Near Death Experiences education center : A case study of Hainan and old cemetery Sathorn District

Page 1

A RCHITECTURAL THESIS BOOK

2021

THANATHAT BRURANATRAKUL


CONTENTS PROJECTS INTRODUCTIONS

01 THE PROJECT ......................................................................................................................... 4 02 RESERCH ................................................................................................................................. 6

FROM RESERCH TO REAL LIFE PROJECT 03 04 04 04 04

-2-

SITE ANALYSIS ....................................................................................................................... PLAN .................................................................................................................................... ELEVATIONS ......................................................................................................................... SECTIONS ............................................................................................................................. PERSPECTIVE .......................................................................................................................

12 14 18 20 22


-3-


08

Near Death Experiences education center : A case study of Hainan and old cemetery Sathorn District, Bangkok

การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการออกแบบที่ว่างแห่งประสบการณ์ ตายอย่างละเอียด นำ�มาสรุปเป็นตารางแสดงแนวความคิดเพื่อใช้ในการออกแบบที่ว่างแห่งประสบการณ์ ตาย บนพื้นที่ดินที่มีอยู่จริงซึ่งมีการวิเคราะห์ สถาพแวดล้อมเดิมของพื้นที่สุสานไหหนำ�(ตัวพื้นที่ตั้งโครงการ)และชุมชนในบริเวณรอบๆ เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาพื้นที่แหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับ ประสบการณ์ภาวะใกล้ตายในรูปแบบของงานสถาปัตยกรรม มีวิธีการวิจัยโดยใช้การอ่านหนังสือthe conciouseness beyond life และหนังสือ sensory design นำ�ผลที่ได้จากการอ่านมาสรุปเป็นตารางจากนั้นใช้วิธีการตีความจากตารางและออกแบบสถาปัตยกรรมให้สามารถรับรู้ได้ใกล้เคียงที่สุดโดยใช้การ ร่างภาพจากผู้วิจัยซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งของการออกแบบเชิงอัตตวิสัย เพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานสร้างสรรค์ และไร้ขอบเขตมาจำ�กัด ผลงานวิจัยที่ได้คือตาราง ที่สามารถอธิบายประสบการณ์ใกล้ตายและการรับรู้แบบต่างๆได้ที่ เพื่อนำ�ไปใช้ต่อยอดในงานออกแบบที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน เช่น ศาสนสถาณ สุสาน เป็นต้น และมีผลงานสถาปัตยกรรมของผู้วิจัยได้ออกแบบไว้เพื่อเสนอะแนะเป็นหนึ่งในแนวทางการพัฒนาพิ้นที่สุสานไหหนำ�

Research studies about the design of the spatial of near-death experiences The objective is to understand and study the near-death experience in detail. Summarized as a table of concepts for designing near-death spaces. On the phys-ical land area where the original environment of the Hai Nam cemetery (the project site) and surrounding communi-ties was analyzed. To guide the development of the neardeath experience learning center in the form of architecture. There is a research method using reading books. consciousness beyond life and sensory design book, draw results from reading to summarize in a table, then use table interpretation method and design architecture to be able to be per-ceived as close as possible by using the sketch from the researcher which is one way of Subjective design To obtain creative works independently, The results of the research are tables that describe the various NDE and perceptions at To be used in the design work that has similar characteristics, such as the Church, the cemetery, etc. And the archi-tectural work of the researcher has been designed to suggest as one of the guidelines for the development of the ceme-tery area.

-4-


-5-


Refference : Bryon K. Ehlmann. The Theory of a Natural Afterlife A Newfound, Real Possibility for What Awaits Us at Death. Journal of Conscious-ness Exploration & Research (JCER) 7(11), 2016, 931-950 . http://jcer.com/index.php/jcj/article/view/618/632

-6-


เมื่อทำ�การค้นคว้าได้เพียงพอผู้วิจัยได้แปลหนังสือ Consciousness’ beyond life (2011) โดยออกแบบตารางเพื่อนำ�อธิบายในหนังสือ (Poetry) มาเชื่อมโยงกับหนังสือ Sensory Design ซึ่งได้อธิบายเรื่อง การรับรู้ (Perceptions) เพื่อทำ�ให้การตีความการรับรู้เชิงภาษาในเชิงบท กวีได้แสดงออกมาเป็นการรับรู้ในเชิงกายภาพ ง่ายต่อการออกแบบที่ ว่างในเชิงสถาปัตยกรรมมากขึ้น

