการจึงเล็งเห็นถึงช่องทางในการให้ข้อมูลที่ตนเองสนใจ รวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง นามาสร้างเป็นเว็บไซต์ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องฝ้าเพดาน ที่จะรวบรวมรูปแบบของ การทาเว็บไซต์ ความรู้เรื่องการจ้างช่าง ราคาอุปกรณ์ ราคาค่าออกแบบฝ้าเพดานนามาเก็บไว้ในเว็บไซต์ เดียว ช่วยให้ผู้หาข้อมูล ไม่ต้องหาข้อมูลจากหลาย ๆ ช่องทาง หลายเว็บง่าย และสะดวกต่อการใช้งานบน เว็บไซต์ ในปัจจุบันการหาความรู้และการบริการการติดตั้งฝ้าเพดานเป็นการหาข้อมูลที่ค่อนข้างยาก และ ปัญหาที่พบ คือ บุคคลส่วนมากไม่ทราบข้อมูลเกี่ยวกับฝ้าเพดาน ชนิดของฝ้าเพดาน ราคารับเหมาการ ติดตั้งฝ้าเพดาน ซึ่งในการสร้างเว็บไซต์นี้จะเป็นประโยชน์ต่อบุคคลที่สนใจในเรื่องฝ้าเพดานเป็นอย่างมาก จากเหตุผลดังกล่าวกลุ่มของดิฉันจึงได้มีการศึกษาจัดทาเว็บไซต์ฝ้าเพดานขึ้น ซึ่งเว็บไซต์ดังกล่าวจะ ให้ความรู้เกี่ยวกับฝ้าเพดาน ชนิดของฝ้าเพดาน และคานวณออกมาเป็นราคาโดยมีชนิดของฝ้าให้ลูกค้า เลือกแล้วกาหนดขนาดที่จะติดตั้งฝ้าเพดานแล้วราคาก็จะเสนอออกมา การสร้างเว็บไซต์ฝ้าเพดานขึ้น เพื่อให้ผู้ที่เข้ามาศึกษาหาข้อมูลเรื่องฝ้าเพดานโดยเฉพาะกลุ่มบุคคลที่ต้องการต่อเติมบ้าน และบุคคลที่ ต้องการสร้างบ้านใหม่ หรือกลุ่มที่ต้องการศึกษานาข้อมูลไปใช้ด้านการทางานอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่ม มากขึ้น 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.2.1 เพื่อศึกษาและดาเนินการสร้างเว็บไซต์ฝ้าเพดาน 1.2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจเว็บไซต์ฝ้าเพดาน 1.3 สมมติฐานของโครงการ 1.3.1 ได้เว็บไซต์ฝ้าเพดานที่สามารถใช้งานได้จริง 1.3.2 เว็บไซต์ฝ้าเพดานอยู่ในความพึงพอใจระดับมาก
2
1.4 ขอบเขตของโครงการ 1.4.1 เนื้อหาที่ใช้ในโครงการครั้งนี้ประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้ 1.4.1.1 เนื้อหาเรื่องเว็บไซต์ฝ้าเพดาน สร้างเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับฝ้าเพดาน รูปแบบของฝ้าเพดาน ความรู้ เรื่ อ งช่า งฝ้ า สามารถพูด คุย ปรึ ก ษากั นโดยมี เว็บ บอร์ด มีก ารค านวณค่ าจ้า งรั บเหมาติดตั้ งฝ้ าเพดาน รายการสินค้า และออกใบเสนอราคาได้ โดยใช้ภาษา PHP และ DATA BASE 1.4.1.2 เนื้อหาเรื่องฝ้าเพดาน ฝ้าเพดานเป็นแผ่นวัสดุที่ปิดพื้นที่บริเวณใต้หลังคาและใต้พื้นชั้นบนเพื่อป้องกันความ ร้อนใต้หลังคาและปิดซ่อนอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ท่อน้า สายไฟ ป้องกันเสียง และสาหรับฝ้าที่เป็นวัสดุทนไฟ ก็ยังช่วยป้องกันไฟได้ การติดตั้งฝ้าเพดานในอาคารบ้านเรือนจึงมีประโยชน์ทั้งในการใช้สอยและความ สวยงาม ฝ้าเพดานจะมีอยู่ 3 ชนิด คือ ก) ฝ้าฉาบเรียบ แผ่นยิปซั่มธรรมดา แผ่นยิปซั่มทนชื้น แผ่นยิปซั่มทนไฟ แผ่นยิปซั่มกันร้อนชนิดติดอลูมิเนียมฟอยล์ แผ่นฝ้าอะคูสติก แผ่นฝ้าเพดานโมเดริ์นอะคูสติก แผ่นฝ้าลดเสียงสะท้อนเอคโค่บล็อคไทล์ ข) ทีบาร์ แผ่นฝ้าทีบาร์สาเร็จรูป ค) สมารท์บอร์ด แผ่นยิปซั่มสมาร์ทบอร์ด แผ่นวีว่าบอร์ด แผ่นฉลุลายเฌอร่า
3
1.4.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.4.2.1 ประชากร ประชากรหมู่ บ้ า นดอนกลาง ต.เนิ น พระปรางค์ อ.สองพี่ น้ อ ง จ.สุ พ รรณบุ รี ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ บุคคลทั่วไป จานวน 40 คน 1.4.2.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ บุคคลทั่ว ไป จานวน 36 คน คัดเลือก ตัวอย่างโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) 1.4.3 ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น เว็บไซต์ฝ้าเพดาน ด้วยภาษา PHP และ Database ตัวแปรตาม ความพึงพอใจที่มีต่อเว็บไซต์ ฝ้าเพดาน ด้วยภาษา PHP และ Database 1.5 นิยามศัพท์ที่ใช้ในโครงการ 1.5.1 เว็บไซต์ หมายถึง คาที่ใช้เรียกกลุ่มของเว็บเพจ ( ดังนั้นภายในเว็บไซต์จะประกอบไปด้วย โฮมเพจและเว็บเพจ ) โดยเรามักใช้เรียกเว็บที่มีขนาดใหญ่และมีการจดทะเบียนชื่อเว็บไซต์นั้น ๆ ไว้แล้ว (Domain Name) 1.5.2 ภาษา PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า server-side หรือ HTML-embedded scripting language เป็นเครื่องมือที่สาคัญชนิดหนึ่ง ที่ช่วยให้เราสามารถสร้างเอกสารแบบ Dynamic HTML ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและมีลูกเล่นมากขึ้น 1.5.3 ฝ้าเพดาน หมายถึง เป็นแผ่นวัสดุที่ปิดพื้นที่บริเวณใต้หลังคาและใต้พื้นชั้นบนเพื่อป้องกัน ความร้อนใต้หลังคาและปิดซ่อนอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ท่อน้า สายไฟ ป้องกันเสียง และสาหรับฝ้าที่เป็นวัสดุ ทนไฟก็ยังช่วยป้องกันไฟได้ การติดตั้งฝ้าเพดานในอาคารบ้านเรือนจึงมีประโยชน์ทั้งในการใช้สอยและ ความสวยงาม 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.6.1 ได้ความรู้ในเรื่องการสร้างเว็บไซต์และการออกแบบเว็บไซต์ 1.6.2 ได้รู้ถึงโปรแกรมและภาษาที่ใช้ในการสร้างเว็บไซต์
4
บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง ในการดาเนินโครงการเว็บไซต์ฝ้าเพดาน ผู้พัฒนาได้ทาการศึกษา ค้นคว้าทฤษฎี เอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเว็บไซต์ฝ้าเพดาน 2.1 ทฤษฎีระบบฐานข้อมูล (Database System) 2.2 ทฤษฎี PHP 2.3 ทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ 2.4 ทฤษฎีงานช่างฝ้าเพดาน 2.5 ชนิดและแบบของฝ้าเพดาน 2.6 การคานวณรับเหมาติดตั้งฝ้าเพดาน 2.1 ทฤษฎีระบบฐานข้อมูล (Database System) 2.1.1 ความหมายระบบฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล (Database system) โดยทั่วไปแล้วความหมายของฐานข้อมูลจะหมายถึ ง การเก็บ รวบรวมไฟล์ ที่ เ กี่ย วข้ อ งสั มพั น ธ์กั น มาอยู่ร วมกั นไว้ เข้ าด้ ว ยกั น (Integrated) อย่ า งมี ระบบ ไฟล์ในที่นี้จะหมายถึง logical file ความหมายนี้จะเป็นความหมายทั่ว ๆ ไป ซึ่งยังไม่สมบูรณ์แบบ ทั้งนี้ เนื่องจาก logical file จะประกอบด้วยกลุ่มของ records แต่ความจริงแล้วอาจจะไม่ใช่ก็ได้ เช่น ฐานข้อมูลใหม่ ๆ ที่เป็น object oriented model จะประกอบด้วยกลุ่มของ objects ดังนั้น ความหมาย ของฐานข้อมูลที่ครอบคลุมถึง object oriented ด้วยก็คือความหมายต่อไปนี้ ฐานข้อมูล หมายถึง ที่เก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเหล่านั้น โดยปกติแล้ว ใน เรื่องของฐานข้อมูลมักจะเกี่ยวข้องกับ logical file มากกว่า physical file โดยเฉพาะการออกแบบ ฐานข้อมูลจะเป็นการออกแบบในส่วนของ logical file ถ้ากล่าวถึง logical file จะเป็นมุมมองของผู้ใช้ หรือ application program แต่ถ้ากล่าวถึง physical file จะเป็นมุมมองของ system หรือ operating system การเกี่ยวข้องกันระหว่าง physical file กับ logical file นั้นก็คือ สามารถใช้ physical file มาสร้าง logical file ได้สาหรับการเปลี่ยน logical file เป็น physical file นั้น ในระดับ
5
ไฟล์ธรรมดาจะใช้ Operating system แต่ถ้าเป็นฐานข้อมูลจะใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลเป็นตัวเปลี่ยน (map) และน าเสนอโครงสร้ างข้ อมู ล ให้ กั บ application หรือ ผู้ ใ ช้ เช่น ถ้ าเราใช้ฐ านข้ อมู ล แบบ relational model โครงสร้ างที่เห็ นจะเป็นตาราง (relation) แต่ฐ านข้อมูล ที่มีโ ครงสร้างแบบ hierarchical model หรือ network model นั้น application หรือผู้ใช้จะมองเห็นเป็น tree และ link list ตามลาดับ ระบบฐานข้ อมู ล จะมี ลั ก ษณะคล้ ายการน าแฟ้ม ข้ อมู ล ที่มี ความสั ม พัน ธ์ กัน มาจัด เก็ บไว้ด้ ว ยกั น แต่ลักษณะโครงสร้างการจัดเก็บ รวมทั้งวิธีการใช้งานข้อมูลของฐานข้อมูล จะมีความแตกต่างออกไปจาก แฟ้มข้อมูล ซึ่งการใช้งานระบบฐานข้อมูลจะต้องมีโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการบริหารจัดการข้อมูลและเป็น ตัวกลางระหว่าง ผู้ใช้กับฐานข้อมูล ที่เรียกว่า “Database Management System (DBMS)” หรือระบบ จั ด การฐานข้ อ มู ล ซึ่ ง ผู้ ใ ช้ จ ะต้ อ งใช้ ง านฐานข้ อ มู ล ผ่ า นทางระบบจั ด การฐานข้ อ มู ล นี้ เ ท่ า นั้ น (ทวีรัตน์ นวลช่วย, (2557)) 2.1.2 คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูลที่สาคัญ 2.1.2.1 ความถูกต้องของข้อมูล (Data Integrity) มี 2 ประเภท ก) Static Integrity (State of Data) เป็นความถูกต้องของเนื้อข้อมูล เช่น ผู้หญิงลาบวชไม่ได้ ผู้ชายลาคลอดไม่ได้ อายุของ พนักงานอยู่ระหว่าง 18-60 ปี หรือสมาชิกยืมหนังสือได้ ไม่เกิน 5 เล่ม เป็นต้น ข) Dynamic Integrity (State of Transition) เป็นความถูกต้องของลาดับการ แก้ไข เช่น การแก้ไขสถานะภาพสมรสของพนักงาน ความถูกต้องของข้อมูลจะถูกบังคับโดย Integrity rule หรือ integrity constrains และไม่ควรถูกจัดการโดยโปรแกรม แต่จะถูกจัดการโดยระบบจัดการ ฐานข้อมูล 2.1.2.2) ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence) หมายถึง การที่โปรแกรมเป็น อิสระ จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ก) ความเป็ น อิ ส ระทางกายภาพ (Physical Data Independence) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูลระดับล่าง (Physical structure) จะไม่มีผลกระทบต่อโปรแกรม เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูลจากการเก็บแบบ sequential file เป็นแบบ Index file โปรแกรมที่
6
