DEVELOPMENT PROJECT FOR LAEM CHABANG INTERNATIONAL CRUISE PORT

Page 1

DEVELOPMENT PROJECT FOR LAEM CHABANG INTERNATIONAL CRUISE PORT

ARCH THESIS RMUTT 2018

JEERANAN NUANSET



โครงการพัฒนาท่าเรือสาราญนานาชาติแหลมฉบัง

จิรานันท์

นวลเศษ

วิทยานิพนธ์เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

2561



DEVELOPMENT PROJECT FOR LAEM CHABANG INTERNATIONAL CRUISE PORT

JEERANAN NUANSET

A THESIS SUMITTED IN FULFILLMENT OF THE REQUIRMENTS FOR THE BACHELOR DEGREE OF ARCHITECTURE DIVISION OF ARCHITECTURAL TECHNOLOGY, FACLTY OF ARCHITECTURE RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI 2018



02

หลักการออกแบบและทฤษฎีทเี่ กีย ่ วข้อง

2.1 ความหมายและการจากัดความ

2-3

2.2ความเป็นมาของเรื่องที่ศึกษา

2-4

2.2.1 ข้อมูลการเติบโตของธุรกิจเรือสาราญ

2-5

2.3 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง 2.3.1 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเรือสาราญ

3

2-7

2.3.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่ง

2-8

ระยะ ตั้งแต่ปี 2561-2570

CONTENTS บทคัดย่อ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

A

สารบัญภาพ

B

สารบัญตาราง

C

สารบัญแผนภูมิ

D

01

2-7

บทนา

ของไทย (พ.ศ. 2558-2565) 2.3.3 แผนปฏิบัติการการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว ในพื้นที่

2-9

ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2560 – 2564 2.4 ทฤษฎีหรือแนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ

2-11

2.4.1 ขนาดความต้องการพื้นที่

2-11

2.4.2 ทฤษฎีการออกแบบสวนดาดฟ้า

2-12

2.4.3 เคาน์เตอร์ เช็คอิน

2-13

2.4.4 วิธีการจอดเรือ

2-14

1.1 ความเป็นมาของโครงการ

1-2

2.4.5 ฤดูกาลท่องเที่ยว

2-15

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1-4

2.4.6. Passenger flow diagram

2-17

1.3 วัตถุประสงค์โครงการ

1-4

2.4.7 ลักษณะของบริการทัวร์

2-19

1.4 ขอบเขตของการศึกษา

1-5

2.4.8 ขนาดของเรือสาราญ

2-21

1.5 วิธีและขั้นตอนการดาเนินงาน

1-6

2.4.9 เส้นทางการเดินเรือสาราญ

2-25

1.6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา

1-7

2.5 กฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้อง

2-27

2.6การศึกษาเปรียบเทียบอาคารตัวอย่างทั้งในและต่างประเทศ

2-32


04

การกาหนดรายละเอียดโครงการ

4.1 ความเป็นมาของโครงการ

4-3

4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ

4-3

4.3 การกาหนดโครงการบริหาร

4-4

4.4 โครงสร้างการบริหารงานโครงการ

4-5

3-3

4.5 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ

4-7

3.1.1 ประวัติความเป็นมาของจังหวัดชลบุรี

3-3

4.6การกาหนดรายละเอียดและกิจกรรมของโครงการ

4-8

3.1.2 ประวัติความเป็นมาของท่าเรือแหลมฉบัง

3-5

4.7 พื้นที่ใช้สอยของโครงการ

4-12

03

การศึกษาและวิเคราะห์ทต ี่ งั้ โครงการ

3.1 ประวัติความเป็นมาที่ตั้งโครงการ

3.2 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

3-8

3.3 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ

3-9

3.3.1 ที่ตั้งโครงการ

3-8

3.4 การศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบ

3-10

3.4.1 ถนนเข้าโครงการ และ สาธารณูปโภคโภค

3-10

3.4.2 การเดินทางมายังท่าเรือแหลมฉบัง

3-11

3.4.3 SITE ANALYSIS

3-15

3.4.4 ศักยภาพของท่าเรือเดิม

3-17

3.5 สรุปการเลือกตาแหน่งที่ตั้งโครงการ

3-20

4.7.1 รายละเอียดพื้นที่ใช้สอยของโครงการ

4-13

4.8 การประมาณงบประมาณโครงการ

4-18

4.9 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

4-19


05

แนวความคิดและผลงานการออกแบบ

00

5.1 แนวความคิดในการออกแบบ

00

5.2 การสร้างทางเลือกในการออกแบบ

00

5.3 สรุปแบบทางเลือก

00

5.4 การพัฒนาแบบร่างทางสถาปัตยกรรม

00

06

5.5 ผลการออกแบบ

00

6.1 สรุปผลการศึกษา

5.6 หุ่นจาลอง

00

6.2 ข้อเสนอแนะ

5.7 แบบนาเสนอ

บทสรุปและข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม ภาคผนวก

ประวัตผ ิ วู้ ิจย ั

00 00


CONTENTS ภาพที่ 1.1 เรือสาราญ ภาพที่ 1.2 แผนที่โลก ภาพที่ 1.3 เรือสาราญ ภาพที่ 1.4 kai tak cruise terminal ภาพที่ 1.5 eastern economic corridor ภาพที่ 1.6 เรือสาราญ ภาพที่ 1.7 แผนEEC ภาพที่ 1.8 บรรยากาศบนเรือสาราญ ภาพที่ 2.1 เสมอเรือ ภาพที่ 2.2 ดาดฟ้าเรือสาราญ ภาพที่ 2.3 กิจกรรมบนดาดฟ้าเรือสาราญ ภาพที่ 2.4 นักท่องเที่ยวเรือสาราญ ภาพที่ 2.5 Miami Cruise Port Has a Record-Breaking Year ภาพที่ 2.6 แผนพัฒนา EEC

1-1 1-2 1-3 1-4 1-4 1-5 1-5 1-7 2-1 2-3 2-4 2-6

2-7 2-9

ภาพที่ 2.7 แผนพัฒนา EEC

2-10

ภาพที่ 2.8 SPACE REQUIMENTS

2-11

ภาพที่ 2.9 GREEN ROOF

2-12

ภาพที่ 2.10 CHECK-IN LAYOUTS

2-13

ภาพที่ 2.11 วิธีการจอดเรือ

2-14

ภาพที่ 2.12 ฤดูกาลท่องเที่ยว

2-15

ภาพที่ 2.13 ฤดูกาลท่องเที่ยว

2-15

ภาพที่ 2.14 ฤดูกาลท่องเที่ยว

2-16

ภาพที่ 2.15 ฤดูกาลท่องเที่ยว

2-16

ภาพที่ 2.16 Passenger flow diagram

2-17

ภาพที่ 2.17 โถงผู้โดยสาร

2-17

ภาพที่ 2.18 Passenger flow diagram

2-18

ภาพที่ 2.19 ลักษณะบริการทัวร์

2-19

ภาพที่ 2.18 ดาดฟ้าเรือสาราญ

2-20

ภาพที่ 2.21 ขนาดเรือสาราญ

2-21

ภาพที่ 2.22 ขนาดเรือสาราญ

2-21

ภาพที่ 2.23 ขนาดเรือสาราญ

2-22

ภาพที่ 2.24 ขนาดเรือสาราญ

2-22

ภาพที่ 2.25 ขนาดเรือสาราญ

2-23

ภาพที่ 2.26 กิจกรรมบนเรือสาราญ

2-24

ภาพที่ 2.27 เส้นทางการเดินเรือสาราญ สิงคโปร – เกาะสมุย – แหลมฉบัง

2-25

ภาพที่ 2.28 เส้นทางการเดินเรือสาราญ แหลมฉบัง-น่านน้าสากล

2-25

ภาพที่ 2.29 เส้นทางการเดินเรือสาราญ

แหลมฉบัง – ยังสีหนุวิล(กัมพูชา) –

2-26

ภาพที่ 2.30 เส้นทางการเดินเรือสาราญ ของท่าเรือแหลมฉบังในอนาคต แหลม

2-26

ฟูก๊วก(เวียดนาม) – เกาะสมุย – แหลมฉบัง

ฉบัง-ญี่ปุ่น


ภาพที่ 2.31 ท่าเรือ

2-32

ภาพที่ 3.4 ลักษณะภูมิอากาศ

3-4

ภาพที่ 2.32 kai tak cruise terminal

2-33

ภาพที่ 3.5 สถานที่สาคัญ

3-4

ภาพที่ 2.33 kai tak cruise terminal

2-33

ภาพที่ 3.6 ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 1

3-5

ภาพที่ 2.34 kai tak cruise terminal

2-34

ภาพที่ 3.7 ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 1

3-5

ภาพที่ 2.35 kai tak cruise terminal

2-34

ภาพที่ 3.8 ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 2

3-6

ภาพที่ 2.36 Shanghai Terminal

2-35

ภาพที่ 3.9 ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 2

3-6

ภาพที่ 2.37 Shanghai Terminal

2-35

ภาพที่ 3.10 ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 3

3-7

ภาพที่ 2.38 Shanghai Terminal

2-36

ภาพที่ 3.11 ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 3

3-7

ภาพที่ 2.39 Shanghai Terminal

2-36

ภาพที่ 3.12 ผังสี

3-8

ภาพที่ 2.40 Shanghai Terminal

2-36

ภาพที่ 3.13 แผนที่ประเทศไทย

3-9

ภาพที่ 2.41 The cruise port of Lisbon Cruise ship

2-37

ภาพที่ 3.14 ท่าเรือแหลมฉบัง

3-9

ภาพที่ 3.15 สถานที่สาคัญ

3-10

ภาพที่ 3.16 ถนนเข้าโครงการ

3-10

ภาพที่ 3.17 เส้นทางจากสถานีรถไฟ

3-11

ภาพที่ 3.18 เส้นทางจากสนามบิน

3-11

ภาพที่ 3.19 เส้นทางจาก บขส.

3-11

ภาพที่ 3.20 ระบบขนส่งมวลชล

3-11

ภาพที่ 3.21 เรือสาราญ

3-12

ภาพที่ 3.22 บริบทและถนนรอบโครงการ

3-13

ภาพที่ 3.23 ถนนเข้าโครงการ

3-14

pier location in Lisbon ภาพที่ 2.42 The cruise port of Lisbon Cruise ship

2-37

pier location in Lisbon ภาพที่ 2.43 The cruise port of Lisbon Cruise ship

2-38

pier location in Lisbon ภาพที่ 2.44 The cruise port of Lisbon Cruise ship

2-38

pier location in Lisbon ภาพที่ 2.45 The cruise port of Lisbon Cruise ship

2-38

pier location in Lisbon ภาพที่ 3.1 เรือสาราญ

3-1

ภาพที่ 3.24 ถนนเข้าโครงการ

3-14

ภาพที่ 3.2 อาณาเขตติดต่อ

3-3

ภาพที่ 3.25 ทิศ

3-15

ภาพที่ 3.3 ลักษณะภูมิประเทศ

3-3

ภาพที่ 3.26 ทิศทางลม

3-15


ภาพที่ 3.27 แสง

ภาพที่ 3.28 มุมมอง ภาพที่ 3.29 คลื่น ภาพที่ 3.30 พื้นที่โครงการ ภาพที่ 3.31 พื้นที่อาคารเดิม ภาพที่ 3.32 พื้นที่อาคารเดิม

3-16 3-16

3-16 3-17 3-17 3-18

ภาพที่ 3.33 ภาพแสดงพื้นที่โครงการ 3 มิติ

ภาพที่ 3.34 : เขตอาเภอศรีราชา ภาพที่ 3.34 : ท่าเรือแหลมฉบัง ภาพที่ 3.36 : พื้นที่โครงการ ภาพที่ 4.1 : บรรยากาศการล่องเรือ ภาพที่ 4.2 : แผนพัฒนา EEC ภาพที่ 4.3 : นักท่องเที่ยว

ภาพที่ 4.4 :ผู้ใช้โครงการ ภาพที่ 4.5 :กิจกรรม ผู้โดยสารขาเข้า ภาพที่ 4.6 กิจกรรม ผู้โดยสารขาออก

3-19 3-20 3-20 4-1 4-3 4-3 4-7 4-8 4-8

ภาพที่ 4.7 กิจกรรมของนักท่องเที่ยว

4-9

ภาพที่ 4.8 กิจกรรมของเจ้าหน้าที่

4-9

ภาพที่ 4.9 เวลาและกิจกรรมของนักท่องเที่ยว

4-10

ภาพที่ 4.10 เวลาและกิจกรรมของเจ้าหน้าที่

4-11

ภาพที่ 4.11 พื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-12

ภาพที่ 4.12 การประมาณงบประมานโครงการ

4-18

ภาพที่ 4.13 พื้นที่ภายในอาคารพักผู้โดยสาร

4-19

ภาพที่ 4.14 โครงสร้างเหล็ก

4-19

ภาพที่ 4.15 เหล็ก

4-20

ภาพที่ 4.16 โครงเหล็ก

4-20

ภาพที่ 4.17 ระบบพื้นแผ่นเหล็กประกอบ

4-21

ภาพที่ 4.18 พื้นแผ่นเหล็กประกอบ

4-21

ภาพที่ 4.19 ระบบผนังรับน้าหนัก

4-22

ภาพที่ 4.20 ระบบผนังกระจก

4-22

ภาพที่ 4.21 การติดตั้งระบบผนังกระจก

4-22

ภาพที่ 4.22 ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า

4-23

ภาพที่ 4.23 SDB

4-23

ภาพที่ 4.24 หม้อแปลงไฟฟ้า

4-23

ภาพที่ 4.25 วิธีการทางานของถังเก็บน้า

4-24

ภาพที่ 4.26 ปั๊มน้า

4-24

ภาพที่ 4.27 อุปกรณ์ตรวจจับควัน

4-25

ภาพที่ 4.28 Split Type

4-26

ภาพที่ 4.29 Central System

4-26

ภาพที่ 4.30 ระบบลิฟท์

4-27

ภาพที่ 4.31 ทางลาดคนพิการ

4-27

ภาพที่ 4.32 ระบบสายพานขนส่ง

4-28

ภาพที่ 4.33 ระบบสายพานขนส่ง

4-28

ภาพที่ 4.34 ระบบสายพานขนส่ง

4-28


ตารางที่ 2.4

กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตาม พรบ.

