การพั ฒ นาหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบปฏิ สั ม พั น ธ์ ด้ ว ยเทคโนโลยี ค วามจริ ง เสริ ม พหุ ภ าษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสี ม า วิทยา มนตรี1* และ ปณิตา วรรณพิรุณ2 บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสังเคราะห์องค์ประกอบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ด้วย เทคโนโลยี ค วามจริง เสริม พหุ ภาษา เพื่ อส่ ง เสริม การท่ องเที่ย วเชิงประวั ติ ศาสตร์ในจั งหวั ดนครราชสีม า 2) เพื่ อ ออกแบบสถาปัตยกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา 3) เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยี ความจริงเสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา 4) เพื่อศึกษาผลของการใช้ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบปฏิ สั ม พั น ธ์ ด้ ว ยเทคโนโลยี ค วามจริ ง เสริ ม พหุ ภ าษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยวยังอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย จังหวัดนครราชสีสมา จานวน 30 ท่าน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบัง เอิญ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองโดยใช้เครื่องมือการวิเคราะห์เนื้อหา วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลการประเมินความรู้ของนักท่องเที่ยวที่ใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ด้วย เทคโนโลยีความจริงเสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา อยู่ในระดับดี (x̄ =18.60, S.D=1.16) และผลการประเมินความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา อยู่ในระดับ มากที่สุด (x̄ =4.54,S.D=0.48)
คาสาคัญ : หนั ง สื ออิ เล็ กทรอนิ กส์ , ปฏิสั ม พั น ธ์ , เทคโนโลยี ความจริง เสริม , พหุ ภาษา, การท่ องเที่ ย วเชิ ง ประวัติศาสตร์ , จังหวัดนครราชสีมา
1นักศึกษาระดับปริญญาโท
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพือ่ การศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ *ผู้นิพนธ์ประสานงาน โทร. 098-140-0514 อีเมล: montre.wittaya@gmail.com 2รองศาสตราจารย์
Development of Interactive Electronic Books with Augmented Reality Technology to Promote Historical Tourism in Nakhon Ratchasima. Wittaya montre1* and Panita Wannapiroon2
Abstract This research aims to 1) to synthesize the elements of interactive electronic books by using Multilanguage technology. 2) to design interactive e-book architecture with real-time multi-language technology. 3) to develop interactive e-books with real-time multi-language technology. 4) To study the effect of using e-books interacting with real-time multi-language technology. To promote historical tourism in Nakhon Ratchasima. The samples were tourists visiting Phimai Historical Park. The sample size was 3 0 persons. Semiexperimental research using content analysis tools. Data were analyzed by means of standard deviations. The research found that The Results of Knowledge Assessment of Tourists Using Electronic Book with Interaction Technology with Extra Multilingual Technology to promote historical tourism in Nakhon Ratchasima. At the level of good (x̄ = 18.60, S.D = 1.16), and the results of the Satisfaction of tourists using e-book with interpersonal technology. To promote historical tourism in Nakhon Ratchasima. At the highest level (x̄ = 4.54, S.D = 0.48) Keywords: e-book, interaction, Augmented Reality Technology, Polyglot language, Historical Tours, Nakhon Ratchasima
1Master
Degree Student, Information and Communication Technology for Education Division, Faculty of Technical Education, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok 2 Associate professor, Ph.D. Information and communication Technology for Education Division, Faculty of Technical Education, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok * Corresponding Author Tel. 098-140-0514 E-mail: montre.@gmail.com