-7-


1. Ineffability

Element of NDEs

Poetry

ลักษณะของก�รรับรู้ที่เด่นชัด

เป็นการยากที่จะอธิบายเป็นสถานที่ซึ่งไม่มีความต่างระหว่างความดีและความชั่ว ความเป็นและความตาย ไร้ซึ่งเวลาและสถาณที่ ไม่มีคำาพูดใดทีส่ ามารถอธิบายสิ่งที่ประสบมา ความรู้สึก – อธิบายไม่ได้ ได้ ไร้ซึ่งเวลาและสถานที่

ห้องที่ไร้ขอบเขต มืดมิด ความรู้สึกภายใน – ความเจ็บปวดที่หายไป อ่อนนิ่ม ปลอดภัย

2. A Feeling of Peace and Quiet; the Pain Has Gone

มีความสุข สงบอย่างเหลือล้น ความเจ็บปวดความอัดอั้น ทุกข์ทรมานจากอุบัติเหตุ ภาวะหัวใจล้มเหลวหายไปสิ้น

3. The Awareness of Being Dead : Sound

หากได้ยินเสียง ณ จุดนี้มักจะเป็นเสียงหึ่งหรือเสียงหวีดบางครั้งเสียงคลิกดังหรือเสียงพึมพำาเบา ๆ สิ่งที่แปลกคือฉันไม่ได้แปลกใจหรืออะไรเลย ฉันแค่คิดว่า: ฉันตายแล้ว? นี่ การได้ยิน - หึ่ง หวีด คลิก คือสิ่งที่เราเรียกว่าความตาย ความรูส้ ึกภายใน - รู้สึกตัวว่าตาย

4. An Out-of-Body Experience

ผู้ประสบรู้สึกกับภาวะร่างกายโปร่งเบา และลอยขึ้นเหนือฝาเพดาน มองเห็นร่างที่ไร้วิญญาณของตนเอง และสามารถลอยไปมารวมทั้งทะลุผนังและประตูได้ ภาวะนี้แม้แต่คน การสัมผัส - การลอย ตาบอดก็สามารถมองเห็น คนหหนวกก็สามารถได้ยิน

5. A Tunnel experience

แสงสว่างเล็กๆท่ามกลางความมืดมิดตัวเราถูกดึงเข้าหาแสง ผู้คนผ่านความมืดมิดนี้ ซึ่งบางครั้งก็หลากสีหรือเป็นรูปเกลียวแคบและยาว พร้อมกับสิ่งมีชีวิตที่มองเห็นได้หรือ การมองเห็นแสง- เสียงเพลง มองไม่เห็นหรือด้วยเสียงเพลง พวกมันเข้าใกล้แสงซึ่งจะทวีความรุนแรงขึ้นอย่างช้าๆจนกลายเป็นแสงที่สว่างมากเป็นพิเศษ แต่ไม่ทำาให้มืดบอด ในที่สุดผู้คนก็ถูกแสงนี้ปก คลุมไปหมดและรู้สึกได้ถึงการดูดซับอย่างสมบูรณ์ กระบวนการนี้ควบคู่ไปกับความรู้สึกสุขสุดพรรณนา

6. The Perception of an Unearthly Environment

ฉันกำาลังมองไปที่ภูมิทัศน์อันงดงามที่เต็มไปด้วยดอกไม้และต้นไม้ที่ฉันไม่สามารถตั้งชื่อได้ ทุกอย่างดูห่างออกไปหลายร้อยไมล์ แต่ถงึ กระนั้นฉันก็สามารถมองเห็นทุกอย่างได้ การมองเห็น-ทิวทัศน์ อย่างละเอียดแม้จะไม่ใส่แว่นแม้วา่ ในชีวติ จริงฉันจะมีสายตาไม่ดีก็ตาม มันทั้งไกลและใกล้ สวยล้ำา วิธีที่ดีที่สุดในการอธิบายคือ : ภาพสวรรค์