2-27

กฎกระทรวงฉบับที่ ๖๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความ

1-2

2556-2560

ควบคุมอาคารอาคาร ตารางที่ 2.5

แผนภูมิ 1.1 : แสดงสถิตินักท่องเที่ยวเรือสาราญโลก ตั้งแต่ ปี

2-31

แผนภูมิ 2.1 แสดงสถิตินักท่องเที่ยวเรือสาราญโลก ตั้งแต่ ปี

2-5

2556-2560

ในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ตารางที่ 2.6 การเปรียบเทียบอาคารตัวอย่าง

2-40

แผนภูมิ 2.2 : แสดงสถิตินักท่องเที่ยวเรือสาราญท่าเรือแหลมฉบัง

ตารางที่ 4.1 รายละเอียดพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-13

ตั้งแต่ ปี2558-2560

ตารางที่ 4.2

รายละเอียดพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-14

ตารางที่ 4.3

รายละเอียดพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-15

ตารางที่ 4.4

รายละเอียดพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-16

ตารางที่ 4.5

รายละเอียดพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-17

2-6


INTRODUCTION บทนา

ภาพที่ 1.1 : เรือสาราญ ที่มา : www.2morrowexplorer.com , สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2560


01

1.1

ความเป็นมาของโครงการ

1.2

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1.3

วัตถุประสงค์โครงการ

1.4

ขอบเขตของการศึกษา

1.5

วิธีและขั้นตอนการดาเนินงาน

1.6

ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา

1-1


1.1ความเป็นมาของโครงการ การเติ บ โตของอุ ตสาหกรรมเรือ ส าราญในทุก ภู มิภ าค โดยเฉพาะในภู มิภ าคเอเชี ย การ

ประเทศไทยมีศักยภาพและความพร้อม ที่จะพัฒนาเป็นท่าเรือหลัก (Home Port) ในแต่ละปี

ท่องเที่ยวเรือสาราญมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากสถิติจานวนนักท่องเที่ยวเรือสาราญตั้งแต่

มีนักท่องเที่ยวที่เดินทางด้วยเรือสาราญ มายังประเทศไทยในลักษณะของ Port of Call หรือ

ปี ค.ศ.1990 จนถึงปัจจุบัน พบว่าจานวนนักท่องเรือสาราญมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง

ท่าเรือแวะพัก นอกจากนี้ประเทศไทยยังมี เรือสาราญ ที่เข้ามาในลักษณะ Turn-around port

ในทุกภูมิภาค และมีการคาดการณ์แนวโน้มที่จะเติบโตต่อไปในอนาคต

เป็นจุดเริ่มต้น และ จุดสุดท้าย ของการเดินทางยะสั้นๆ ในอนาคตประเทศไทยจะพัฒนาสู่การเป็น

การล่องเรือสาราญเป็นรูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมสูง ข้อมูลจากสมาคมการเดินเรือ

Homeport หรือท่าเรือหลัก แต่ในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีอาคารรองรับ และ อานวยความ

สาราญใหญ่ที่สุดของโลก ระบุว่า ในช่าง 5-6 ปีที่ผ่านมา มีจานวนนักท่องเที่ยวสูงขึ้นเรื่อยๆ

สะดวกให้กับผู้โดยสารที่เข้ามาท่องเที่ยว และยังขาดปัจจัยหลายอย่างเช่น การตรวจคนเข้าเมือง

เฉลี่ยปีละ 4.4 % และคาดว่าภายใน5ปีข้างหน้า ธุรกิจเรือสาราญจะขยายตัวสร้างเรือใหม่ของ

และด่านศุลกากร มีแค่ท่าเรือที่มีศักยภาพที่พร้อมอยู่แล้วคือที่แหลมฉบัง แต่ยังรองรับผู้โดยสารได้

สมาชิกเพิ่มขึ้นอีก ในปัจจุบันมีเรือสาราญจากทั่วโลกรวมกว่า 500 ลา และมีความต้องการ

ไม่เพียงพอ จึงเกิดเป็น ”โครงการพัฒนาท่าเรือสาราญนานาชาติแหลมฉบัง ” ขึ้นมาเพื่อตอบสนอง

เดินเรือเข้ามาในอาเซียนไม่ต่ากว่า 500 ลา/ปี รัฐบาลได้มีการเตรียมแผน นโยบายเพื่อพัฒนา

ต่อความต้องการพื้นที่ให้ เพียงพอต่อ จานวนผู้โดยสารเรือสาราญ ที่เข้า มายังประเทศไทย และ

ท่ า เรื อ ท่ อ งเที่ ย ว จากการท่ า เรื อ ท่ า เรื อ แห่ ง ประเทศไทย กระทรวงการคมมานาคม และ

พัฒนาให้เป็นท่าเรือหลักเพื่อรองรับเรือสาราญในอนาคต

ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเรือสาราญ ตั้งแต่ปี 2561-2570 โดยการแบ่งการ พัฒนาเป็น 3 ระยะ เพื่อให้ประเทศไทยมีศักยภาพพร้อมที่จะเป็นท่าเรือหลักในอนาคต[1]

แผนภูมิ 1.1 : แสดงสถิตนิ ักท่องเที่ยวเรือสาราญโลก ตั้งแต่ ปี2556-2560 ที่มา : ที่มา : สมาคมเรือสาราญระหว่างประเทศ CLIA , สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2560

ภาพที่ 1.2 : แผนที่โลก [1] จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 38 ฉบับที่ 3,350 วันที่ 22 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2561

1-2


ตารางที่ 1.1 : สถิติจานวนนักท่องเที่ยวเรือสาราญทัว่ โลก ตั้งแต่ปี 1995-2017 ที่มา : สมาคมเรือสาราญระหว่างประเทศ CLIA

ภาพที่ 1.3 : เรือสาราญ ที่มา : www.2morrowexplorer.com , สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2560

1-3


1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึ กษาแนวทางการพัฒนาและออกแบบ อาคารท่าเรื อนานาชาติแหลมฉบั ง 2. เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาท่าเรือนานาชาติแหลมฉบัง ให้เป็นท่าเรือ สาราญที่มีมาตรฐานในระดับสากล 3. เพื่อศึกษาและออกแบบโครงสร้างสาหรับอาคารขนาดใหญ่พิเศษ

ภาพที่ 1.4 : kai tak cruise terminal ที่มา : www.2morrowexplorer.com , สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2560

1.3 วัตถุประสงค์โครงการ 1. เ พื่ อ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ท่ า เ รื อ ท่ อ ง เ ที่ ย ว น า น าช า ติ แ ห ล ม ฉ บั ง ใ ห้ เ ป็ น มาตรฐานสากล 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวเรือสาราญ ทั้งในและต่างประเทศ 3. เพื่ อ สนั บ สนุ น ศั ก ยภาพด้ า นการท่ อ งเที่ ย วในเขตโครงการพั ฒ นาระเบี ย ง

เศรษฐกิจตะวันออก

ภาพที่ 1.5 : eastern economic corridor ที่มา : prop2morrow.com , สืบค้นเมือ่ สิงหาคม 2560

1-4


1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.3.1 ศึกษาการเติบโตของธุรกิจของเรือสาราญ 1.3.2 ศึกษาสถิตินักท่องเที่ยวของเรือ สาราญ ศึกษาสถิติจานวนเที่ยวเรือที่ เข้ามาในประเทศไทย

1.3.3 ศึกษาเส้นทางการเดินเรือ

ภาพที่ 1.6 : เรือสาราญ ที่มา : www.komchadluek.net , ลิงหาคม 2561

ภาพที่ 1.7 : แผนEEC ที่มา : prop2morrow.com , ลิงหาคม 2561

1-5


1.5 วิธีและขั้นตอนการดาเนินงาน เหตุผลที่ทาให้เกิดโครงการ สถานการณ์ในปัจจุบันและอนาคต

ข้อมูลเบื้องต้น

ความเป็นมาของโครงการ

องค์ประกอบของโครงการ

ด้านนโยบาย

-ด่านตรวจคนเข้าเมือง

การสร้างแนวความคิด

-ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเรือสาราญ

-ด่าศุลกากร

-ศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว

-ด่านรักษาความปลอดภัย

-ศึกษาลักษณะอาคารที่จะเข้ามารองรับกิจกรรม

-ร้านค้าปลอดภาษี

-การออกแบบอาคาร

3 ระยะ ตั้งแต่ปี 2561-2570

-โครงการพัฒนาท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ข้อมูลทางสถิติ -การเติบโตของธุรกิจ -จานวนนักท่องเที่ยว -จานวนเที่ยวเรือ/ปี

DESIGN AND CONCEPT

-โถงพักผู้โดยสาร

ที่ท่าเรือแหลมฉบัง -แผนพัฒนาจังหวัดชลบุรี ปี 58-61

การสร้างทางเลือก กลุ่มเป้าหมาย

ด้านกฎหมาย

-Schematic -Zoning Diagram

-กฎหมายที่เกีย ่ วข้อง

ข้อมูลจากอาคารตัวอย่าง

ด้านปัญหา

-อาคารต่างประเทศ

-ขาดสิ่งอานวยความสะดวกให้กบ ั

-นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศ -นักท่องเที่ยวจากในประเทศ

การออกแบบ การพัฒนาแบบ

นักท่องเที่ยวในระดับ ข้อมูลจากการลงพื้นที่

แบบสถาปัตยกรรม

มาตรฐานสากล

Model ลักษณะอาคาร

เอกสารข้อมูล

-อาคารพักผู้โดยสาร นาเสนอโครงการ ด้านงานระบบ -ระบบไฟฟ้า -ระบบน้าและประปา -ระบบปรับอากาศ

1-6


1.6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา 1 ได้ ท ราบถึ ง แนวทางการพั ฒ นาและออกแบบ อาคารพั ก ผู้โดยสารท่าเรือนานาชาติแหลมฉบัง 2 ได้ ทราบถึง ความเป็ นไปได้ใ นการพั ฒ นาท่ า เรื อ นานาชาติ แหลมฉบัง ให้เป็นมาตรฐานสากล 3 ได้ ท ราบถึ ง วิ ธี ก ารศึ ก ษาและออกแบบโครงสร้ า งส าหรั บ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ

ภาพที่ 1.8 : บรรยากาศบนเรือสาราญ ที่มา : anakjajan.com , ลิงหาคม 2561

1-7


PRINCIPLES & THEORY หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

ภาพที่ 2.1 : เสมอเรือ ที่มา : pixabay.com , ลิงหาคม 2561

2-1 2-1


02

2.1

ความหมายและการจากัดความ

2.2

ความเป็นมาของเรื่องที่ศึกษา

2.3

นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง

2.4

ทฤษฎีหรือแนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ

2.5

กฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้อง

2.6

การศึกษาเปรียบเทียบอาคารตัวอย่างทั้งในและต่างประเทศ

2-2


2.1 ความหมายและคาจากัดความ ความหมายตามพจนานุกรมกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ท่า

(๑) น. ฝั่งน้าสาหรับขึ้นลงหรือจอดเรือ, ท่าน้า (๒) น. โดยปริยายหมายถึงที่จอดยานพาหนะบางชนิด เช่น ท่าเกวียน ท่ารถขนส่ง ท่าอากาศยาน

เรือ

น. ยานพาหนะที่ใช้สญ ั จรไปมาในน้า มักทาด้วยวิธีขุด ไม้ทั้งต้นหรือนากระดาน สังกะสี เหล็ก เป็นต้น มา

สาราญ

ประกอบกันเข้า (๑) ก. สุขสบาย เช่น วันอาทิตย์จะนอนให้สาราญเลย. (๒) ว. ที่ทาให้มีความสุขสบาย เช่น เรือสาราญ.

นานา ชาติ

ว. ต่าง ๆ. (ป.). (๒) น. คาเพิ่มข้างหลังของคาเดิม เมื่อเพิ่มแล้วความหมาย คงเดิ ม เช่ น รสชาติ , หรื อ หมายถึ ง พวกหรื อ หมู่ เช่ น คชาชาติ มนุษยชาติ.

คาจากัดความ ท่าเรือสาราญนานาชาติแหลมฉบัง คือ ท่าเรือที่สาคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในจังหวัด ชลบุรี ทีรองรับการท่องเที่ยวทางทะเลด้วยเรือสาราญ

ภาพที่ 2.2 : ดาดฟ้าเรือสาราญ ที่มา : anakjajan.com , ลิงหาคม 2561

2-3


2.2 ความเป็นมาของเรื่องทีศ ่ ึกษา ถ้ามองการท่องเที่ยวในระดับโลกแล้ว การล่องเรือสาราญเป็นรูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยม

สูง ข้อมูลจากสมาคมการเดินเรือสาราญใหญ่ที่สุดของโลกระบุว่า ในช่าง 5-6 ปีที่ผ่านมา มี จานวนนักท่องเที่ยวสูงขึ้นเรื่อยๆเฉลี่ยปีละ 4.4 % และคาดว่าภายใน5ปีข้างหน้าธุรกิจเรือ สาราญจะขยายตัวสร้างเรือใหม่ของสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก 55 ลา ในปัจจุบันมีเรือสาราญจากทั่ว โลกรวมกว่า 500 ลา และมีความต้องการเดินเรือเข้ามาในอาเซียนไม่ต่ากว่า 500 ลา/ปี ประเทศไทยมีศักยภาพและความพร้อม ในแต่ละปีมีนักท่องเที่ยวที่เดินทางด้วยเรือสาราญ มายังประเทศไทยในลักษณะของ Port of Call หรือท่าเรือแวะพักในทุกท่าเรือประมาณ 450,000 คนนอกจากนี้ประเทศไทยยังมีเรือสาราญที่เข้ามาในลักษณะ Turn-around port เป็นจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของการเดินทางยะสั้นๆ ในอนาคตประเทศไทยจะพัฒนาสู่การเป็น Homeport หรือท่าเรือหลัก แต่ในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีอาคารรองรับและอานวยความสะดวกให้กับผู้โดยสารที่เข้า มาท่องเที่ยว และยั งขาดปั จจัยหลายอย่ างเช่ น การตรวจคนเข้า เมืองและด่า นศุลกากรมีแ ค่ ท่าเรือที่มีศักยภาพที่พร้อมอยู่แล้วคือที่แหลมฉบัง

ภาพที่ 2.3 : กิจกรรมบนดาดฟ้าเรือสาราญ ที่มา : www.sydney4thai , สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2560

2-4


2.2.1 ข้อมูลสถิตเิ รือสาราญ

ข้อมูลการเติบโตของธุรกิจเรือสาราญ

จา น า น นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ รื อ สา ร า ญ ทั่ ว โ ล ก

แผนภูมิ 2.1 : แสดงสถิตินกั ท่องเทีย ่ วเรือสาราญโลก ตั้งแต่ ปี2556-2560 ที่มา : ที่มา : สมาคมเรือสาราญระหว่างประเทศ CLIA , สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2560

2-5


สถิติจานวนเที่ยวเรือที่เข้ามาที่ท่าเรือต่อวัน

จา น ว น นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ รื อ สา ร า ญ แ ห ล ม ฉ บั ง แผนภูมิ 2.2 : แสดงสถิตนิ กั ท่องเทีย ่ วเรือสาราญท่าเรือแหลมฉบัง ตั้งแต่ ปี2558-2560 ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ สืบค้นเมือ่ สิงหาคม 2560

ภาพที่ 2.4 : นักท่องเทีย ่ วเรือสาราญ ที่มา : www.thairath.co.th.jpg , ลิงหาคม 2561

2-6


2.3 นโยบายและแผนพัฒนาทีเ่ กีย ่ วข้อง 2.3.1 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเรือสาราญ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นายสุทัศน์ วรรณะเลิศ ผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยว กล่าวถึงแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเรือสาราญในไทยว่า มีการกาหนดแผนเป็นการพัฒนา เป็น 3 ระยะ ตั้งแต่ปี 2561-2570 โดย -แผนระยะเร่งด่วน ปี 2561-2562 จะเน้นดาเนินการเพิ่มท่าเรือหลัก (Home Port) ในฝั่งอันดามัน และอ่าวไทยได้แก่ ท่าเรือคลองเตย แหลมฉบัง ภูเก็ต เกาะสมุย อ่าวป่าตอง และการจัดการภาพรวม กฎหมาย บุคลากร และบริหารจัดการในเบื้องต้น -แผนระยะกลาง ปี 2563-2565 ซึ่ ง ในช่ว ง 3 ปี จะด าเนิ น การเพิ่ ม เมื องท่ า ใหม่ๆ ในระยะห่ า งที่ เหมาะสม เพื่อเป็นการเปิดเพิ่มเส้นทางการเดินเรือที่มีความหลากหลายมากขึน ้ -แผนระยะยาว ปี 2566-2570 จะใช้เวลา 5 ปี ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เช่น สิ่งอานวย ความสะดวกด้านสาธารณูปโภค ระบบขนส่งมวลชน สภาพภูมิอากาศ แผนรักษาความปลอดภัย การปรับปรุงด้านกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ เพื่ออานวยความสะดวกแก่ นักท่องเที่ยว เช่น ด้านวีซ่า หรือพาสปอร์ตที่อานวยความสะดวกให้ใช้ เอกสารเดินทางเพียงอย่างเดียว แต่สามารถเดินทางข้ามประเทศได้อย่างสะดวกสบาย