เรียกใช้ข้อมูลจาก file เหล่านี้จะไม่มีการแก้ไขหรือไม่ต้องการทา compile ใหม่ หรือการโยกย้ายข้อมูล จากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งก็ไม่มีผลกระทบต่อโปรแกรม ข) ความเป็ นอิส ระทางตรรกะภาพ (Logical Data Independence) การ เปลี่ ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล ระดับกลางหรือระดับหลักการ (Conceptual level) ซึ่งเป็น logical structure จะไม่มีผลกระทบต่อโปรแกรม เช่น การเพิ่มเติมข้อมูลเข้าไปในโครงสร้างระดับกลางที่ผู้บริหาร ฐานข้อมูล (Database Administrator) เป็นผู้กาหนดโปรแกรมที่มีอยู่เดิม ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่เพิ่ม เข้าไปนั้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือ compile ใหม่ 2.1.2.3 คุณลักษณะที่ดีของฐานข้อมูล (Good Characteristics of Database System) ก) ลดความซ้าซ้อนของข้อมูลให้เหลือน้อยที่สุด (Minimum redundancy) เป็น การทาให้ปัญหาเรื่องข้อมูลไม่ตรงกันลดน้อยลงหรือหมดไป โดยนาข้อมูลทั้งหมดมารวมกันเพื่อตัดหรือลด ส่วนที่ซ้ากัน ทิ้งไปให้เหลืออยู่เพียงแห่งเดียว และเป็นผลทาให้สามารถแบ่งข้อมูลกันใช้ได้ระหว่างผู้ ใช้ หลาย ๆ คน รวมทั้งการใช้ข้อมูลเดียวกันในเวลาพร้อม ๆ กันได้อีกด้วย ข) ความถูกต้องสูงสุด (Maximum Integrity : Correctness) ในระบบฐานข้อมูล จะมีความถูกต้องของข้อมูลสูงสุด เพราะว่าฐานข้อมูลมี DBMS คอยตรวจสอบกฎเกณฑ์หรือเงื่อนไข ต่าง ๆ (Integrity Rules) ให้ทุกครั้งที่มีการแก้ไขข้อมูลหรือเพิ่มเติมข้อมูลเข้าไปในระบบฐานข้อมูลนั้น โดยกฎเกณฑ์เหล่านี้จะเก็บไว้ในฐานข้อมูลตามแนวคิดของ International Organization for Standard (ISO) แต่ในปัจจุบันมี DBMS บาง product ที่ข้อบังคับเหล่านี้ไม่ได้ผูกติดอยู่กับฐานข้ อมูลยังคงเก็บอยู่ ในโปรแกรม การเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์เหล่านี้ทาให้ต้องแก้ไขโปรแกรมตามไปด้วยทุกครั้ง ซึ่งไม่สะดวก เช่นเดียวกับระบบแฟ้มข้อมูลเดิมทาให้เกิดความยุ่งยากในการเขียนโปรแกรม แต่ถ้าย้ายการเก็บข้อบังคับ หรือกฎเกณฑ์เหล่านี้มาไว้ที่ฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้ อมูลบางชนิดจะมีฟังก์ชั่นพิเศษ (trigger) กับ procedure อยู่บน FORM ปัจจุบันจะมีให้เลือกว่าจะไว้บนจอหรือไว้ในกฎเกณฑ์กลาง ซึ่งจะเก็บไว้ที่ ฐานข้อมูลเรียกว่า stored procedure ซึ่งถูกควบคุมดูแลโดย DBMS สาหรับ DBMS ชั้นดีส่วนใหญ่ จะเป็น compile stored procedure เพราะเก็บกฎเกณฑ์เหล่านี้ไว้ที่ stored procedure ไม่ได้เก็บไว้ ในโปรแกรมเหมือนระบบแฟ้มข้อมูลเดิม ดังนั้นเมื่อเงื่อนไขเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปก็จะทาการแก้ไขเพียง แห่งเดียว ทาให้ระบบฐานข้อมูลมีความถูกต้องของข้อมูลมากที่สุด และลดค่าใช้จ่ายในการพัฒนา และ บารุงรักษา ค) มีความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence) ถือเป็นคุณลักษณะเด่น ของฐานข้ อ มู ล ซึ่ ง ไม่ มี ใ นระบบไฟล์ ธ รรมดา เนื่ อ งจากในไฟล์ ธ รรมดาจะเป็ น ข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ อิ ส ระ
7
(data dependence) กล่าวคือ ข้อมูลเหล่านี้จะผูกพันอยู่กับวิธีการจัดเก็บและการเรียกใช้ข้อมูลซึ่งใน ลักษณะการเขียนโปรแกรมเราจาเป็นต้องใส่เทคนิคการจัดเก็บและเรียกใช้ข้อมูลไว้ในโปรแกรม เมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงวิธีการจัดเก็บทาให้ต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรมตามไปด้วย ดังนั้น ถ้าหากมีการแก้ไขหรือ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูลทั้งในระดับ logical และ physical ย่อมมีผลกระทบต่อโปรแกรม แต่ถ้า ข้อมูลเก็บในลักษณะของฐานข้อมูลแล้วปัญหานี้จะหมดไป เพราะฐานข้อมูลมี DBMS คอยดูแลจัดการให้ ทาให้โปรแกรมเหล่านี้เป็นอิสระจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล ง) มีระบบความปลอดภัยของข้อมูลสูง (High Degree of Data Security) ฐานข้อมูล จะมีร ะบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสู ง โดย DBMS จะตรวจสอบรหั สผ่ าน (login password) เป็น ประเด็นแรก หลังจากผ่านเข้าสู่ระบบได้แล้ว DBMS จะตรวจสอบดูว่าผู้ใช้นั้นมีสิทธิ ใช้ข้อมูลได้มากน้อยเพียงใด เช่น จะอนุญาตให้ใช้ได้เฉพาะ in query หรือ update และสามารถทาได้ เฉพาะตารางใดหรือแถวใดหรือคอลัมน์ใด เป็นต้น นอกจากนี้ โครงสร้างข้อมูลระดับล่างยังถูกซ่อนไว้ไม่ให้ ผู้ใช้มองเห็นว่า อยู่ตรงไหน DBMS จะไม่ยอมให้โปรแกรมใด ๆ เข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่ผ่าน DBMS จ) การควบคุมจะอยู่ที่ส่วนกลาง (Logically Centralized Control) แนวความคิด นี้จะนาไปสู่ระบบการปฏิบัติงานที่ดี อย่างน้อยสามารถควบคุมความซ้าซ้อนและความปลอดภัยของข้อมูล ได้ นอกจากนี้ในการควบคุมทุกอย่างให้มาอยู่ที่ส่วนกลางจะนามาสู่ระบบสารสนเทศเพื่อการบริห าร (MIS) โดยต้ อ งมี ก ารควบคุ ม ดู แ ลจากศู น ย์ ก ลางทั้ ง การใช้ แ ละการสร้ า งโดยหลั ก การแล้ ว จะไม่ ย อมให้ โปรแกรมเมอร์ สร้างตารางหรือวิวเอง แต่จะให้ผู้บริหารฐานข้อมูลเป็นผู้สร้างให้ เพื่อจะได้ทราบว่า ตารางหรือวิวซ้าหรือไม่ นอกจากนี้ผู้บริหารฐานข้อมูลจะเป็นผู้ให้สิทธิ แก่ผู้ใช้วิว ดังนั้น โปรแกรมเมอร์ จะต้องติดต่อประสานงานกับ ผู้ บ ริห ารฐานข้อมูล ในการจัดทารายงาน คุณลั กษณะนี้จะทาให้ มีความ คล่องตัวในการใช้งาน ซึ่งเป็นผลมาจากข้อมูลมาอยู่รวมกัน 2.1.2.4 ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล ระบบฐานข้ อ มู ล จะช่ ว ยแก้ ปั ญ หาของระบบแฟ้ ม ข้ อ มู ล และมี ป ระโยชน์ หลาย ๆ ด้านดังนี้ ก) ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล เนื่องจากการนาข้อมูล ที่จาเป็นต่อการใช้งานมา จัดเก็บไว้ รวมกันเป็นฐานข้อมูลส่วนกลาง ทาให้แต่ละหน่วยงานที่จาเป็นต้องใช้ข้อมูล ไม่ต้องจัดเก็บ ข้อมูลไว้ที่หน่วยงานของตนเองอี ก นอกจากลดความสิ้นเปลืองในการจัดเก็บแล้ว ยังช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่จะเกิดตามมา เนื่องจากความซ้าซ้อนของข้อมูลได้
8
ข) แก้ ปั ญ หาความขั ด แย้ งกั น ของข้ อ มู ล ซึ่ ง เป็ น ปั ญ หาที่ เ กิ ด เนื่ อ งมาจากความ ซ้าซ้อนของข้อมูล เมื่อมีข้อมูลที่ซ้า ๆ กันอยู่หลายที่ หากมีการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลในที่หนึ่งแล้ว แต่ไม่ได้ แก้ไขข้อมูลในที่ อื่น ๆ ตามด้วย ก็จะทาให้ข้อมูลในแต่ละที่เกิดความขัดแย้งกันขึ้น ดังนั้นการจัดเก็บข้อมูล ไว้เพียงที่เดียวจึงช่วยแก้ปัญหาความขัดแย้งกันของข้อมูลได้ ค) การบริ ห ารจั ด การฐานข้ อ มู ล ท าได้ ง่ า ย เนื่ อ งจากมี ก ารจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ไว้ ที่ ส่วนกลางทาให้การจัดการข้อมูลทาได้ง่ายขึ้น โดยผู้ที่ทาหน้าที่ในการบริหารจัดการฐานข้อมูลเรียกว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator: DBA) ง) กาหนดมาตรฐานของข้อมูลได้ เนื่องจากการจัดเก็บข้อมูลไว้ที่ส่วนกลางที่เดี ยว ดังนั้น DBA จะเป็นผู้กาหนดโครงสร้างในการจัดเก็บข้อมูล ทาให้โครงสร้างของข้อมูลต่าง ๆ จ) สามารถใช้งานฐานข้อมูลร่วมกันได้ เนื่องจากโครงสร้างการจัดเก็บ ข้อมูลใน ฮาร์ดดิสก์จะถูกกาหนดด้วย DBMS และผู้ใช้แต่ละคนจะต้องใช้งานผ่าน DBMS เท่านั้น ดังนั้นจึงสามารถ ใช้งาน ฐานข้อมูลร่วมกันได้โดยไม่ต้องกังวลถึงความแตกต่างของภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ นอกจากนี้ข้อมูล อื่น ๆ ที่ผู้ใช้ไม่ได้เป็นผู้สร้างขึ้นมา ก็สามารถใช้งานได้ถ้าหากได้รับสิทธิในการใช้งานข้อมูลดังกล่าว ฉ) เกิดความเป็นอิสระระหว่างข้อมูลกับโปรแกรม จากปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล ซึ่งการแก้ไขโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล เช่นการเพิ่มฟิลด์ ซึ่งโปรแกรมที่มีอยู่เดิมไม่จาเป็นต้องนาไปใช้งาน แต่ต้องทาการแก้ไขโปรแกรมเนื่องจากการเขียนโปรแกรมจะยึดติดกับโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล หากใช้ งานเป็นระบบฐานข้อมูล จะสามารถแก้ ไขปัญหานี้ได้ เนื่องจากการใช้งานต่าง ๆ จะต้องใช้งานไว้เพียง ที่เดียวจึงช่วยแก้ปัญหาความขัดแย้งกันของข้อมูลได้ ช) กาหนดระบบรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลได้ เนื่องจากข้อมูลแต่ละข้อมูล จะมีความสาคัญ ไม่เท่ากัน ดังนั้นจึงต้องมีการกาหนดสิทธิในการใช้ง าน ข้อมูลแต่ละส่วน ซึ่งเป็นหน้าที่ ของ ผู้บริหารฐานข้อมูล เป็นผู้กาหนดว่าใครมีสิทธิใช้งานข้อมูลส่วนไหนได้บ้าง 2.1.2.5 องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล ก) Data หมายถึงข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ในระบบฐานข้อมูล รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูลด้วย ดังนั้น data ในที่นจี้ ึงหมายถึง database ข) Hardware ได้ แก่ เครื่อ งคอมพิ ว เตอร์ อุป กรณ์ที่ เก็บ ข้อ มูล ประกอบด้ว ย secondary storage เช่น disk และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
9
ค) Software คือโปรแกรมที่จัดการเกี่ยวกับฐานข้อมูล โดยปกติแล้วจะเรียกว่า ระบบจัดการ ฐานข้อมูลหรือ DBMS ส่วนนี้จะทาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างข้อมูลกับผู้ใช้ ดังนั้น การเรียกใช้ หรือดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลจะต้องผ่าน DBMS ง) User ได้แก่บุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล เช่น ผู้บริหารฐานข้อมูล โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบ และผู้ใช้ 2.1.2.6 บุคคลที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล ก) ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator หรือ DBA) เป็นบุคคลคนเดียว หรือกลุ่มผู้เชี่ยวชาญซึ่งมีหน้าที่ควบคุมและบริหารทรัพยากรฐานข้อมูลขององค์กรให้สามารถดาเนินการ ประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลโดยความร่วมมือช่วยเหลือ จากพนักงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งต้องเป็นผู้ที่ สามารถติดต่อกับผู้บริหารระดับสูง ผู้ใช้แผนกต่าง ๆ และเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ และควรมีความรู้ทั้ง หลักการบริหารและด้านเทคนิคของระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) หน้าที่ของผู้บริหารฐานข้อมูล แบ่งเป็น 2 ส่วน การออกแบบฐานข้อมูลจะต้องทราบวิธีออกแบบและรายละเอียดของระบบงาน ซึ่งที่จริงแล้วในส่วนนี้ควรจะเป็นหน้าที่ของผู้จัดการข้อมูลหรือ DA (Data Administrator) ซึ่งก็คือ SA (System Analysis) โดยผู้ใช้หรือเจ้าของระบบงานเขียนและออกแบบโครงสร้างด้วย ER Model แต่ SA จะออกแบบอัลกอริทึม การปฏิบัติงานกับ DBMS จะต้อบทราบเทคโนโลยีของ DBMS ดังนั้น ในส่วนนี้ จะเป็นหน้าที่ของ DBA โดย DBA จะต้องทราบวิธีการปฏิบัติงานกับ DBMS ดังนี้ การติดตั้งระบบจัดการฐานข้อมูล (Install DBMS) การจัดสรรเนื้อที่ในดิสก์ (allocate disk space) การสร้างโครงสร้างของข้อมูล (create data structure) การทาข้อมูลสารองเอง (backup) และการฟื้นสภาพข้อมูล (recovery) การปรับผลการปฏิบัติงาน (performance tuning) DBA จะทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและประสานงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ เช่น นักวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมเมอร์และผู้ใช้ นักวิเคราะห์และออกแบบ (System Analyst) ทาหน้าที่ออกแบบอัลกอริทึม (Algorithm) ของระบบงาน