1.บทนา ปัจจุบันอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีบทบาทต่อ เศรษฐกิจไทยมาโดยตลอด จึงได้ชื่อว่าเป็นพระเอกในการ พยุงเศรษฐกิจไทย เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่มี ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ด้ า น ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ มี ทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงาม ทาให้เป็นที่จุดมุ่งหมายของ นักท่องเที่ยวทั่วโลกที่ครั้งหนึ่งในชีวิตต้องมาสัมผัส ซึง่ มีการ ก า หน ด รู ป แ บ บ ก า ร ท่ อง เที ย ว เป็ น รู ป แ บ บ ต่ า งๆ ประกอบด้ ว ย รู ป แบบการท่ อ งเที่ ย วในแหล่ ง ธรรมชาติ รูปแบบการท่องเที่ยวในแหล่งวัฒนธรรม และรูปแบบการ ท่องเที่ยวในความสนใจพิเศษ [1] จังหวัดนครราชสีมา เป็นเมืองโบราณเมืองหนึ่งใน อาณาจักรไทยตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือบนที่ ราบสูงโคราชซึ่งอยู่ไม่ห่างจากรุงเทพมหานครมากนัก การ เดินทางไปถึงจังหวัดนครราชสีมาใช้เวลาไม่นาน รวมทั้ง สถานที่ แ ละทรั พ ยากรด้ า นการท่ อ งเที่ ย วที่ ห ลากหลาย โดยเฉพาะด้านอนุรักษ์และประวัติศาสตร์ที่น่า ประทับใจ มากมาย ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากองค์กรระดับสูงภายใน จั ง หวั ด นครราชสี ม าในการส่ ง เสริ ม ด้ า นการตลาด การ ประชาสัมพันธ์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยเริ่มจาก การปรั บ ปรุ ง สิ่ ง อ านวยความสะดวกต่ า งๆ รวมถึ ง การ พั ฒ นาเส้ น ทางคมนาคมให้ ส ามารถเชื่ อ มโยงกั บ แหล่ ง ท่องเที่ยวที่หลากหลาย จนเป็นโครงข่าย แต่เกณฑ์ระดับ การพั ฒ นาด้ า น ศั ก ยภาพการท่ อ งเที่ ย ว ในจั ง หวั ด นครราชสีมา ยังอยู่ในเกณฑ์ที่ต่า เมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่น จึงเป็นประเด็นที่น่าศึกษาและใช้เป็นแนวคิด ในการพัฒนา และส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งถือว่า เป็นประตูสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและกลุ่มประเทศอิน โดจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเป็น จ านวนมากที่ เ ดิ น เข้ า มาท่ อ งเที่ ย วภายในจั ง จั ง หวั ด นครราชสีมา จึงนับว่า เป็นการพัฒนาที่มีความยั่งยืน ทั้ง ทางด้านเศรษฐกิจ คือการกระจายรายได้จากการท่องเที่ยว ไปยังทุกส่วนของสังคม ด้านสั งคม คือการคงไว้ซึ่งวิถีชีวิต ชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม และด้านสิ่งแวดล้อมคือการใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลสูงสุด สามารถดารงอยู่อย่างยั่งยืนตลอดไป [2] พิ ม าย เป็ น เมื อ งส าคั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร์ มี หลักฐานร่องรอยในอดีตพบชุมชนโบราณอาศัยอยู่ตั้งแต่ง ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ เ รื่ อ ยมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น ภายในเมื อ ง โบราณแห่ ง นี้ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ของโบราณสถานขนาดใหญ่ ของ วัฒนธรรมเขมร ที่สาคัญที่สุดในประเทศไทย คือ ปราสาทพิ มาย ซึ่ ง เป็ น ศาสนสถานที่ ส ร้ า งขึ้ น ในพุ ท ธศาสนาลั ท ธิ มหายาน เชื่อว่า เป็นปราสาทประจารัชกาลของพระเจ้า ชัยวรมันที่ 6 [3] อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย เป็นโบราณสถานที่ ได้ผ่านการบูรณะโดยกรมศิลปากรด้วยเทคนิคแบบ อนัส ติโลซิส (Anastylosis) แห่งแรกในประเทศไทย คือการถอด รื้อชิ้นส่วนต่างๆของโบราณสถานที่พังทลายลงมา โดยการ กาหนดรหัสชิ้นส่วนไว้ทุกชิ้น รวมถึงชิ้นส่วนที่พังทลายลง ก่อนหน้า แล้วนามาประกอบกันให้คืนสภาพเดิมตามรหัสที่ ได้ ก าหนดไว้ เมื่ อ การบู ร ณะเสร็ จ สิ้ น จึ ง ได้ มี พิ ธี เปิ ด เป็ น อุทยานประวัติศาสตร์พิมายอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2532 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินเป็นองค์ประธาน [4] อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พิ ม ายนั บ ว่ า เป็ น สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรม และเป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ท าง ประวัติศาสตร์ของอาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ที่ได้ จั ด กิจ กรรมการท่ องเที่ ย วออกเป็น ด้า นๆ ได้ แก่ 1) ด้ า น แหล่ ง ท่ องเที่ ย ว ปราสาทพิ ม ายเป็ น ศิล ปวั ฒนธรรมของ อาณาจักรขอมโบราณที่ยิ่งใหญ่ ปัจจุบันได้รับการบูรณะ อย่างต่อเนื่องจึงได้เป็นปราสาทที่สมบูรณ์ที่สุดของประเทศ ไทย 2) ด้ า นผู้ รู้ จ าแนกออกเป็ น 2 กลุ่ ม กลุ่ ม แรกคื อ มั ค คุ เ ทศก์ เป็ น บริ ก ารนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ท างอุ ท ยาน ประวั ติ ศ าสตร์ พิ ม ายได้ จั ด เตรี ย มไว้ ซึ่ ง ความรู้ ข อง มั คคุเทศก์ไ ด้ มาจากการอบรม กลุ่ ม สองคือ ผู้ รู้ในชุมชน เป็นความรู้ที่ได้สืบทอดต่อมาจากบรรพบุรุษด้วยวิธีการเล่า เรื่องความเชื่อเกี่ยวกับการสร้างปราสาทพิมาย 3) ด้านการ มีส่วนร่วม เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เยาวชนในท้องถิ่นได้ ทาหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์ และทาให้มียุวมัคคุเทศก์รุ่นใหม่ๆ
เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง 4) ด้านการจัดกิจกรรมท่องเที่ ยว ได้ เปิดโอกาสให้ยุวมัคคุเทศก์เป็นผู้นาเยี่ยมชมและให้ความรู้ เกี่ยวกับอุทยานประวัติพิมายแก่นักท่องเที่ยว [5] หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นชุดเอกสารที่ร้อยเรียง เป็นเล่มมีลักษณะคล้ายกับหนังสือ แต่อยู่ในรูปแบบดิจิตอล ซึ่งสามารถปรากฏให้เห็นจากจอคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นรูปแบบการเสนอข้อมูลอีกรูปแบบหนึ่ง ที่เป็นทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง โดยผู้อ่าน สามารถเรียกดูข้อมูลที่ต้องการ หนั งสืออิเล็กทรอนิกส์จึงมี ประโยชน์ ส าหรั บ ช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นสามารถย้ อ นกลั บ ไป ทบทวนบทเรียนเดิมหากไม่เข้าใจ และสามารถศึกษาได้ทุก ที่ทุกเวลาตามที่ผู้เรียนสะดวก [6] เทคโนโลยี ค วามจริ ง เสริ ม คื อ การผสมสาน สภาพแวดล้ อ มปกติ เข้ า กั บ สื่ อ ประสม ด้ ว ยการพั ฒ นา เทคโนโลยี เช่ น ภาพนิ่ ง ภาพเคลื่ อ นไหว ภาพวี ดิ โ อ ข้ อ ความ เสี ย ง โดยผ่ า นช่ อ งทางซอฟต์ แ วร์ แ ละอุ ป กณ์ เชื่อมต่อต่างๆ เช่น กล้องเว็บแคม คอมพิวเตอร์ สมาร์ท โฟน หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ โดยจะแสดงผลผ่าน หน้าจอของอุปกรณ์เหล่านั้น ซึ่งเมื่อแสดงผลปรากฏขึ้นมา เกิ ด การปฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ ใ ช้ ไ ด้ ทั น ที่ ประกอบด้ ว ย กระบวนการท างานของเทคโนโลยี ค วามจริ ง เสริ ม 3 กระบวนการ ดังนี้ 1) การวิเคราะห์ภาพ เป็นกระบวนการ ค้นหาภาพมาร์คเกอร์ ในภาพที่กาลังส่องผ่านกล้อง เพื่อ วิเคราะห์ความถูกต้องของรูปแบบมาร์คเกอร์แล้วสืบ ค้น จากฐานข้ อ มู ล ของมาร์ ค เกอร์ 2) กระบวนการค้ น หา ฐานข้อมูล หากภาพที่กล้องกาลังส่องมีรูปแบบของมาร์ค เกอร์ที่ตรงกับฐานข้อมูล กระบวนการค้นหาฐานข้อมูลก็จะ ปรากฏขึ้นเป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดิโอ ข้อความ เสียง ตามผู้พัฒนาได้กาหนดขึ้น 3) กระบวนการปฏิสัมพันธ์ หลั ง จากปรากฏภาพนิ่ ง ภาพเคลื่ อ นไหว ภาพวี ดิ โ อ ข้อความ เสี ย ง ผู้ ใช้ ส ามารถมี ป ฏิสั ม พั น ธ์ กับ เทคโนโลยี ความจริง เสริม เพื่ อการตอบสนองที่ ต้ องการตามความ สนใจ [7] การเรี ย นแบบปฏิ สั ม พั น ธ์ เป็ น การสร้ า ง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับการจัดการเรียนการสอน
ผู้สอนสามารถสร้างความสัมพันธ์ในห้องเรียนโดยการให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ผ่านกิจกรรมประเภทต่าง ๆ ที่ผู้สอนได้กาหนดขึ้น การจัดการเรียนแบบปฏิสัมพันธ์ เพื่อ ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ ขั้ น สู ง และสั ง คมการเรี ย นรู้ แ บบ ปฏิสัมพันธ์ ช่วยสนับสนุน ในการเรียนรู้ได้แบ่งออกเป็น 3 ระดับประกอบด้วย ผู้เรียนปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน, ผู้เรียน ปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน และ ผู้เรียนปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน การ ออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วัตถุประสงค์ทางการศึกษาและสัมฤทธิ์ผลการศึกษาของ ผู้เรียน โดยการนนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ มา ใช้ เช่ น ในรู ป แบบของเทคโนโลยี ค วามจริ ง เสริ ม แบบ ปฏิ สั ม พั น ธ์ จึ ง มี ค วามจ าเป็ น อย่ า งยิ่ ง กั บ การศึ ก ษาใน ศตวรรษที่ 21 [8] พหุภาษา เป็นการจัดการศึกษาประเภทหนึ่ง ที่มี ความหลากหลายทางภาษา ที่มาจากกลุ่มชาติพันธุ์ เพศ ชั้นทางสังคม ศาสนา และภูมิศาสตร์ ทาให้เกิดการเรียนรู้ที่ จะยอมรับในความแตกต่างทางภาษา และมีความเคารพซึ่ง กันและกันของเจ้าของภาษา พหุภาษาในวิจัยนี้ต้องการสื่อ ถึงกลุ่มคน ที่มีความหลากหลายทางภาษา ที่มาท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์ในประเทศไทย ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ของสถานที่ท่องเที่ยว [9] การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ เป็ น การ ท่องเที่ยวอีกหนึ่งรูปแบบ ซึ่งจัดได้ว่าอยู่ในกลุ่มของรูปแบบ การท่ อ งเที่ ย วในแหล่ ง วั ฒ นธรรม ที่ ไ ด้ เ น้ น การเดิ น ทาง ท่องเที่ยวไปยังสถานที่ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี เพื่อชื่นชมและเพลิดเพลินรวมถึงได้ศึกษาค้นคว้าในสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วทางประวั ติ ศ าสตร์ ได้ ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจถึ ง ประวัติศาสตร์และโบราณคดีในท้องถิ่นและอยู่บนพื้นฐาน ของความรับผิดชอบ และมีจิตสานึกต่อการรักษามรดกทาง วัฒนธรรม อันทรงคุณค่าของชาติ โดยแหล่งท่องเที่ยวทาง ประวั ติ ศ าสตร์ ประกอบด้ ว ย โบราณสถานอุ ท ยาน ประวั ติ ศ าสตร์ ชุ ม ชนโบราณ ก า แพงเมื อ ง คู เ มื อ ง พิพิธภัณฑ์ วัด ศาสนสถาน สิ่งก่อสร้างที่มีคุณค่าทางศิลปะ และสถาปัตยกรรม เป็นต้น [10]
จากความเป็ น มาและความส าคัญ ของปั ญ หาที่ ดังกล่าวข้างต้น จึงจาเป็นต้องพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบปฏิ สั ม พัน ธ์ด้ ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริม พหุภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา 2.วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่ อ สั ง เคราะห์ อ งค์ ป ระกอบของหนั ง สื อ อิ เล็ กทรอนิ กส์ แ บบปฏิสั มพั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดนครราชสีมา 2. เ พื่ อ อ อ ก แ บ บ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ห นั ง สื อ อิ เล็ กทรอนิ กส์ แ บบปฏิสั มพั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดนครราชสีมา 3. เพื่ อ พั ฒ นาหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบ ปฏิ สั ม พั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริงเสริม พหุ ภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา 4. เพื่ อ ประเมิ น ความรู้ ข องนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ใ ช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความ จริ ง เสริ ม พหุ ภ าษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา 5. เพื่อประเมินความพึงพอใจของนัก ท่องเที่ยวที่ ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบปฏิสัม พันธ์ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริม พหุ ภาษา เพื่ อส่ ง เสริม การท่ องเที่ ย วเชิ ง ประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา 3.สมมติฐานการวิจัย 3.1 สถาปั ต ยกรรมหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ กส์ แบบ ปฏิ สั ม พั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริงเสริม พหุ ภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3.2 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ด้ ว ย เทคโนโลยี ค วามจริ ง เสริ ม พหุ ภ าษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การ
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา มีความ เหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3.3 นักท่องเที่ยวที่ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบ ปฏิสั ม พั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริงเสริม พหุ ภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา มีคะแนนความรู้มากกว่าร้อยละ 70 3.4 นักท่องเที่ยวที่ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบ ปฏิสั ม พั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริงเสริม พหุ ภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 4.ขอบเขตของการวิจัย 3.1ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1) ประชากร คือ นักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวยัง อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย จังหวัดนครราชสีมา 2) กลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยว ยังอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย จานวน 30 คน โดยใช้วิธี เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ 3.2 ตัวแปรที่ศึกษา 1) ตั วแปรต้ น คือ หนั ง สื ออิ เล็ กทรอนิ กส์ แ บบ ปฏิสั ม พั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริงเสริม พหุ ภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา 2) ตัวแปรตาม คือ คะแนนความรู้การท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา 5. กรอบแนวคิดการวิจัย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