ทั้งนี้แผนใน 3 ระยะดังกล่าว จาเป็นต้องอาศัยปัจจัยหลัก 7 ด้านที่เกี่ยวข้อง อาทิ ท่าเรือและสิ่งอานวย ความสะดวกเพื่อรองรับเรือสาราญ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การส่งเสริมการตลาด การคมนาคมขนส่งที่มีความเชื่อมโยงถึงกัน การปรับ ปรุงกฎหมายและกฎระเบียบ ให้ง่ายต่อการเดินทางท่องเที่ยว การบริหารจัดการและบุคลากร การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

ภาพที่ 2.5 : Miami Cruise Port Has a Record-Breaking Year ที่มา : www.limomiagt.com2.jpg , ลิงหาคม 2561

2-7


2.3.2 ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นคมนาคมขนส่ ง ของไทย (พ.ศ. 2558-2565)

-นโยบายรัฐบาลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงคมนาคม นโยบายที่ 6 เพิ่มศักยภาพทาง เศรษฐกิจของประเทศ -แผนพัฒนา ฉบับที่ 11 ด้านโครงสร้างพื้นฐานระบบคมขนส่ง ยุทธศาสตร์ที่ 4 การปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค -นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม การพัฒนาการขนส่งทางน้า -การพัฒนาท่าเทียบเรือโดยสาร -การพัฒนาระบบเชื่อมต่อการเดินทางรูปแบบการขนส่งอื่น -การพัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง มาบตาพุด ท่าเรือฝั่งอ่าวไทย และท่าเรือฝั่งอันดามัน

2-8


2.3.3 แผนปฏิบต ั ก ิ ารการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว ในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก พ.ศ. 2560 – 2564 (EEC) รัฐบาลตั้งใจที่จะยกระดับให้พนื้ ทีช ่ ายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ซึ่งได้แก่ชลบุรีฉะเชิงเทรา ระยอง และพัทยา ขึ้นเป็นพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (EEC) ซึ่งจะดาเนินการบนพื้นที่กว่า 13,000 ตารางกิโลเมตร เพื่อให้ เป็นเขตศูนย์กลางแห่งอนาคต เป็นศูนย์กลางการผลิต การค้า การส่งออก การ ลงทุน และการขนส่งในอนาคต เนื่องจากพื้นที่กลุ่มจังหวัด EEC มี ศักยภาพสูง เหมาะสมที่จะเป็นพื้นที่นาร่องของเขตเศรษฐกิจการลงทุนพิเศษมาจาก เหตุผลหลัก คือ การเป็นที่รู้จักของนักลงทุนทั่วโลกในฐานะพืน้ ที่ชั้นนาในการพัฒนาอุตสาหกรรมของ อาเซียน การมีนักลงทุนทั่วโลกอยู่ในพืน้ ที่ทาให้เกิดความเชื่อมั่นของ ผู้ประกอบการ การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานซึ่งอยู่ในระดับทั้ง ทางถนน รถไฟ ท่าเรือ และนิคมอุตสาหกรรมการพัฒนา EEC ดาเนินภายใต้พระราชบัญญัติเขต เศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออกที่จะทาให้เกิดการ ต่อเนื่องในการลงทุน กว่า 1.5 ล้านล้านบาท โดยได้รับสิทธิ์ประโยชน์สูงสุด เช่น ยกเว้น ภาษี เงินได้นิติบุคคล 15 % ต่าที่สุดในอาเซียน กาหนดอัตราภาษีเงินได้ที่ต่ากว่าในบริษัทการค้า ระหว่างประเทศ ศูนย์ บริหารเงิน ศูนย์วิจัยระดับภูมิภาค วีซ่า 5 ปีสิทธิการเช่าที่ดินราช พัสดุ ถึง 15 ปีจุด One stop Service ที่จะอานวย ความสะดวกแก่นักลงทุน การค้า การลงทุน เชื่อว่าจะมีการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก 1.5 ล้าน ล้าน บาท ภายในระยะเวลา 5 ปีโดยสิทธิเหล่านี้จะอยู่ภายใต้การกากับดูแลของคณะกรรมการนโยบายพื้นที่เขตเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก การวางแผนเงิน ลงทุนของภาครัฐและเอกชนในช่วงระยะ 5 ปีแรก (2560-2565) ที่ภาครัฐได้ กาหนดไว้1.5 ล้านล้านบาท

ภาพที2 ่ .6 : แผนพัฒนา EEC ที่มา : prop2morrow.com , ลิงหาคม 2561c

2-9


ภาพที2 ่ .7 : แผนพัฒนา EEC ที่มา : สานักงานเพื่อการพัฒนาอีอีซี , ลิงหาคม 2561c

2-10


2.4 ทฤษฎีหรือแนวความคิดทีเ่ กีย ่ วข้องกับการออกแบบ 2.4.1 ขนาดความต้องการพื้นที่

ภาพที่2.8 : SPACE REQUIMENTS ที่มา :NEUFERT ARCHITECT’ DATA , ลิงหาคม 2561

2-11


2.4.2 สวนดาดฟ้า

ภาพที่2.9 :GREEN ROOF ที่มา :NEUFERT ARCHITECT’ DATA , ลิงหาคม 2561

2-12


2.4.3 เคาร์เตอร์ เช็คอิน

ภาพที่2.10 : CHECK-IN LAYOUTS ที่มา : www.slideshare.net , ลิงหาคม 2561

2-13


2.4.4 วิธีการจอดเรือ

แบบที่ 1

แบบที่ 2

แบบที่ 3

แบบที่ 4

ภาพที่2.11 : วิธีการจอดเรือ

2-14


2.4.5 ฤดูกาลท่องเที่ยว

ภาพที่2.12 : ฤดูกาลท่องเทีย ่ ว ที่มา : MAILLOT CO., ลิงหาคม 2561

ภาพที่2.13 : ฤดูกาลท่องเทีย ่ ว ที่มา : MAILLOT CO., ลิงหาคม 2561

2-15


ภาพที่2.14 : ฤดูกาลท่องเทีย ่ ว ที่มา : MAILLOT CO., ลิงหาคม 2561

ภาพที่2.15 : ฤดูกาลท่องเทีย ่ ว ที่มา : MAILLOT CO., ลิงหาคม 2561

2-16


2.4.6. Passenger flow diagram aircraft no

Baggage claim

transporter

Arrivals entrance

Passport and emigration control Security check

Departure lounge Aircraft Docked to terminal ?

Customs control

Public arrivals hall

Boarding card and baggage chack in

Transit passengers

Passport and immigration control

yes

Passenger bridge

Transfer Baggage

Transfer Baggage

Baggage unloading

Security control

With tickrt and reservation ?

Baggage loading

yes

Transfer passengers

Ticket and reser Vations counter

Aircraft Docked to terminal ?

transfer passengers

Transit passengers

transporter

no

departures entrance

aircraft Passenger flow baggage flow

ภาพที่2.16 : Passenger flow diagram ที่มา :NEUFERT ARCHITECT’ DATA , ลิงหาคม 2561

ภาพที่2.17 : โถงผู้โดยสาร ที่มา : www.zimbio.com. , ลิงหาคม 2561

2-17


2.4.6. Passenger flow diagram (ต่อ) Passengger chack-in/departure flow diagram Flight company facilities for passenger handling

Departure hall

Additional passenger facilities

telephone

Bank change

restaurant

Left luggage or luggage lockers

Passengger arrival flow diagram

Check-in hall

Customs, baggage control

Transfer baggage

Baggage claim

Facilities for airport administration and officials

Arriving baggage

Service facilities for passengers

Meeting point

Car hire

Hotel reservations

Bank change

ภาพที่2.18 : Passenger flow diagram ที่มา :NEUFERT ARCHITECT’ DATA , ลิงหาคม 2561

2-18

Store for unclaimed or lost baggage

Transit and transter passengers

Flight gate

Departure lounge

aircraft

Departing Baggage

Flight company facilities for passenger handling

Passport control

Service facilities

Flight company facilities for passenger handling

Passport control

Baggage check-in

Arrivals entrance

Flight company admin offices Service facilities

Ticket counter

Airport connections (road,rail)

arrivals

Security check

Customs baggage control

Departures entrance

departures

lobby

Left luggage or luggage lockers Passenger flow baggage flow


2.4.7 ลักษณะของบริการทัวร์

CABIN ONLY

ห้องพักบนเรือ อาหารครบมื้อในห้องอาหารที่เรือกาหนด กิจกรรม,โชว์บนเรือ ข้อดี เลือกวันเดินทางกลับได้ ข้อเสีย ต้องหาตั๋วเครื่องบินเอง

FLY & CRUISE

ห้องพักบนเรือ อาหารครบมื้อในห้องอาหารที่เรือ กาหนด กิจกรรม,โชว์บนเรือ ตั๋วเครื่องบิน บางโปรแกรม จะรวมรถรับส่ง ข้อดี ไม่ต้องหาตั๋วเครื่องบินเอง ข้อเสีย ตั๋วที่จัดให้จะกาหนดวันเดินทางกลับ ไม่ สามมารถเลือกวันเดินทางกลับได้ เที่ยวต่อไม่ได้

FULL BOARD

ห้องพักบนเรือ อาหารครบมื้อในห้องอาหารที่เรือ กาหนด กิจกรรม,โชว์บนเรือ ตั๋วเครื่องบิน รถรับส่ง หัวหน้าทัวร์ ข้อดี โปรแกรมรวมทุกอย่าง เดินทางพร้อมหัวหน้าทัวร์ดูแล ข้อเสีย ต้องเดินทางตาม วัน เวลาที่กาหนด มีพีเรียดให้เลือกน้อย

ภาพที่2.19 : ลักษณะของบริการทัวร์

2-19


ภาพที่2.20 : ดาดฟ้าเรือสาราญ ที่มา :www.oceando.de., ลิงหาคม 2561

2-20


2.4.8 ขนาดของเรือสาราญ

Voyager of the Seas

Celebrity Solstice

3,138 Passengers

2,850 Passengers

1,181 Crew members

1,500 Crew members

15 Decks

16 Decks

138,000 Tons

121,878 Tons

23.7 Knots Speed 41 km/h-25 mph

24 Knots Speed 44 km/h-29 mph

ภาพที่2.21 : ขนาดเรือสาราญ ที่มา : baagklong.com , ลิงหาคม 2561

2-21

ภาพที่2.22 : ขนาดเรือสาราญ ที่มา : baagklong.com , ลิงหาคม 2561


2.4.2 ขนาดของเรือสาราญ(ต่อ)

Carnival Spirit

Ovation of the Seas

2,124 Passengers 4,905 Passengers 961 Crew members 1,500 Crew members 12 Decks 16 Decks 85,900 Tons

167,800 Tons 22 Knots Speed 41 km/h-25 mph ภาพที่2.23 : ขนาดเรือสาราญ ที่มา : baagklong.com , ลิงหาคม 2561

22 Knots Speed 44-45 km/h-27 mph

2-22

ภาพที่2.24 : ขนาดเรือสาราญ ที่มา : baagklong.com , ลิงหาคม 2561


2.4.2 ขนาดของเรือสาราญ(ต่อ)

Pacific Jewel

1,950 Passengers 621 Crew members 11 Decks 70,285 Tons 22.5 Knots Speed 42 km/h-26 mph

ภาพที่2.25 : ขนาดเรือสาราญ ที่มา : baagklong.com , ลิงหาคม 2561

2-23


2-24

ภาพที่2.26 : กิจกรรมบนเรือสาราญ ที่มา : www.sentangsedtee.com. , ลิงหาคม 2561


THESIS PREPARAION 2018

2.4.9 เส้นทางการเดินเรือสาราญ

เส้นทางการเดินเรือสาราญ ของท่าเรือแหลมฉบังในปัจจุบัน แหลมฉบัง-น่านน้าสากล

สิงคโปร – เกาะสมุย – แหลมฉบัง ระยะเวลาการเดินทาง 4 วัน 3 คืน

ระยะเวลาการเดินทาง 3 วัน 2 คืน

เทียบท่าทุกวันพุธ

เทียบท่าทุกวันศุกร์

มาถึง 14.00 น.

เรืออกเดินทาง 11.00 น.

เรืออกเดินทาง 11.00 น.

จอดเทียบท่า 2 วัน จอดเทียบท่า 2 วัน

ภาพที่2.27 : เส้นทางการเดินเรือสาราญ สิงคโปร – เกาะสมุย – แหลมฉบัง

ภาพที่2.28 : เส้นทางการเดินเรือสาราญ แหลมฉบัง-น่านน้าสากล

2-25


เส้นทางการเดินเรือสาราญ ของท่าเรือแหลมฉบังในอนาคต แหลมฉบัง – ยังสีหนุวิล(กัมพูชา) – ฟูก๊วก(เวียดนาม) – เกาะสมุย – แหลมฉบัง

แหลมฉบัง-ญี่ปุ่น

ระยะเวลาการเดินทาง 5 วัน 4 คืน เทียบท่าทุกวันอังคาร

เรืออกเดินทาง 11.00 น.

จอดเทียบท่า 2 วัน

ภาพที่2.29 : เส้นทางการเดินเรือสาราญ

แหลมฉบัง – ยังสีหนุวลิ (กัมพูชา) –

ภาพที่2.30 : เส้นทางการเดินเรือสาราญ ของท่าเรือแหลมฉบังในอนาคต แหลมฉบัง-ญี่ปนุ่

ฟูก๊วก(เวียดนาม) – เกาะสมุย – แหลมฉบัง

2-26


2.5 กฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 2.4 ลาดับที่ 1

กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตาม พรบ.ควบคุมอาคารอาคาร หมวด/หัวข้อ

ข้อกาหนดเฉพาะรายละเอียด “อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อ ประโยชน์ในการชุมนุมคนได้โดยทั่วไป เพื่อ กิจ กรรม ทางราชการ การเมื อง การศึ ก ษา ศาสนา การสั ง คม การนัน ทนาการ หรื อ การ พาณิ ชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม สถานศึก ษา หอสมุ ด ตลาดสนามกีฬ ากลางแจ้ ง สนามกีฬ าในร่ม ห้างสรรพสิน ค้า ศูนย์ การค้า สถานบริการ ท่ าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น “อาคารพิเศษ” หมายความว่า อาคารที่ต้องการมาตรฐานความมั่นคงแข็งแรง และควาใปลอด ภัยเป็นพิเศษ เช่น อาคารดังต่อไปนี้ (ข) อู่เรือ คานเรือ หรือท่าจอดเรือ สาหรับเรือขนาดใหญ่เกิน 100 ตันกรอส (ค) อาคารหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสูงเกิน 15 เมตร หรือสะพานหรืออาคารหรือโครงหลังคาช่วงหนึ่ง

เกิน 10 เมตร หรือมีลักษณะโครงสร้างที่อาจก่อให้เกิดภัยอันตรายต่อสาธารณะชนได้ “อาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ” หมายความว่า อาคารที่ก่อสร้าง ขึ้นเพื่อใช้อาคารหรือส่วนหนึ่งส่วนใด ของอาคารเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบกิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภท โดยมีพื้นที่รวมทุก ชั้นหรือชั้นใดชั้นหนึ่งในหลังเดียวกันตั้งแต่ 10,000ตารางเมตรขึ้นไป

2-27


THESIS PREPARAION 2018

ตารางที่ 2.4 ลาดับที่

กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตาม พรบ.ควบคุมอาคารอาคาร (ต่อ) ข้อกาหนดเฉพาะรายละเอียด