10
โปรแกรมเมอร์ (Programmer) เป็นผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ (Application program) สาหรับใช้กับฐานข้อมูล อาจจะเขียนด้วยภาษาระดับสูง เช่น SQL เป็นต้น ผู้ใช้ (End User) เจ้าของระบบงานที่ต้องการเรียกใช้ฐานข้อมูล โดยอาจผ่าน ทางโปรแกรมประยุกต์หรือภาษาเรียกค้น เช่น SQL ผู้ใช้เหล่านี้ไม่จาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับการ เขียนโปรแกรม ต้องอาศัยผู้ดูแลที่มีความรู้ความเข้าใจเทคโนโลยี ระบบการจัดการฐานข้อมูล ถ้าระบบเสียจะทาให้มีผลต่อผู้ใช้หลายคน ความเป็นเจ้าของข้อมูลลดลง ข้อมูลจะไม่เป็นของผู้หนึ่งผู้ใดโดยเฉพาะ 2.1.2.7 ตัวอย่างซอฟต์แวร์จัดการระบบฐานข้อมูลในปัจจุบัน ระบบฐานข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน มีอยู่เป็นจานวนมาก ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มได้ คือ ระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งมีความสามารถในการจัดการฐานข้อมูลครบทุกด้าน และอีกกลุ่ม คือ ระบบฐานข้อมูลขนาดไม่ใหญ่มาก ซึ่งมีความสามารถในการจัดการฐานข้อมูลเช่นกัน แต่อาจจะขาด ความสามารถบางอย่างไป ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ มีดังนี้ ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล ที่เหมาะสาหรับระบบงานใหญ่ เช่น Oracle, Microsoft SQL, MySQL, Sysbase, DB2, Informix, Ingres เป็นต้น 2.2 ทฤษฎี PHP ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP (www.thaiall.com , 2010 : ออนไลน์ ) ได้กล่าวถึงเรื่อง เกี่ยวกับ PHP ไว้ว่า 2.2.1 ความเป็นมาของ PHP PHP เกิดมาในปี 1994 โดย Rasmus Lerdorf โปรแกรมเมอร์ชาวสหรัฐอเมริกาได้คิดค้น สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาเว็บส่วนตัวของเขา โดยใช้ข้อมดีของภาษา C และ Perl เรียกว่า Personal Home Page และได้สร้างส่วนติดต่อฐานข้อมูลชื่อว่า Form Interpreter ( FI ) รวมทั้งสอง ส่วน เรียกว่า PHP/FI ซึ่งก็เป็นจุดเริ่มต้องของ PHP PHP เป็นภาษาสคริปต์ที่ประมวลผลที่ฝั่งเซิร์ฟเวอร์ แล้วส่งผลลัพธ์ไปแสดงผลที่ฝั่งไคลเอ็นต์ ผ่านบราวเซอร์เช่นเดียวกับ CGI และ ASP ต่อเมื่อผู้ใช้งานเพิ่มมากขึ้นจึงมีการขอร้องขอให้มีการพัฒนา ประสิทธิภาพของ PHP/FI ให้สูงขึ้น Rasmus Lerdorf ก็ได้ผู้ที่มาช่วยพัฒนาอีก 2 คนคือ Zeev Surask และ Andi Gutmans ชาวอสราเอล ซึ่งปรับปรุงโค้ดของ Lerdorf ใหม่โดยใช้ C++ ต่อมาก็มีเพิ่มมาอีก
11
3 คน คือ Stig Bakken รับผิดชอบความสามารถในการติดต่อ Oracle, Shane Caraveo รับผิดชอบดูแล PHP บน Windows 9x/NT, และ Jim Winastead รับผิดชอบการจรวจ ความบกพร่องต่าง ๆ และได้ เปลี่ยนชื่อเป็น Professional Home Page PHP เป็นภาษาจาพวก scripting language คาสั่งต่างๆจะเก็บอยู่ในไฟล์ที่เรียกว่าสคริปต์ (script) และเวลาใช้งานต้องอาศัยตัวแปลชุดคาสั่ง ตัวอย่างของภาษาสคริปก็เช่น JavaScript, Perl เป็นต้น ลักษณะของ PHP ที่แตกต่างจากภาษาสคริปต์แบบอื่น ๆ คือ PHP ได้รับการพัฒนาและออกแบบ มา เพื่อใช้งานในการสร้างเอกสารแบบ HTML โดยสามารถ สอดแทรกหรือแก้ไขเนื้อหาได้โดยอัตโนมัติ ดังนั้นจึงกล่าวว่า PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า server-side หรือ HTML-embedded scripting language เป็นเครื่องมือที่สาคัญชนิดหนึ่ง ที่ช่วยให้เราสามารถสร้างเอกสารแบบ Dynamic HTML ได้อย่างมี ประสิทธิภาพและมีลูกเล่นมากขึ้น PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้งแรกในปีค.ศ.1994 จากนั้นก็มีการพัฒนาต่อมาตามลาดับ เป็น เวอร์ชั่น 1 ในปี 1995 เวอร์ ชั่น 2 (ตอนนั้นใช้ชื่อว่า PHP/FI) ในช่ว งระหว่าง 1995-1997 และ เวอร์ชั่น 3 ช่วง 1997 ถึง 1999 จนถึงเวอร์ชั่น 4 ในปัจจุบัน PHP เป็ น ผลงานที่ เติ บโตมาจากกลุ่ ม ของนั กพั ฒ นาในเชิ งเปิด เผยรหั ส ต้น ฉบั บ หรื อ OpenSource ดังนั้น PHP จึงมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว และแพร่หลายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้ ร่วมกับ Apache Webserver ระบบปฏิบัติอย่างเช่น Linux หรือ FreeBSD เป็นต้น ในปัจจุบัน PHP สามารถใช้ร่วมกับ Web Server หลายๆตัวบนระบบปฏิบัติการอย่างเช่น Windows 95/98/NT เป็นต้น เนื่องจากว่า PHP ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของตัว Web Server ดังนั้นถ้าจะใช้ PHP ก็จะต้อง ดูก่อนว่า Web server นั้นสามารถใช้สคริปต์ PHP ได้หรือไม่ ยกตัวอย่างเช่น PHP สามารถใช้ได้กับ Apache WebServer และ Personal Web Server (PWP) สาหรับระบบปฏิบัติการ Windows 95/98/NT ในกรณีของ Apache เราสามารถใช้ PHP ได้สองรูปแบบคือ ในลักษณะของ CGI และ Apache Module ความแตกต่างอยู่ตรงที่ว่า ถ้าใช้ PHP เป็นแบบโมดูล PHP จะเป็นส่วนหนึ่งของ Apache หรือเป็นส่วนขยายในการทางานนั่นเอง ซึ่งจะทางานได้เร็วกว่าแบบที่เป็น CGI เพราะว่า ถ้าเป็น CGI แล้ว ตัวแปลชุดคาสั่งของ PHP ถือว่าเป็นแค่โปรแกรมภายนอก ซึ่ง Apache จะต้องเรียกขึ้นมา ทางานทุกครั้ง ที่ต้องการใช้ PHP ดังนั้น ถ้ามองในเรื่องของประสิทธิ ภาพในการทางาน การใช้ PHP แบบที่เป็นโมดูลหนึ่งของ Apache จะทางานได้มีประสิทธิภาพมากกว่า
12
2.3 ทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ 2.3.1 ความหมายของเว็บไซต์ เว็บไซต์เป็นสื่อที่ได้รับความนิยมอย่ามากบนอินเตอร์เน็ต ซึ่งเว็บไซต์เป็นสื่อที่อยู่ในความ ควบคุมของผู้ใช้โดยสมบูรณ์ กล่าวคือ ผู้ใช้สามารถตัดสินใจเลือกได้ว่าจะดูเว็บไซต์ใดและจะไม่เลือ กดู เว็บไซต์ใด ได้ตามต้องการ จึงทาให้ผู้ใช้ไม่มีความอดทนต่ออุปสรรคและปัญหาที่เกิดจากการออกแบบ เว็บไซต์ผิดพลาดถ้าผู้ใช้เห็นว่าเว็บที่กาลังดูอยู่นั้นไม่มีประโยชน์ต่อตัวเขา หรือไม่เข้าใจว่าเว็บไซต์นี้จะใช้ งานอย่างไร เขาก็สามารถที่จะเปลี่ยนไปดูเว็บไซต์อื่น ๆ ได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากในปัจจุบันมีเว็บไซต์อยู่ มากมาย และยังมีเว็บไซด์ที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ ทุกวัน ผู้ใช้จึงมีทางเลือกมากขึ้น และสามารถเปรียบเทียบ คุณภาพของเว็บไซด์ต่าง ๆ ได้เอง เว็บไซด์ที่ได้รับการออกแบบอย่างสวยงาม มีการใช้งานที่สะดวก ย่อมได้รับความสนใจจาก ผู้ใช้ มากกว่าเว็บไซด์ที่ดูสับสนวุ่นวาย มีข้อมูลมากมายแต่หาอะไรไม่เจอ นอกจากนี้ยังใช้เวลาในการ แสดงผลแต่ละหน้านานเกินไป ซึ่งปัญหาเหล่านี้ล้วนเป็นผลมาจากการออกแบบเว็บไซด์ไม่ดีทั้งสิ้น ดังนั้น การออกแบบเว็บไซด์จึงเป็นกระบวนการสาคัญในการสร้ างเว็บไซด์ ให้ประทับใจผู้ใช้ ทาให้เขา อยากกลั บเข้ามาเว็บไซด์เดิมอีกในอนาคต ซึ่งนอกจากต้องพัฒนาเว็บไซด์ที่ดีมีประโยชน์แล้ว ยังต้อง คานึงถึงการแข่งขันกับเว็บไซด์อื่น ๆ อีกด้วย (นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553) 2.3.2 ขนาดของเว็บไซต์ที่นิยมในปัจจุบันมี 2 ขนาด คือ
ภาพที่ 2-1 ขนาดของเว็บไซต์ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553
13
2.3.2.1 ขนาดเว็บไซต์แบบ 800 X 600 pixels เป็นขนาดที่สามารถใช้ได้กับ หน้าจอทุกขนาดในปัจจุบันเป็นขนาดของการออกแบบเว็บไซต์ที่ใช้ในอดีต เนื่องจากอดีตขนาดของ จอคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ก 2.3.2.2 ขนาดเว็บไซต์แบบ 1024 X 768 pixels เป็นขนาดที่นิยมในปัจจุบัน เนื่องจากผู้ใช้นิยมใช้จอคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ขึ้นเนื่องมาจากราคาจอคอมพิวเตอร์ที่ถูกลง 2.3.3 รูปแบบการออกแบบเว็บไซต์ เว็บไซต์ในปัจจุบันจะมีการออกแบบที่แตกต่างกันไม่มากนัก ซึ่งการออกแบบหน้าตาเว็บไซต์ ส่วนใหญ่จะมองดูองค์ประกอบขององค์กร หน่วยงาน หรือเนื้อหาเรื่องที่นาเสนอเป็นหลัก ซึ่งการออกแบบ หน้าของเว็บไซต์มีอยู่ 3 แบบ คือ 2.3.3.1 การออกแบบเว็บไซต์ที่เน้นการนาเสนอเนื้อหาเป็นการออกแบบเว็บไซต์ที่เน้นการ นาเสนอเนื้อหามากกว่ารูปภาพ โดยโครงสร้างใช้รูปแบบตารางเป็นหลัก มีการออกแบบหน้าตารูปแบบ ง่าย เช่น มีเมนูสารบัญ และเนื้อหา 2.3.3.2 การออกแบบเว็บไซต์ที่เน้นภาพกราฟิกเป็นการออกแบบเว็บไซต์ที่เน้นภาพกราฟิก ที่สวยงาม ซึ่งอาจจะใช้โปรแกรม Photoshop สาหรับการตกแต่งภาพ ข้อดี สวยงาม น่าสนใจ ข้อเสีย อาจจะใช้เวลาในการโหลดเว็บนาน 2.3.3.3 การออกแบบเว็บไซต์ที่มีทั้งภาพและเนื้อหาเป็นการออกแบบเว็บที่นิยมในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยข้อความ รูปภาพ โดยมีการจัดองค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อให้เว็บน่าสนใจ 2.3.4 การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ การออกแบบโครงสร้ างเว็บไซต์ คือ การวางแผนการจัดล าดับ เนื้อหาสาระของเว็บไซต์ ออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อจัดทาเป็นโครงสร้างในการจัดวางหน้าเว็บเพจทั้งหมด เปรียบเสมือนแผนที่ ที่ทาให้ เห็นโครงสร้างทั้งหมดของเว็บไซต์ ช่วยในนักออกแบบเว็บไซต์ไม่ให้หลงทาง การจัดโครงสร้างของเว็บไซต์ มีจุดมุ่งหมายสาคัญคือ การที่จะทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชม สามารถค้นหาข้อมูลในเว็บเพจได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนที่สาคัญ ที่สามารถสร้างความสาเร็จให้กับผู้ที่ทาหน้าที่ในการออกแบบและพัฒนา เว็บ ไซต์ (Webmaster) การออกแบบโครงสร้างหรือจัดระเบียบของข้อมูล ที่ชัดเจน แยกย่อยเนื้อหา ออกเป็นส่วนต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กั นและให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน จะช่วยให้น่าใช้งานและง่าย ต่อการเข้า อ่านเนื้อหาของผู้ใช้เว็บไซต์
