04 บทที่ 4

Page 1

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อการศึกษาพฤติกรรมการใชภาษาในสังคมออนไลนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 7 คณะ ไดแก คณะครุศาสตรอุสาหกรรม คณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยแบงหัวขอผลการวิเคราะหขอมูล ดังนี้ 1. ผลการศึกษาขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ คณะวิชา สาขาวิชา หลักสูตร และระบบการศึกษา 2. ผลการศึ ก ษาข อ มู ล ของการวั ด ความรู ด า นการใช ภ าษาในสั ง คมออนไลน ข องนั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 3. ผลการศึกษาคานิยมของการใชภาษาในสังคมออนไลนของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ 4. ผลการศึกษาเจตคติของการใชภาษาในสังคมออนไลนของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ 5. ผลการทดสอบสมมติฐาน คือ นักศึกษาแตละคณะมีการใชภาษาในสังคมออนไลนของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพที่แตกตางกัน


28 4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไป การวิเคราะหขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของผูตอบแบบสอบถาม อันไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา คณะ หลักสูตรและลักษณะอุปกรณอิเล็กทรอนิกส โดยแจกแจงจํานวน (ความถี่) และคารอยละ ดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 4.1 แสดงขอมูลทั่วไปของนักศึกษา (n = 388 คน) ขอมูลทั่วไป จํานวน(คน) รอยละ เพศ ชาย 229 59.0 หญิง 158 40.7 ไมตอบ 1 0.3 อายุ (ป) อายุ 20 ปหรือตากวา 188 48.5 อายุ 21-25 ป 195 50.3 อายุ 25 ปขึ้นไป 5 1.3 𝑥 = 20.65 S.D. = 1.730 Min = 18 Max = 28 คณะ คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม 75 19.3 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร 26 6.7 คณะบริหารธุรกิจ 100 25.8 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 47 12.1 คณะวิศวกรรมศาสตร 38 9.8 คณะศิลปศาสตร 87 22.2 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ 15 3.9 หลักสูตร หลักสูตรปริญญาตรี 4 ป 366 94.3 หลักสูตรปริญญาตรี 5 ป 20 5.2 หลักสูตรปริญญาตรี 2-3 ป (ตอเนื่อง) 2 0.5 ชั้นปการศึกษา ป 1 97 25.0 ป 2 96 24.7 ป 3 83 21.4 ป 4 108 27.8 ไมตอบ 4 1.0


29 ตารางที่ 4.1 (ตอ) ขอมูลทั่วไป

รอบการศึกษา ภาคปกติ ภาคสมทบ ไมตอบ ทานใชสงั คมออนไลน (Social Network) Facebook Twitter Line Whatsapp Instagram อื่นๆ ทานใชอุปกรณใดในการเลนสังคมออนไลน โทรศัพทสื่อสารเคลื่อนที่ คอมพิวเตอรแบบพกพา คอมพิวเตอรสวนบุคคล แท็บเลต อื่นๆ

จํานวน(คน)

(n = 388 คน) รอยละ

383 2 3

98.7 0.5 0.8

386 87 322 68 198 1

99.5 22.4 83.0 17.5 51.0 0.3

350 208 203 160 0

90.2 53.6 52.3 41.2 0.0

จากตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของผูตอบแบบสอบที่ใชเปน กลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ จํานวน 388 คน พบวา 1. เพศ ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย จํานวน 229 คน คิดเปนรอยละ 59.00 เปน เพศหญิง จํานวน 158 คน คิดเปนรอยละ 40.07 ไมตอบ 1 คน คิดเปนรอยละ 0.3 2. อายุ ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ มีชวงอายุ 21-25 ป จํานวน 195 คน คิดเปนรอยละ 50.03 และ ชวงอายุ20ปหรือต่ํากวา จํานวน 188 คน คิดเปนรอยละ 48.05 ชวงอายุ25ปขึ้นไป จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 1.03 3. คณะ ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญอยูคณะบริหารธุรกิจ จํานวน 100 คน คิดเปนรอยละ 25.8 รองลงมาคือ คณะศิลปศาสตร จํานวน 86 คน คิดเปนรอยละ 22.2 คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม จํานวน 75 คน คิดเปนรอยละ 19.3 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 12.1 คณะวิศวกรรมศาสตร จํานวน 38 คน คิดเปนรอยละ 9.8 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร จํานวน 26 คน คิดเปนรอยละ 6.7 และคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 3.9 ไมตอบ จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.3