หมวด/หัวข้อ

ข้อ 24 บันไดของอาคารอยู่อาศัยรวมกัน หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สานักงานอาคาร สาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน และอาคารพิเศษสาหรับที่ใช้กับชั้นที่มีพื้นที่อาคารชั้นเหนือขึ้น ไปรวมกันไม่เกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร แต่สาหรับ บันไดของอาคารดังกล่าวที่ใช้กับชั้นที่มีพื้นที่อาคาร ชั้นเหนือขึ้นไปรวมกันเกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ถ้าความกว้างสุทธิของบันไดน้อยกว่า 1.50 เมตร ต้องมีบันไดอย่างน้อยสองบันไดและแต่ละบันไดต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร บั น ไดของอาคารที่ ใ ช้ เ ป็ น ที่ ชุ ม ชนของคนจ านวนมาก เช่ น บั น ไดห้ อ งประชุ ม หรื อ ห้ อ ง บรรยายที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดห้องรับประทานอาหารหรือ สถานบริการที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดของแต่ละชั้นของอาคาร นั้นที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อยสองบันไ ถ้ามีบันไดเดียวต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตร ชานพักบันไดและพื้นหน้าบันไดต้องมีความกว้างและความยาวไม่น้อยกว่าความกว้างสุทธิของ บันได เว้นแต่บันไดที่มีความกว้างสุทธิเกิน 2 เมตร ชานพักบันไดและพื้นหน้าบันไดจะมีความยาวไม่ เกิน 2 เมตรก็ได้ ข้อ 29 บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร และ ต้องมีผนังส่วนที่บันไดหนีไฟพาดผ่านเป็นผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟ 30 บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตรมีผนังทึบ ก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรเป็นวัสดุทนไฟโดยรอบ เว้นแต่ส่วนที่เป็นช่องระบายอากาศและช่องประตู หนีไฟและต้องมีอากาศถ่ายเทจากภายนอกอาคารได้โดยแต่ละชั้นต้องมีช่องระบายอากาศที่เปิดสู่ ภายนอกอาคารได้มีพื้นที่รวมกันไม่น้อยกว่า 1.4 ตารางเมตร กับต้องมีแสงสว่างให้เพียงพอทั้ง กลางวันและกลางคืน

บันได / บันไดหนีไฟ

2-28


THESIS PREPARAION 2018

ตารางที่ 2.4

กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตาม พรบ.ควบคุมอาคารอาคาร (ต่อ)

ลาดับที่

หมวด/หัวข้อ

ข้อกาหนดเฉพาะรายละเอียด

พื้นที่ภายในอาคาร

ข้อ 21 ช่องทางเดินในอาคารต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่าตามที่กาหนด คือ - อาคารอยู่ อ าศั ย รวม หอพั ก ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหอพั ก ส านั ก งาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารพิเศษ ให้มีความกว้างช่องทางเดินไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ข้อ 22 ห้องหรือส่วนของอาคารที่ใช้ในการทากิจกรรมต่าง ๆ ต้องมีระยะดิ่งไม่น้อยกว่า ตามที่กาหนดไว้ดังต่อไปนี้ 1) ห้องที่ใช้เป็นที่พักอาศัย บ้านแถว ห้องพักโรงแรม ห้องเรียนนักเรียน อนุบาล ครัวสาหรับอาคารอยู่อาศัย ห้องพักคนไข้พิเศษ ช่องทางเดินในอาคาร มีระยะดิ่งไม่น้อย กว่า 2.60 เมตร 2) ห้องที่ใช้เป็นสานักงาน ห้องเรียน ห้องอาหาร ห้องโถง ภัตตาคาร โรงงาน มีระยะดิ่งไม่น้อยกว่า 3.00 เมตร

ที่จอดรถ

ภัตตาคาร ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้นที่ตั้งโต๊ะอาหาร 40 ตารางเมตร เศษของ 40 ตารางเมตร ให้คิดเป็น 40 ตารางเมตร สานักงาน ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้นที่ 120 ตารางเมตร เศษของ 120 ให้คิดเป็น 120 ตารางเมตร 1) ในกรณีที่จอดรถตั้งฉากกับแนวทางเดินรถให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.4 เมตรและยาวไม่ น้อยกว่า 5 เมตร 2) ในกรณีจอดรถทามุมกับทางเดินรถมากกว่า 30 องศาให้มีความกว้างไม่ น้อยกว่า 2.40 เมตรและความยาวไม่น้อยกว่า 5.50 เมตร

แนวอาคารและระยะต่างๆของอาคาร

อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้แหล่งน้าสาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บึง ทะเลสาบ หรือทะเล ต้องร่นแนวอาคารให้ห่างจากเขตแหล่งน้าสาธารณะนั้นไม่น้อยกว่า 12 เมตร ทั้งนี้เว้นแต่ สะพาน เขื่อน รั้ว ท่อระบายน้า ท่าเรือ ป้าย อู่เรือ คานเรือ หรือที่ว่างที่ใช้เป็นที่จอดรถ ไม่ต้องร่นแนว อาคาร ข้อ 50 ผนังของอาคารที่มีหน้าต่าง ประตู ช่องระบายอากาศหรือช่องแสงหรือระเบียง ของอาคารต้องมีระยะห่างจากแนวเขตที่ดิน คือ อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร ผนังหรือ ระเบียงต้องอยู่ห่างเขตที่ดินไม่น้อยกว่า 2 เมตร

2-29


THESIS PREPARAION 2018

ตารางที่ 2.4 ลาดับที่

กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตาม พรบ. ควบคุมอาคารอาคาร (ต่อ) ข้อกาหนดเฉพาะรายละเอียด

หมวด/หัวข้อ ที่ว่างภายนอกอาคาร

ข้อ 33 อาคารแต่ละหลังหรือหน่วยต้องมีที่ว่างตามที่กาหนดดังต่อไปนี้ 1) อาคารอยู่อาศัย และอาคารอยู่อาศัยรวม ต้องมีที่ว่างไม่น้อยกว่า 30 ใน 100 ส่วนของพื้นที่ ชั้นใดชั้นหนึ่งที่มากที่สุดของอาคาร 2) ห้องแถว ตึกแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะและอาคารอื่น ซึ่ง มิได้ ใช้เป็นที่อู่ อาศัยต้องมีที่ว่างไม่น้อยกว่า 10 ใน 100 ส่วนของพื้นที่ชั้นใดชั้นหนึ่งที่มากที่สุดของอาคาร แต่ ถ้าอาคารดังกล่าวใช้เป็นที่อยู่อาศัยต้องมีที่ว่างตาม (1)

ความสะดวกในอาคารสาหรับผู้พิการหรือทุพลภาพและคนชรา

ข้อ8 ทางลาดต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ 1) พื้นผิวทางลาดต้องเป็นวัสดุที่ไม่ลื่น 2) พื้นผิวของจุดต่อเนื่องระหว่างพื้นกับทางลาดต้องเรียบไม่สะดุด 3) ความกว้างสุทธิไม่ น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร ในกรณีที่ทางลาดมีความยาวของ ทุก ช่วง รวมกันตั้งแต่ 6,000 มิลลิเมตรขึ้นไปต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร 4) มีพื้นที่ผิวหน้าทางลาดเป็นที่ยาวไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร 5) ทางลาดต้องมีความลาดชันไม่เกิน 1:12 และมีความยาวช่วงละไมไม่เกิน 6,000 มิลลิเมตร ต้องจัดให้มีชานพักยาวไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร คั่นระหว่างแต่ละช่วงของทางลาด 6) ทางลาดด้านทีไ่ ม่มผ ี นังกั้นให้ยกขอบสูงจากพื้นผิวของทางลาดไม่น้อยกว่า50 มิลลิเมตร และมี ราวกั้น 7) ทางลาดที่มีความยาวตั้งแต่ 2,500 มิลลิเมตรขึ้นไปต้องมีราวจับทั้งสองด้าน

2-30


THESIS PREPARAION 2018

ตารางที่ 2.5กฎกระทรวงฉบับที่ ๖๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ลาดับที่

หมวด/หัวข้อ

ข้อกาหนดเฉพาะรายละเอียด ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้ "ล่วงล้าลาแม่น้า" หมายความว่า ล่วงล้าเข้าไปเหนือน้า ในน้า และใต้น้า ของ แม่น้า ลาคลอง บึง อ่างเก็บน้า ทะเลสาบ อันเป็นทางสัญจรของประชาชนหรือที่ประชาชนใช้ ประโยชน์ร่วมกันหรือทะเลภายในน่านน้าไทย หรือบนชายหาดของทะเลดังกล่าว ข้อ ๔ ลักษณะของอาคารและการล่วงล้าที่พึงอนุญาตได้ มีดังต่อไปนี้ (๑) ท่าเทียบเรือ ก. ต้องมีโครงสร้างที่ไม่ทาให้ทิศทางการไหลของน้าเปลี่ยนแปลงมีช่อง โปร่งระหว่างเสาไม่น้อยกว่า ๓ เมตร ข. พื้นท่าเทียบเรือในแม่น้า ลาคลอง บึง อ่างเก็บน้า ทะเลสาบ อันเป็นทาง สัญจรของประชาชนหรือที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกันต้องไม่มีลักษณะเป็นแผ่นคอนกรีตปิดทึบ ตลอดให้มีช่องว่างเพื่อให้แสงแดดส่องผ่านถึงพื้นน้าใต้ท่าได้ และไม่มีสิ่งก่อสร้างอื่นใดบนพื้นท่า เทียบเรือ นอกจากสิ่งก่อสร้างที่จาเป็นอันเป็นส่วนประกอบของท่าเทียบเรือนั้น ค. ปลายสุดของท่าเทียบเรือต้องไม่เกินแนวน้าลึกหน้าท่าเมื่อน้าลงต่าสุด ลึกกว่า อัตรากินน้าลึ กเต็ม ที่ของเรือที่เ ข้าเที ยบท่าตามความจาเป็น โดยคานึงถึงขนาดเรือและ ลักษณะภูมิประเทศแต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน ๑ ใน ๓ ของความกว้างของแม่น้า ง. ต้องสร้างตามแนวเขตที่ดินที่ผู้ขออนุญาตมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบ ครองเป็นแนวตรงยื่นจากฝั่ง จ. ท่าเทียบเรือที่ผ่านชายหาดต้องไม่ปิดกั้นการที่ประชาชนจะใช้สอย หรือ เดินผ่านชายหาด

2-31


2.6 การศึกษาเปรียบเทียบอาคาร ตัวอย่างทั้งในและต่างประเทศ

ภาพที่2.31 : ท่าเรือ

2-32


THESIS PREPARAION 2018

kai tak cruise terminal hong kong -

Terminal Area 32,000 sq.m. Landscape Area 23,000 sq.m. Commercial Area 5,600 sq.m. Total 40,600 aq.m. CIQP Packing

Ground floor has thr following areas 1. Apron 2. Entrance halls 3. Waiting halls 5800 sq.m 4. Banggage handling area 12600 sq.m 5. Custom hall 6. Atrium 7. Office areas 8. Coach staging area

ภาพที่2.32 : kai tak cruise terminal ที่มา : baagklong.com , ลิงหาคม 2561

ภาพที่2.33 : kai tak cruise terminal ที่มา : baagklong.com , ลิงหาคม 2561

2-33


ภาพที่2.34 : kai tak cruise terminal ที่มา : baagklong.com , ลิงหาคม 2561

ภาพที่2.35 : kai tak cruise terminal ที่มา : baagklong.com , ลิงหาคม 2561

2-34


shanghai port international cruise terminal

shanghai port international cruise terminal ที่ตั้ง : เซี่ยงไฮ้. จีน พื้นที่ขนาด : 260,000 ตารางเมตร

ภาพที่2.36 :Shanghai Terminal ที่มา : www.archdaily.com , ลิงหาคม 2561

ภาพที่2.37 :Shanghai Terminal ที่มา : www.archdaily.com , ลิงหาคม 2561

2-35


ภาพที่2.38 :Shanghai Terminal ที่มา : www.archdaily.com , ลิงหาคม 2561 ภาพที่2.39 :Shanghai Terminal ที่มา : www.archdaily.com , ลิงหาคม 2561

2-36

ภาพที่2.40 :Shanghai Terminal ที่มา : www.archdaily.com , ลิงหาคม 2561


Lisbon cruise terminal

Lisbon cruise terminal ที่ตั้ง : โปรตุเกส พื้นที่ขนาด : 11.635 ตารางเมตร ขนาดอาคารผู้โดยสาร : 8.750 ตารางเมตร ที่จอดรถใต้ดิน

ภาพที่2.41 : The cruise port of Lisbon Cruise ship pier location in Lisbon ที่มา : shorebee.com , ลิงหาคม 2561

ภาพที่2.42 : The cruise port of Lisbon Cruise ship pier location in Lisbon ที่มา : shorebee.com , ลิงหาคม 2561

2-37


ภาพที่2.44 : The cruise port of Lisbon Cruise ship pier location in Lisbon ที่มา : shorebee.com , ลิงหาคม 2561

ภาพที่2.43 : The cruise port of Lisbon Cruise ship pier location in Lisbon ที่มา : shorebee.com , ลิงหาคม 2561

2-38

ภาพที่2.45 : The cruise port of Lisbon Cruise ship pier location in Lisbon ที่มา : shorebee.com , ลิงหาคม 2561


kai tak cruise terminal hong kong

-

Terminal Area 32,000 sq.m. Landscape Area 23,000 sq.m. Commercial Area 5,600 sq.m. Total 40,600 aq.m. CIQP Packing

shanghai port international cruise terminal

shanghai port international cruise terminal ที่ตั้ง : เซี่ยงไฮ้. จีน พื้นที่ขนาด : 260,000 ตารางเมตร

1. Apron 2. Entrance halls 3. Waiting halls 4. Banggage handling area 5. Custom hall 6. Atrium 7. Office areas 8. Coach staging area

2-39

Lisbon cruise terminal

Lisbon cruise terminal ที่ตั้ง : โปรตุเกส พื้นที่ขนาด : 11.635 ตารางเมตร ขนาดอาคารผู้โดยสาร : 8.750 ตารางเมตร ที่จอดรถใต้ดิน


kai tak cruise terminal hong kong

shanghai port international cruise terminal

Lisbon cruise terminal

ตารางที่ 2.6 การเปรียบเทียบอาคารตัวอย่าง

2-40


LOCATION ANALSIS การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ

ภาพที่ 3.1 : เรือสาราญ ที่มา : pixabay.com , ลิงหาคม 2561

3-1


03

3.1

ประวัติความเป็นมาที่ตั้งโครงการ

3.2

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

3.3

รายละเอียดที่ตั้งโครงการ

3.4

การศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบ

3.5

สรุปการเลือกตาแหน่งที่ตั้งโครงการ

3-2


3.1

ประวัตค ิ วามเป็นมาของทีต ่ งั้ โครงการ 3.1.1 ประวัติความเป็นมาของจังหวัดชลบุรี

ภูมิประเทศ จังหวัดชลบุรี จังหวัด ชลบุ รีตั้ง อยู่ท างทิศตะวั นออกของไทย หรื อ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทย ระหว่างเส้น ละติ จู ด ที่ 12-13 องศาเหนื อ และเส้ น ลองติ จู ด ที่ 1 0 0 - 1 0 2 อ ง ศ า ต ะ วั น อ อ ก อ ยู่ ห่ า ง จ า ก กรุงเทพมหานครไปทางทิศตะวันออกตามทางหลวง แผ่นดินสายบางนา-ตราด ประมาณ 65 กิโลเมตร มี พื้ น ที่ ป ระมาณ 4,363 ตารางกิ โ ล เมตร หรื อ 2,968,107 ไร่

ฉะเชิงเทรา

- ที่ราบลุ่มแม่น้าบางปะกง

- ราบสูงและเนินเขา

ชลบุรี

- เกาะ

จันทบุรี ระยอง

ภาพที่ 3.2 : อาณาเขตติดต่อ

- ที่สูงชันและภูเขา

มี อ าณาเขตติ ด ต่ อ กั บ จั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง ดั ง นี้ - ทิ ศ เหนื อ เขตอ าเภอพานทอง อาเภอพนัสนิคม และกิ่งอาเภอเกาะจันทร์ ติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา - ทิศใต้ เขตอาเภอสัตหีบและอาเภอบางละมุงติดต่อกับ จังหวัดระยอง - ทิ ศ ตะวั น ออก เขตอ าเภอบ่ อ ทองและอ าเภอหนองใหญ่ ติ ด ต่ อ กั บ จั ง หวั ด ฉะเชิงเทรา จันทบุรี และระยอง - ทิศตะวันตก เขตอาเภอเมืองชลบุรี ศรีราชา เกาะสีชัง และบางละมุง ติดต่อกับ ทะเลฝั่งตะวันออกของอ่าวไทย