14
2.3.5 หลักในการออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ 2.3.5.1 กาหนดวัตถุประสงค์ โดยพิจารณาว่าเป้าหมายของการสร้างเว็บไซต์นี้ทาเพื่ออะไร 2.3.5.2 ศึกษาคุณลั กษณะของผู้ ที่เข้ามาใช้ว่ากลุ่ มเป้าหมายใดที่ผู้ สร้างต้องการสื่อสาร ข้อมูลอะไรที่พวกเขาต้องการโดยขั้นตอนนี้ควรปฏิบัติควบคู่ไปกับขั้นตอนที่หนึ่ง 2.3.5.3 วางแผนเกี่ยวกับการจัดรูปแบบโครงสร้างเนื้อหาสาระ การออกแบบเว็บไซต์ต้องมี การจัดโครงสร้างหรือจัดระเบียบข้อมูลที่ชัดเจน การที่เนื้อหามี ความต่อเนื่องไปไม่สิ้นสุดหรือกระจายมาก เกินไป อาจทาให้เกิดความสับสนต่อผู้ใช้ได้ ฉะนั้นจึงควรออกแบบให้มีลักษณะที่ชัดเจนแยกย่อยออกเป็น ส่วนต่าง ๆ จัดหมวดหมู่ในเรื่องที่สัมพันธ์กัน รวมทั้งอาจมีการแสดงให้ผู้ใช้เห็นแผนที่โครงสร้างเพื่อป้องกัน ความสับสนได้ 2.3.5.4 กาหนดรายละเอียดให้กับโครงสร้าง ซึ่งพิจารณาจากวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยตั้ง เกณฑ์ในการใช้ เช่น ผู้ใช้ควรทาอะไรบ้าง จานวนหน้าควรมีเท่าใด มีการเชื่อมโยง มากน้อยเพียงใด 2.3.5.5.หลังจากนั้น จึงทาการสร้างเว็บไซต์ แล้วนาไปทดลองเพื่อหาข้อผิดพลาดและทาการ แก้ไขปรับปรุง แล้วจึงนาเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นขั้นสุดท้าย 2.3.6 องค์ประกอบที่ดีของการออกแบบเว็บไซต์ 2.3.6.1 โครงสร้างที่ชัดเจน ผู้ออกแบบเว็บไซต์ควรจัดโครงสร้างหรือจัดระเบียบของข้อมูลที่ ชัดเจน แยกย่อยเนื้อหาออกเป็นส่วนต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กันและให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน จะช่วยให้น่าใช้ งานและง่าย ต่อการอ่านเนื้อหาของผู้ใช้ 2.3.6.2 การใช้งานที่ง่าย ลักษณะของเว็บที่ มีการใช้งานง่ายจะช่วยให้ผู้ใช้รู้สึกสบายใจต่อ การอ่านและสามารถทาความเข้าใจกับเนื้อหาได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องมาเสียเวลาอยู่กับการทาความ เข้าใจ การใช้งานที่สับสนด้วยเหตุนี้ผู้ออกแบบจึงควรกาหนดปุ่มการใช้งานที่ชัดเจน เหมาะสม โดยเฉพาะ ปุ่มควบคุมเส้นทางการเข้าสู่เนื้อหา (Navigation) ไม่ว่าจะเป็นเดินหน้า ถอยหลัง หากเป็นเว็บไซต์ที่มีเว็บ เพจจานวนมาก ควรจะจัดทาแผนผังของเว็บไซต์ (Site Map) ที่ช่วยให้ผู้ใช้ทราบว่า ตอนนี้อยู่ ณ จุดใด หรือเครื่องมือสืบค้น (Search Engine) ที่ช่วยในการค้นหาหน้าที่ที่ต้องการ 2.3.6.3 การเชื่อมโยงที่ดี ลักษณะไฮเปอร์เท็กซ์ที่ใช้ในการเชื่อมโยง ควรอยู่ในรูปแบบที่เป็น มาตรฐาน ทั่วไปและต้องระวังเรื่องของตาแหน่งในการเชื่อมโยง การที่จานวนการเชื่อมโยงมากและกระจัด กระจายอยู่ทั่วไปในหน้าอาจก่อให้เกิดความสับสน นอกจากนี้คาที่ใช้สาหรับการเชื่อมโยงจะต้ องเข้าใจง่าย มีความชัดเจนและไม่สั้นจนเกินไป นอกจากนี้ในแต่ละเว็บเพจที่สร้างขึ้นมาควรมี จุดเชื่อมโยงกลับมายัง
15
หน้าแรกของเว็บไซต์ที่กาลังใช้งานอยู่ด้วย ทั้งนี้เผื่อว่าผู้ใช้เกิดหลงทาง และไม่ทราบว่าจะทาอย่างต่อไปดี จะได้มีหนทางกลับมาสู่จุดเริ่มต้นใหม่ ระวังอย่าให้มีหน้าที่ไม่มีการเชื่อมโยง (Orphan Page) เพราะจะทา ให้ผู้ใช้ไม่รู้จะทาอย่างไรต่อไป 2.3.6.4 ความเหมาะสมในหน้าจอ เนื้อหาที่นาเสนอในแต่ละหน้าจอควรสั้น กระชับ และ ทันสมัย หลีกเลี่ยงการใช้หน้าจอที่มีลักษณะการเลื่อนขึ้นลง (Scrolling) แต่ถ้าจาเป็นต้องมี ควรจะให้ ข้อมูลที่มี ความสาคัญอยู่บริเวณด้านบนสุดของหน้าจอ หลีกเลี่ยงการใช้กราฟิกด้านบนของหน้าจอ เพราะ ถึงแม้จะดูสวยงาม แต่จะทาให้ผู้ใช้เสียเวลาในการได้รับข้อมูลที่ต้องการ แต่หากต้องมีการใช้ภาพประกอบ ก็ควรใช้เฉพาะที่มีความสัมพันธ์กับเนื้อหาเท่านั้น นอกจากนี้การใช้รูปภาพเพื่อเป็นพื้นหลัง (Background) ไม่ควรเน้นสีสันที่ฉูดฉาดมากนัก เพราะอาจจะไปลดความเด่นชัดของเนื้อหาลง ควรใช้ภาพที่มีสีอ่อน ๆ ไม่ สว่างจนเกินไปรวมไปถึงการใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น ภาพเคลื่ อนไหว หรือตัวอักษรวิ่ง (Marquees) ซึ่ง อาจจะเกิดการรบกวนการอ่านได้ ควรใช้ เฉพาะที่จาเป็นจริง ๆ เท่านั้นตัวอักษรที่นามาแสดงบนจอภาพ ควรเลือกขนาดที่อ่านง่าย ไม่มีสีสันและลวดลายมากเกินไป 2.3.6.5 ความรวดเร็ว ความรวดเร็วเป็นสิ่งสาคัญประการหนึ่งที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ ผู้ใช้จะ เกิดอาการเบื่อหน่ายและหมดความสนใจกับเว็บที่ใช้เวลาในการแสดงผลนาน สาเหตุสาคัญที่จะทาให้การ แสดงผลนานคือการใช้ภาพกราฟิกหรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งแม้ว่าจะช่วยดึงดูดความสนใจได้ดี ฉะนั้นในการ ออกแบบจึงควรหลีกเลี่ยงการใช้ภาพขนาดใหญ่ หรือภาพเคลื่อนไหวที่ไม่จาเป็น และพยายามใช้กราฟิก แทนตัวอักษรธรรมดาให้น้อยที่สุด โดยไม่ควรใช้มากเกินกว่า 2 – 3 บรรทัดในแต่ละหน้าจอ 2.3.7 โครงสร้างของเว็บไซต์ 2.3.7.1 เว็บที่มีโครงสร้างแบบเรียงลาดับ (Sequential Structure) เป็นโครงสร้างแบบ ธรรมดาที่ใช้กันมากที่สุดเนื่องจากง่ายต่อการจัดระบบข้อมูล ข้อมูลที่นิยม จัดด้วยโครงสร้างแบบนี้มักเป็น ข้อมูลที่มีลักษณะเป็นเรื่องราวตามลาดับของเวลา เช่น การเรียงลาดับตามตัวอักษร ดรรชนี สารานุกรม หรืออภิธานศัพท์ โครงสร้างแบบนี้ เหมาะกับเว็บไซต์ที่มีขนาดเล็ก เนื้อหาไม่ซับซ้อนใช้การลิงก์ (Link) ไป ทีละหน้า ทิศทางของการเข้าสู่เนื้อหา (Navigation) ภายในเว็บจะเป็นการดาเนินเรื่องในลักษณะเส้นตรง โดยมี ปุ่มเดินหน้า-ถอยหลังเป็นเครื่องมือหลักในการกาหนดทิศทาง ข้อเสียของโครงสร้างระบบนี้คือ ผู้ใช้ ไม่สามารถกาหนดทิศทางการเข้าสู่เนื้อหาของตนเองได้ ทาให้เสียเวลาเข้าสู่เนื้อ
16
ภาพที่ 2-2 เว็บที่มีโครงสร้างแบบเรียงลาดับ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553 2.3.7.2 เว็บที่มีโครงสร้างแบบลาดับขั้น (Hierarchical Structure) เป็นวิธีที่ดีที่สุดวิธีหนึ่ง ในการจั ด ระบบโครงสร้ า งที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ นของข้ อ มู ล โดยแบ่ ง เนื้ อ หา ออกเป็ น ส่ ว นต่ า ง ๆ และมี รายละเอียดย่อย ๆ ในแต่ละส่วนลดหลั่นกันมาในลักษณะแนวคิดเดียวกับ แผนภูมิองค์กร จึงเป็นการง่าย ต่อการทาความเข้าใจกับโครงสร้างของเนื้อหาในเว็บลักษณะนี้ ลักษณะเด่นเฉพาะของ เว็บประเภทนี้คือ การมีจุดเริ่มต้นที่จุดร่วมจุดเดียว นั่นคือ โฮมเพจ (Homepage) และเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหา ในลักษณะเป็น ลาดับจากบนลงล่าง
ภาพที่ 2-3 เว็บที่มีโครงสร้างแบบลาดับขั้น จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553 2.3.7.3 เว็บที่มีโครงสร้างแบบตาราง (Grid Structure) โครงสร้างรูปแบบนี้มีความซับซ้อน มากกว่ารูปแบบที่ผ่านมา การออกแบบเพิ่มความยืดหยุ่น ให้แก่การเข้าสู่เนื้อหาของผู้ใช้ โดยเพิ่มการ เชื่อมโยงซึ่งกันและกันระหว่างเนื้อหาแต่ละส่วน เหมาะแก่ การแสดงให้เห็นความสัมพันธ์กันของเนื้อหา
17
การเข้าสู่เนื้อหาของผู้ใช้จะไม่เป็นลักษณะเชิงเส้นตรง เนื่องจากผู้ใช้สามารถเปลี่ยนทิศทางการเข้าสู่เนื้อหา ของตนเองได้ ในการจั ด ระบบโครงสร้ า งแบบนี้ เนื้ อ หาที่ น ามาใช้ แ ต่ ล ะส่ ว นควรมี ลั ก ษณะที่ เหมือนกัน และ สามารถใช้รูปแบบร่วมกัน หลักการออกแบบคือนาหัวข้อทั้งหมดมาบรรจุลงในที่เดียวกั น ซึ่งโดยทั่วไป จะเป็นหน้าแผนภาพ (Map Page) ที่แสดงในลักษณะเดียวกับโครงสร้างของเว็บ เมื่อผู้ใช้ คลิกเลือก หัวข้อใด ก็จะเข้าไปสู่หน้าเนื้อหา (Topic Page) ที่แสดงรายละเอียดของหัวข้อนั้น ๆ และ ภายในหน้านั้น ก็จะมีการเชื่อมโยงไปยังหน้ารายละเอียดของหัวข้ออื่นที่เป็ นเรื่องเดียวกัน นอกจากนี้ยัง สามารถนา โครงสร้างแบบเรียงลาดับและแบบลาดับขั้นมาใช้ร่วมกันได้อีกด้วย ถึงแม้โครงสร้างแบบนี้ อาจจะสร้ า งความยุ่ ง ยากในการเข้ า ใจได้ และอาจเกิ ด ปั ญ หาการคงค้ า ง ของหั ว ข้ อ ( Cognitive Overhead) ได้ แต่จะเป็นประโยชน์ที่สุดเมื่อผู้ใช้ได้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ ระหว่างเนื้อหา ในส่วนของการ ออกแบบจาเป็นจะต้องมีการวางแผนที่ดี เนื่องจากมีการเชื่อมโยงที่เกิดขึ้น ได้หลายทิศทาง นอกจากนี้การ ปรับปรุงแก้ไขอาจเกิดความยุ่งยากเมื่อต้องเพิ่มเนื้อหาในภายหลัง 2.3.7.4 เว็บที่มีโครงสร้างแบบใยแมงมุม (Web Structure) โครงสร้างประเภทนี้จะมีความ ยืดหยุ่น มากที่สุด ทุกหน้าในเว็บสามารถจะเชื่อมโยงไปถึงกัน ได้หมด เป็นการสร้างรูปแบบการเข้าสู่ เนื้อหาที่เป็นอิสระ ผู้ใช้สามารถกาหนดวิธีการเข้าสู่เนื้อหาได้ด้วย ตนเอง การเชื่อมโยงเนื้อหาแต่ละหน้า อาศัยการโยงใยข้อความที่มีมโนทัศน์ (Concept) เหมือนกัน ของแต่ละหน้าในลักษณะของไฮเปอร์เท็กซ์ หรื อ ไฮเปอร์ มี เ ดี ย โครงสร้ า งลั ก ษณะนี้ จั ด เป็ น รู ป แบบที่ ไม่ มี โ ครงสร้ า งที่ แ น่ น นอนตายตั ว (Unstructured) นอกจากนี้ การเชื่อมโยงไม่ไ ด้จากัดเฉพาะเนื้อหา ภายในเว็บนั้น ๆ แต่ส ามารถ เชื่อมโยงออกไปสู่เนื้อหาจากเว็บภายนอกได้
ภาพที่ 2-4 เว็บที่มีโครงสร้างแบบใยแมงมุม จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553
18
ลักษณะการเชื่อมโยงในเว็บนั้น นอกเหนือจากการใช้ไฮเปอร์เท็กซ์หรือไฮเปอร์มีเดีย กับข้อความที่มีมโนทัศน์ (Concept) เหมือนกันของแต่ละหน้าแล้ว ยังสามารถใช้ลักษณะการเชื่อมโยง จากรายการที่รวบรวมชื่อหรือหัวข้อของเนื้อหาแต่ละหน้าไว้ ซึ่งรายการนี้จะปรากฏอยู่บริเวณใด บริเวณ หนึ่งในหน้าจอ ผู้ใช้สามารถคลิกที่หัวข้อใดหัวข้อหนึ่งในรายการเพื่อเลือกที่จะเข้าไปสู่หน้าใด ๆ ก็ได้ตาม ความต้องการ ข้อดีของรูปแบบนี้คือง่ายต่อผู้ใช้ในการท่องเที่ยวบนเว็บ โดยผู้ใช้สามารถกาหนดทิศทาง การเข้าสู่เนื้อหาได้ด้ว ยตนเอง แต่ข้อเสียคือถ้ามีการเพิ่มเนื้อหาใหม่ๆ อยู่เสมอจะเป็นการยากในการ ปรับปรุง นอกจากนี้การเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลที่มีมากมายนั้นอาจทาให้ผู้ใช้เกิดการสับสนและ เกิดปัญหา การคงค้างของหัวข้อ (Cognitive Overhead) ได้ ข้อมูลจาก http://www.cybered.co.th/warnuts/wbi/index3.htm 2.3.8 องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์ 2.3.8.1 ความเรียบง่าย (Simplicity) หมายถึง การจากัดองค์ประกอบเสริมให้เหลือเฉพาะ องค์ประกอบหลัก กล่าวคือในการสื่อสารเนื้อหากับผู้ใช้นั้น เราต้องเลือกเสนอสิ่งที่เราต้องการนาเสนอจริง ๆ ออกมาในส่วนของกราฟิก สีสัน ตัวอักษรและภาพเคลื่อนไหว ต้องเลือกให้พอเหมาะ ถ้าหากมีมาก เกินไปจะรบกวนสายตาและสร้างความคาราญต่อผู้ใช้ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ได้รับการออกแบบที่ดี ได้แก่ เว็บไซต์ของบริษัทใหญ่ ๆ อย่างเช่น Apple Adobe Microsoft หรือ Kokia ที่มีการออกแบบเว็บไซต์ใน รูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานอย่างสะดวก 2.3.8.2 ความสม่าเสมอ ( Consistency) หมายถึง การสร้างความสม่าเสมอให้เกิดขึ้นตลอด ทั้งเว็บไซต์ โดยอาจเลือกใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ก็ได้ เพราะถ้าหากว่าแต่ละหน้าในเว็บไซต์นั้น มีความแตกต่างกันมากจนเกินไป อาจทาให้ผู้ใช้เกิดความสับสนและไม่แน่ใจว่ากาลังอยู่ในเว็บไซต์เดิม หรือไม่ เพราะฉะนั้นการออกแบบเว็บไซต์ในแต่ละหน้าควรที่จะมีรูปแบบ สไตล์ของกราฟิก ระบบเนวิ เกชั่น (Navigation) และโทนสีที่มีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์ 2.3.8.3 ความเป็นเอกลักษณ์ (Identity) ในการออกแบบเว็บไซต์ต้องคานึงถึงลักษณะของ องค์กรเป็นหลัก เนื่องจากเว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กร การเลือกใช้ตัวอักษร ชุดสี รูปภาพหรือกราฟิก จะมีผลต่อรูปแบบของเว็บไซต์เป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องออกแบบ เว็บไซต์ของธนาคารแต่เรากลับเลือกสีสันและกราฟิกมากมาย อาจทาให้ผู้ใช้คิดว่าเป็นเว็บไซต์ของส วน สนุกซึ่งส่งผลต่อความเชื่อถือขององค์กรได้ 2.3.8.4 เนื้อหา (Useful Content) ถือเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในเว็บไซต์ เนื้อหาในเว็บไซต์ต้อง สมบูร ณ์และได้รั บ การปรั บปรุงพัฒนาให้ ทันสมัยอยู่เสมอ ผู้พัฒ นาต้องเตรียมข้อมูล และเนื้อหาที่ผู้ ใช้
19
ต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ เนื้อหาที่สาคัญที่สุดคือเนื้อหาที่ทีมผู้พัฒนาสร้างสรรค์ขึ้นมาเอง และไม่ไป ซ้ากับเว็บอื่น เพราะจะถือเป็นสิ่งที่ดึงดูดผู้ใช้ให้เข้ามาเว็บไซต์ได้เสมอ แต่ถ้าเป็นเว็บที่ลิงค์ข้อมูลจากเว็บ อื่น ๆ มาเมื่อใดก็ตามที่ผู้ใช้ทราบว่า ข้อมูลนั้นมาจากเว็บใด ผู้ใช้ก็ไม่จาเป็นต้องกลับมาใช้งานลิงค์เหล่านั้น อีก 2.3.8.5 ระบบเนวิเกชั่น (User-Friendly Navigation) เป็นส่วนประกอบที่มีความสาคัญต่อ เว็บไซต์มาก เพราะจะช่วยไม่ให้ผู้ใช้เกิดความสับสนระหว่างดูเว็บไซต์ ระบบเนวิเกชั่นจึงเปรียบเสมือนป้าย บอกทาง ดังนั้นการออกแบบเนวิเกชั่น จึง ควรให้เข้าใจง่าย ใช้งานได้สะดวก ถ้ามีการใช้กราฟิกก็ควรสื่อ ความหมาย ตาแหน่งของการวางเนวิเกชั่นก็ควรวางให้สม่าเสมอ เช่น อยู่ตาแหน่งบนสุดของทุกหน้า เป็นต้น ซึ่งถ้าจะให้ดีเมื่อมีเนวิเกชั่นที่เป็นกราฟิกก็ควรเพิ่มระบบเนวิเกชั่นที่เป็นตัวอักษรไว้ส่วนล่างด้วย เพือ่ ช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ที่ยกเลิกการแสดงผลภาพกราฟิกบนเว็บเบราเซอร์ 2.3.8.6 คุณภาพของสิ่งที่ปรากฏให้เห็นในเว็บไซต์ (Visual Appeal) ลักษณะที่น่าสนใจของ เว็บ ไซต์ นั้ น ขึ้น อยู่ กับ ความชอบส่ ว นบุคคลเป็นส าคัญ แต่โ ดยรวมแล้ ว ก็ส ามารถสรุ ปได้ว่าเว็บไซต์ ที่ น่าสนใจนั้นส่วนประกอบต่าง ๆ ควรมีคุณภาพ เช่น กราฟิกควรสมบูรณ์ไม่มีรอยหรือขอบขั้นบันได้ให้เห็น ชนิดตัวอักษรอ่านง่ายสบายตา มีการเลือกใช้โทนสีที่เข้ากันอย่างสวยงาม เป็นต้น 2.3.8.7 ความสะดวกของการใช้ในสภาพต่าง ๆ (Compatibility) การใช้งานของเว็บไซต์นั้น ไม่ควรมีขอบจากัด กล่าวคือ ต้องสามารถใช้งานได้ดีในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ไม่มีการบังคับให้ผู้ใช้ ต้อ งติ ด ตั้ ง โปรแกรมอื่ น ใดเพิ่ ม เติ ม นอกเหนื อ จากเว็ บ บราวเซอร์ ควรเป็ น เว็ บ ที่ แ สดงผลได้ ดี ใ นทุ ก ระบบปฏิบัติการ สามารถแสดงผลได้ในทุกความละเอียดหน้าจอ ซึ่งหากเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ ใช้บริการมาก และกลุ่มเป้าหมายหลากหลายควรให้ความสาคัญกับเรื่องนี้ให้มาก 2.3.8.8 ความคงที่ในการออกแบบ (Design Stability) ถ้าต้องการให้ผู้ใช้งานรู้สึกว่าเว็บไซต์ มีคุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ควรให้ความสาคัญกับการออกแบบเว็บไซต์เป็นอย่างมาก ต้องออกแบบ วางแผนและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ ถ้าเว็บที่จัดทาขึ้นอย่างลวก ๆ ไม่มีมาตรฐานการออกแบบ และระบบการจัดการข้อมูล ถ้ามีปัญหามากขึ้นอาจส่งผลให้เกิดปัญหาและทาให้ผู้ใช้หมดความเชื่อถือ 2.3.8.9 ความคงที่ของการทางาน (Function Stability) ระบบการทางานต่าง ๆ ใน เว็ บ ไซต์ ค วรมี ค วามถู ก ต้ อ งแน่ น อน ซึ่ ง ต้ อ งได้ รั บ การออกแบบสร้ า งสรรค์ แ ละตรวจสอบอยู่ เ สมอ ตัวอย่างเช่น ลิงค์ต่าง ๆ ในเว็บไซต์ ต้องตรวจสอบว่ายังสามารถลิงค์ข้อมูลได้ถูกต้องหรือไม่ เพราะเว็บไซต์ อื่นอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ปัญหาที่เกิดจากลิงค์ ก็คือ ลิงค์ขาด ซึ่งพบได้บ่อยเป็นปัญหาที่ สร้างความราคาญกับผู้ใช้เป็นอย่างมาก
20
2.3.9 ขั้นตอนการสร้างเว็บไซต์ ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนการจัดทาเว็บไซต์ เป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบเว็บ เนื่องจากเราต้องกาหนดชื่อเรื่อง เนื้อหา และรายละเอียดของเว็บที่เราจะจัดทาเพื่อให้เห็นมุมมองคร่าว ๆ ก่อนจะลงมือสร้างเว็บไซต์ นอกจากนี้เรา ยังต้องทาการแบ่งเนื้อหาเป็นหมวดหมู่ต่าง ๆ ตามลาดับก่อน-หลัง เพื่อให้ง่ายต่อการจัดทาโครงร่างของ เว็บ ขั้นตอนที่ 2 การกาหนดโครงสร้างของเว็บ เป็นขั้นตอนในการกาหนดผังของเว็บ เพื่อให้ทราบองค์ประกอบทั้งหมดของเว็บ ตัวอย่างดังรูป
ภาพที่ 2-5 ตัวอย่างโครงสร้างของเว็บไซต์ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553 ข้อสังเกต หน้าแรกของเว็บ หรือโฮมเพจ จะต้องชื่อ index ส่วนนามสกุลให้ใส่ตามลักษณะของภาษาที่ ใช้ในการสร้างเว็บ การตั้งชื่อเว็บเพจแต่ละหน้าเวลาให้กาหนดชื่อเป็นภาษาอังกฤษตามด้วยนามสกุลของภาษา ที่เราสร้างเว็บ เช่น index.html, home.html, history.html เป็นต้น ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดการเชื่อมโยงเว็บเพจ การกาหนดการเชื่อมเว็บเพจ เป็นการกาหนดความสัมพันธ์ของการเชื่อมโยงใน แต่ละหน้าเว็บเพื่อให้สามารถกลับไปกลับมาระหว่างหน้าต่าง ๆ ได้ โดยแต่ละไฟล์จะมีความสัมพันธ์กัน ตัวอย่างดังรูป
21
ภาพที่ 2-6 การกาหนดการเชื่อมโยงเว็บเพจ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553 ขั้นตอนที่ 4 การตั้งชื่อไฟล์และโฟลเดอร์ การสร้างโฟลเดอร์ การสร้างโฟลเดอร์ให้สร้างเป็นชื่อหน่วยงาน / เรื่องนั้น ๆ ควรใช้ตัวอักษร ภาษาอังกฤษ ตั ว พิ ม พ์ เ ล็ ก หรื อ ผสมกั บ ตั ว เลข 0-9 เช่ น swt คื อ โรงเรี ย นเสริ ม งามวิ ท ยาคม จากนั้ น ข้ า งใน โฟลเดอร์ swt ให้เราสร้างโฟลเดอร์เก็บรูปภาพ พื้นหลัง ไฟล์เสียง ไฟล์วีดีโอ หรือโฟลเดอร์อื่นเป็นชื่อ ภาษาอังกฤษ เช่น pic คือโฟลเดอร์เก็บรูปภาพ, bg คือ โฟลเดอร์เก็บพื้นหลัง เป็นต้น การตั้งชื่อไฟล์ การตั้งชื่อไฟล์ให้ตั้งชื่อและนามสกุลไฟล์เป็นตัวอักษร ภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก หรือผสมกับ ตัวเลข 0-9 หรือเครื่องมือขีดลบ/ขีดล่าง และตั้งชื่อไฟล์ให้ตรงกับเรื่องนั้น ๆ เช่น history.html คือ ประวัติของโรงเรียน, person.html คือ บุคลากรของโรงเรียน เป็นต้น
ภาพที่ 2-7 การตั้งชื่อไฟล์และโฟลเดอร์ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553 ขั้นตอนที่ 5 การออกแบบเว็บเพจแต่ละหน้าในเว็บไซต์
22
ภาพที่ 2-8 การออกแบบเว็บเพจแต่ละหน้าในเว็บไซต์ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553 ส่วนประกอบของเว็บไซต์ที่ดี โครงสร้างของเว็บไซต์โดยจะมีส่วนหลักๆอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 ส่วนหลัก ๆ ดังนี้ ส่วนหัวของหน้า (Page Header) เป็นส่วนที่อยู่ตอนบนสุดของหน้า และเป็นส่วนที่สาคัญที่สุดของหน้า เพราะ เป็นส่วนที่ดึงดูดผู้ชมให้ติดตามเนื้อหาภายในเว็บไซต์ มักใส่ภาพกราฟิกเพื่อสร้างความประทับใจ ส่วน ใหญ่ประกอบด้วย โลโก้ (Logo) เป็นสิ่งที่เว็บไซต์ควรมี เป็นตัวแทนของเว็บไซต์ได้เป็นอย่างดี และยังทา ให้เว็บน่าเชื่อถือ ชื่อเว็บไซต์ เมนูหลักหรือลิงค์ (Navigation Bar) เป็นจุดเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาของเว็บไซต์ ส่วนของเนื้อหา (Page Body) เป็นส่วนที่อยู่ตอนกลางของหน้า ใช้แสดงข้อมูล เนื้อหาของเว็บไซต์ ซึ่งประกอบด้วยข้อความ, ตารางข้อมูล ภาพกราฟิก วีดีโอ และอื่น ๆ และอาจมี เมนูหลัก หรือเมนูเฉพาะกลุ่มวางอยู่ในส่วนนี้ด้วย สาหรับส่วนเนื้อหาควรแสดงใจความสาคัญที่เป็นหัวเรื่องไว้บนสุด ข้อมูลมีความ กระชับ ใช้รูปแบบตัวอักษรที่อ่านง่าย และจัด Layout ให้เหมาะสมและเป็นระเบียบ ส่วนท้ายของหน้า (Page Footer) เป็นส่วนที่อยู่ด้านล่างสุดของหน้า มักวาง ระบบนาทางที่เป็นลิงค์ข้อความง่า ย ๆ และอาจแสดงข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาภายในเว็บไซต์ เช่น เจ้าของเว็บไซต์, ข้อความแสดงลิขสิทธิ์, วิธีการติดต่อกับผู้ดูแลเว็บไซต์ , คาแนะนาการใช้เว็บไซต์ เป็นต้น โดยปกติส่วนหัวและส่วนท้ายมักแสดงเหมือนกันในทุกหน้าของเว็บเพจ
23
ภาพที่ 2-9 ตัวอย่างโครงสร้างเว็บไซต์ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553
ภาพที่ 2-10 ตัวอย่างการแบ่งพื้นที่เว็บไซต์ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553
ขั้นตอนที่ 6 การสร้างเว็บเพจ
24
เมื่อจัดวางองค์ประกอบของเว็บแต่ละหน้าแล้ว ต่อไปคือขั้นตอนการเขียนเว็บ ด้วยโปรแกรมภาษา HTML เพื่อกาหนดให้แต่ละหน้าเว็บเพจนาเสนอข้อความ รูปภาพ วีดีโอ และเสียง ให้อยู่ในรูปแบบการที่ต้องการ
ภาพที่ 2-11 การสร้างเว็บเพจ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553 ขั้นตอนที่ 7 การลงทะเบียนขอพื้นที่เว็บไซต์ เมื่อทาการออกแบบและสร้างเว็บไซต์เสร็จแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การเผยแพร่ เว็บไซต์สู่โลกของอินเทอร์เน็ตให้คนอื่นเข้ามาเยี่ยมชม วิธีการ คือ การนาเว็บไซต์ไปฝากกับผู้ให้บริการ พื้นที่เว็บไซต์ทั้งแบบเสียค่าใช้จ่ายหรือบริการ และแบบพื้นที่เว็บไซต์ฟรี ซึ่งวันนี้เราจะขอแนะนาเว็บไซต์ที่ ให้บริการฟรีพื้นที่ฝากเว็บ คือ http://www.thcity.com
25
ภาพที่ 2-12 การลงทะเบียนขอพื้นที่เว็บไซต์ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553 ขั้นตอนที่ 8 การอัพโหลดเว็บไซต์ เมื่อเราทาการสมัครบริการพื้นที่ฝากเว็บแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือการอัพโหลด ไฟล์เว็บไซต์ของเราไปยังเว็บไซต์ที่ให้บริการพื้นที่ฝากเว็บซึ่งอาจจะทาการอัพโหลดผ่านเว็บบราวเซอร์เว็บ ที่ให้บริการ หรือการอัพโหลดด้วยโปรแกรม เช่น CuteFTP, Filezilla, WS_FTP เป็นต้น เพื่อให้ผู้คนได้ เข้าเยี่ยมชมโดยสามารถดูในเว็บไซต์ของเราผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ภาพที่ 2-13 การอัพโหลดเว็บไซต์ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553
ขั้นตอนที่ 9 การเรียกดูเว็บไซต์
26
เมื่อเราทาการอัพโหลดไฟล์เว็บไซต์ของเราขึ้นบนเว็บไซต์ที่ให้บริการพื้นที่ฝากเว็บแล้ว เรา สามารถเปิดดูเว็บไซต์ของเราผ่านโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ เช่น Internet Explorer, Mozilla Firefox, Google Chrome เป็นต้นโดยการพิมพ์ที่อยู่เว็บไซต์ตรง Address Bar
ภาพที่ 2-14 ตัวอย่างเว็บไซต์ จากทฤษฎีการออกแบบและการสร้างเว็บไซต์ ที่มา: http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit102.htm โดย นพพล หงษ์สุวรรณ, 2553 2.4 ทฤษฎีงานช่างฝ้าเพดาน 2.4.1 ความหมายของฝ้าเพดาน ฝ้าเพดานเป็นแผ่นวัสดุที่ปิดพื้นที่บริเวณใต้หลังคาและใต้พื้นชั้นบนเพื่อป้องกันความร้อนใต้ หลังคาและปิดซ่อนอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ท่อน้า สายไฟ ป้องกันเสียง และสาหรับฝ้าที่เป็นวัสดุทนไฟก็ยัง ช่วยป้องกันไฟได้อีกด้วย การบุฝ้าเพดานในอาคารบ้านเรือนจึงมีประโยชน์ทั้งในแง่การใช้สอยและความ สวยงาม วั ส ดุ ที่ น ามาใช้ ท าฝ้ า เพดานมี ห ลายชนิ ด แต่ ล ะชนิ ด ก็ มี จุ ด เด่ น จุ ด ด้ อ ยต่ า งกั น ไป เช่ น ฝ้าเพดานที่ทาด้วยไม้มีความแข็งแรงทาทาน สวยงามแบบธรรมชาติ แต่หายาก ราคาแพง ติดไฟง่าย มี ปัญหาเรื่องปลวกและบิดงอง่ายถ้าคุณภาพไม่ดีพอ ฝ้าที่ทามาจากกระเบื้องแผ่นเรียบทนน้าและความชื้น ได้ดีแต่แตกง่ายและเมื่อแตกแล้ วไม่ส ามารถซ่อมเฉพาะจุดได้ ต้องเปลี่ยนใหม่ทั้งแผ่ น ฝ้าอลู มิเนียมมี น้าหนักเบา ทนน้าและความชื้นได้ดี แต่ราคาแพงและกันความร้อนไม่ได้ ฝ้ ายิปซั่มบอร์ดน้าหนักเบา ทนไฟ สามารถฉาบปิดรอยต่อได้ แต่ไม่ทนน้า สาหรับการสร้างบ้านพักอาศัยในปัจจุบันนิยมใช้แผ่นยิปซั่ม
27
บอร์ดทาฝ้าเพดาน เพราะคุณสมบัติที่ดีของยิป ซั่มบอร์ดและทาให้ดูสวยงาม (นายสิทธิพร สุวรรณสุต , 2555) ฝ้าเพดานยิปซั่มบอร์ดมี ๒ ประเภท คือ แบบธรรมดาและแบบทนความชื้น ฝ้าเพดาน ยิปซั่ม บอร์ดแบบธรรมดาใช้ในงานฝ้าเพดานภายในทั่วไป ส่วนชนิดทนความชื้นนั้นจะใช้เป็นฝ้าเพดานในส่วน ของห้องน้า ห้องครัว โรงรถ เพราะบริเวณดังกล่าวนี้มีโอกาสสัมผัสความชื้นได้มาก ฝ้าเพดานยิปซั่ มบอร์ด มีจุดเด่นอีกอย่างหนึ่งคือติดตั้งได้ง่ายและหากเสียหายสามารถซ่อมแซมเฉพาะจุดได้และฉาบเรียบเป็นเนื้อ เดียวกันได้เหมือนเดิม ข้อควรระวังอย่างหนึ่งในการติดตั้งฝ้าเพดานยิปซั่มบอร์ดก็คือหากช่างฝีมือไม่ดี พอหรือทา แผ่นฝ้าเป็นพื้นที่กว้างหรือยาวมากแผ่นฝ้าจะแอ่นและทาให้เรียบได้ยาก เมื่อแสงไฟส่องจะเห็นเป็นลอน และคลื่นได้ชัดเจน 2.4.2 ขั้นตอน การทาฝ้าเพดานฉาบเรียบ
ภาพที่ 2-15 โครงฝ้าเพดาน จากทฤษฎีงานช่างฝ้าเพดาน ที่มา: http://gg.gg/92zkn โดย นายสิทธิพร สุวรรณสุต, 2555 กาหนดระดับฝ้าเพดาน ที่ฝาผนัง แล้วยึดโครงคร่าวริมตามระดับที่กาหนดให้รอบห้อง
ภาพที่ 2-16 ตัวปรับระดับ จากทฤษฎีงานช่างฝ้าเพดาน ที่มา: http://gg.gg/92zkn โดย นายสิทธิพร สุวรรณสุต, 2555 ติดตั้งชุดปรับระดับ ตามจุดที่กาหนด
28
ภาพที่ 2-17 โครงตัวบนและตัวล่าง จากทฤษฎีงานช่างฝ้าเพดาน ที่มา: http://gg.gg/92zkn โดย นายสิทธิพร สุวรรณสุต, 2555 แขวนโครงฉาบเรียบตัวบนเข้าตัวปรับระดับ ยึดโครงฉาบเรียบตัวล่างเข้ากับตัวบนด้วยขอยึดโครง
ภาพที่ 2-18 ติดแผ่นยิปซั่ม จากทฤษฎีงานช่างฝ้าเพดาน ที่มา: http://gg.gg/92zkn โดย นายสิทธิพร สุวรรณสุต, 2555 ติดตั้งแผ่นยิปซัมในลักษณะวางขวางแผ่นกับโครงตัวล่าง โดยใช้สกรูยึด
ภาพที่ 2-19 ฉาบทับรอยต่อครั้งที่ 1 จากทฤษฎีงานช่างฝ้าเพดาน ที่มา: http://gg.gg/92zkn โดย นายสิทธิพร สุวรรณสุต, 2555 ฉาบ(ครั้งที่1)ทับรอยต่อแผ่นและหัวสกรู ใส่เทปลงในรอยฉาบทุกแนว
29
ภาพที่ 2-20 ฉาบทับรอยต่อครั้งที่ 2 จากทฤษฎีงานช่างฝ้าเพดาน ที่มา: http://gg.gg/92zkn โดย นายสิทธิพร สุวรรณสุต, 2555 ฉาบ(ครั้งที่2)แนวรอยต่อแผ่นทั่วห้อง
ภาพที่ 2-21 ปูนฉาบรอยต่อแผ่นยิปซัม จากทฤษฎีงานช่างฝ้าเพดาน ที่มา: http://gg.gg/92zkn โดย นายสิทธิพร สุวรรณสุต, 2555
ภาพที่ 2-22 ผ้าเทปยิปซั่ม จากทฤษฎีงานช่างฝ้าเพดาน ที่มา: http://gg.gg/92zkn โดย นายสิทธิพร สุวรรณสุต, 2555
2.5 ชนิดและแบบของฝ้าเพดาน
30
2.5.1 ชนิดของฝ้าเพดาน
ภาพที่ 2-23 แผ่นยิปซั่มธรรมดา จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html ชื่อเรียกสินค้า
แผ่นยิปซัมมาตรฐาน ตราช้าง พลัส
ตราสินค้า
เอสซีจี
วัตถุดิบ
ยิปซั่มบอร์ด ชีทร็อคเทคโนโลยี
แหล่งผลิตสินค้า
ประเทศไทย
คุณลักษณะสาคัญ
น้าหนักเบากว่าแผ่นยิปซัมทั่วไป เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานได้เร็วขึ้น มากขึ้นต่อวัน เหมาะสาหรับงานตกแต่งภายในที่ต้องการความเรียบเนียน ผ่านการรับรองตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.)
การติดตั้ง
ขอบเรี ย บเหมาะไปตั ด ท าฝ้ า ที บ าร์ ขอบลาดเหมาะกั บ งานฝ้ า เพดานและ ผนังฉาบเรียบที่ต้องการฉาบปิดรอยต่อให้เนียนดูเป็นแผ่นเดียวกัน
31
ภาพที่ 2-24 แผ่นยิปซั่ม ทนชื้น จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html ชื่อเรียกสินค้า
แผ่นยิปซัมมาตรฐาน ตราช้าง
ตราสินค้า
เอสซีจี
วัตถุดิบ
เนื้อยิปซั่มผสมสารป้ องกันดูดซึมความชื้น ดูดซึมน้าไม่เกิน 5% ประกอบด้วย กระดาษอัดแน่นชนิดพิเศษสีเขียว
แหล่งผลิตสินค้า
ประเทศไทย
คุณลักษณะสาคัญ
ทางโรงงานแนะให้ใช้สินค้ากลุ่มชีตร็อคแทน เพราะได้คุณภาพ เบากว่า ราคา ดีกว่าด้วย เหมาะกับงานฝ้าเพดานห้องน้า ห้องครัว หรือผนังห้องน้าส่วนที่แห้ง และมีการกันซึม
การติดตั้ง
ขอบเรี ย บเหมาะไปตั ด ท าฝ้ า ที บ าร์ ขอบลาดเหมาะกั บ งานฝ้ า เพดานและ ผนังฉาบเรียบที่ต้องการฉาบปิดรอยต่อให้เนียนดูเป็นแผ่นเดียวกัน
32
ภาพที่ 2-25 แผ่นยิปซั่ม ทนไฟ จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html ชื่อเรียกสินค้า
แผ่นยิปซัมทนไฟ ไฟร์บล็อก ตราช้าง
ตราสินค้า
เอสซีจี
วัตถุดิบ
ยิปซั่มบอร์ด ทนไฟ ประกอบด้ว ยกระดาษอัดแน่นชนิดพิเศษสี ชมพู สามารถออกแบบให้เป็นระบบป้องกันไฟ
แหล่งผลิตสินค้า
ประเทศไทย
คุณลักษณะสาคัญ
ทนไฟได้ น านถึ ง 4 ชั่ ว โมง ผนั ง ภายในอาคารสู ง อาคารส านั ก งาน โรงแรม ทางหนีไฟ ช่องลิฟท์ หุ้มโครงสร้างเหล็กและบริเวณที่ต้องการ อัตราการทนไฟสูง
การติดตั้ง
ขอบลาดเหมาะกับงานฝ้าเพดานและผนังฉาบเรียบที่ต้องการฉาบปิด รอยต่อให้เนียนดูเป็นแผ่นเดียวกัน
33
ภาพที่ 2-26 แผ่นยิปซั่มกันร้อนขนิดติคอลูมิเนียมฟอยล์ จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
วัตถุดิบ
ลดการสะท้อนรังสีและความร้อนได้ถึง 95%
คุณสมบัติพิเศษ
ลดการสะท้อนรังสี
ลดความร้อนภายในบ้าน
ได้รับมาตรฐานการผลิต ASTM C1396, มอก. 219-2552 และBSEN 520 : 2004 +A1:2009 การใช้งาน
สาหรับติดตั้งฝ้าเพดานบริเวณใต้หลังคา หรือผนังด้านที่รับแสงแดด
34
ภาพที่ 2-27 แผ่นฝ้าอะคูสติก จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
ชื่อเรียกสินค้า
แผ่นฝ้า ยิปซั่ม อะคูสติก
ตราสินค้า
เอสซีจี
วัตถุดิบ
เป็นแผ่นใยแร่ ลดเสียงสะท้อนสูงถึง 50% เคลือบสีขาวสาเร็จรูปจากโรงงาน แหล่งผลิตสินค้า ประเทศไทย
คุณลักษณะสาคัญ
ลวดลายสวยงาม ทันสมัยด้วย Non-directional Pattern ช่วยลดเวลาในการ ติดตั้ง สะดวก รวดเร็ว ไม่ต้องทาสี มักใช้งานในห้องประชุม โชว์รูม สานักงาน สถาบันการศึกษา โรงพยาบาล ท่าอากาศยาน ทางเดินระหว่างอาคาร
การติดตั้ง
ระยะโครง TBar 605x1210
35
ภาพที่ 2-28 แผ่นฝ้าเพดาน โมเดิร์น อะคูสติก จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html ผลิตจากแผ่นยิปซัมคุณภาพสูง ผ่านการทดสอบความทนทาน โดยอ้างอิงมาตรฐานจาก BS 1230 และ มอก. 219-2552 และด้ า นหลั ง แผ่ น ปิ ด กั้ นด้ ว ยแผ่ น กระดาษเยื่ อ ดู ด ซั บ เสี ยงสะท้ อ น ท าให้ แผ่นฝ้าเพดาน ยิปโทน มีประสิทธิภาพในการดูดซับเสียงสะท้อน และปรับปรุงคุณภาพการสื่อสารภายใน ห้ อ งได้ เ ป็ น อย่ า งดี มาพร้ อ มดี ไ ซน์ ส วยงามด้ ว ยการฉลุ ล ายรู ป ทรงเราขาคณิ ต สร้ า งความกลมกลื น เข้ากับแนวความคิดสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ภายในส่วนต่าง ๆ ของอาคาร คุณสมบัติพิเศษ สวยงาม โดดเด่นด้วยลวดลายทรงเรขาคณิต สามารถซับเสียงสะท้อนได้ดี มีทั้งชนิด แผ่นสาเร็จสาหรับงาน ที -บาร์ เคลือบสาเร็จรูปจากโรงงานและแผ่นใหญ่ขอบลาดสาหรับงานฉาบเรียบ สามารถทาสีทับได้ตามความต้องการติดตั้งง่าย มีความทนทานสูง ไม่แอ่นตัว แผ่นฝ้าเพดาน ยิปรอค ยิปโทน มีให้เลือก ดังนี้ ยิปโทน ไทล์: สาหรับงานฝ้าเพดาน ที-บาร์ ซึ่งจะมีเฉพาะรุ่น แอคทีฟ แอร์ ลาย ไลน์ 4 ลาย พ้อยท์ 11 ลาย ควอตโตร 20 ลาย เบส 31
36
ภาพที่ 2-29 แผ่นฝ้าลดเสียงสะท้อนเอคโค่บล็อกไทล์ จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html แผ่นยิปซั่ม เอคโค่บล็อค เป็นแผ่นยิปซั่มชนิดลดเสียงสะท้อน ที่เพิ่มลวดลายกราฟฟิกสวยงาม ทันสมัย พร้อมประสิทธิภาพในารลดเสียงสะท้อน เสียงก้อง ได้อย่างดีเยี่ยม สามารถออกแบบใช้ร่วมกับ แผ่นยิปซั่มทั่วไปได้อย่างกลมกลืน ลักษณะของแผ่นเอคโค่บล็อค เป็นแผ่นฉลุรูวงกลม รูสี่เหลี่ยม และลายเส้นกรุด้ วยแผ่นดูดซับเสียงกลาซแมท Glass Mat ด้านหลังแผ่น สาหรับฝ้าเพดานฉาบเรียบและผนัง
ขนาด: 1200x2400 มม.