เทคโนโลยีความจริงเสริม พหุภาษา ไทย, อังกฤษ, ญี่ปุ่น
การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม พหุภาษา ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา
ความรู้การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา
ความพึงพอใจ
ภาพที่ 5.1 กรอบแนวคิดการวิจัยเรื่องการพัฒนาหนังสือ อิ เล็ กทรอนิ กส์ แ บบปฏิสั มพั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริมพหุภาษาเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดนครราชสีมา
Location Based Marker Object Based
รวม
อาภาภรณ, 2557
สันทิส, 2557
ภัทรพร, 2558
บุรินทร์, 2558
วิลาศ , 2559
จักรกฤช, 2559
ภาณุวัฒน์, 2559
จารุวรรณ, 2559
สุววิชิญ, 2559
กฤตชัย, 2559
อุไรวรรณ, 2559
Augmented Reality
พจน์ศิรินทร์, 2560
6. วิธีดาเนินการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย แบบออกเป็น 5 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การสังเคราะห์องค์ประกอบของหนังสือ อิ เล็ กทรอนิ กส์ แ บบปฏิสั มพั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดนครราชสีมา แสดงดังตารางที่ 1
5
7
4
ตารางที่ 1: แสดงถึงการวิเคราะห์รูปแบบการใช้ เทคโนโลยีความจริงเสริมแบบปฏิสัมพันธ์ สรุป รูปแบบที่ นิ ย มใช้ ไ ด้ เป็ น 3 รูป แบบที่ ประกอบด้ ว ย 1) Location Based ที่ ใ ช้ ง านผ่ า นสมาร์ ท โฟน ที่ มี เ ข็ ม ทิ ศ ในตั ว 2) Marker หรื อ Image Based ที่ ใ ช้ ง านผ่ า นคอมพิ ว เตอร์ หรื อ สมาร์ ท โฟน และ 3) Object Based ที่ ใ ช้ ง านผ่ า น อุปกรณ์สื่อสารโดยการส่องเข้ากับวัตถุที่กาหนด งานวิ จั ย นี้ ผู้ วิ จั ย ได้ เ ลื อ กใช้ รู ป แบบมาร์ ก เกอร์ (Marker) เนื่องจากมีการใช้งานกันอย่างมาก และเป็นที่ นิยม ระยะที่ 2 การออกแบบสถาปั ต ยกรรมหนั ง สือ อิ เล็ กทรอนิ กส์ แ บบปฏิสั มพั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดนครราชสีมา แสดงดังรูปที่ 1
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม พหุภาษา เพือ่ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัตศิ าสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา
ปัจจัยนาเข้า - วิเคราะห์เนื้อหา - วิเคราะห์ผู้ใช้งาน - วิเคราะห์เครื่องมือการเรียนรู้ - วิเคราะห์สภาพแวดล้อม
กระบวนการ - ขั้นการเตรียมการก่อนการทดลอง - ขั้นการทดลอง - ขั้นการประเมินผล
ผลผลิต ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ความพึงพอใจ
รูป ที่ 1 : สถาปั ต ยกรรมหนังสืออิ เล็กทรอนิกส์ แบบปฏิสั ม พัน ธ์ด้ ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริม พหุภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา ระยะที่ 3 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบ ปฏิสั ม พั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริงเสริม พหุ ภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา โดยผู้วิจัยได้พัฒนาสื่อการเรียนรู้ผ่านรูปแบบ การนาเสนอด้วยแอปพลิเคชัน Zappar ระยะที่ 4 การประเมินความรู้ของนักท่องเที่ยวที่ ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบปฏิสัม พันธ์ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริม พหุ ภาษา เพื่ อส่ ง เสริม การท่ องเที่ ย วเชิ ง ประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 4.1 ขั้นการเตรียมการก่อนการทดลอง 1) การปฐมนิ เ ทศ ชี้ แ จงวั ต ถุ ป ระสงค์ วิ ธี ก าร เรียนรู้ และวิธีการวัดและประเมินผล จัดเตรียมสถานที่ และเครื่องมือในการในการวิจัย คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบปฏิสั ม พัน ธ์ด้ ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริม พหุภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา ซึง่ มีแบบทดสอบวัดความรู้เกี่ยวกับปราสาทพิ มาย และแบบประเมินความพึงพอใจ ร่วมถึงการเตรีย ม เครื่องมือสื่อสารแบบ พกพาของกลุ่มตัวอย่าง 2) ฝึ กปฏิบั ติ การใช้ ส ภาพแวดล้ อมการ เรีย นรู้ เทคโนโลยี ค วามจริ ง เสริ ม แบบปฏิ สั ม พั น ธ์ โดยชี้ แ จง รายละเอี ย ดวิ ธี ก ารใช้ ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบ
ปฏิสัมพันธ์ ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริมพหุภาษา เพื่อ ส่ ง เสริ ม การ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสี ม า พร้ อ มกั บ วิ ธี ก ารท าแบบทดสอบความรู้ จานวน 20 ข้อ 20 คะแนน และ การกรอกแบบประเมิน ความพึงพอใจ ใช้เวลา 10 นาที แสดงดังรูปที่ 2
รู ป ที่ 2 คู่ มื อ การใช้ ง านหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ กส์ แบบปฏิสัมพันธ์ ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริมพหุภาษา เพื่ อส่ ง เสริม การ ท่ องเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศาสตร์ ในจั ง หวั ด นครราชสีมาหนัง 4.2 ขั้นการทดลอง ใ ห้ ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง ศึ ก ษ า โ ด ย ใ ช้ ห นั ง สื อ อิ เล็ กทรอนิ กส์ แ บบปฏิสั มพั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดนครราชสีมา เป็นเวลา 30 นาที 4.3 ขั้นการประเมินผล ให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบความรู้ เพื่อประเมิน คะแนนความรู้หลังการใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบ ปฏิ สั ม พั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริงเสริม พหุ ภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา ระยะที่ 5 การประเมิ น ความพึ ง พอใจของ นั กท่ องเที่ ย วที่ ใช้หนั งสื ออิ เล็ กทรอนิ กส์แบบปฏิสัมพันธ์ ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสี ม า ใน ลั ก ษณะมาตราส่ ว นประมาณค่ า (Rating Scale) ตาม วิธีการของลิเคิร์ท โดยใช้เกณฑ์การประเมิน 5 ระดับ และ
มีเกณฑ์การประเมินการแปลความหมาย เพื่อหาข้อสรุป ของผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจของสื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ พัฒนาขึ้น 7. ผลการวิจัย งานวิ จั ย เรื่องการพั ฒ นาหนั ง สื ออิ เล็ กทรอนิ กส์ แบบปฏิสั ม พัน ธ์ด้ ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริม พหุภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา สรุปผลการวิจัยออกเป็น 5 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการสั ง เคราะห์ อ งค์ ป ระกอบของหนั ง สื อ อิ เล็ กทรอนิ กส์ แบบปฏิสั มพั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดนครราชสีมา พบว่า ผู้วิจัยจานวน 12 ท่าน มีการ ใช้ รู ป แบบของเทคโนโลยี ค วามจริ ง เสริ ม ที่ มี ลั ก ษณะ แตกต่างกัน โดย ในกลุ่มที่ 1 เรื่องการใช้งานแบบโลเคชัน เบส (Location Based) มี ผู้ วิ จั ย ที่ ใ ช้ ง านจ านวน 5ท่ า น กลุ่มที่ 2 เรื่องการใช้มาร์กเกอร์ (Marker, Image Based) มีผู้วิจัยใช้งานจานวน 7 ท่าน และกลุ่มที่ 3 เรื่องการใช้งาน ผ่านอุปกรณ์สื่อสารโดยส่องเข้าที่วัตถุ (Object Based) มี ผู้วิจัยใช้งานจานวน 4 ท่าน จากการศึกษาตารางสังเคราะห์ ผู้วิจัยได้เลือกใช้รูปแบบมาร์กเกอร์ (Marker) เนื่องจากมี การใช้งานง่ายและเป็นที่นิยมใช้กันอย่างมาก ตอนที่ 2 ผลการออกแบบสถาปัตยกรรมหนังสือ อิ เล็ กทรอนิ กส์ แบบปฏิสั มพั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดนครราชสีมา ดังตารางที่ 2 รายละเอียด 1.ปัจจัยนาเข้า (Input) 2.กระบวนการ Process) 3.ผลผลิต (Output)
x̄
S.D
แปลผล
4.84 4.96 4.80
0.48 0.30 0.28
มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด
จากตารางที่ 2 ผลการออกแบบสถาปัตยกรรม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความ จริ ง เสริ ม พหุ ภ าษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง
ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสี ม า โดยผู้ เ ชี่ ย วชาญ ทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาและการสร้างสื่อการเรียนการ สอนเทคโนโลยีเสมือนจริง จานวน 3 ท่าน สรุปผลได้ดังนี้ 1) องค์ประกอบด้านปัจจัยนาเข้า (Input) มีความ เหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.84 S.D.=0.48) 2) กระบวนการท างาน ( Process) มี ค วาม เหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.96 S.D.=0.30) และ 3) ด้านผลผลิต (Output) มีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมากที่สุด (x̄ = 4.80 S.D.=0.28) ตอนที่ 3 ผลการพั ฒ นาหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบ ปฏิ สั ม พั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริงเสริม พหุ ภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา มีขั้นตอนดังนี้ 1) หน้ า แรกของหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบ ปฏิ สั ม พั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริงเสริม พหุ ภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา ดังรูปที่ 3