- ที่ราบชายฝั่งทะเล

ภาพที่ 3.3 :ลักษณะภูมิประเทศ

3-3


สถานที่สาคัญ - ศรีราชา : เป็นเมืองที่เพียบพร้อมไปด้วยสิ่งอานวยความสะดวก และสถานที่ธรรมชาติ เป็น เมืองที่น่าอยู่อาศัย - แหลมฉบัง: เป็นเมืองที่มี ท่าเรือน้าลึก ที่ใหญ่และเป็นประตูหลักแห่ง การส่งออกสินค้าสู่อาเซียน และทั่วโลก - พัทยา: เป็นเมืองท่องเที่ยวคุณภาพ ทั้งในเชิงธุรกิจ (โรงแรม การ ประชุมและการแสดงสินค้า นานาชาติ) เชิงครอบครัว (ร้านอาหาร สวนสนุก) และเชิงสุขภาพ (การแพทย์ การดูแล ผู้สูงอายุ) - อูต ่ ะเภา: เป็นเมืองที่มีสนามบินนานาชาติอู่ตะเภา กลไก เชื่อมโยงการท่องเที่ยวพัทยากับ นานาชาติ เป็นที่ตั้งของ ศูนย์ให้ บริการด้านอากาศยานและพาณิชย์นาวีของ ภูมิภาคในอนาคต จุดเชื่อมต่อระบบขนส่งทางรางและถนน สายหลักในอนาคต

ลักษณะภูมอิ ากาศ

ภาพที่ 3.4 : ลักษณะภูมอิ ากาศ

-ช่วงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนืออยู่ระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ จะพัดพาเอาความกดอากาศต่าจากประเทศจีนเข้ามาทาให้มฝ ี น น้อยและความชื้นต่า

-ช่วงลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้อยู่ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึง เดือนตุลาคมจะพัดพาเอาความชื้นในทะเลอันดามันและอ่าวไทย เข้ามาทาให้มีฝนมาก มีความชื้นสูงและความกดอากาศอยู่ใน เกณฑ์ต่า

ภาพที่ 3.5 : สถานที่สาคัญ

3-4


3.1.2 ประวัติความเป็นมาของท่าเรือแหลมฉบัง เฟส 1: ปี 1987-1998 การก่อสร้างเริ่มขึ้นในปี 1987 ด้วยการพัฒนาแอ่งจอดเรือ 1 และในปี 1991 ได้ เริ่มเปิดให้ปฏิบัติการอย่างเป็นทางการใน 2 ท่าเทียบเรือแรกคือ ท่าเทียบเรือ B1 และ B3 โดยตลอดช่วงทศวรรษที่ 1990 ได้ดาเนินการก่อสร้างท่าเทียบเรือ เพิ่มเติมอีกจานวน 9 แห่ง แอ่ ง จอดเรื อ 1 ประกอบด้ ว ยท่ า เที ย บเรื อ จ านวน 11 แห่ ง ได้ แ ก่ ท่ า เที ย บเรื อ สาหรับตู้สินค้าจานวน 7 ท่า ได้แก่ A2, A3, B1, B2, B3, B4 และ B5 ท่า เทียบเรือโดยสาร A1 ท่าเทียบเรือสาหรับสินค้าทั่วไป A4 และท่าเทียบเรือสาหรับ สินค้ายานยนต์ A5 โดยแอ่งจอดเรือ 1 มีความลึก 14 เมตร สามารถรองรับเรือ ขนาด 6,500 ทีอียู นอกจากนี้ แอ่ ง จอดเรื อ 1 ยั ง ให้ บ ริ ก ารที่ ห ลากหลาย โดยครอบคลุ ม บริ ก าร จัดการยกขนสินค้า คลังสินค้าและการกระจายสินค้า บริการเรือนาร่อง บริการ บาบัดน้าเสีย การกาจัดขยะ และการซ่อมบารุงรักษาเรือ โดยมีพื้นที่อู่เรือลอยน้า ขนาด 140,000 DWT ทั้งนี้ การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของประเทศไทย ได้ส่งผลให้ปริมาณ การขนส่งสินค้าภายในท่าเรือแหลมฉบังเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การท่าเรือแห่ง ประเทศไทยจึงได้เร่งการก่อสร้างแอ่งจอดเรือ 2 ในเฟสที่ 2 ภาพที่ 3.6 : ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 1 ที่มา : www.2morrowexplorer.com , สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2560

เฟสที่ 1 กว้าง 400 เมตร ยาว 1600 เมตร ลึก 14 เมตร

1987-1998

ท่าเทียบ เรือ สาหรับตู้ สินค้า A2, A3,B1, B2, B3, B4 และ B5

3-5

ท่าเทียบ เรือ โดยสาร

ท่าเทียบ เรือ สาหรับ สินค้า ทั่วไป

ท่าเทียบ เรือ สาหรับ สินค้ายาน ยนต์

A1

A4

A5

ภาพที่ 3.7 : ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 1


เฟส 2: ปี 1998-2008 การก่อสร้างเฟสที่ 2 เริ่มต้นขึ้นในปี 1998 ด้วยการพัฒนาแอ่งจอดเรือ 2 ซึ่งได้รับ การออกแบบเพื่อสนับสนุนการเติบโตและการเพิ่มขึ้นของปริมาณตู้สินค้า โดยในระยะนี้ การพัฒนาได้มุ่งเน้นไปที่การเสริมสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและการก้าวไปสู่ การเป็นศูนย์กลางการเดินเรือระหว่างประเทศ โดยแอ่งจอดเรือ 2 มีความลึก 16 เมตร สามารถรองรับเรือขนาดใหญ่ที่สุดที่ได้มีการ ปฏิบั ติก ารในปัจจุ บัน ได้ ซึ่ งแอ่ งจอดเรื อ 2 ประกอบด้ วย ท่า เที ยบเรือ ขนส่ง ตู้สิ นค้ า จานวน 6 ท่า ได้แก่ C1, C2, C3, D1, D2, และ D3 และท่าเทียบเรือสาหรับสินค้า ทั่วไป C0 จานวน 1 ท่า นอกจากนี้ แอ่งจอดเรือ 2 ได้รับการพัฒนาเพื่อเสริมศักยภาพการให้บริการด้านอื่นๆ ด้วย เช่น สถานีตรวจและบรรจุตู้สินค้า (CFS) และการพัฒนาเส้นทางให้เชื่อมต่อกับ ทางหลวงสายหลั กของประเทศเพื่ อช่ วยให้ สามารถเข้ าถึ งพื้ นที่ อื่น ๆ ในประเทศที่อ ยู่ ห่างไกลจากท่าเรือ ซึ่งการพัฒนาเหล่านี้ได้ทาให้ท่าเรือแหลมฉบังเป็นที่ดึงดูดมากขึ้น ใน ฐานะท่าเรือซึ่งเป็นจุดหมายปลายทางสาหรับสายการเดินเรือที่ปฏิบัติการในเส้นทาง การค้าระหว่าง เอเชีย-อเมริกาเหนือ และเอเชีย-ยุโรป

ภาพที่ 3.8 : ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 2 ที่มา : www.2morrowexplorer.com , สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2560

เฟสที่ 2 กว้าง 500 เมตร ยาว 1500 เมตร ลึก 16 เมตร

1998-2008

ท่าเทียบ เรือขนส่งตู้ สินค้า จานวน

ท่าเทียบ เรือสาหรับ สินค้าทั่วไป

C1, C2, C3,D1, D2, และ D3

C0 ภาพที่ 3.9 : ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 2

3-6


เฟส 3: ปี 2011-2020 การท่ า เรื อ แห่ ง ประเทศไทยได้ เ ริ่ ม ด าเนิ น การพั ฒ นาเฟสที่ 3 โดยมี เ ป้ า หมายคื อ การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่งขั นของท่ าเรือแหลมฉบัง เพื่ อเน้นย้ าถึงจุด ยืนการเป็นเกตเวย์ หลักใน ภูมิภาค การเป็นศูนย์กลางทางการค้า และส่งเสริมโอกาสในการลงทุนในของไทย อีกทั้งการท่าเรือฯ ยังได้ตระหนักถึงความสาคัญของโครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (EEC) โดยได้มีการวางแผนให้การพัฒนาเฟสที่ 3 มีการนาเทคโนโลยีและเครื่องมือที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อลดระยะเวลาในการรอเรือและเพิ่มความรวดเร็วของการปฏิบัติการ มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ โครงสร้างท่าเรือแหลมฉบัง เฟส 3 จะออกแบบเป็นรูปตัว U มีขนาดความกว้าง 800 ขนาดความยาว 2,000 เมตร ความลึก 18 เมตร ซึ่งสามารถรองรับเรือขนาด Super-Post Panamax พร้อมพื้นที่ระวางสินค้าขนาดมากกว่า 10,000 ทีอียู โดยท่าเรือดังกล่าว สามารถ รองรับปริมาณสินค้าได้ 8 ล้านทีอียู

เฟสที่ 3 กว้าง 800 เมตร ยาว 2,000 เมตร ลึก 18 เมตร

2011-2020

ภาพที่ 3.10 : ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 3 ที่มา : www.2morrowexplorer.com , สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2560

รองรับเรือขนาด Super-Post Panamax

ภาพที่ 3.11 : ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 3

3-7


3.2

กฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้อง

ผังสี : เขตสีมว่ ง ข้อกาหนด ที่กาหนดไว้เป็นสีมว่ ง ให้เป็นที่ดิน ประเภท อุตสาหกรรมและคลังสินค้า

การใช้ประโยชน์ ที่ ดิ น ประเภทอุ ต สาหกรรมและคลั ง สิ น ค้ า ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ อุ ต สาหกรรมคลั ง สิ น ค้ า สถาบั น ราชการ การ สาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การเป็ น ส่ ว นใหญ่ ส าหรั บ การใช้ป ระโยชน์ที่ ดินเพื่อ กิจการอื่ น ให้ใ ช้ไ ด้ไม่ เกิ นร้อ ยละ ยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ

ข้อห้ามการใช้ประโยชน์ (๑) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสาน และฌาปนสถาน (๒) สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ (๓) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงเด็ก (๔) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงคนชราการใช้ประโยชน์ ที่ดินริมฝั่งลาคลองหรือแหล่งน้าสาธารณะ ให้มีที่ว่างตาม แนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลาคลองหรือ แหล่งน้าสาธารณะไม่น้อยกว่า ๖ เมตร เว้นแต่เป็นการ ก่อสร้างเพื่อการคมนาคมทางน้าหรือการสาธารณูปโภค ภาพที่ 3.12 : ผังสี

3-8


3.3

รายละเอียดทีต ่ ั้งโครงการ

3.3.1 ที่ตั้งโครงการ

ภาพที่ 3.14 : ท่าเรือแหลมฉบัง

ที่ตั้ง : ท่าเรือ แหลมฉบัง ถนนสุขุมวิท, ตาบลทุ่งสุขลา อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ท่าเรือแหลมฉบังเป็นท่าเรือน้าลึกหลักในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของ ประเทศไทย มีพื้นที่ขนาด 6,340 ไร่ ประกอบด้วยท่าเทียบเรือที่เปิดให้บริการแล้ว

ภาพที่ 3.13 : แผนที่ประเทศไทย

3-9


3.4

การศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบ

3.4.1 ถนนเข้าโครงการ และ สาธารณูปโภคโภค

SITE

สถานีขนส่งผู้โดยสาร ชลบุรี

ภาพที่ 3.15 : สถานที่สาคัญ

ถนนเข้าโครงการ ถนนแหลมฉบัง

สถานีรถไฟศรีราชา ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี

3-10

ภาพที่ 3.16 : ถนนเข้าโครงการ


3.4.2 การเดินทางมายังท่าเรือแหลมฉบัง การเดินทาง

เส้นทางมายังท่าเรือแหลมฉบัง

เครื่องบิน

รถส่วนตัว

รถทัวร์

ภาพที่ 3.17 : เส้นทางจากสถานีรถไฟ

ภาพที่ 3.18 : เส้นทางจากสนามบิน

จากสถานีรถไฟชลบุรี 17 กม. ใช้เวลาเดินทาง ประมาน 25 นาที

จากสนามบินนานาชาติอู่ตะเภา 57 กม. ใช้เวลาเดินทาง ประมาน 1 ชั่วโมง

ภาพที่ 3.19 : เส้นทางจาก บขส.

จากขนส่ง อ.ศรีราชา 7.2 กม. ใช้เวลาเดินทาง ประมาน 20 นาที

รถไฟ

ภาพที่ 3.20 : ระบบขนส่งมวลชล

3-11


ภาพที่ 3.21 : เรือสาราญ

3-12


3.4.2 การเดินทางมายังท่าเรือแหลมฉบัง (ต่อ)

ด่านตรวจศุลกากร

ถนนแหลมฉบัง 6 เลนส์ พื้นที่โครงการ

ถนนเข้าโครงการ 2 เลนส์ ถนนเข้าท่าเรือ 4 เลนส์

ภาพที่ 3.22 : บริบทและถนนรอบโครงการ

3-13


8.00 เมตร

ภาพที่ 3.24 : ถนนทางเข้าโครงการ

ภาพที่ 3.23 : ถนนทางเข้าโครงการ

3-14


3.4.3 SITE ANALYSIS Wind direction Analysis

direction Analysis

N

W

N

W

E

S

E

S

ทิศ

ลม

ภาพที่ 3.25 : ทิศทางของแสง

ภาพที่ 3.26 : ทิศทางของลม

3-15


3.4.3 SITE ANALYSIS Sunshine direction Analysis

Wave direction Analysis

VIEW Analysis

N

BAD VIEW

MEDIUM VIEW

GOOD VIEW

MEDIUM VIEW GOOD VIEW

S

S

แสง

มุมมอง

ภาพที่ 3.27 : ทิศทางของแสง

ภาพที่ 3.28 : ทิศทางของลม

3-16

คลื่น ภาพที่ 3.29 : ทิศทางคลื่น


3.4.4 ศักยภาพของท่าเรือเดิม

102.58 ม. 363.23 ม.

อาคารผู้โดยสาร รองรับผู้โดยสารได้ 1,500 คน

102.76 ม.

364.00 ม. ภาพที่ 3.30 : พื้นที่โครงการ

ท่าเรือเดิมสามารถรองรับผู้โดยสารได้ 1500 คน ขนาดพื้นที่ 8,000 ตารางเมตร มีที่จอดรถสารับเจ้าหน้าที่ และลานจอดรถสาหรับนักท่องเที่ยว สามารถจอดเรอสาราญ ได้ 1 ลา

ลานจอดรถยนต์

ลานจอดรถทัวร์

3-17

ภาพที่ 3.31 : พื้นที่อาคารเดิม


ภาพที่ 3.32 : พื้นที่อาคารเดิม

3-18


ถนนเข้าโครงการกว้าง 12 เมตร

อาคารเดิม

เรือสาราญที่เข้ามาจอด

ร่องน้าลึก 14 เมตร

ภาพที่ 3.33 : ภาพแสดงพื้นทีโ่ ครงการ 3 มิติ

3-19


3.5

สรุปการเลือกตาแหน่งทีต ่ ั้งโครงการ

102.58 ม.

อ.ศรีราชา

363.23 ม.

ท่าเรือแหลมฉบัง

37753 ตารางเมตร 364.00 ม. 102.76 ม.

