หมอเป่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น

Page 1


ทีม่ าและความสาคัญ หมอเป่ า เป็ นกลุ่มหมอพื้นบ้านที่มีบทบาทต่อสังคมของคนในชนบท การเป่ า เป็ นวิธีการรักษาของหมอ พื้นบ้าน รักษาอาการเจ็บป่ วยโดยใช้ เวทมนตร์ คาถาเป่ าไปตามร่ างกายผูป้ ่ วย บางครั้งอาจจะใช้สมุนไพรใน การรักษาด้วย หมอเป่ าจะได้รับการถ่ายทอดความรู ้จากบรรพบุรุษ เช่น ปู่ ตา พ่อ หรื อจากครู ที่สืบทอดกันมา หมอเป่ าเปรี ยบเสมือนแพทย์ที่พอจะรักษาอาการเจ็บไข้ได้ป่วยให้ผปู ้ ่ วยได้ การคิดค่ารักษาอาจเป็ น ค่าตอบแทนเล็กน้อยเพื่อเป็ นสิ นน้ าใจ หรื อถ้าผูป้ ่ วยไม่มีเงินอาจรักษาให้ฟรี และเมื่อผูป้ ่ วยหายจากการ เจ็บป่ วยก็จะจัดเตรี ยมของกินของใช้หรื อเงินเพื่อนาไปตอบแทนท่าน โดย ผูศ้ ึกษาจะเก็บข้อมูลเฉพาะใน เขตบ้านแร่ ตาบลบ้านแร่ อาเภอเขวาสิ นริ นทร์ จังหวัดสุ รินทร์

วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาองค์ความรู้ดา้ นการรักษาโรคของหมอเป่ า 2. เพื่อศึกษาทัศนคติของคนในชุมชนต่อความเชื่ อเรื่ องการรักษาโรคของหมอเป่ าและผลจากความเชื่อต่อ การดาเนินชีวติ

ขอบเขตของการศึกษา ศึกษารวบรวมองค์ความรู ้ของหมอเป่ าในเขตบ้านแร่ ตาบลบ้านแร่ อาเภอเขวาสิ นริ นทร์ จังหวัด สุ รินทร์ ในด้านประเภทของการเป่ า วิธีการรักษา ค่ารักษาหรื อค่าตอบแทน การถ่ายทอดองค์ความรู ้ บทบาท หมอเป่ าต่อคนในสังคม ความเชื่อเรื่ องหมอเป่ าของคนในสังคมและแนวโน้มของอาชี พหมอเป่ าในอนาคต เพื่อรวบรวมภูมิปัญญาของหมอเป่ า


วิธีดาเนินงาน วางแผนขั้นตอนการทาโครงการ เลือกหัวข้อโครงการ เสนอโครงการ ลงพื้นที่เก็บข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูลและรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม รายงานผลโครงการ รวมรู ปเล่ม

ผลการศึกษา ข้ อมูลทัว่ ไปสถานทีท่ ที่ าการศึกษา จากการเก็บข้อมูล ทางคณะผูจ้ ดั ทาได้เลือกพื้นที่ทาการศึกษา บ้านแร่ หมู่ที่ ๑ ตาบล บ้านแร่ อาเภอ เขวาสิ นริ นทร์ จังหวัดสุรินทร์ และได้ขอ้ มูลผลการศึกษาดังต่อไปนี้ ข้ อมูลพืน้ ฐานบ้ านแร่ ในสมัยก่อน บ้านแร่ ข้ นึ ต่อตาบลเขวาสิ นริ นทร์ อาเภอเมืองสุรินทร์ ซึ่งท้องที่อาเภอเขวาสิ นริ นทร์ เดิมทั้งหมดเป็ นส่วนหนึ่งของอาเภอเมืองสุรินทร์ทางราชการได้แบ่งพื้นที่การปกครองออกมาตั้งเป็ น กิ่งอาเภอเขวา- สิ นริ นทร์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยมีผลบังคับตั้งแต่วนั ที่ ๑๕กรกฎาคม ปี เดียวกัน เมื่อตาบลเขวาสิ นริ นทร์ ได้เลื่อนฐานะให้เป็ นกิ่งอาเภอเขวาสิ นริ นทร์แล้ว บ้านแร่ จึงได้ยกฐานะเป็ นตาบลบ้านแร่ ตั้งแต่น้ นั มา ต่อมาในวันที่ ๒๔ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็ น อาเภอเขวาสิ นริ นทร์ โดยมีผล บังคับตั้งแต่วนั ที่ ๘ กันยายน ปี เดียวกัน ปั จจุบนั นี้บา้ นแร่ ข้ ึนตรงต่อ อาเภอเขวา- สิ นริ นทร์ จังหวัดสุรินทร์