30 4. หลักสูตร ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญอยูหลักสูตรปริญญาตรี 4 ป จํานวน 366 คน คิดเปน รอยละ 94.3 รองลงมาหลักสูตรปริญญาตรี 5 ป จํานวน 20 คน คิดเปนรอยละ 5.2 และหลักสูตร ปริญญาตรี 2-3 ป (ตอเนื่อง) จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 0.5 5. ชั้นปการศึกษา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญอยูชั้นปที่ 4 จํานวน 108 คน คิดเปนรอยละ 27.8 รองลงมาอยูชั้นปที่ 1 จํานวน 97 คน คิดเปนรอยละ 25.0 ชั้นปที่ 2 จํานวน 96 คน คิดเปนรอย ละ 24.7 ชั้นปที่ 3 จํานวน 83 คน คิดเปนรอยละ 21.4 และชั้นปที่ 5 จํานวน 4 คน คิดเปน รอยละ 1.0 6. รอบการศึกษา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญอยูภาคปกติ จํานวน 383 คน คิดเปนรอยละ 98.7 รองลงมาอยูภาคสมทบ จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 0.5 และไมตอบ จํานวน 3 คน คิดเปน รอยละ 0.8 7. ทานใชสังคมออนไลน (Social Network) ผูตอบแบบสอบถามเลน Facebook จํานวน 386 คน คิดเปนรอยละ 99.5 ผูตอบแบบสอบถามเลน Twitter จํานวน 87 คน คิดเปนรอยละ 22.4 ผูตอบแบบสอบถามเลน Line จํานวน 322 คน คิดเปนรอยละ 83.0 ผูตอบแบบสอบถามเลน Whatapp จํานวน 68 คน คิดเปนรอยละ 17.5 ผูตอบแบบสอบถามเลน Instagram จํานวน 198 คน คิดเปนรอยละ 51.0 ผูตอบแบบสอบถามเลน Social Network นอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.3 8. ทานใชอุปกรณประเภทใดในการเลนสังคมออนไลน (Social Network) ผูตอบแบบสอบถาม ใชอุปกรณโทรศัพทสื่อสารเคลื่อนที่ จํานวน 350 คน คิดเปนรอยละ 90.2 ผูตอบแบบสอบถามใช อุปกรณคอมพิวเตอรแบบพกพา จํานวน 208 คน คิดเปนรอยละ 53.6 ผูตอบแบบสอบถามใชอุปกรณ คอมพิวเตอรสวนบุคคล จํานวน 203 คน คิดเปนรอยละ 52.3 ผูตอบแบบสอบถามใชอุปกรณ แท็บแลต จํานวน 160 คน คิดเปนรอยละ 41.2


31 4.2 ผลการแจกแจงขอมูลเกี่ยวกับการวัดความรูดานการใชภาษาในสังคมออนไลน การวิเคราะหการวัดความรูดานการใชภาษาในสังคมออนไลน โดยใชเกณฑการใหคะแนนดังนี้ ตอบถูกตอง 1 ขอ ได 1 คะแนน ตอบผิด ได 0 คะแนน มีทั้ง 20 ขอ รวม 20 คะแนน ผูวิจัยใชเกณฑ ของคาเฉลี่ยในการอภิปรายผลดังนี้ ตารางที่ 4.2 ผลการแจกแจงขอมูลเกี่ยวกับการวัดความรูดานการใชภาษาในสังคมออนไลน (n = 388 คน) รายการ คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ รวม