ภาพที่ 3.34 : เขตอาเภอศรีราชา

ภาพที่ 3.35 : ท่าเรือแหลมฉบัง

ภาพที่ 3.36 : พื้นที่โครงการ

สรุปที่ตั้งโครงการ อยู่ที่ ท่าเรือแหลมฉบัง ZONE A1 ขนาดที่ตั้งโครงการ 23 ไร่ 2งาน 153 ตารางวา 37,753 ตารางเมตร ทิศเหนือ : 363.23 เมตร ทิศตะวันตก : 102.58 เมตร ทิศใต้ : 364.00 เมตร ทิศตะวันออก : 102.76 เมตร ราคา : 9000 บาท/ตารางเมตร

3-20


ARCHITECTURAL PROGRAM การกาหนดรายละเอียดโครงการ

ภาพที่ 4.1 : บรรยากาสการล่องเรือ

4-1


04

3.1

ความเป็นมาของโครงการ

3.2

วัตถุประสงค์ของโครงการ

3.3

การกาหนดโครงการบริหาร

3.4

โครงสร้างการบริหารงานโครงการ

3.5

รายละเอียดผู้ใช้โครงการ

3.2

การกาหนดรายละเอียดและกิจกรรมขอ

3.3

พื้นทีใ่ ช้สอยของโครงการ

3.4

การประมาณงบประมาณโครงการ

3.5

ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

4-2


THESIS PREPARAION 2018

4.1 ความเป็นมาของโครงการ ถ้ามองการท่องเที่ยวในระดับโลกแล้ว การล่องเรือสาราญเป็นรูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมสูง ข้อมูลจากสมาคมการเดินเรือสาราญใหญ่ที่สุดของโลกระบุว่า ในช่าง 5-6 ปีที่ผ่านมา มีจานวน นักท่องเที่ยวสูงขึ้นเรื่อยๆเฉลี่ยปีละ 4.4 % และคาดว่าภายใน5ปีข้างหน้าธุรกิจเรือสาราญจะ ขยายตัวสร้างเรือใหม่ของสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก ในปัจจุบันมีเรือสาราญจากทั่วโลกรวมกว่า 500 ลา และมีความต้องการเดินเรือเข้ามาในอาเซียนไม่ต่ากว่า 500 ลา/ปี ประเทศไทยมีศักยภาพและความพร้อม ในแต่ละปีมีนักท่องเที่ยวที่เดินทางด้วยเรือสาราญ มายัง ประเทศไทยในลักษณะของ Port of Call หรือท่าเรือแวะพักในทุกท่าเรือประมาณ 450,000 คน นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีเรือสาราญที่เข้ามาในลักษณะ Turn-around port เป็นจุดเริ่มต้นและ จุดสุดท้ายของการเดินทางยะสั้นๆ ในอนาคตประเทศไทยจะพัฒนาสู่การเป็น Homeport หรือ ท่าเรือหลัก แต่ในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีอาคารรองรับและอานวยความสะดวกให้กับผู้โดยสารที่เข้ามา ท่องเที่ยว และยังขาดปัจจัยหลายอย่างเช่น การตรวจคนเข้าเมืองและด่านศุลกากรมีแค่ท่าเรือที่มี ศักยภาพที่พร้อมอยู่แล้วคือที่แหลมฉบัง แต่ยังไม่สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้เพียงพอ จึงเกิด ”โครงการพัฒนาท่าเรือสาราญนานาชาติแหลมฉบัง ” ขึ้นมา ซึ่งสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์การ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเรือสาราญ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และ แผนปฏิบัติการการพัฒนา และส่งเสริมการท่องเที่ยว ในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2560 – 2564 ที่ มีการส่งเสริมและพัฒนาท่าเรือแหลมฉบังให้เป็นท่าเรือหลัก ในการรองรับเรือ สาราญ ในเชิงการ ท่องเที่ยว และเชิงธุรกิจต่อไปในอนาคต

ภาพที่ 4.2 : แผนพัฒนา EEC

4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพท่าเรือท่องเที่ยวนานาชาติแหลมฉบังให้เป็นมาตรฐานสากล 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวเรือสาราญ ทั้งในและต่างประเทศ

3. เพื่ อ สนั บ สนุ น ศั ก ยภาพด้ า นการท่ อ งเที่ ย วในเขตโครงการพั ฒ นาระเบี ย ง เศรษฐกิจตะวันออก

ภาพที่ 4.3 : นักท่องเทีย ่ ว

4-3


4.3 การกาหนดโครงสร้างการบริหาร โครงสร้างการบริหารงานท่าเรือแหลมฉบัง

ผู้อานวยการท่าเรือแหลมฉบัง รองผู้อานวยการท่าเรือแหลมฉบัง ผู้ช่วยผู้อานวยการท่าเรือแหลมฉบัง

สานักบริหารงานสนับสนุน

สานักงานอานวยการ

สานักงานปฏิบัติการ

นักบริหารงาน 13 ท่าเรือแหลมฉบัง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 12

กองบริหารงานทั่วไป แผนกธุรการ แผนกประชาสัมพันธ์ แผนกรักษาความปลอดภัย

กองแผนงาน

กองบริการ

กองการช่าง

แผนกวิจัยและพัฒนาธุรกิจ แผนกโครงการและประเมิณผล แผนกสารสนเทศ

แผนกบริการท่า แผนกสื่อสาร

แผนกช่างโยธา แผนกช่างไฟฟ้า แผนกช่างกล

กองการท่า กองการบุคคล

กองการเงิน

แผนกอัตรากาลัง แผนกสวัสดิการ

แผนกการคลัง แผนกผลประโยชน์ แผนกตรวจสอบและงบประมาณ แผนกบัญชี

แผนกจัดการท่าเทียบเรือ แผนกจัดการสินค้า

กองนิติการและจัดการทรัพย์สิน แผนกกฎหมาย แผนกนิติกรรมและสัญญา แผนกบริหารสัญญาและจัดการทรัพย์สิน

4-4


4.4 โครงสร้างการบริหารงานโครงการ การท่องเที่ยวและกีฬาแห่งประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบ หน่วยงานประกันคุณภาพ

กรรมการผู้จัดการ หน่วยงานตรวจสอบภายใน

แผนกความปลอดภัย

รองผู้จัดการ (บริหาร)

กองบริหารทรัพยากร

กองแผนงานการเงิน และงบประมาณ

รองผู้จัดการ (การตลาด)

กองปฏิบัติการ

กองธุรกิจและการตลาด แผนกการตลาด

แผนกธุรการ แผนกบัญชีและการเงิน

แผนกแผนงานและประมาณการ

แผนกทรัพยากรบุคคล แผนกแผนงานและงบประมาณ แผนกบริหารงานพัสดุ

รองผู้จัดการ (เทคนิค)

หน่วยงานกากับ การซ่อมสร้าง

หน่วยงาน ปฏิบัติการซ่อม สร้าง

หน่วยงาน การ อานวยการ

แผนกการโรงงาน

แผนกการอู่

แผนกเทคโนโลยี

4-5

แผนกการ ออกแบบ


4.4 โครงสร้างการบริหารงานโครงการ (ต่อ) การบริหารงานบนเรือ

นายเรือ

ฝ่ายเดินเรือ

ฝ่ายช่างกล ต้นเรือ

ต้นหน

ต้นกล

นายช่างอิเลคทรอนิคอล

สหโภชน์

รองต้นกล นายช่างกล 3

ผู้ช่วยต้นเรือ

ลูกเรืออิเลคทรอนิคอล

ผู้ช่วยสหโภชน์

นายช่างกล 4

บริกร สรั่ง

นายท้าย 1

นายท้าย 2

สร่งช่างกล/ช่างเชื่อม ช่างน้ามัน 1

นายท้าย 3

ช่างน้ามัน 2 ช่างทาความสะอาด

กะลาสี

4-6

ช่างน้ามัน 3


4.5 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ

นักท่องเที่ยวในประเทศ

นักท่องเที่ยวต่างประเทศ

USER GROUP

USER GROUP

ผู้สูงอายุ AEG : 50-70 ปี

USER GROUP

USER GROUP

นักธุรกิจ

ครอบครัว

AEG : 20 ปีขึ้นไป

AEG : เด็ก 1-15ปี ผู้ใหญ่ 15-49 ปี

วัยทางาน AEG : 20 ปีขึ้นไป

COMMUNICATION SPACE

COMMUNICATION SPACE

COMMUNICATION SPACE

COMMUNICATION SPACE

REQUIRED SPACE

REQUIRED SPACE

REQUIRED SPACE

REQUIRED SPACE

USEGE OF PUBLIC SPACE

USEGE OF PUBLIC SPACE

USEGE OF PUBLIC SPACE

USEGE OF PUBLIC SPACE

ภาพที่ 4.4 :ผู้ใช้โครงการ

4-7


4.6 การกาหนดรายละเอียดและกิจกรรมของโครงการ ผู้โดยสารขาเข้า

Hall ลงจากเรือ

Security Check

Immigration Check

Arrivals Hall

Baggage Reclaim

customs

In the project

Tour

ภาพที่ 4.5 :กิจกรรม ผู้โดยสารขาเข้า

ผู้โดยสารขาออก

In the project Hall

Check in

Security Check

Tour

Immigration Check

Departure Hall

Ticket Check

ขึ้นจากเรือ

ภาพที่ 4.6 :กิจกรรม ผู้โดยสารขาออก

4-8


กิจกรรมของผู้ใช้โครงการ นักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวที่ซื้อบริการทัวร์ นักท่องเที่ยวที่ไม่ได้ซื้อบริการทัวร์

เจ้าหน้าที่

ภาพที่ 4.7 : กิจกรรมของนักท่องเทีย ่ ว

เจ้าหน้าที่ทางานแบบเปลี่ยนกะ เจ้าหน้าที่ทางานประจา

ภาพที่ 4.8 : กิจกรรมของเจ้าหน้าที่

4-9


เวลาและกิจกรรมของผู้ใช้โครงการ นักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวที่ซื้อบริการทัวร์

08.00-10.00

07.00-09.00

12.00-วันกาหนดกลับ

10.00 - 12.00

14.00

09.00-14.00

นักท่องเที่ยวที่ไม่ได้ซื้อบริการทัวร์

08.00-10.00

07.00-09.00

12.00-วันกาหนดกลับ

10.00 - 12.00

14.00

09.00-14.00

ภาพที่ 4.9 : เวลาและกิจกรรมของนักท่องเที่ยว

4-10


เวลาและกิจกรรมของผู้ใช้โครงการ

เจ้าหน้าที่ทางานประจา

08.00

08.00-12.00

12.00-13.00

13.00-17.00

17.00

08.00

08.00-12.00

12.00-13.00

13.00-16.00

16.00

16.00

16.00-20.00

20.00-21.00

21.00-00.00

00.00

00.00

00.00-04.00

04.00-05.00

05.00-08.00

08.00

เจ้าหน้าที่ทางานแบบเปลี่ยนกะ

1 2 3

ภาพที่ 4.10 : เวลาและกิจกรรมของเจ้าหน้าที่

4-11


4.7 พื้นที่ใช้สอยของโครงการ

PASSENGER HALL

11,095.77 SQ.M.

OPERATIONS OFFICE

93.8 SQ.M.

ARRIVALS and DEPARTURE HALL

13,444.37 SQ.M.

ADMINISTRATIVE OFFICE

328.4 SQ.M.

CAR PARK

6,811.33 SQ.M.

SERVICE

5615.33 SQ.M.

TOTAL 37,389 SQ.M. ภาพที่ 4.11 : พื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-12


4.7.1 รายละเอียดพื้นทีใ่ ช้สอยของโครงการ ผู้ใช้โครงการ พื้นที่ใช้สอยของโครงการ 1

ส่วนหลักของโครงการ - โถงต้อนรับ - CIRCULATION (40%) - พื้นที่เช่า (12%) - ห้องน้า - ชาย - หญิง - CIRCULATION(30%) รวม

- โถงผู้โดยสารขาเข้า-ออก - CIRCULATION (40%) - สวนตรวจหนังสือเดินทาง - CIRCULATION(30%) - สวนตรวจเช็คบัตรโดยสาร และขนถายสัมภาระ - CIRCULATION(30%) - สวนตรวจอาวุธ - CIRCULATION(30%) - สวนดานศุลากร - CIRCULATION(30%) - สวนตรวจหนังสือเดินทาง และตรวจคนเขาเมือง - CIRCULATION(30%)

จานวน

5,000

บุคลากร

ผู้ใช้หลัก

เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว

ผู้ใช้รอง

ผู้มารับ-ส่ง ผู้โดยสาร

49 ห้อง 12 ห้อง 37 ห้อง

พื้นที่ ตร.ม. /หน่าย 1.4 ตร.ม./1 40% 20% 200 ตร.ม/ 1

30%

2,000 คน

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว

เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว

เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว

เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว

เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว

-

14 เคาน์เตอร์ 40 เครื่อง

8 เครื่อง 20 เครื่อง 15 ตัว

ที่มา : A = ARCHITECT DATA, ARCHITECTS’ HANDBOOK B = มาตรฐานการออกแบบอาคาร C = ศึกษาจาก อาคารตัวอย่าง

หมายเหตุ

7,000 ตร.ม. 2,800 ตร.ม. 1,176 ตร.ม. 119.77 ตร.ม. 35.64 ตร.ม. 56.43 ตร.ม. 27.70 ตร.ม. 11,095.77 ตร.ม.

A A A A,E A,B

1.8 ตร.ม./1 40% 31.2 ตร.ม./1 30% 11.44 ตร.ม./1

3600 1440 436.8 131.04 457.6

ตร.ม. ตร.ม ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม.

A,B A,B A,B A,B A,B

30% 7.15 ตร.ม./1 30% 12 ตร.ม./1 30% 31.20 ตร.ม./1

137.28 52.2 17.16 240 72 468

ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม.

A,B A,B A,B A,B A,B A,B

140.4 ตร.ม.

A,B

30% D = ศึกษาและวิเคราะห์ E = กฎหมาย

พื้นที่รวม ตร.ม.

ตารางที่ 4.1 : รายละเอียดพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ

4-13


ผู้ใช้โครงการ พื้นที่ใช้สอยของโครงการ

จานวน

- สวนกักกันโรคจากพืช และ สัตว์ - CIRCULATION(30%) - สวนรอรับกระเปาเดินทางผู โดยสารขาเขาระหวางประเทศ - CIRCULATION(30%) - พื้นที่เช่า (12%) - ห้องน้า - ชาย - หญิง - CIRCULATION(30%) รวม

บุคลากร

ผู้ใช้หลัก

12 พรม 1 เครื่อง

เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว

5 ชุด

เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว

50 ห้อง 12 ห้อง 38 ห้อง

ผู้ใช้รอง

พื้นที่ ตร.ม. /หน่าย

10 ตร.ม./1 30 ตรม/1 30% 662.50 ตร.ม/ 1 40% 12%

30%

พื้นที่รวม ตร.ม.

หมายเหตุ

120 30 45 3,312.5

ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม.

A A A A,E

1,325 1,483.06 121.45 35.64 57.78 28.03

ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม ตร.ม. ตร.ม ตร.ม.

A,B

A,B

13,841.94 ตร.ม.

ตารางที่ 4.2 : รายละเอียดพื้นทีใ่ ช้สอยโครงการ

ที่มา : A = ARCHITECT DATA, ARCHITECTS’ HANDBOOK B =มาตรฐานการออกแบบอาคาร C =ศึกษาจาก อาคารตัวอย่าง D = ศึกษาและวิเคราะห์ E= กฎหมาย

4-14


ผู้ใช้โครงการ พื้นที่ใช้สอยของโครงการ

ส่วนบริการโครงการ -หองประกอบพิธีละหมาด - CIRCULATION(30%) -เคานเตอรประชาสัมพันธ์ - CIRCULATION(20%) -สวนดาดฟ้า ส่วนงานระบบ (3%)

จานวน

บุคลากร

ผู้ใช้หลัก

400 คน

เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว

2 ที่

เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

นักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว

ผู้ใช้รอง

พื้นที่ ตร.ม. /หน่าย

พื้นที่รวม ตร.ม.