ทีต่ งั้ องค์การบริ หารส่วนตาบลบ้านแร่ เป็ นหนึ่งในจานวน ๕ ตาบล ของอาเภอเขวาสิ นริ นทร์ อยูห่ ่างจากที่วา่ การอาเภอเขวาสิ นริ นทร์ ไปทางทิศใต้ ระยะทางประมาณ ๔ กิโลเมตร และอยูห่ ่างจากอาเภอเมืองไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ ๑๕ กิโลเมตร โดยมีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ จรด ตาบลเขวาสิ นริ นทร์ อาเภอเขวาสิ นริ นทร์ จังหวัดสุรินทร์ ทิศใต้ จรด ตาบลแสลงพันธ์ ตาบลบุฤาษี อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันออก จรด ตาบลปราสาททอง อาเภอเขวาสิ นริ นทร์ จังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันตก จรด ตาบลแกใหญ่ ตาบลนาดี อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เนื้อที่ องค์การบริ หารส่วนตาบลบ้านแร่ มีพ้นื ที่ประมาณ ๓๗.๗๗๔ ตร.กม. หรื อประมาณ ๒๓,๖๐๙.๓๗๕ ไร่


ระบบการแพทย์แผนไทย 1. การแพทย์แผนไทย 2. การแพทย์พนื้ บ้ าน สามารถแบ่งสาเหตุของความเจ็บป่ วย ออกเป็ น 2 ระบบ ได้แก่ 1) การเจ็บป่ วยที่เกิดจากสิ่ งเหนือธรรมชาติ - การเจ็บป่ วยที่เกิดจากการกระทาของผี - การเจ็บป่ วยที่เกิดจากกรรมหรื อกฎแห่งกรรม - การเจ็บป่ วยที่เกิดจากไสยศาสตร์ เวทมนต์ - การเจ็บป่ วยที่เกิดจากวิถีโคจรและตาแหน่งของดวงดาว - การเจ็บป่ วยเนื่องจากการละเมิดประเพณี ของสังคม 2) เจ็บป่ วยที่เกิดจากธรรมชาติ หมอพืน้ บ้ านอีสานสามารถจาแนกตามลักษณะของการรักษาอันเนื่องมาจากสาเหตุของโรค (etiology) แบ่ งได้ เป็ น 3 ชนิด 1. หมอที่รักษาผูป้ ่ วยอันเนื่องมาจากสาเหตุของโรคที่เป็ น “ธรรมชาติ” หรื อเนื่องมาจาก “พยาธิ” และ ความผิดปกติของธาตุท้ งั สี่ 2. หมอที่รักษาด้วยพิธีกรรม/สาเหตุของโรคเนื่องจากสิ่ งที่เหนือธรรมชาติ โรคเหนื อธรรมชาติ 3. หมอตาแย


1. หมอที่รักษาผู้ป่วยอันเนื่องมาจากสาเหตุของโรคทีเ่ ป็ น “ธรรมชาติ” หรือเนื่องมาจาก “พยาธิ” และ

ความผิดปกติของธาตุท้งั สี่ ได้แก่ 1.1 หมอยาฮากไม้ 1.2 หมอเป่ า 1.3 หมอน้ ามนตร์ 1.4 หมอเอ็น 2. หมอที่รักษาด้ วยพิธีกรรม/สาเหตุของโรคเนื่องจากสิ่ งทีเ่ หนือธรรมชาติ โรคเหนือธรรมชาติ 2.1 หมอพระ 2.2 หมอลาผีทรง 2.3 หมอธรรม 2.4 หมอพรหรื อหมอสู่ ขวัญหรื อพาม (พราหมณ์)