7. Meeting and Communicating with Deceased Persons

บางคนประสบกับเพื่อนหรือญาติที่เสียชีวิตไปแล้ว บางครั้งเขาดูสุขภาพดีเป็นปกติ แม้ว่าก่อนตายเขาจะปวยหนักจนสภาพไม่ปกติก็ตามพวกเขารู้สึกเชื่อมโยงอย่างมากกับ การมองเห็น - ผู้คน ความคิดและความรู้สึกของผู้คนที่เสียชีวิตในอดีต ความรู้สึกภายใน - เชื่อมโยง

8. The Perception of a Brilliant Light or a Being of Light

การรับรู้ถึงแสง หรือสิ่งมีชีวิตที่คล้ายกับเทวดา ผู้คนมักรายงานว่าเขาติดต่อสื่อสารกับมันได้ ราวกับว่ามันสามารถอ่านจิตใจของพวกเขา ผู้คนสัมผัสถึงการยอมรับ และ ความรักอันไร้เงื่อนไข และสามารถเข้าถึงปัญญาอันลึกซึ้ง

9. The Panoramic Life Review

การทบทวนชีวิตแบบพาราโนมา มักเกิดขึ้นขณะที่เขาประสบกับสิ่งซึ่งเป็นแสง เขาพบเห็นชีวิตทั้งหมดตั้งแต่เกิด จนถึงปัจจุบันราวกับหนังที่ฉายเร็วๆ พวกเขารับรู้อดีตผ่าน การมองเห็น – การย้อนอดีต ความทรงจำาและความรู้สึก พวกเขาพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องราวในอดีตได้เป็นชั่วโมงหรือหลายวัน แม้จะประสบเหตุการณ์หัวใจหยุดเต้นเพียงไม่กนี่ าที

10. The Preview or Flash Forward

ผู้คนรู้สึกเหมือนได้เห็นส่วนหนึ่งของชีวิตที่ยังมาไม่ถึง ในขั้นตอนนี้ของประสบการณ์ก็ดูเหมือนจะไม่มีเวลาหรือระยะทาง รายงานเหตุการณ์ในอนาคตที่ตรวจสอบได้ทำาให้เกิด การมองเห็น - อนาคต คำาถามอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เกี่ยวกับเจตจำานงเสรีและขอบเขตที่ผู้คนสามารถกำาหนดอนาคตของตนเองได้

11.The Perception of a Border

ผู้คนมองเห็นหมอกหนากำาแพงหุบเขาแม่น้ำาสะพานหรือประตูและตระหนักดีว่าเมื่อข้ามพรมแดนนี้ไปแล้วจะไม่สามารถกลับสู่ร่างและดำาเนินชีวติ ต่อไปได้ ในระยะนี้พวกเขาจะ สื่อสารกับญาติที่เสียชีวิตหรือสิ่งซึ่งเป็นแสงมักได้ยินเสียงบอกว่า เวลาของเขายังมาไม่ถึงยังมีบางสิ่งทีต่ ้องทำาในชีวิตอยู่ และถูกส่งกลับก่อนที่จะฟนคืนชีพอีกครั้ง

12.The Conscious Return to the Body

การกลับคืนสู่ร่างกายมักจะค่อนข้างฉับพลัน บางครั้งผู้คนรู้สึกว่ามีพลังมหาศาลที่ดูดพวกเขากลับเข้าไปในอุโมงค์ บางคนอธิบายว่าพวกเขาถูกดันกลับเข้าสู่ร่างกายทาง การสัมผัส - ดูดกลับคืนร่าง ศีรษะอย่างไรหลังจากพบพยาบาลหรือแพทย์วางอุปกรณ์ช่วยชีวิตไว้บนร่างกาย

-8-

การมองเห็น – แสง ความรู้สึกภายใน – การยอมรับ,ความรักอันไร้ เงื่อนไข

การมองเห็น - ขอบเขตของดินแดน


-9-


- 10 -

ผลงานการออกแบบในส่วนของนิทรรศการประสบการณ์ใกล้ตายผู้ วิจัยก็ได้ใช้ตารางที่ 1 เป็นตัวหลักสำ�คัญในการตีความ ผ่าน 2 หลักสำ�คัญคือ ตัวเนื้อความที่เป็นการบอกเล่าผ่านประสบการณ์ และลักษณะการรับรู้ที่ผู้วิจัย ได้วิเคราะห์นำ�มาหลอมรวมและออกแบบผ่านกระบวนการสเกตเป็นหลักจนได้ผล งานการออกแบบ