น้ อย

0 0 0 0 0 0 0 0

กลุ่มคะแนนความรู้ ปานกลาง มาก

49 22 3 19 4 24 2 123

26 4 97 28 34 63 13 265

Total

75 26 100 47 38 87 15 388

จากตารางที่ 4.2 ผลการวิเคราะหขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของผูตอบแบบสอบที่ใชเปน กลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ จํานวน 388 คน พบวา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มีความรูมาก 26 คน ปานกลาง 49 คน นอย 0 คน คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มีความรูมาก 4 คน ปานกลาง 22 คน นอย 0 คน คณะบริหารธุรกิจศาสตร มีความรูมาก 97 คน ปานกลาง 3 คน นอย 0 คน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีความรูมาก 28 คน ปานกลาง 19 คน นอย 0 คน คณะวิศวกรรมศาสตร มีความรูมาก 34 คน ปานกลาง 4 คน นอย 0 คน คณะศิลปะศาสตร มีความรู มาก 63 คน ปานกลาง 24 คน นอย 0 คน คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ มีความรูมาก 13 คน ปานกลาง 2 คน นอย 0 คน รวมทั้ง 7 คณะ มาก 123 คน ปานกลาง 265 คน นอย 0 คน เมื่อพิจารณาแลวพบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีความรูดานการใชภาษาในสังคมออนไลน ในระดับมาก


32 4.3 ผลการแจกแจงขอมูลเกี่ยวกับคานิยมของการใชภาษาในสังคมออนไลนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ตารางที่ 4.3 ผลการแจกแจงขอมูลเกี่ยวกับคานิยมของการใชภาษาในสังคมออนไลนของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (n=388) รายการ จํานวน(คน) รอยละ ขอ 1 คําวา เธอ เลือกใชแบบใด เทอ 160 41.2 เธอ 192 49.5 เทอร 36 9.3 อื่นๆ 0 0.0 ขอ 2 คําวา ใจ เลือกใชแบบใด ใจ 188 48.5 จัย 172 44.3 จาย 28 7.2 อื่นๆ 0 0.0 ขอ 3 คําวา ไง เลือกใชแบบใด งัย 146 37.6 งาย 106 27.3 ไง 136 35.1 อื่นๆ 0 0.0 ขอ 4 คําวา กรรม เลือกใชแบบใด กํา 215 55.4 กรรม 136 35.1 กัม 37 9.5 อื่นๆ 0 0.0 ขอ 5 คําวา เห็น เลือกใชแบบใด เห็น 174 44.8 เหน 165 42.5 เหง 49 12.6 อื่นๆ 0 0.0 ขอ 6 คําวา ใคร เลือกใชแบบใด คัย 154 39.7 ใคร 192 49.5 ไค 42 10.8 อื่นๆ 0 0.0


33 ตารางที่ 4.3 (ตอ) รายการ ขอ 7 คําวา ทําไม เลือกใชแบบใด ทําไม ทามมาย ทัมมัย อื่นๆ ขอ 8 คําวา เปน เลือกใชแบบใด เปน เปง เปง อื่นๆ ขอ 9 คําวา อาบน้ํา เลือกใชแบบใด อาบนาม อาบนาม อาบน้ํา อื่นๆ ขอ 10 คําวา โทรศัพท เลือกใชแบบใด โทสับ โทรศัพท โทรสับ อื่นๆ ขอ 11 คําวา บอกตรง เลือกใชแบบใด บอกตรง บองตง บอกตง อื่นๆ ขอ 12 คําวา ครับ เลือกใชแบบใด ครับ คราฟ งับ อื่นๆ

จํานวน(คน)