3. หมอตาแย แนวคิด ทฤษฎีและความเชื่อในการบาบัดโรคด้ วยการเป่ า 2.1 หมอเป่ ามีความเชื่อว่าโรคบางอย่างที่ทาการบาบัดเกิดจากพิษ 2.2 ผูป้ ่ วยที่ได้รับอุบตั ิเหตุบางอย่างที่มีการกระทบกระเทือนของร่ างกายอย่างแรง 2.3 เชื่อว่าอาการเจ็บป่ วยบางอย่างของผูป้ ่ วย มีความสัมพันธ์กบั ความเป็ นมากับชาติ

ปางก่อน

2.4 การเจ็บป่ วยเล็กน้อยหรื อโรคบางอย่างสามารถบาบัดด้วยการเป่ าคาถาก็หาย แต่โรคที่มีอาการ รุ นแรงต้องอาศัยทั้งคาถายาสมุนไพร พร้อมทั้งข้อปฏิบตั ิต่างๆ 2.5 การเป็ นหมอเป่ าจะต้องมีขอ้ ห้าม ซึ่ งต้องปฏิบตั ิตามอย่างเคร่ งครัด


โรคทีห่ มอเป่าทาการบาบัดรักษา 1. เป็ นกางหรื อปากเปื่ อย 2. กาเริ ด 3. ปะดง

4. ไข้หมากไม้

5. คอโพง

6. ฝี ลมในลาไส้

7. ฝี หวั เอี่ยน

8. เลือดคอออก

9. ฝี เต่าตับ

10. เป็ นผ่า

11. พุพอง

12. งูสวัด (หวัด)

13. เสี ยเป็ นพิษ ถูกไฟไหม้ น้ าร้อนลวกปะดง

องค์ประกอบในการรักษาผูป้ ว่ ยของหมอเป่า 5.1 รู ปแบบการบาบัดรักษาของหมอเป่ า 5.2 การบูชาครู คายหรือเครื่ องบูชาคุณ 5.3 ขะลาหรือข้ อห้ ามปฏิบัติ 5.4 คาถา


ขัน้ ตอนการบาบัดโรคของหมอเป่า 1. เป่ าลมหรื อเป่ าด้วยคาถา เป็ นการเป่ าโดยที่หมอเป่ าไม่เคี้ยวอะไร หมอจะท่องคาถาแล้วก็เป่ า เช่น การเป่ าผูป้ ่ วยปวดหัว 2. เป่ าด้วยน้ าหรื อเหล้า หมอเป่ าจะท่องคาถาแล้วเป่ าลงน้ าหรื อเหล้า หรื อจะจุดเทียนทาเป็ นน้ ามนต์ แล้วอมน้ านั้นเป่ าผูป้ ่ วย เช่น เป่ าผูป้ ่ วยเป็ นกาเริ ด 3. เป่ าด้วยการเคี้ยวหมากหรื อสมุนไพร หมอเป่ าจะเคี้ยวหมากหรื อเคี้ยวสมุนไพร พร้อมท่องคาถา แล้วเป่ าบริ เวณที่ผปู ้ ่ วยมีอาการ เช่น เป่ าฝี คางไข่งูสวัด หรื อโรคผิวหนังชนิดต่างๆ

แหล่งทีม่ าขององค์ความรู้ 1. ได้รับการถ่ายทอดจากครู เป่ า โดยครู (พระอุปัชฌาย์) เห็นว่าเป็ นคนมีความประพฤติดี มีศีลธรรม ไม่เอาอบายมุข จึงให้วชิ าไว้ดูแลตนเองและช่วยเหลือผูอ้ ื่นตามสมควร 2. ได้รับการถ่ายทอดจากญาติ โดยความตั้งใจของญาติหรื อบรรพบุรุษที่จะให้สืบทอด เพราะเห็นว่า เป็ นคนดี ประพฤติตนอยูใ่ นศีลในธรรม เหมาะที่จะสื บทอดวิชาของบรรพบุรุษ เพื่อปกป้ องตนเอง คนในครอบครัว ตลอดจนช่วยเหลือผูอ้ ื่น