37
ภาพที่ 2-30 แผ่นยิปซั่มสมาร์ทบอร์ด จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
คุณสมบัติ : แผ่นสมาร์ทบอร์ด มี 2 ด้าน คือ ด้านเรียบ และด้านหยาบ สามารถใช้ด้านเรียบเป็นผิว โชว์ได้ แต่ห ากต้องการปู กระเบื้ องทับแนะนาให้ ใช้ด้านหยาบจะช่ว ยเรื่องยึดเกาะได้ดีกว่า ส าหรับ แผ่นยิปซั่มบอร์ดมีจุดเด่นที่ความเรียบเนียนของผิวแผ่น แม้กระทั่งรอยต่อก็สามารถฉาบเก็บรอยได้เนียน จนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ จึงเหมาะกับงานฝ้าเพดานและผนัง และยิปซั่มบอร์ดยังติดตั้งง่ ายและรวดเร็ว กว่าแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์
38
ภาพที่ 2-31 แผ่นวีว่าบอร์ด จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html ชื่อเรียกสินค้า ตราสินค้า วัตถุดิบ แหล่งผลิตสินค้า ข้อมูลทางเทคนิค
คุณลักษณะสาคัญ
แผ่น วู๊ดซีเมนต์บอร์ด วีว่าบอร์ด VIVA Board วีว่า VIVA เศษไม้ชิ้นเล็กๆ ผสมกับปูนปอร์ตแลนด์ ประเทศไทย ผลิ ต โดยการน าไม้ ป ลู ก โตเร็ ว ที่ ถู ก เก็ บ ไว้ จ นได้ อ ายุ ม าสกั ด ย่ อ ยเป็ น ชิ้ น เล็ ก ละเอียดผสมกับซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ให้เป็นเนื้อเดียวกัน แล้วจึงนามาขึ้นรูปด้วย กรรมวิธีพิเศษ โดยให้ส่วนผสมละเอียดอยู่บนผิวหน้า จึงเรียบเนียนละเอียด สวยงามเป็นเอกลักษณ์ ส่วนผสมหยาบจะอยู่กลางแผ่นและประสานกันให้ความ แข็งแรง การขึ้น รูปแบบต่อ เนื่องในขึ้ นตอนเดียวทาให้ วี ว่า บอร์ ด เป็ นวัส ดุ เนื้อเดียวกันทั้งแผ่นปราศจากความเสี่ยงจากการแยกชั้น ส่วนผสมนี้จะถูกนาไป อัดด้วยแรงกดสูงจนได้ความหนาที่ต้องการ ทาให้ซีเมนต์ห่อหุ้มและแทรกตัวใน เนื้อไม้และประสานเป็นเนื้อเดียวกัน จึงมีความคงทนและไม่ผุกร่อน หลังจาก นามาบ่มและอบไล่ความชื้น วี ว่า บอร์ด จะถูกนาไปตัดขนาด และตรวจสอบ คุณภาพทุกแผ่น เพื่อให้แน่ใจว่ามีคุณสมบัติเหนือกว่ามาตรฐาน พื้ น ผิ ว ที่ เ หมื อ นปู น ขั ด มั น เป็ น คุ ณ ลั ก ษณะพิ เ ศษ ที่ ท าให้ ช่ า ง หรื อ เจ้ า ของ โครงการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์วีว่าบอร์ด
39
ภาพที่ 2-32 แผ่นฉลุลายเฌอร่า จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html ฉลุช่องลมเฌอร่า ได้พัฒนาเพื่อทดแทนไม้ฉลุธรรมชาติ ที่บรรจงสร้างลวดลายฉลุ ให้สวยงามด้วย ลวดลายฉลุหลากหลายรูปแบบ จึงเหมาะอย่างยิ่งสาหรับงานตกแต่ง งานช่องลม ช่องผนังและช่องระบาย อากาศต่างๆ คุณลักษณะสาคัญ ทนทุกสภาวะอากาศ ทนน้า ทนชื้น ทนไฟ กันเสียง ไม่เปราะแตกง่าย ปลวกไม่กิน ติดตั้งง่าย ไม่หดตัว ไม่โก่ง ไม่บิดงอ
40
ภาพที่ 2-33 ฝ้าทีบาร์รูปแบบแปดเหลี่ยม จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
ภาพที่ 2-34 ฝ้าทีบาร์รูปแบบวาสนา จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
41
ภาพที่ 2-35 ฝ้าทีบาร์รูปแบบทานตะวัน จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
ภาพที่ 2-36 ฝ้าทีบาร์รูปแบบลีลาวดี จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
42
ภาพที่ 2-37 ฝ้าทีบาร์รูปแบบลายผิวกอล์ฟ จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
ภาพที่ 2-38 ฝ้าทีบาร์รูปแบบเศรษฐี จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
43
2.5.2 รูปแบบฝ้าเพดาน
ภาพที่ 2-39 รูปแบบสี่เหลี่ยม จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
ภาพที่ 2-40 รูปแบบสี่เหลี่ยมโค้งมุม จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
44
ภาพที่ 2-41 รูปแบบสี่เหลี่ยมสี่ชั้น จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
ภาพที่ 2-42 รูปแบบสี่เหลี่ยมโค้งมุมสี่มุม จากชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน ที่มา: http://shopperfectonlinefurniture.blogspot.com/2012/04/t-bar.html
45
2.6 การคานวณรับเหมาติดตั้งฝ้าเพดาน 2.6.1 แผ่นยิปซั่มธรรมดา ราคา 1 ตารางเมตร เท่ากับ 260 บาท 2.6.2 แผ่นยิปซั่มทนชื้น ราคา 1 ตารางเมตร เท่ากับ 280 บาท 2.6.3 แผ่นยิปซั่มทนไฟ ราคา 1 ตารางเมตร เท่ากับ 600 บาท 2.6.4 แผ่นยิปซั่มอลูมิเนียมฟอยล์ ราคา 1 ตารางเมตร เท่ากับ 280 บาท 2.6.5 แผ่นยิปซั่มสมาร์ทบอร์ด ราคา 1 ตารางเมตร เท่ากับ 350 บาท 2.6.6 แผ่นวีว่าบอร์ด ราคา 1 ตารางเมตร เท่ากับ 1,100 บาท 2.6.7 แผ่นฝ้าอะคูสติก ราคา 1 ตารางเมตร เท่ากับ 800 บาท 2.6.8 แผ่นฝ้าเพดานโมเดิร์นอะคูสติก ราคา 1 ตารางเมตร เท่ากับ 700 บาท 2.6.9 แผ่นฝ้าลดเสียงสะท้อนเอคโค่บล็อคไทล์ ราคา 1 ตารางเมตร เท่ากับ 1,300 บาท 2.6.10 แผ่นฉลุลายเฌอร่า ราคา 1 ตารางเมตร เท่ากับ 350 บาท 2.6.11 แผ่นทีบาร์ ราคา 1 ตารางเมตร เท่ากับ 200 บาท
46
บทที่ 3 วิธีดาเนินการโครงการ ขั้ น ตอนการด าเนิ น งานของการสร้ า งเว็ บ ไซต์ ฝ้ า เพดาน เพื่ อ ให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง โครงการ มีขั้นตอนดังนี้ 3.1 ศึกษาข้อมูลและออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 3.2 กาหนดแบบแผนการทดลอง 3.3 กาหนดประชากรและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง 3.4 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 3.5 ดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 3.6 วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 3.1 ศึกษาข้อมูลและออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย การออกแบบเครื่องมือสาหรับใช้ในการวิจัยมีรายละเอียดและขั้นตอนดังนี้ 3.1.1 ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ ฝ้าเพดาน ความหมายของฝ้าเพดาน ประโยชน์ของฝ้าเพดาน ชนิดของ ฝ้าเพดาน รูปแบบของฝ้าเพดาน และราคารับเหมาการติดตั้งฝ้าเพดาน 3.1.2 ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเขียนเว็บไซต์ การสร้างเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ และ หลักการออกแบบเว็บไซต์ รูปแบบโครงสร้างของการออกแบบเว็บไซต์ ด้วยภาษา PHP และการจัดการ ฐานข้อมูล (Database) 3.1.3 ศึกษาโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างเว็บไซต์ ทางผู้จัดทาได้ศึกษา การใช้โปรแกรมในการสร้าง ภาพประกอบโดยโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 การสร้างเว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Adobe Dreamweaver CS6 ที่ใช้เป็นเครื่องมือหลักในการสร้างเว็บไซต์
47
เริ่ม
ศึกษาเนื้อหาและค้นคว้าหนังสือ ตารา เอกสาร
ออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์
สร้างเว็บไซต์ตามที่ได้ออกแบบไว้
ทดสอบ การทางาน
ไม่ผ่าน
ผ่าน จัดทาเอกสารโครงการ
จบ ภาพที่ 3-1 แสดงขั้นตอนการทางาน
ปรับปรุง แก้ไข
48
3.2 กาหนดแบบแผนการทดลอง ตารางที่ 3-1 แสดงการกาหนดแบบแผนการทดลอง ระยะเวลา ตุลาคม พฤศจิกายน 1 2 1 2 3 4 ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. วางแผนขั้น ตอนในการทางาน และศึกษาความเป็นไปได้
ธันวาคม 1
2
3
4
2. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเรื่อง
ฝ้าเพดานและโปรแกรมที่ใช้ใน การเขียนเว็บไซต์ 3. เขียนเค้าโครงการ 4. นาเสนอเค้าโครงแผนกวิชาและ ขออนุมัติคณะกรรมการ 5 เริ่มดาเนินการการทางานที่ ได้รับการอนุมัติอย่างเป็นระบบ 6 นาเสนอรายงานการจัดทา โครงการต่อคณะกรรมการสอบ โครงการ 3.3 กาหนดประชากรและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง 3.3.1 ประชากร ประชากรหมู่บ้านดอนกลางต.เนินพระปรางค์ อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ บุคคลทั่วไป จานวน 40 คน 3.3.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ บุคคลทั่วไป จานวน 36 คน คัดเลือกตัวอย่างโดย การสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling)
49
3.4 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 3.4.1 ออกแบบผังเว็บไซต์ การสร้างเว็บไซต์ฝ้าเพดาน 3.4.1.1 Site map หน้าแรก
ความรู้เกี่ยวกับฝ้าเพดาน
Link
ผู้ดูแลระบบ
ชนิดและรูปแบบของฝ้า เพดาน
ระบบจัดการข้อมูล
การคานวณราคา
จัดการเพิ่มสินค้า
ติดต่อเรา
จัดการลบสินค้า
จัดการแก้ไขสินค้า
จัดการคานวณสินค้า ภาพที่ 3-2 แสดง Site map
50
3.4.1.2 Contact Diagram
ภาพที่ 3-3 แสดง Contact Diagram ของระบบ 3.4.1.3 การไหลเวียนของข้อมูล (Data Flow Diagram: DFD)
ภาพที่ 3-4 แสดง Data Flow Diagram Level 1
51
ภาพที่ 3-5 แสดง Data Flow Diagram Level 2 Process 1
ภาพที่ 3-6 แสดง Data Flow Diagram Level 2 Process 2
52
ภาพที่ 3-7 แสดง Data Flow Diagram Level 3 3.4.2 สร้างเว็บไซต์โดยโปรแกรม Adobe Dreamweaver CS6 3.4.2.1 ออกแบบหน้าแรกของเว็บไซต์ฝ้าเพดาน
ภาพที่ 3-8 การออกแบบหน้าแรก
53
3.4.2.2 ออกแบบหน้าความรู้เกี่ยวกับช่าง
ภาพที่ 3-9 การออกแบบหน้าความรู้เกี่ยวกับช่าง 3.4.2.3 ออกแบบหน้าชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน
ภาพที่ 3-10 การออกแบบหน้าชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน
54
3.4.2.4 ออกแบบหน้าการคานวณราคา
ภาพที่ 3-11 การออกแบบหน้าการคานวณราคา 3.4.2.5 ออกแบบหน้าติดต่อเรา
ภาพที่ 3-12 การออกแบบหน้าติดต่อเรา
55
3.4.3 แบบสอบถามที่ผู้ทาโครงการสร้างขึ้น ซึ่งประกอบ ด้วย 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น จ านวน 4 ข้ อ ลั ก ษณะแบบสอบถามเน้ น แบบ เลือกตอบตามรายการ (Check list) คือ ข้อมูลภาพทั่วไป ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ วุฒิการศึกษา ตอนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจและการใช้บริการเว็บไซต์ฝ้าเพดาน มี 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านตัวงานเว็บไซต์ ด้านประโยชน์ รวม 13 ข้อ ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบ มาตราส่ ว นประมาณค่ า 5 ระดั บ (Rating Scale) แบบลิ เ คอร์ ท (Likert’ Scale Type) (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2551) ตอนที่ 3 สอบถามความคิดเห็ นและข้ อเสนอแนะอื่น ๆ เป็นแบบสอบถามปลายเปิ ด (Open Ended Questions) 3.5 ดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้เว็บไซต์และตอบแบบสอบถาม
ภาพที่ 3-13 กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้เว็บไซต์และตอบแบบสอบถาม
56
3.6 วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจการใช้บริการเว็บไซต์ ฝ้าเพดานดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1. ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปวิเคราะห์ข้อมูลโดยแจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ 2. ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจการใช้บริการเว็บไซต์ฝ้าเพดานวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การแปลความหมายโดยการกาหนดเกณฑ์การประเมินความคิดเห็น 5 ระดับ ของ ชูศรี วงศ์รัตนะ (2553) มีความหมายดังนี้ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย
4.50 – 5.00 3.50 – 4.49 2.50 – 3.49 1.50 – 2.49 1.00 – 1.49
หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
57
บทที่ 4 ผลการดาเนินงานโครงการ ผลจากการดาเนินโครงการการสร้างเว็บไซต์ฝ้าเพดาน มาจากขั้นตอนการปฏิบัติโครงการ และการด าเนิ น การวิ จั ย ซึ่ ง มี ก ลุ่ ม เป้ า หมายคื อ บุ ค คลทั่ ว ไปจ านวณ 70 คน และกลุ่ ม เป้ า หมาย จานวน 36 คน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 4.1 ผลการพัฒนาโครงการ 4.1.1 ทดสอบประสิทธิภาพเว็บไซต์ฝ้าเพดาน