(n=388) รอยละ

202 123 60 3

52.1 31.7 15.5 0.8

182 164 38 4

46.9 42.3 9.8 1.0

138 70 180 0

35.6 18.0 46.4 0.0

157 127 104 0

40.5 32.7 26.8 0.0

172 136 80 0

44.3 35.1 20.6 0.0

165 120 98 5

42.5 30.9 25.3 1.3


34 ตารางที่ 4.3 (ตอ) รายการ ขอ 13 คําวา เฟซบุก เลือกใชแบบใด เฟสบุค เฟสบุค เฟชบุก อื่นๆ ขอ 14 คําวา โพสตรป เลือกใชแบบใด โพสรูป โพตรูป โพสตรูป อื่นๆ ขอ 15 คําวา เปลา เลือกใชแบบใด เปลา ปาว เปา อื่นๆ ขอ 16 คําวา สุดๆ เลือกใชแบบใด สุดๆ ฟุดๆ ฟุดๆ อื่นๆ ขอ 17 คําวา อะไร เลือกใชแบบใด อาราย อะไร อะราย อื่นๆ ขอ 18 คําวา เหรอ เลือกใชแบบใด เหรอ หรา หรอ อื่นๆ

จํานวน(คน)

(n=388) รอยละ

148 182 57 1

38.1 46.9 14.7 0.3

195 147 46 0

50.3 37.9 11.9 0.0

107 248 33 0

27.6 63.9 8.5 0.0

207 141 39 1

53.4 36.3 10.1 0.3

119 223 40 6

30.7 57.5 10.3 1.5

116 164 107 1

29.9 42.3 27.6 0.3


35 ตารางที่ 4.3 (ตอ) รายการ ขอ 19 คําวา ให เลือกใชแบบใด หั้ย ให หาย อื่นๆ ขอ 20 คําวา ฉัน เลือกใชแบบใด ชาน ฉัน ชัน อื่นๆ

จํานวน(คน)

(n=388) รอยละ

73 278 37 0

18.8 71.6 9.5 0.0

84 260 39 5

21.6 67.0 10.1 1.3

จากตารางที่ 4.3 ผลการวิเคราะหขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของผูตอบแบบสอบที่ใช เปนกลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ จํานวน 388 คน พบวา ขอ 1 คําวา เธอ เลือกใชคําวา เทอ จํานวน 160 คน คิดเปนรอยละ 41.2 เลือกใชคําวา เธอ จํานวน 192 คน คิดเปนรอยละ 49.5 เลือกใชคําวา เทอร จํานวน 36 คน คิดเปนรอยละ 9.3 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ขอ 2 คําวา ใจ เลือกใชคําวา ใจ จํานวน 188 คน คิดเปนรอยละ 48.5 เลือกใชคําวา จัย จํานวน 172 คน คิดเปนรอยละ 44.3 เลือกใชคําวา จาย จํานวน 28 คน คิด เปนรอยละ 7.2 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ขอ 3 คํา วา ไง เลือกใชคําวา งัย จํานวน 146 คน คิดเปนรอยละ 37.6 เลือกใชคําวา งาย จํานวน 106 คน คิด เปนรอยละ 27.3 เลือกใชคําวา ไง จํานวน 136 คน คิดเปนรอยละ 35.1 เลือกใชคําอื่นๆ นอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ขอ 4 คําวา กรรม เลือกใชคําวา กํา จํานวน 215 คน คิดเปนรอยละ 55.4 เลือกใชคําวา กรรม จํานวน 136 คน คิดเปนรอยละ 35.1 เลือกใชคําวา กัม จํานวน 37 คน คิดเปนรอยละ 9.5 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ขอ 5 คําวา เห็น เลือกใชคําวา เห็น จํานวน 174 คน คิดเปนรอยละ 44.8 เลือกใชคําวา เหน จํานวน 165 คน คิดเปนรอยละ 42.5 เลือกใชคําวา เหง จํานวน 49 คน คิดเปน รอยละ 12.6 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ขอ 6 คําวา ใคร เลือกใชคําวา คัย จํานวน 154 คน คิดเปนรอยละ 39.7 เลือกใชคําวา ใคร จํานวน 192 คน คิด เปนรอยละ 49.5 เลือกใชคําวา ไค จํานวน 42 คน คิดเปนรอยละ 10.8 เลือกใชคําอื่นๆ นอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ขอ 7 คําวา ทําไม เลือกใชคําวา ทําไม จํานวน 202 คน คิดเปนรอยละ 52.1 เลือกใชคําวา ทามมาย จํานวน 123 คน คิดเปนรอยละ 31.7 เลือกใชคําวา ทัมมัย จํานวน 60 คน คิดเปนรอยละ 15.5 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 0.8 ขอ 8 คําวา เปน เลือกใชคําวา เปน จํานวน 182 คน คิดเปนรอย ละ 46.9 เลือกใชคําวา เปง จํานวน 164 คน คิดเปนรอยละ 42.3 เลือกใชคําวา เปง จํานวน 38 คน