รูปที่ 4 แสดงเมนูหลัก 3) เนื้อหาภายในอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ซึ่ง แสดงโบราณสถานที่ผู้ใช้งานต้องการจะศึกษา โดยภายใน จะประกอบไปด้วยภาพ และเสียงบรรยาย เพื่อให้ผู้เข้าใช้ งานสะดวกสบายมากขึ้น และ GPS ทาทางไปยัง โบราณ สถานที่ต้องการศึกษา ดังรูปที่ 5
รูปที่ 5 เนื้อหาภายในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ตอนที่ 4 ผลการประเมิ น ความรู้ ข องนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ใ ช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความ จริ ง เสริ ม พหุ ภ าษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา แสดงดังตารางที่ 3 การทดสอบ ผลสัมฤทธิ์
รูปที่ 3 แสดงหน้าจอหลัก 2) แสดงเมนูหลักเพื่อให้ผู้ใช้เลือกเมนูตามความ ต้องการที่จะศึกษา และมีแบบทดสอบ ดังรูปที่ 4
คะแนนเต็ม 20
(x̄) 18.60
S.D. 1.16
จากตารางที่ 3 พบว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ การประเมิน ความรู้ของนักท่องเที่ยวที่ใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบ ปฏิสั ม พั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริงเสริม พหุ ภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสี ม า มี คะแนนเฉลี่ ย 18.60 และส่ ว นเบี่ ย งเบน มาตรฐาน 1.16 ตอนที่ 5 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่ ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบปฏิสัม พันธ์ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริม พหุ ภาษา เพื่ อส่ ง เสริม การท่ องเที่ ย วเชิ ง ประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา แสดงดังตารางที่ 4
รายการประเมิน ด้านที่ 1 ด้านเครื่องมือ ด้านที่ 2 ด้านข้อมูล ด้านที่ 3 ด้านระบบ ด้านที่ 4 ด้านเทคโนโลยี ความจริงเสริม ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 4 ด้าน
𝐱̅ 4.37 4.60 4.17
S.D 0.48 0.58 0.30
แปลผล มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด
4.54
0.57
มากที่สุด
4.54
0.48 มากที่สุด
ตารางที่ 4 พบว่า ผลการประเมินความพึงพอใจ ของนักท่องเที่ยวที่ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา โดย กลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 ท่าน พบว่า มีความพึงพอใจโดย รวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ =4.54 , S.D=0.48) 8. สรุปผลการวิจัย จากการพั ฒ นาหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบ ปฏิ สั ม พั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริงเสริม พหุ ภาษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสีมา ผู้วิจัยสรุปผลได้ดังนี้ 1. หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบปฏิ สั ม พั น ธ์ ด้ ว ย เทคโนโลยี ค วามจริ ง เสริ ม พหุ ภ าษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การ ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา ผู้วิจัยได้ พัฒนาผ่านรูปแบบการนาเสนอด้วยแอปพลิเคชัน Zappar ในรู ป แบบความจริ ง เสริ ม (Augmented Reality) ใน ลักษณะ 2 มิติ ที่มีรูปแบบการนาเสนอในลักษณะภาพนิ่ง วีดีโอ ข้อความและเสียง 2. ผลสัมฤทธิ์การประเมินความรู้ของนักท่องเที่ยว ที่ ใ ช้ ง านหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบปฏิ สั ม พั น ธ์ ด้ ว ย เทคโนโลยี ค วามจริ ง เสริ ม พหุ ภ าษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด นครราชสี ม า มี คะแนนเฉลี่ย 18.60 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.16 3. ผลการศึ ก ษาความพึ ง พอใจในการใช้ ง าน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความ
จริ ง เสริ ม พหุ ภ าษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศาสตร์ในจั ง หวั ด นครราชสี ม า โดยกลุ่ ม ตั ว อย่ าง จ านวน 30 ท่ า น พบว่ า มี ค วามพึ ง พอใจโดยรวมอยู่ ใน ระดับมากที่สุด (x̄ =4.54 , S.D=0.48) 9. อภิปรายผลการวิจัย จากการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา พบว่า นั ก ท่ อ งเที่ ย วมี ผ ลคะแนนความรู้ จ ากการใช้ ห นั ง สื อ อิ เล็ กทรอนิ กส์ แบบปฏิสั มพั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดนครราชสีมา ที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมากกว่าร้อย ละ 70 และนั กท่ องเที่ ย วพึ ง พอใจในการใช้ ง านหนั ง สื อ อิ เล็ กทรอนิ กส์ แบบปฏิสั มพั นธ์ ด้ว ยเทคโนโลยี ความจริง เสริมพหุภาษา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดนครราชสีมา ที่พัฒนาขึ้นในระดับมากที่สุด ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของิ ท ธิศักดิ์ช มจันทร์ และ ปณิตา วรรณพิรุณ [11] ที่กล่าวถึงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย แบบภาพสองมิติ และภาพสามมิติเรื่องรูปเรขาคณิต มีผล การประเมินคุณภาพด้านเนื้อหา และด้านเทคนิคอยู่ในระดี ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียแบบสอง มิติ 81.90/85.58 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้และประสิทธิ ภาพ ของหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ มั ล ติ มี เ ดี ย แบบภาพสามมิ ติ 82.98/86.08 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนทั้งสองมิติและสามมิติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระดับ .05 10. เอกสารอ้างอิง [1] Paimanee Kaewsangaand and Nisachol Chamnongsri. (2016). “Creative Tourism: A New Choice of Thai Tourism.” Suranaree J. Soc. Sci. Vol. 6 No. 1 pp. 91-109. (In Thai)
[2]
Phomechai Mangruengsakul, Boontan Doktaisaong Sudjai Tolpanichgit and Saard Banchirdrit. (2012). “Strategies for Sustainable Tourism Developmentof Nakornratchasima Province.” RMU.J.(Humanities and Social Sciences). Vol. 6 No. 3 pp. 55-66. (In Thai) [3], [4] Thanongsak Harnwong. (2017). “Phimai national museum and prasat phimai: the new approach of cultural management”. Burapha Arts Journal. pp. 9-26. (In Thai) [5] Sawang sewana. (2013). Study of tourist places Management in phimai Distrct, NakhonRatchasima province. Master of Engineering Program Construction Management and Utilities Civil Engineering Department of Engineering Suranaree University of Technology. [6] Jugkapol Rebankph, Threerapong Wiriyanon and Tugsina Kruehong. (2014). “The Development of Electronics Book on Tablet Computer for Jewelry Casting Department. Journal of Industrial Education King Mongkut's University of Technology North Bangkok. Vol. 5 No. 2 pp. 103-111. (In Thai) [7] Chanin nhoorit , Krich sintanakul and Chaiyot damrongkijkosol. (2016). “Needs Assessment to Develop Learning Media with Augmented Reality Technology on Automotive Calculation and Theory Subject.” The 9th National Conference on Technical Education King Mongkut's University of Technology North Bangkok. pp. 305-310. (In Thai)
[8]
[9]
[10]
[11]
Thanaporn Amornkijipinyo and Namon Jeerungsuwan. (2015). “Interactive Instructional Model via Google Cloud Computing to Enhance Information and Communication Technology Skills for Undergraduate Students in 21st Century.” Journal of Education. Vol.26 No.2: pp. 66-80. (in Thai) Suthirus Choochuen. (2012). “Multicultural Education in 3 Southern Border Provinces of Thailand …Alternative or Survival?” Journal of the Faculty of Humanities and Social Sciences Vol. 8 No. 2 pp. 123-136. (In Thai) Wichai Wongsuwan , Siriwan Sripahol , Kanchana Lindratanasirikul and Praman Thepsongkroh. (2015). “Development of a Curriculum Model in the Historical Tourism Course for Upper Secondary School Students.” Journal of Narathiwat Rajanagarindra University. Vol. 5 No.3 pp. 66-80. (In Thai) Sittisak Chomjan and Panita Wannapiroon. (2016). “Development of 2D and 3D Multimedia e-Book of Geometry For the Ninth Grade Student.” Technical Education Journal King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Vol. 6 No. 2 pp. 162-171