Ineffability

A Feeling of Peace and Quiet

The Awareness of Being Dead : Sound

An Out-of-Body Experience

The Conscious Return to the Body

A Tunnel experience

The Perception of a Border

Unearthly Environment The Perception of a Brilliant Light or a Being of Light / The Panoramic Life Review

- 11 -


ในส่วนของการวิเคราะห์ทำ�เลที่ตั้ง ผู้วิจัยได้ไปสำ�รวจพื้นที่ที่เป็นบริเวณสุสานไหหนำ�เก่าพบว่า ในแง่ของประวัติศาสตร์พื้นที่ๆเป็นพื้นที่สำ�คัญในการประกอบพิธี ศพ และเป็นพื้นที่สุสานขนาดใหญ่ ดังรูปที่ 5 ผู้วิจัยพบว่าถนนซอยเจริญราษฎร์ 2 เป็นถนนสมัยก่อนที่ใช้ในการขนศพที่ทำ�พิธีจากวัดดอนมาฝังตามสุสานรอบๆ ทั้งสุสาน ไหนำ�(บนไซต์) สุสานนอก จนไปถึงสุสานแต้จิ๋วที่มีขนาดใหญ่มาก ในปัจจุบันบริเวณดังกล่าวมีการพัฒนามากขึ้นโดยพื้นที่ส่วนใหญ่พัฒนาเป็นพื้นที่การศึกษา (สีน้ำ�เงิน) เป็นโรงเรียนและมหาวิทยาลัย พื้นที่สุสานได้ปรับเปลี่ยนเป็นสวนสาธารณะ (สีเขียว) ด้วยลักษณะการใช้ที่ดินดังนี้ทำ�ให้แนวคิดโครงการที่เกิดขึ้นควรจะมีลักษณะที่เชื่อมโยง สอดคล้อง ทั้งพื้นที่เพื่อการศึกษา พื้นที่สาธารณะ และอนุสรณ์สถาณ

- 12 -


- 13 -


ในส่วนของผลงานการออกแบบจะเห็นได้ ว่ามีการพัฒนาต่อยอดจากภาพสเกต โดยมีเส้น สายที่เป็นอิสระ ไหลเวียนต่อเนื่องกัน การใช้งาน ภายในอาคารจะประกอบด้วย ส่วนที่เป็นห้องจัด แสดงนิทรรศการเกี่ยวกับประสบการณ์ใกล้ตาย, มีห้องจัดแสดงชั่วคราว ห้องฉายภาพยนตร์ ส่วน สำ�นักงาน ร้านอาหาร ห้องจัดกิจกรรม ร้านค้า และอนุสรณ์สถาณ

แนวทางในการทดลองออกแบบ (Design experiment method ) เพื่อค้นหา กายภาพทางสถาปัตยกรรม โดยวิธีการที่ผู้วิจัยใช้คือ ปรากฏการณ์ทางการวาด โดย วิธีการคือ การวาดภาพไปตามจินตนาการของผู้ออกแบบโดยไร้ซึ่งการยึดติดในหลัก การใดๆเพื่อค้นหาสิ่งใหม่ ที่ว่างใหม่ รูปทรงแบบใหม่ๆ เหมือนเส้นสายของปากกาเป็น ปรากฏการณ์ที่ปรากฏรูปบนกระดาษ ในความเป็นจริงผู้วิจัยได้สเก็ตภาพไว้จำ�นวนมาก แต่ขอยกภาพตัวอย่างเป็นแผ่นที่เลือกมาใช้ในการพัฒนาแบบต่อเพียงแผ่นเดียว

- 14 -


- 15 -


- 16 -


- 17 -


ในส่วนถัดไปเป็นรูปด้าน 4 ด้าน ที่แสดงให้เห็นถึงความสูงของรูปทรงและความชันของเนินดินในงาน ลักษณะภายนอกที่ปรากฏมีแรงบันดาลใจการสเกตภาพ ส่วนในรูปตัด 13,14 ที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของความสูง ระยะฝ้า คุณลักษณะของที่ว่างภายในที่สัมพันธุ์กับภายนอก มิติของแสงเงา เป็นต้น และ ภาพไอโซเมตริกที่แสดงความสัมพันธ์ของภาพรวมทุกอย่าง ตั้งแต่รูปทรง ที่ว่าง ภูมิทัศน์ ภาพลักษณ์โดยรวมของงาน