36 คิดเปนรอยละ 9.8 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 1.0 ขอ 9 คําวา อาบน้ํา เลือกใชคําวา อาบนาม จํานวน 138 คน คิดเปนรอยละ 35.6 เลือกใชคําวา อาบนาม จํานวน 70 คน คิดเปนรอยละ 18.0 เลือกใชคําวา อาบน้ํา จํานวน 180 คน คิดเปนรอยละ 46.4 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ขอ 10 คําวา โทรศัพท เลือกใชคําวา โทสับ จํานวน 157 คน คิดเปนรอยละ 40.5 เลือกใชคําวา โทรศัพท จํานวน 127 คน คิดเปนรอยละ 32.7 เลือกใชคําวา โทรสับ จํานวน 104 คน คิดเปนรอยละ 26.8 เลือกใชคําอื่นๆ นอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ขอ 11 คําวา บอกตรง เลือกใชคําวา บอกตรง จํานวน 172 คน คิดเปนรอยละ 44.3 เลือกใชคําวา บองตง จํานวน 136 คน คิดเปนรอยละ 35.1 เลือกใชคําวา บอกตง จํานวน 80 คน คิดเปนรอยละ 20.6 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ให เลือก จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ขอ 12 คําวา ครับ เลือกใชคําวา ครับ จํานวน 165 คน คิด เปนรอยละ 42.5 เลือกใชคําวา คราฟ จํานวน 120 คน คิดเปนรอยละ 30.9 เลือกใชคําวา งับ จํานวน 98 คน คิดเปนรอยละ 25.3 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 5 คน คิดเปน รอยละ 1.3 ขอ 13 คําวา เฟซบุก เลือกใชคําวา เฟสบุค จํานวน 148 คน คิดเปนรอยละ 38.1 เลือกใชคําวา เฟสบุค จํานวน 182 คน คิดเปนรอยละ 46.9 เลือกใชคําวา เฟซบุก จํานวน 57 คน คิด เปนรอยละ 0.3 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.3 ขอ 14 คํา วา โพสตรูป เลือกใชคําวา โพสรูป จํานวน 195 คน คิดเปนรอยละ 50.3 เลือกใชคําวา โพตรูป จํานวน 147 คน คิดเปนรอยละ 37.9 เลือกใชคําวา โพสครูป จํานวน 46 คน คิดเปนรอยละ 11.9 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ขอ 15 คําวา เปลา เลือกใชคําวา เปลา จํานวน 107 คน คิดเปนรอยละ 27.6 เลือกใชคําวา ปาว จํานวน 248 คน คิด เปนรอยละ 63.9 เลือกใชคําวา เปา จํานวน 33 คน คิดเปนรอยละ 8.5 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจาก ที่ใหเลือก จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ขอ 16 คําวา สุดๆ เลือกใชคําวา สุดๆ จํานวน 207 คน คิดเปนรอยละ 53.4 เลือกใชคําวา ฟุดๆ จํานวน 141 คน คิดเปนรอยละ 36.3 เลือกใชคําวา ฟุดๆ จํานวน 39 คน คิดเปนรอยละ 10.1 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 1 คน คิดเปน รอยละ 0.3 ขอ 17 คําวา อะไร เลือกใชคําวา อาราย จํานวน 119 คน คิดเปนรอยละ 30.7 เลือกใช คําวา อะไร จํานวน 223 คน คิดเปนรอยละ 57.5 เลือกใชคําวา อะราย จํานวน 40 คน คิดเปนรอย ละ 10.3 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 1.5 ขอ 18 คําวา เหรอ เลือกใชคําวา เหรอ จํานวน 116 คน คิดเปนรอยละ 29.9 เลือกใชคําวา หรา จํานวน 164 คน คิดเปนรอยละ 42.3 เลือกใชคําวา หรอ จํานวน 107 คน คิดเปนรอยละ 27.6 เลือกใชคําอื่นๆ นอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.3 ขอ 19 คําวา ให เลือกใชคําวา หั้ย จํานวน 73 คน คิดเปนรอยละ 18.8 เลือกใชคําวา ให จํานวน 278 คน คิดเปนรอยละ 71.6 เลือกใชคําวา หาย จํานวน 37 คน คิดเปนรอยละ 9.5 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 0 คน คิด เปนรอยละ 0.0 ขอ 20 คําวา ฉัน เลือกใชคําวา ชาน จํานวน 84 คน คิดเปนรอยละ 21.6 เลือกใชคํา วา ฉัน จํานวน 260 คน คิดเปนรอยละ 67.0 เลือกใชคําวา ชัน จํานวน 39 คน คิดเปนรอยละ 10.1 เลือกใชคําอื่นๆนอกเหนือจากที่ใหเลือก จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 1.3