ภาพที่ 4-1 หน้าแรกสาหรับการเข้าสู้เว็บเพจต่าง ๆ จากภาพที่ 4-1 หน้าแรกสาหรับการเข้าสู้เว็บเพจต่าง ๆ จะประกอบไปด้วย ความรู้เกี่ยวกับ ฝ้าเพดาน ชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน การคานวณราคา และการติดต่อ
58
ภาพที่ 4-2 หน้าต่างแสดงข้อมูลความรู้ของฝ้าเพดาน จากภาพที่ 4-2 เมื่อคลิกเข้าไปที่ความรู้เกี่ยวกับฝ้าเพดานจะแสดงข้อมูลฝ้าเพดาน ความหมายฝ้า เพดาน วัสดุฝ้าเพดาน และประโยชน์ของฝ้าเพดาน
ภาพที่ 4-3 หน้าต่างแสดงชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน จากภาพที่ 4-3 เมื่อคลิกเข้าไปที่ชนิดและรูปแบบฝ้าเพดานจะแสดงฝ้าเพดาน จานวน 10 ชนิด ได้แก่ แผ่นยิปซั่มธรรมดา แผ่นยิปซั่มทนชื้น แผ่นยิปซั่มทนไฟ แผ่นยิปซั่มกันร้อนชนิดติดอลูมิเนียมฟอยล์ แผ่นฝ้าอะคูสติก แผ่นฝ้าเพดานโมเดริ์นอะคูสติก แผ่นฝ้าลดเสียงสะท้อนเอคโค่บล็อคไทล์ แผ่นยิปซั่ม สมาร์ทบอร์ด แผ่นวีว่าบอร์ด และแผ่นฉลุลายเฌอร่า
59
ภาพที่ 4-4 หน้าต่างแสดงคุณสมบัติของฝ้าเพดาน จากภาพที่ 4-4 เมื่อคลิกเข้าไปทีร่ ูปของฝ้าแต่ละชนิดในหน้าเว็บเพจชนิดและรูปแบบของฝ้าเพดาน จะแสดงหน้าต่างคุณสมบัติของฝ้าเพดาน
ภาพที่ 4-5 หน้าต่างแสดงการคานวณราคาของฝ้าเพดาน จากภาพที่ 4-5 เมื่อคลิกเข้าไปทีก่ ารคานวณราคาฝ้าเพดานจะแสดงฝ้าเพดาน จานวน 16 ชนิด ได้แก่ แผ่นยิปซั่มธรรมดา แผ่นยิปซั่มทนชื้น แผ่นยิปซั่มทนไฟ แผ่นยิปซั่มกันร้อนชนิดติดอลูมิเนียมฟอยล์ แผ่นฝ้าอะคูสติก แผ่นฝ้าเพดานโมเดริ์นอะคูสติก แผ่นฝ้าลดเสียงสะท้อนเอคโค่บล็อคไทล์ แผ่นยิปซั่ม สมาร์ทบอร์ด แผ่นวีว่าบอร์ด แผ่นฉลุลายเฌอร่า ฝ้าทีบาร์รูปแบบแปดเหลี่ยม ฝ้าทีบาร์รูปแบบวาสนาฝ้าที บาร์รูปแบบทานตะวัน ฝ้าทีบาร์รูปแบบลีลาวดี ฝ้าทีบาร์รูปแบบลายผิวกอล์ฟ และฝ้าทีบาร์รูปแบบเศรษฐี
60
ภาพที่ 4-6 หน้าต่างแสดงการคานวณราคารับเหมาติดตั้งฝ้าเพดาน จากภาพที่ 4-6 เมื่อคลิกเข้าไปทีร่ ูปของฝ้าแต่ละชนิดในหน้าเว็บเพจการคานวณราคาของฝ้าเพดาน จะแสดงหน้าต่างการคานวณราคารับเหมาติดตั้งฝ้าเพดาน ให้กรอกระยะตารางเมตรที่ต้องการในช่อง สีขาวตรงกลางแล้วกดตกลงและราคาก็จะแสดงออกมา
ภาพที่ 4-7 หน้าต่างแสดงข้อมูลการติดต่อ จากภาพที่ 4-7 เมื่อคลิกเข้าไปที่ติดต่อเราจะแสดงข้อมูลการติดต่อ 3 ช่องทาง คือ Facebook, Line และเบอร์โทรศัพท์
61
4.1.2 การประเมินความพึงพอใจการใช้งานของกลุ่มเป้าหมาย
ภาพที่ 4-8 กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้เว็บไซต์และตอบแบบสอบถาม จากภาพที่ 4-8 กลุ่ ม ตัว อย่ า งทดลองใช้ เ ว็บ ไซต์ แ ละตอบแบบสอบถามทาการประเมิ น ความ พึงพอใจในด้านต่าง ๆ ของการใช้งานเว็บไซต์ฝ้าเพดาน หลังจากได้ทดลองใช้เว็บไซต์ฝ้าเพดานเรียบร้อย แล้ว 4.2 ผลการดาเนินการวิจัย ตารางที่ 4-1 เพศผู้ตอบแบบประเมิน เพศ ชาย หญิง รวม
จานวน (คน) 14 22 36
ร้อยละ 38.89 61.11 100.00
จากตาราง 4-1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 22 คน คิดเป็น ร้อยละ 38.89 และเป็นเพศชาย จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 61.11
62
ตารางที่ 4-2 อายุผู้ตอบแบบประเมิน อายุ 20-30 31-40 41-50 50 ปีขึ้นไป รวม
จานวน (คน) 18 6 6 6 36
ร้อยละ 50 16.67 16.67 16.66 100.00
จากตาราง 4-2 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 20-30 ปี จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 50 อายุ 31-40 ปี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 อายุ 41-50 ปี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และอายุ 50 ปีขึ้นไป จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 16.66 ตารางที่ 4-3 อาชีพผู้ตอบแบบประเมิน อาชีพ ครู-อาจารย์ นักเรียน-นักศึกษา อื่น ๆ รวม
จานวน (คน) 9 16 11 36
ร้อยละ 25 44.44 30.56 100.00
จากตาราง 4-3 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอาชีพนักเรียน-นักศึกษา จานวน 16 คน คิดเป็นร้อย ละ 44.44 อื่น ๆ จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 30.56 และครู-อาจารย์ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 25
63
ตารางที่ 4-4 วุฒิการศึกษาผู้ตอบแบบประเมิน วุฒิการศึกษา จานวน (คน) มัธยมต้น 8 มัธยมปลาย 3 ปวช. 8 ปวส. 6 ปริญญาตรีขึ้นไป 11 รวม 36
ร้อยละ 22.22 8.33 22.22 16.67 30.56 100.00
จากตาราง 4-4 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จบปริญญาตรีขึ้นไป จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 30.56 มัธยมต้น จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 22.22 ปวช. จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 22.22 ปวส. จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 มัธยมปลาย จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 ตารางที่ 4-5 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจการใช้บริการเว็บไซต์ฝ้าเพดาน ด้านเนื้อหา ค่าเบี่ยงเบน ระดับ ความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย มาตรฐาน ความพึงพอใจ 1. เนื้อหามีความสมบูรณ์ครบถ้วน 4.69 0.52 มากที่สุด 2. เนื้อหามีความถูกต้อง 4.58 0.50 มากที่สุด 3. เนื้อหามีความกะทัดรัด เข้าใจง่าย 4.78 0.42 มากที่สุด 4. เนื้อหาสามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพได้ 4.58 4.50 มากที่สุด จากตารางที่ 4-5 พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจการใช้บริการเว็บไซต์ฝ้าเพดานด้านเนื้อหา ดังนี้ เนื้ อหามีความสมบู ร ณ์ค รบถ้ว น มี ค่าเฉลี่ ย 4.69 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.52 อยู่ใ นระดั บ มากที่สุ ด เนื้อหามีความถูกต้อง มีค่าเฉลี่ย 4.58 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 อยู่ในระดับ มากที่สุด เนื้อหามีความ กะทั ด รั ด เข้ า ใจง่ า ย มี ค่ า เฉลี่ ย 4.78 ค่ า เบี่ ย งเบนมาตรฐาน 0.42 อยู่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด
64
และเนื้อหาสามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพได้ มีค่าเฉลี่ย 4.58 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 อยู่ในระดับ มากที่สุด ตามลาดับ ตารางที่ 4-6 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจการใช้บริการเว็บไซต์ฝ้าเพดาน ด้านตัวงานเว็บไซต์ ค่าเบี่ยงเบน ระดับ ความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย มาตรฐาน ความพึงพอใจ 1. ง่ายต่อการใช้งาน 4.69 0.47 มากที่สุด 2. มีความปลอดภัยในการใช้งาน 4.56 0.50 มากที่สุด 3. ขนาดตัวอักษรมีความเหมาะสม 4.61 0.49 มากที่สุด 4. สีสันของภาพมีความสวยงามและชัดเจน 4.53 4.51 มากที่สุด 5. มีการจัดตาแหน่ง ออกแบบไม่ซับซ้อนและมีความ 4.72 0.45 มากที่สุด สวยงาม 6. ความถูกต้องในการเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ 4.72 0.45 มากที่สุด จากตารางที่ 4-6 พบว่ากลุ่ มตัวอย่างมีความพึงพอใจการใช้บริการเว็บไซต์ฝ้าเพดานด้านตัวงาน เว็บไซต์ ดังนี้ ง่ายต่อการใช้งาน มีค่าเฉลี่ย 4.69 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.47 อยู่ในระดับ มากที่สุด มี ความปลอดภัยในการใช้งาน มีค่าเฉลี่ย 4.56 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 อยู่ในระดับ มากที่สุด ขนาด ตัวอักษรมีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย 4.61 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.49 อยู่ในระดับ มากที่สุด สีสันของ ภาพมีความสวยงามและชัดเจน มีค่าเฉลี่ ย 4.53 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.51 อยู่ในระดับ มากที่สุ ด มีการจัดตาแหน่ง ออกแบบไม่ซับซ้อนและมีความสวยงาม มีค่าเฉลี่ย 4.72 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.45 อยู่ ในระดับ มากที่สุ ด และความถูกต้องในการเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ มีค่าเฉลี่ย 4.72 ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.45 อยู่ในระดับ มากที่สุด ตามลาดับ
65
ตารางที่ 4-7 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจการใช้บริการเว็บไซต์ฝ้าเพดาน ด้านประโยชน์ ค่าเบี่ยงเบน ระดับ ความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย มาตรฐาน ความพึงพอใจ 1. มีความเข้าใจเกี่ยวกับฝ้าเพดานเพิ่มมากขึ้น 4.75 0.44 มากที่สุด 2. ทราบถึงราคารับเหมาการติดตั้งฝ้าเพดานได้ 4.61 0.49 มากที่สุด ด้วยตนเอง 3. สามารถเป็นแหล่งความรู้ได้เป็นอย่างดี 4.61 0.49 มากที่สุด จากตารางที่ 4-7 พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจการใช้บริการเว็บไซต์ฝ้าเพดานด้านประโยชน์ ดังนี้ มีความเข้าใจเกี่ยวกับฝ้าเพดานเพิ่มมากขึ้น มีค่าเฉลี่ย 4.75 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.44 อยู่ในระดับ มากที่สุด ทราบถึงราคารับเหมาการติดตั้งฝ้าเพดานได้ด้วยตนเอง มีค่าเฉลี่ย 4.61 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.49 อยู่ในระดับ มากที่สุด และสามารถเป็นแหล่งความรู้ได้เป็นอย่างดี มีค่าเฉลี่ย 4.61 ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.49 อยู่ในระดับ มากที่สุด ตามลาดับ
66
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การทาโครงการการสร้างเว็บไซต์ฝ้าเพดาน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาและดาเนินการ สร้ างเว็บ ไซต์ ฝ้ าเพดานและ 2) เพื่อศึ กษาความพึงพอใจเว็บไซต์ฝ้ าเพดาน จากการทดลองสามารถ สรุปผลได้ดังนี้ 5.1 สรุปและอภิปรายผลการวิจัย ตามสมมติฐานของงานวิจัยสามารถสรุปได้ว่า 5.1.1 การใช้งานเว็บไซต์ฝ้าเพดาน จากผลงานวิจัยได้ เว็บไซต์ฝ้าเพดานซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ช่วยในการคานวณราคารับเหมาการ ติดตั้งฝ้าเพดาน และความรู้เกี่ยวกับฝ้าเพดาน 5.1.2 ความพึงพอใจในการใช้งานเว็บไซต์ฝ้าเพดาน ผลการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจพบว่าความพึงพอใจอยู่ในระดั บมากที่สุด โดยใน ทุกหัวข้อมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด แสดงว่าผู้ที่ได้ทดลองใช้ เว็บไซต์ฝ้าเพดานให้ความสนใจใน การใช้งานเป็นอย่างมาก สามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพได้ และรู้ถึงประโยชน์ของฝ้า ซึ่งจะเห็นได้ว่า สอดคล้องกับทฤษฎีงานช่างฝ้าเพดาน ว่าด้วยเรื่องฝ้าเพดานเป็นแผ่นวัสดุที่ปิดพื้นที่บริเวณใต้หลังคาและ ใต้พื้นชั้นบนเพื่อป้องกันความร้อนใต้หลังคาและปิดซ่อนอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ท่อน้า สายไฟ ป้องกันเสียง และสาหรับ ฝ้ าที่เป็น วัสดุทนไฟก็ยั งช่วยป้องกันไฟได้อีกด้ว ย การบุฝ้ าเพดานในอาคารบ้านเรือนจึงมี ประโยชน์ทั้งในแง่การใช้สอยและความสวยงาม ของนายสิทธิพร สุวรรณสุต, 2555 5.2 ข้อเสนอแนะ เว็บไซต์สามารถจัดให้มีความสวยงามและเป็นระเบียบมากขึ้น และสามารถเพิ่มรายละเอียดเนื้อหา 5.3 ปัญหาและอุปสรรค ปัญหา การเขียนโค้ดคานวณมีปัญหาในด้านของการค้นคว้า การแก้ไขปัญหา ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมและนาไปปรึกษาอาจารย์ผู้รู้