- 18 -


- 19 -


- 20 -


- 21 -


- 22 -


- 23 -


- 24 -


- 25 -


จากวัตถุประสงค์หลักของการทำ�วิจัยนี้คือ 1. เพื่อศึกษาประสบการณ์ภาวะใกล้ตายอย่างละเอียด และนำ�มาแปลงเป็นการออกแบบงานสถาปัตยกรรม 2. เพื่อ ศึกษาสถาพแวดล้อมเดิมของพื้นที่สุสานไหหนำ�และชุมชนในบริเวณรอบๆ3. เพื่อแสนอแนะแนวทางในการพัฒนาพื้นที่แหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับประสบการณ์ภาวะใกล้ตาย ในรูปแบบของงานสถาปัตยกรรม ผู้วิจัยได้ผ่านกระบวนการต่างๆทั้งการศึกษาจากหนังสือหลายๆเล่ม งานวิจัยอื่นๆเกี่ยวกับประสบการณ์ใกล้ตาย และได้นำ�องค์ความ รู้นั้นมาผสานกับองค์ความรู้ทางสถาปัตยกรรม ผ่านการทดลองวิธีการออกแบบโดยใช้ปรากฏการณ์ของการวาดมือ และนำ�มาสร้างเป็ฯผลงานทางสถาปัตยกรรม บนพื้นที่ย่านสาธรจริงๆ ทำ�ให้ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ลักษณะของที่ดิน และชุมชน สภาพปัญหาต่างๆบริเวณที่ดินดังกล่าว เพื่อนำ�ไปสู่ผลงานการออกแบบศูนย์การเรียนรู้ ประสบการณ์ใกล้ตาย เพื่อประโยชน์ของบุคคลทั่วไปและชุมชนเองจนสำ�เร็จ แต่ถึงอย่างไรก็มีจุดที่ผู้วิจัยคิดว่าควรได้รับการปรับปรุง การศึกษาค้นคว้าเป็นการต่อยอดจากข้อมูลที่มีอยู่แล้ว จากงานวิจัยต่างๆ โดยรวบรวมมาเป็นตารางและโดยส่วนมาเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่ส่วนใหญ่เป็นอัต ตวิสัยทำ�ให้ วิธีการออกแบบเชิงปรากฏการณ์คือใช้ตัวอักษรตีความออกมาเป็นผลงานทางสถาปัตยกรรมผ่านการร่างแบบ เป็นวิธีที่ยากในการวัดว่าผลสุดท้ายแล้ว ตรงตามประสบการณ์ดังกล่าวหรือไม่ ในอนาคตหากสามารถออกแบบวิธีการวัดได้ก็จะทำ�ให้ผลงานวิจัยมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น

เอกสารอ้างอิง Pim van Lommel. Consciousness Beyond Life: The Science of the Near-Death Experience : HarperOne; Reprint edition . May 21, 2010 Joy Monice Malnar. Sensory Design. Univ Of Minnesota Press; First edition (February 18, 2004) Bryon K. Ehlmann. The Theory of a Natural Afterlife A Newfound, Real Possibility for What Awaits Us at Death. Journal of Consciousness Exploration & Research (JCER) 7(11), 2016, 931-950 . http://jcer.com/index.php/jcj/article/view/618/632

- 26 -

ขอขอบคุณ ผศ. สมสฤทธิ์ ตาณพันธุ์ อาจารย์ ที่เป็นที่ปรึกษาหลัก ที่ได้มอบองค์ความรู้ต่างๆ จวบจนวิธี การและแนวทางต่างๆในการศึกษาวิจัย และได้มอบคำ�ติเพื่อ ก่อให้สามารถปรับปรุงงานวิจัยชิ้นนี้ในด้านต่างๆ พร้อมทั้ง คำ�ชื่นชมเพื่อเป็ฯกำ�ลังใจในการทำ�งานตลอดมา นอกจากนี้ ยังขอบคุณคณาจารย์ต่างๆในสตูดิโอ academic plus และ คณะสถาปัตยกรรมมหาวิทยาลัยรังสิต ที่ได้เป็นผู้ประสิทธ์ ประสาทวิชาตั้งแต่พื้นฐานจนถึงในปัจจุบัน


- 27 -


THANK YOU FOR YOUR CONSIDERATION THANATHAT BRURANATRAKUL 2021


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.