การถ่ายทอดองค์ความรู้ 1. คุณสมบัติของผูท้ ี่จะสื บทอด นอกจากเป็ นผูท้ ี่มีความตั้งใจจริ งที่จะศึกษาแล้ว ยังต้องเป็ นผูท้ ี่มี คุณธรรม มีความประพฤติดี เป็ นคนซื่ อตรง มีศีลธรรม ไม่โกหก ไม่เห็นแก่ได้ ไม่หมิ่นประมาทและ มีความศรัทธาในเรื่ องที่จะเรี ยน นอกจากนี้ ตอ้ งเป็ นคนที่มีไหวพริ บ และมีการรู ้จกั ประยุกต์ได้ดี 2. พิธีกรรม ต้องเรี ยนโดยไม่ตอ้ งจดคาถา ครู จะท่องคาถาให้ฟังแล้วจาเองยิง่ จาได้ไวได้รวดเร็ วยิง่ ดี 3. การยกครู คายเรี ยนซึ่ งแตกต่างกัน ตามแต่ครู อาจารย์ 4. ฤกษ์ยาม เชื่อว่าถ้าได้เรี ยนในช่วงเวลาที่เหมาะสมจะทาให้เป็ นหมอเป่ าที่เก่ง จะดีสาหรับหมอ 5. การลองของ ในการเรี ยนวิชาเป่ าบางอย่างต้องมีการลองของจึงจะดี โดยหลังจากที่มีการเริ่ มเรี ยน จะมีการลองของ มีเหตุการณ์ที่ตอ้ งให้ได้ใช้ความรู ้ที่เรี ยนมา ทาให้รู้วา่ เป็ นหมอเป่ าได้ ซึ่ งอาจเกิด กับตัวหมอเป่ าเอง คนในครอบครัว ญาติพี่นอ้ ง หรื อแม้แต่สัตว์เลี้ยงในบ้าน


แหล่งทีม่ าของสมุนไพรทีห่ มอเป่าใช้ 1. หมุนไพรที่สามารถหาได้จากป่ ารอบหมู่บา้ น มีท้ งั ป่ าเต็งรัง ป่ าละเมาะ ป่ าบุ่ง ป่ าทาม หรื อที่เกิด เองตามทุ่งนา เช่น เครื ออีเฒ่า ขมิ้นป่ า จิก คูน สะเดา พะยอม สะแบง ระย่อม พังชี หว้า กาฝาก มะม่วง ผักแว่นโคก ขี้เหล็ก ไมยราบ เป็ นต้น 2. สมุนไพรที่ปลูกไว้เอง ปลูกในบริ เวณบ้าน บริ เวณวัด สวน ไร่ นา เช่น พลู หมาก ผักอีเริ ด หมาก เยาหมากเยาแดง มะม่วง ฝรั่ง หม่อน บอน ป่ าน ย่านาง ยาสู บ มะพร้าว ว่านไฟ หมาน้อย มะขาม ส้มป่ อย แมงลัก เป็ นต้น 3. สมุนไพรที่ซ้ื อหามา เช่น จันทน์แดง จันทน์ขาว จันทน์เหลือง งา เป็ นต้น

ความเชือ่ ของคนในชุมชนต่อเรือ่ งการเป่า 1. เชื่อในหมอเป่ า ว่าสามารถรักษาอาการเจ็บป่ วยได้จริ ง 2. ไม่เชื่อในเรื่ องการรักษาโรคโดยการเป่ ามนตร์ วา่ จะสามารถรักษาโรคหรื ออาการเจ็บป่ วยต่างๆ ได้ 3. เชื่อในบางส่ วนไม่ใช่ท้ งั หมด กล่าวคือ เชื่ อว่าการเป่ ามนตร์ สามารถรักษาโรคได้เพียงบางโรค เท่านั้นไม่ใช่ทุกโรค


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.