37 4.4 ผลการแจกแจงขอมูลเกี่ยวกับเจตคติของการใชภาษาในสังคมออนไลนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ตารางที่ 4.4 ผลการแจกแจงขอมูลเกี่ยวกับเจตคติของการใชภาษาในสังคมออนไลนของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (n=388) ความคิดเห็นเกี่ยวกับเจตคติของการใชภาษาในสังคมออนไลน 𝒙 S.D. ความหมาย ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1. คุณคิดวาตัวคุณมีคานิยมในการใชภาษาที่ผิด 3.13 1.019 ปานกลาง 2. เมื่อคุณเห็นภาษาผิด คุณคิดวาจะใชตาม 3.17 1.788 ปานกลาง 3. คุณคิดวาภาษาที่ผิดไดการยอมรับจากทางสังคม 3.23 0.900 ปานกลาง 4. การใชภาษาของคุณ ใชตามกระแส 3.21 0.968 ปานกลาง 5. คุณคิดวาคานิยมเปนแรงจูงใจที่ทําใหคณ ุ อยากใช 3.29 0.963 ปานกลาง ภาษาที่ผิด 6. ตัวคุณเปนคนที่ชอบคิดภาษาแปลกๆอยูเสมอ 3.14 1.030 ปานกลาง 7. การใชภาษาไมตรงตามหลักไวยากรณเปนเรื่องทันสมัย 3.23 0.967 ปานกลาง 8. เมื่อเห็นคนอื่นเขียนภาษาในสังคมออนไลนไมถูกตอง 3.17 1.051 ปานกลาง เราควรจะตักเตือน 9. การเขียนภาษาใหถูกหลักไวยากรณ มีความสําคัญกับ 3.57 1.071 มาก การสื่อสาร 10. การแสวงหาความรูของคํา ทําใหเราเขียนภาษาได 3.53 1.090 มาก ถูกตอง 11. ซักถามเพื่อนหรืออาจารยเพื่อการเขียนภาษาที่ถูกตอง 3.27 1.188 ปานกลาง 12. การเขียนภาษาในสังคมออนไลนใหถูกตองสามารถ 3.54 0.927 มาก นําไปพัฒนาตนเองได 13. คุณรูสึกกังวลมากถาเขียนภาษาไทยผิด 3.33 1.016 ปานกลาง 14. การเขียนภาษาในสังคมออนไลนตองสะกดตาม 3.23 1.225 ปานกลาง หลักการเขียนของราชบัณฑิตยสถาน รวม 3.29 0.595 ปานกลาง