1.5 ตร.ม./1 30% 12 ตร.ม/ 1 20% 1 ตร.ม/1

600 180 24 4.8 4,000 778.83

ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม.

A A A A E B

5,615.33 ตร.ม.

รวม ที่จอดรถ - รถทัวร์ - รถยนต์ รวม

หมายเหตุ

100 ที่ 122 ที่

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

เจ้าหน้าที่ ผู้มารับ-ส่งผู้โดยสาร

ที่มา : A = ARCHITECT DATA, ARCHITECTS’ HANDBOOK B =มาตรฐานการออกแบบอาคาร C =ศึกษาจาก อาคารตัวอย่าง D = ศึกษาและวิเคราะห์ E= กฎหมาย

48 ตร.ม/1 12.5 ตร.ม/1

4,800 ตร.ม. 1,525 ตร.ม. 6,325 ตร.ม.

E E

ตารางที่ 4.3 : รายละเอียดพื้นทีใ่ ช้สอยโครงการ

4-15


พื้นที่ใช้สอยของโครงการ

2

ฝ่ายบริหาร - ห้องผู้อานวยการ - ห้องรองผู้อานวยการ - ห้องผู้ช่วยผู้อานวยการ สานักบริหารงานสนับสนุน กองบริหารงานทั่วไป - แผนกธุรการ - แผนกประชาสัมพันธ์ - แผนกรักษาความปลอดภัย กองแผนงาน - แผนกวิจัยและพัฒนาธุรกิจ - แผนกโครงการและประเมินผล - แผนกสารสนเทศ กองการบุคคล - แผนกอัตรากาลัง - แผนกสวัสดิการ กองการเงิน - แผนกการคลัง - แผนกผลประโยชน์ - แผนกตรวจสอบและงบประมาณ - แผนกบัญชี กองนิติการและจัดการทรัพย์สิน - แผนกกฎหมาย - แผนกนิติกรรมและสัญญา - แผนกบริหารสัญญาและจัดการ - ทรัพย์สิน

จานวน

1 1 1

ผู้ใช้โครงการ

บุคลากร

ผู้ใช้หลัก

ผู้ใช้รอง

1 1 1

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

-

1 1 1

4 4 45

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

1 1 1

4 4 4

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

1 1

4 4

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

1 1 1 1

4 4 4 4

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

1 1 1 1

4 4 4 4

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

รวม ตารางที่ 4.4 : รายละเอียดพื้นทีใ่ ช้สอยโครงการ

พื้นที่ ตร.ม. /หน่าย

พื้นที่รวม ตร.ม.

หมายเหตุ

28.00 ตร.ม./1 18.50ตร.ม./1 13.40ตร.ม./1

28 ตร.ม 18.50 ตร.ม. 13.40 ตร.ม.

B,C,D B,C,D B,C,D

13.40 ตร.ม./ 2

26.8 ตร.ม.

B,C,D

67.5 ตร.ม./1 13.40 ตร.ม./ 3

67.5 ตร.ม. 40.2 ตร.ม.

C,D,D B,C,D

13.40 ตร.ม./ 2

26.8 ตร.ม.

B,C,D

13.40 ตร.ม./ 4

53.6 ตร.ม.

B,C,D

13.40 ตร.ม./ 4

53.6 ตร.ม.

B,C,D

328.4 ตร.ม. ที่มา : A = ARCHITECT DATA B =มาตรฐานการออกแบบอาคาร C =ศึกษาจาก อาคารตัวอย่าง D = ศึกษาและวิเคราะห์ E= กฎหมาย

4-16


ผู้ใช้โครงการ พื้นที่ใช้สอยของโครงการ

สานักงานปฏิบต ั กิ าร กองบริการ - แผนกบริการท่า - แผนกสื่อสาร - CCTV กองการช่าง - แผนกช่างโยธา - แผนกช่างไฟฟ้า - แผนกช่างกล กองการท่า - แผนกจัดการท่าเทียบเรือ - แผนกจัดการสินค้า

จานวน

1 1 1 3 1 1 1 1 1 1

บุคลากร

ผู้ใช้หลัก

ผู้ใช้รอง

พื้นที่/หน่าย ตร.ม.

พื้นที่รวม ตร.ม.

หมายเหตุ

12 12 36

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

-

13.40ตร.ม./1 13.40ตร.ม./1 30ตร.ม./1

13.40 ตร.ม. 13.40 ตร.ม. 90.00 ตร.ม.

B,C,D B,C,D B,C,D

12 12 12

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

-

13.40ตร.ม./1 13.40ตร.ม./1 13.40ตร.ม./1

13.40 ตร.ม. 13.40 ตร.ม. 13.40 ตร.ม.

B,C,D B,C,D B,C,D

12 12

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

-

13.40ตร.ม./1 13.40ตร.ม./1

13.40 ตร.ม. 13.40 ตร.ม.

B,C,D B,C,D

รวม

183.8 ตร.ม. ตารางที่ 4.5 : รายละเอียดพื้นทีใ่ ช้สอยโครงการ

ที่มา : A = ARCHITECT DATA, ARCHITECTS’ HANDBOOK B =มาตรฐานการออกแบบอาคาร C =ศึกษาจาก อาคารตัวอย่าง D = ศึกษาและวิเคราะห์ E= กฎหมาย

4-17


4.8 การประมาณงบประมาณโครงการ

คางบประมาณกอสรางอาคาร ขนาดพื้นที่ 37,389 ตารางเมตร ราคาค่าก่อสร้าง 21,400 บาท

800,124,600บาท

ราคาที่ดิน ราคาที่ดินตารางวาละ 9,000 บาท ขนาดที่ดิน 9,438.25 ตารางวา

ค่าตกแต่งเฟอร์นิเจอร์ 20% จาก ราคาค่าก่อสร้าง

84,944,250 บาท

160,024,920 บาท

6

DISCREPANCY COST ค่าดาเนินการ 5% จากราคาค่า ก่อสร้าง

ค่าบริหารโครงการ 2% จากราคา ค่าก่อสร้าง

ค่าความคลาดเลื่อน 8% ของราคา ค่าก่อสร้าง

40,006,230 บาท

16,002,492 บาท

64,009,968 บาท

(ที่มา : ราคาประเมินคากอสรางอาคาร องค์กรสาธารณะประโยชน ประเภท กอสรางอาคารธุรกิจสูงไมเกิน 23 เมตร รายการใชคากอสรางวัสดุราคาสูงสุดของเดือน มี.ค. 61)

1,165,112,460บาท ภาพที่ 4.12 :การประมาณงบประมานโครงการ

4-18


4.9 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง 4.9.1 โครงสร้างช่วงกว้าง (Wide-Span Structure or Long – span Structure) โครงสร้ า งช่ ว งกว้ า ง เป็ น โครงสร้ า งที่ ส ามารถครอบคลุ ม เนื้ อ ที่ ไ ด้ ม าก หรื อ มี ข นาดใหญ่ แ ต่ ต้องการจุดรองรับ เช่น เสา คาน หรือผนังรับน้าหนักเพียงน้อยจุด อาจจะมีช่วงเสายาวกว่า ปกติ ประเภทของโครงสร้างช่วงพาดกว้าง โดยหลักการออกแบบแล้ว โครงสร้างที่มีลักษณะหรือธรรมชาติเป็นโครงสร้างสาหรับช่วงยาว หรือคลุมเนื้อที่ได้กว้าง มีหลายชนิดหรือหลายประเภท โครงถัก (Truss) หรือโครงข้อหมุน คือโครงสร้างที่เกิดจากชิ้นส่วนหลายชิ้นประกอบกันเป็น รูปทรงเราขาคณิต จนกลายเป็นโครงสร้ างที่พ าดระหว่างจุดหนึ่ งไปอี กจุดหนึ่ง เช่น โครงถั ก หลังคาที่พาดระหว่างช่วงเสา 2 ต้น หรือโครงถักสะพานที่พาดระหว่าง 2 ฝั่งแม่น้า เป็นต้น โครง ถักเป็นโครงสร้างที่มีน้าหนักเบา แต่สามารถรับน้าหนักได้มากและมีช่วงวางพาดได้กว้าง จึงช่วย ประหยัดโครงสร้างได้มากพอสมควร รวมถึงสามารถออกแบบรูปทรงให้สวยงามได้หลากหลาย ตามต้องการ

ภาพที่ 4.13 :พื้นที่ภายในอาคารพักผู้โดยสาร

ภาพที่ 4.14 :โครงสร้างเหล็ก

4-19


4.9.2 ระบบโครงสร้างเสาและคาน เหล็ก ใช้คานประกอบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ โดยทั่วไปชิ้นส่วนของโครงสร้าง เหล็กจะทาการเจาะรูหรือตัดแต่งที่โรงงาน (fabrication shop) ให้ได้ขนาดตาม รายละเอียดที่ได้ระบุเอาไว้ใน แบบพิมพ์เขียว เสร็จแล้วจึงเอาชิ้นส่วนโครงสร้าง ดังกล่าวมาประกอบที่หน้างานทาให้เกิดการก่อสร้างเป็นไปด้วยความรวดเร็วและ แม่นยา สาหรับการเลือกใช้ชนิดของเหล็กนั้น เนื่องจากข้อจากัดของที่ตั้งโครงการ เป็นทะเล ทาให้การเลือกเหล็กที่ใช้เป็น เหล็กกล้าไร้สนิมเคลือบด้วยโมลิเดนัม่ (MO) เพื่อยับยั้งการกัดกร่อนที่เกิดจากคลอไรด์ (Cl) ในทะเล คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า “โครงสร้ า ง ค.ส.ล.“

คอนกรี ต มี

ส่วนประกอบหลักคือ ปูนซีเมนต์ หิน กรวดหรือทราย และน้า มีคุณสมบัติในการ ภาพที่ 4.15 : เหล็ก

รับแรงอัดได้ดี แต่รับแรงดึงได้ค่อนข้างต่ามาก เมื่อนาไปทาเป็นโครงสร้างบ้าน จึง ต้องมีการเสริมเหล็ก เพื่อเพิ่มคุณสมบัติในการรับแรงดึง โครงสร้าง ค.ส.ล. เป็นที่ นิยม เนื่องจากสถาปนิกและวิศวกรส่วนใหญ่มีความชานาญในการออกแบบ ช่าง ก่อสร้างส่วนมากถนัดงานคอนกรีต ราคาทั้งค่าของและค่าแรงไม่สูง ให้ความรู้สึก แข็งแรงมั่นคง สามารถหล่อขึ้นรูปได้หลายรูปแบบ

ภาพที่ 4.16 : โครงเหล็ก

4-20


4.9.3 ระบบโครงสร้างพื้น

พื้นแผ่นเหล็กประกอบ (Composite Steel DecK Floor System) หรือที่เรือ กว่า Metal Deck เป็นระบบที่เหมาะสมกับโครงสร้างเหล็ก ประกอบด้วยแผ่นเหล็ก รีดเป็นลอนต่างๆ ซึ่ง ผลิตจากโรงงานมาวางบนคานโดยมีหัวหมุดเหล็ก (Shear stud) ยึดกับคานเหล็กเป็นระยะๆ แล้วเทคอนกรีตด้านบน แผ่นเหล็กนี้จะเป็นทั้งแบบ ธรรมดาและแบบเสริมเหล็กไปในตัว ดังนั้นเหล็กเสริมจะน้อยกว่าแผ่นพื้นระบบอื่นๆ แต่ยังคงต้องเสริมเหล็กในคอนกรีต เพื่อกันการแตกร้าว นอกจากนี้ ท้องแผ่นเหล็ก ใช้เป็นฝ้าเพดาน สาหรับชั้นใต้พื้นนั้นได้ด้วย พื้นชนิดนี้ค่อนข้างเบาและก่อสร้างได้

รวดเร็ว สามารถใช้ทาหลังคาดาดฟ้ารวมถึงพื้นทีเ่ ปียกได้ ส่วนชนิดของคอนกรีตที่ ใช้คือ มารีนคอนกรีต (Marine Concrete) ซึ่งมีความสามารถในการ

ภาพที่ 4.17 :ระบบพื้นแผ่นเหล็กประกอบ

ป้องกันซัลเฟตและคลอไรด์ จากน้าทะเลได้

ภาพที่ 4.18 :พื้นแผ่นเหล็กประกอบ

4-21


4.9.4 ระบบโครงสร้างผนัง ระบบผนังรับน้าหนัก (Bearing Wall) ผนังรับน้าหนักเป็นระบบการก่อสร้างรูปแบบหนึ่งใน หลายๆรูปแบบที่มีใช้กันในปัจจุบัน ระบบผนังรับน้าหนักจะใช้ตัวผนังเป็นทั้งตัวกั้นห้อง และเป็น ชิ้นส่วนที่ใช้รับกาลังในแนวดิง่ ต่างๆที่เกิดขึ้นกับอาคารทั้งแรงลม น้าหนักบรรทุกจร น้าหนัก บรรทุกตายตัว ฯลฯ ความแตกต่างกันนี้ทาให้การออกแบบโครงสร้างต่าง ๆ ตลอดจนขั้นตอน การก่อสร้างมีความแตกต่างกันกับระบบโครงสร้างเสาคานที่พบเห็นกันอยู่ทั่ว ๆไป ระบบผนัง Curtain Wall เป็นระบบที่ยึดหรือแขวนบนผนังกระจกเข้ากับโครงสร้างของ อาคารบริเวณหน้าคานสันนของแผ่นพื้น หรือสันของแผ่นพื้นไร้คาน โดยจะประกอบกระจกเข้า กับโครงเหล็กหรืออะลูมิเนียมซึ่งมีทั้งรูปแบบที่เห็นโครงในแนวตั้ง – นอนทั้งภายในและภายนอก อาคาร และรูปแบบที่ซ่อนโครงไว้ภายอาคารส่วนภายนอกจะเห็นเป็นกระจกประกอบชนกันระบบนี้ นิยมใช้กับผนังภานอกอาคารสูงหรืออาคารที่ผนังกระจกสูงต่อเนื่องหลายชั้น ซึ่งอาจมีบางส่วน เป็นเปลืองอาคารหรือเป็นผนังอาคารซ้อนกันสองชั้นที่ติดตั้งระบบผนังโครงเบาและฉนวนกัน ความร้อนไว้ด้านหลัง ในกรณีที่พื้นที่ส่วนดังกล่าวถูกออกแบบเป็นห้องที่มีผนังทึบ เช่น ห้องน้า ปล่องลิฟต์ ห้องงานระบบต่าง ๆ เป็นต้น

ภาพที่ 4.19 : ระบบผนังรับน้าหนัก

ระบบโครงสร้างผนังกระจก (Structural Class Wall หรือ Class wall ) เป็นผนังกระจกสูง ผืนใหญ่นิยมใช้กับห้องเพดานสูง ห้องโถง โถงบันได โถงลิฟต์ หรืออาคารสาธารณะ ที่มีพื้นที่ ขนาดใหญ่ เช่น ห้างสรรพสินค้า ศูนย์ประชุม ระบบนี้จะประกอบด้วยกระจกและโครงสร้างที่ ช่วยเสริมความแข็งแรงให้กับผนังกระจก ทั้งผืนสามารถตั้งอยู่ได้โดยโครงสร้างดังกล่าวจะมี รูปแบบแล้ววิธีการติดตั้งอยู่ 4 ลักษณะ คือ โครงสร้างเหล็ก (Steel Structure System) โครงสานเหล็กรับแรงดึง (Tension Rod System) โครงสันกระจก (Class Rib System) และโครงเคเบิลขึง (Cable Net System )

ภาพที่ 4.20 : ระบบผนังกระจก

4-22

ภาพที่ 4.21 : การติดตั้งระบบผนังกระจก


4.9.5 ระบบไฟฟ้า หน่วยงานที่รับ ผิดชอบด้ านการผลิตและจ าหน่ ายไฟฟ้า ในปั จจุบั น คื อ การไฟฟ้าฝ่าผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตเป็นผู้ผลิตไฟฟ้าให้การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ไปปจาหน่าย การไฟฟ้านครหลวงจะจาหน่าย ไฟฟ้าให้ กทม. และปริมณฑล ส่วนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจะจาหน่าย ไฟฟ้าให้ต่างจังหวัดของทุกภาคในประเทศ ระบบไฟฟ้ า ในภาคใต้ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ตจะผลิ ต ไฟฟ้ า ที่โรงไฟฟ้ า แล้ ว แปลงแรงดันไฟฟ้าให้สูงถึง 230 กิโลโวลท์ (KV.) แล้วส่งไปตามเมืองต่าง ๆ ที่สถานีไฟฟ้าย่อย ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สถานีไฟฟ้าย่อยจะปรับ ลดแรงดันไฟฟ้าเหลือ 33 กิโลโวลท์ แล้วจ่ายเข้าในตัวเมือง แล้วผู้ใช้ ไฟฟ้าต้องติตั้งหม้อแปลง เพื่อลดแรงดันไฟฟ้าให้เป็นแรงต่า เพื่อนามาใช้ งานต่อไป 1) หม้อแปลงไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าสาหรับแปลงแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้น หรือต่าลง เพื่อให้เหมาะกับงานที่จะใช้ งานบางอ่างต้องการใช้แรงดันสูง เช่น การส่งพลังงานไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้ายังสถานีย่อยต้องใช้หม้อแปลง แรงไฟฟ้าแรงสูง แต่การใช้บ้านเรือนหรือโรงงานต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้า แรงต่ า ซึ่ ง หม้ อ แปลงมี ห ลายชนิ ด หลายขนาด เลื อ กใช้ ต ามความ เหมาะสมของงาน 2) ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า - MDB. ( Main distribution board) เป็นตัวควบคุมระบบไฟฟ้าหลัก มี Main Cricuit Breaker เพื่อตัดต่อวงจรไฟฟ้าทั้งหมดของอาคาร - SDB. ( Sub distribution board) เป็นตัวควบคุมย่อย จ่าย กระแสไฟฟ้าไปตามตู้ PB. หรือ Load Center หลายๆตู้ขึ้นอยู่กับ ขนาด - PB. ( Panel board) หรือ Load Center เป็นแผง Circult breaker ที่ควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ มี หลายขนาดขึ้นอยู่กับจานวนของ Load

3) การต่อลงดิน คือการใช้ตัวนาทางไฟฟ้า ต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้า หรือ บริภัณฑ์ไฟฟ้า ต่อเข้ากับพื้นโลกอย่างมั่นคง ถาวร การต่อลงดินมี วัตถุปประสงค์ เพื่อลดอันตรายที่อาจจะเกิดแก่บุคคล และลดความ เสียหายที่อาจะเกิดกับเครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบไฟฟ้า 4) ระบบป้องกันฟ้าผ่า เป็นระบบที่ต้องมีในระบบไฟฟ้า โดยมาตรฐาน การติดตั้งเป็นตัวบังคับ ประเทศไทยใช้มาตรฐานของ IEC เป็นหลัก ระบบป้องกันฟ้าผ่าจะประกอบด้วย ระบบ้องกันฟ้าผ่าภายนอกอาคาร และระบบป้องกันฟ้าผ่าภายในอาคาร ระบบป้องกันฟ้าผ่ามีวัตถุระสงค์ เพื่อป้องกันความเสียหายต่าง ๆที่จะเกิดขึ้นกับระบบไฟฟ้า และบริภัณฑ์ ต่าง ๆ อันเนื่องมาจากฟ้าผ่า

ภาพที่ 4.22 :ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า

ภาพที่ 4.23 : SDB

ภาพที่ 4.24 : หม้อแปลงไฟฟ้า

4-23


4.9.6 ระบบสุขขาพิบาล ระบบจ่ายน้าลง (DOWNFEED SYSTEM) มีหลักการทางานโดยการสูบน้าขึ้นไปยังถังเก็บน้าที่อยู่บนหลังคาอาคารหรือหอคอย แล้วจ่าย น้าลงมาใช้ภายในอาคารด้วยแรงโน้มถ่วง วิธีนี้นิยมใช้กับอาคารสูงมากกว่า 3 ชั้นขึ้นไป โดย ยิ่งความสูงมากเท่าไหร่น้าจะยิ่งแรงมากขึ้น โดยชั้นล่างน้าจะแรงที่สุด ดังนั้นอาคารที่ใช้การจ่าย น้าระบบนี้ควรมีความสูงไม่เกิน 56 เมตร หรือประมาณ 12 ชั้น เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาแรงดันน้า มากเกินไปที่บริเวณชั้นล่าง หากอาคารมีความสูงเกินกว่านีค ้ วรใช้วาล์วช่วยลดความดันที่ บริเวณท่อแยกตามชั้นต่างๆ ส่วนบริเวณชั้นบนที่อยู่ใกล้ถังเก็บน้ามากเกินไป ก็อาจจะเกิดปัญหาน้าแรงดันของน้าไม่ พอทาให้น้าไหลไม่แรง ดังนั้นระยะความสูงที่เหมาะสมจากถังเก็บน้าที่ชั้นบนสุดของอาคารจึงควร มีระยะอย่างน้อย 10 เมตร หากน้อยกว่านั้นควรมีการติดตั้งปั๊มน้าสาหรับจ่ายน้าบริเวณชั้นบน ที่แรงดันน้าจากถังไม่พอ หรือติดตั้งเครื่องสูบน้ากับถังอัดแรงดัน เพื่อเพิ่มความดันน้าในเส้นท่อ ประปาบริเวณนั้น หรืออาจเลือกใช้เป็นชุดปั๊มน้าอย่างน้อย 2 ชุด โดยชุดแรกจะทาหน้าที่สบ ู น้าขึ้นไปเก็บไว้ บนอาคารและจ่ายน้าลงสู่บริเวณด้านล่าง (ที่มีระยะห่างจากถังเก็บน้าด้านบนอย่างน้อย 10 เมตร) ส่วนบริเวณชั้นบนๆ ที่มีระยะห่างจากถังเก็บน้าน้อยกว่า 10 เมตรนั้น จะรับน้าจากปั๊มน้า ชุดที่ 2 ที่ติดตั้งอยู่ด้านบนเพื่อแก้ปัญหาแรงดันน้าไม่เพียงพอนั่นเอง

ภาพที่ 4.25 : วิธีการทางานของถังเก็บน้า

ภาพที่ 4.26 : ปั๊มน้า

4-24


4.9.7. ระบบป้องกันอัคคีภัย อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยที่จะติดตั้งภายในอาคารประกอบด้วย 1 อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) 2 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector) 3 อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง (Flame Detector) ระบบตรวจจั บ ควั นใช้ ระบบเวสด้า เป็ นระบบตรวจจั บควั นไฟแบบสุ่ มตั ว อย่ า ง อากาศ ทางานได้มากกว่าระบบตรวจจับควันแบบธรรมดา ใช้หลักการที่ว่าเมื่อเริ่ม เกิดเพลิงไหม้ จะเกิดการสลายตัวของวัตถุ เนื่องจากควาร้อน ส่งผลให้เกิดอนุภาค เล็ก ๆจานวนมากเล็กกว่า 1 ไมครอน ซึ่งระบบเวสด้าจะตรวจจับอนุภาคเล็กพวกนี้ รูปแบบการติดตั้งระบบอัคคีภัย - ใช้ระบบ ระบบที่สามารถระบุตาแหน่งได้ (Addressible System) - ใช้ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบฉีดน้าฝอย

ภาพที่ 4.27 : อุปกรณ์ตรวจจับควัน

4-25


4.9.8. ระบบปรับอากาศ ระบบปรับอากาศที่ใช้โดยทั่วไปมี 3 ระบบ 1. ระบบ Central System จะนาใช้ส่วนทีต ่ ้องการครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่ 2. ระบบ Split Type นาไปใช้ส่วนสานักงานและหอพัก เพราะการใช้งานในแต่ละห้องมีเวลาไม่แน่นอน เครื่องปรับอากาศชนิดนี้จึงเหมาะสมเพราะทางานเป็นส่วนๆ เปิดเครื่องที่จุดใดก็จะปรับอุณหภูมิเฉพาะ ห้อง เครื่องปรับอากาศชนิดนี้จะระบายความร้อนด้วยอากาศ (Air cooled) เครื่องปรับอากาศ 1 ชุด จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ - เครื่องเป่าลมเย็น (Fan Coif Unit) - เครื่องระบายความร้อนอากาศ (Air condensing Unit) 3. ระบบ Duct ในงานระบบปรับอากาศและระบายอากาศนี้ ท่อลมมีส่วนสาคัญอย่างมากในระบบนี้ เพราะท่อลมเป็นตัวนาอากาศไปจ่าในส่วนต่าง ๆของอาคารตามที่เราต้องการ และสามารถควบคุม ความเร็วและปริมาณอากาศได้ด้วยที่เราเห็นๆกันอยู่ในงานก่อสร้างและติดตั้งงานระบบประกอบอาคาร มีการจาแนกแจกจ่ายประเภทของท่อลมออกเป็นหลายประเภท แต่วันนี้ผมจะมาจาแนกท่อลมออกตาม ลักษณะอากาศในท่อว่าเป็นอากาศแบบไหน ได้ดังนี้ - Supply air duct ท่อจ่ายลมเย็น เป็นท่อท่าอากาศเย็นจากคอยล์เย็นไปจ่ายตามส่วนต่าง ๆ ของ อาคาร ไม่ว่าจะเป็น ห้องนอนในบ้านพักอาศัย โถงต้อนรับในโรงแรม ห้องประชุมในสานักงาน เพื่อลด อุณหภูมิบริเวณนั้น ๆ ทาจากแผ่นเหล็กอาบสังกะสีพับขึ้นรูปและหุ้มด้วยฉนวนใยแก้ว

ภาพที่ 4.28 : Split Type

- Return air duct ท่อดึงลมกลับ มีลักษณะภายนอกเหมือนกับท่อจ่ายลมเย็นทุกประการ แตกต่างเพียงหน้าที่ที่ดด ู ดอากาศทีจ่ ่ายออกไปด้วยท่อจ่ายลมเย็นทีแ่ ลกเปลี่ยนความร้อนกับ อากาศและมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น กลับมาที่คลอยล์เย็น เพื่อมาแลกเปลี่ยนความร้อนที่ผิวท่อของ คลอยล์เย็นและอุณหภูมิลดลงและส่งไปจ่ายในห้องด้วยท่อจ่ายลมเย็นอีกครั้ง - Exhaust air duct ท่อระบายอากาศ ทาหน้าที่ระบายอากาศภายในอาคารออกมมา ปล่อยทิ้งนอกอาคารดูอากาศจากห้องน้าหรือห้องอื่น ๆได้ - Fresh air duct ท่อลมเติมอากาศ ทาหน้าที่เติมอากาศให้กับห้องนั้นไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ ที่มี เครื่องปรับอากาศหรือไม่ก็ตาม เมื่อมีการระบายอากาศออกไปนอกอาคารก็ต้องมีการเติม อากาศเข้าไปเพื่อให้เป็นการระบายอากาศที่ถกู ต้องไม่ควรติดตั้งช่องดูดอากาศอยู่ใกล้กับช่อง ระบายอากาศ เพราะอาจจะดูดอากาศเสียทีพ ่ ึ่งปล่อยออกนอกอาคารเข้าอีก ท่อเติมอากาศ มักไม่หุ้มฉนวน

ภาพที่ 4.29 : Central System

4-26


4.9.9. ระบบขนส่งภายใน ระบบบันได บันไดของอาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วย สานักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน และอาคารพิเศษสาหรับที่ใช้กับชั้นที่มีพื้นที่ อาคารชั้นเหนือขึ้นไป รวมกันไม่เกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร แต่สาหรับบันไดของอาคารดังกล่าวที่ใช้กับชั้นที่มีพื้นที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไป รวมกันเกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิ ไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ถ้าความ กว้างสุทธิของบันไดน้อยกว่า 1.50 เมตร ต้องมีบันไดอย่างน้อย 2 บันไดและแต่ละบันได ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร ระบบทางลาด ใช้สาหรับ - บุคคลที่นั่งรถเข็น - เส้นทางบริการ ขนส่งสินค้า อุปกรณ์ที่ต้องใช้รถเข็น ระบบลิฟท์ ตู้ควบคุมทางานลิฟท์ แบบ micro computer controller สามารถควบคุมการหยุดรับได้ทุกชั้น

ภาพที่ 4.30 : ระบบลิฟท์

ภาพที่ 4.31 : ทางลาดคนพิการ

4-27


4.9.10. ระบบสายพานขนส่ง สายพานหลากหลายประเภทได้แก่ สายพานโซ่สาหรับสินค้าที่มีน้าหนักมาก สายพานแบบล้อหมุนสาหรับกล่อง สายพานสาหรับการรวบรวมและ สายพานลาเลียงแบบเอียง ผลิตภัณฑ์ของเราสามารถปรับให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะตัวและความต้องการการติดตัง้ ตามการทางานของลูกค้าได้อย่างลงตัว สายพานส่วนต่าง ๆ จะประกอบรวมกัน เป็นระบบขนส่งที่ดีที่สุดโดยการผสานรวมกันระหว่างการจัดเก็บแบบอัตโนมัตแิ ละอุปกรณ์ทางานภายในระบบ เช่น อุปกรณ์สาหรับการคัดแยกและหยิบจับ

ภาพที่ 4.32 : ระบบสายพานขนส่ง

ภาพที่ 4.33 : ระบบสายพานขนส่ง

4-28

ภาพที่ 4.34 :ระบบสายพานขนส่ง


ข้อมูลเว็บไซต์ มติชนออนไลน์.(2560).ล่องเรือสาราญ ทางเลือกนักเดินทาง อนาคตการท่องเที่ยวไทย. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน, 2561, จากเว็บไซต์ : www.matichon.co.th admissionpremium.(2561). สถานการณ์ของอุตสาหกรรมเรือสาราญทั่วโลก. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน, 2561, จากเว็บไซต์ : www.admissionpremium.com โพสต์ทูเดย์.(2560). เที่ยวเรือสาราญโตคอสตาครุยส์ลุยไทย. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน, 2561, จากเว็บไซต์ www.posttoday.com jhbrende.(2560). โปรแกรมล่องเรือสาราญ. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน, 2561, จากเว็บไซต์ www.jhbrende.com oknation.nationtv.(2558). Yacht and Marina Hub of ASEAN. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน, 2561, จากเว็บไซต์ www.oknation.nationtv.tv consmag.(2560). หนุนท่องเที่ยวทางทะเลพัฒนา-สร้างท่าเรือ Cruise ขนาดใหญ่ กรุงเทพฯ แหลมฉบัง ภูเก็ต กระบี่ สมุย. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน, 2561, จากเว็บไซต์ www.consmag.com consmag.(2560). หนุนท่องเที่ยวทางทะเลพัฒนา-สร้างท่าเรือ Cruise ขนาดใหญ่ กรุงเทพฯ แหลมฉบัง ภูเก็ต กระบี่ สมุย. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน, 2561, จากเว็บไซต์ www.consmag.com

ท่าเรือแหลมฉบัง.(2561). ข้อมูลทั่วไป. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน, 2561, จากเว็บไซต์ www.laemchabangportnew.com Arch daily.(2012). Shanghai Terminal.สืบค้นเมื่อสิงหาคม, 2561, จากเว็บไซต์ www.archdaily.com shorebee.(2014). The cruise port of Lisbon Cruise ship pier location in Lisbon. สืบค้นเมื่อสิงหาคม, 2561, จากเว็บไซต์ shorebee.com archilovers.(2010). Lisbon Cruise Terminal. สืบค้นเมื่อสิงหาคม, 2561, จากเว็บไซต์ www.archilovers.com

บรรณานุกรม



PORTS

INTRENATIONAL LEAM CHABANG ARCH THESIS RMUTT 2018


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.