38 จากตารางที่ 4.4 ผลการวิเคราะหขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของผูตอบแบบสอบที่ใช เปนกลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ จํานวน 388 คน พบวา ขอที่มีระดับความสําคัญมากที่สุดคือ การ เขียนภาษาใหถูกหลักไวยากรณ มีความสําคัญกับการสื่อสาร มีคาเฉลี่ย 3.57 รองลงมาคือ การเขียน ภาษาในสังคมออนไลนใหถูกตองสามารถนําไปพัฒนาตนเองได มีคาเฉลี่ย 3.54 และถัดไปคือ การ แสวงหาความรูของคํา ทําใหเราเขียนภาษาไดถูกตอง มีคาเฉลี่ย 3.53 พบวา ขอที่มีระดับความสําคัญ ต่ําที่สุดคือ คุณคิดวาตัวคุณมีคานิยมในการใชภาษาที่ผิด มีคาเฉลี่ย 3.13 รองลงมาคือ ตัวคุณเปนคน ที่ชอบคิดภาษาแปลกๆอยูเสมอ มีคาเฉลี่ย 3.14 และถัดไปคือ เมื่อคุณเห็นภาษาผิด คุณคิดวาจะใช ตาม มีคาเฉลี่ย 3.17 เมื่อพิจารณาแลวพบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีความคิดเห็นเกี่ยวกับเจตคติการใชภาษา ในสังคมออนไลนอยูในเกณฑระดับปานกลาง


39 4.5 ผลการทดสอบสมมติฐาน คือ นักศึกษาแตละคณะมีการใชภาษาในสังคมออนไลนของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพที่แตกตางกัน ตารางที่ 4.5 ผลการทดสอบสมมติฐาน คือ นักศึกษาแตละคณะมีการใชภาษาในสังคมออนไลน ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพที่แตกตางกัน (n=388) พฤติกรรม สวน การ การใชภาษา คณะ จํานวน คาเฉลี่ย เบี่ยงเบน ทดสอบ Sig. ในสังคม 𝒙 มาตรฐาน F-test ออนไลน (S.D.) คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม 75 14.000 1.903 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร 26 13.308 1.350 คณะบริหารธุรกิจ 100 17.840 1.339 ดานความรู คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 47 15.086 1.851 39.136 .000 คณะวิศวกรรมศาสตร 38 17.053 1.944 คณะศิลปศาสตร 87 16.570 2.831 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ 15 16.867 2.100 คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม 75 2.911 0.506 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร 26 3.099 0.201 คณะบริหารธุรกิจ 100 3.041 0.319 ดานเจตคติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 47 3.950 0.452 32.218 .000 คณะวิศวกรรมศาสตร 38 3.521 0.884 คณะศิลปศาสตร 87 3.533 0.467 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ 15 3.152 0.461 จากตาราง 4.5 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางของการใชภาษาในสังคมออนไลน จําแนกตามคณะ โดยใชสถิติ One Way Analysis of Variance : One Way ANOVA ในการ ทดสอบ พบวา มีคา Sig. นอยกวา 0.05 ทั้ง 2 ดาน หมายความวา พฤติกรรมการใชภาษาในสังคมออนไลนของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรุงเทพ จําแนกตามคณะ พบวา มีความแตกตางกัน


ตารางที่ 4.6 แสดงการเปรียบเทียบรายคูของนักศึกษา ดานความรู จําแนกตามคณะ โดยวิธี Tukey หลักสูตร คณะครุศาสตร คณะเทคโนโลยี คณะ คณะ คณะ คณะศิลป คณะอุตสาหกรรม หลักสูตร อุตสาหกรรม คหกรรมศาสตร บริหาร วิศวกรรมศาสตร ศาสตร สิ่งทอ วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี .69231 -3.84000* -1.08511 -3.05263* -2.60920* -2.86667* คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม -4.53231* -1.77741* -3.74494* -3.30150* -3.55897* -.69231 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร 4.53231* 2.75489* .78737 1.23080* .97333 3.84000* คณะบริหารธุรกิจ * * * * 1.77741 -2.75489 -1.96753 -1.52409 -1.78156* 1.08511 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3.74494* -.78737 1.96753* .44344 .18596 3.05263* คณะวิศวกรรมศาสตร * * * * 3.30150 -1.23080 1.52409 -.44344 -.25747 2.60920 คณะศิลปศาสตร * * * 2.86667 3.55897 -.97333 1.78156 -.18596 .25747 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ * มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตาราง 4.6 พบวา เมื่อทดสอบความแตกตางของความคิดเห็นเกี่ยวกับดานความรูแลวเมื่อนํามาวิเคราะหความแตกตางรายคู พบวา นักศึกษาที่อยู คณะบริหาร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปะศาสตร และ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ มีความคิดเห็น แตกตางกับนักศึกษาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรม นักศึกษาที่ อยู คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปศาสตร และคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ มีความคิดเห็น แตกตางกับนักศึกษา คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร นักศึกษาที่อยู คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ คณะศิลปะศาสตร มีความคิดเห็น แตกตางกับนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ นักศึกษาที่อยู คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปะศาสตร และ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ มีความคิดเห็น แตกตางกับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อยางมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 สําหรับสถิติที่ใชในการวิเคราะหสมมติฐานแบบจําแนกตามหลักสูตร จะใชการทดสอบความแตกตางระหวางคะแนน เฉลี่ยของกลุมตัวอยางที่มีมากกวา 2 กลุม โดยการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One Way Analysis of Variance: One Way ANOVA) โดยใชระดับ ความเชื่อมั่น 95%


ตารางที่ 4.7 แสดงการเปรียบเทียบรายคูของนักศึกษา ดานเจตคติ จําแนกตามคณะ โดยวิธี Tukey หลักสูตร คณะครุศาสตร คณะเทคโนโลยี คณะ คณะ คณะ คณะศิลป คณะอุตสาหกรรม หลักสูตร อุตสาหกรรม คหกรรมศาสตร บริหาร วิศวกรรมศาสตร ศาสตร สิ่งทอ วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี -.18747 -.13000 -1.03842* -.60925* -.61567* -.24095 คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม .18747 .05747 -.85095* -.42178* -.42819* -.05348 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร * * * .13000 -.05747 -.90842 -.47925 -.48567 -.11095 คณะบริหารธุรกิจ * * * * * 1.03842 .85095 .90842 .42917 .42275 .79747* คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี .60925* .42178* .47925* -.42917* -.00642 .36830 คณะวิศวกรรมศาสตร .61567* .42819* .48567* -.42275* .00642 .37471 คณะศิลปศาสตร * .24095 .05348 .11095 -.79747 -.36830 -.37471 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ * มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตาราง 4.7 พบวา เมื่อทดสอบความแตกตางของความคิดเห็นเกี่ยวกับดานเจตคติแลวเมื่อนํามาวิเคราะหความแตกตางรายคู พบวา นักศึกษาที่อยู คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปะศาสตร และ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ มีความคิดเห็น แตกตางกับนักศึกษา คณะครุศาสตร อุ ต สาหกรรม นั ก ศึ ก ษาที่ อ ยู คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี คณะวิ ศ วกรรมศาสตร และคณะศิ ล ปศาสตร มี ค วามคิ ด เห็ น แตกต า งกั บ นั ก ศึ ก ษา คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร นักศึกษาที่อยู คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร และ คณะศิลปะศาสตร มีความคิดเห็น แตกตางกับ นัก ศึก ษา คณะบริ ห ารธุ รกิ จนั ก ศึก ษาที่ อยู คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิล ปะศาสตร และ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ มีค วามคิดเห็น แตกตางกับนักศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อยางมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 สําหรับสถิติที่ใชในการวิเคราะหสมมติฐานแบบจําแนกตามหลักสูตร จะใชการทดสอบความแตกตางระหวางคะแนน เฉลี่ยของกลุมตัวอยางที่มีมากกวา 2 กลุม โดยการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One Way Analysis of Variance: One Way ANOVA) โดยใชระดับ ความเชื่อมั่น 95%


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.