nueng

Page 1

วัตถุประสงค์ ของกฎบัตรอาเซียน

วัตถุประสงค์ อของกฎบัตรอาเซียน คือ ทำให้ อาเซียน เป็ นองค์ กรที่มีประสิ ทธิ กาพมีประชาชนเป็ นศู นย์ กลางและ เคารพกฎกติ ก าในการทำงานมากขึ้ น นอกจากนี้ ก ฎบั ต ร อาเซียนจะให้ สถานะนิติบุคคลแก่ อาเซียนเป็ นองค์ กรระหว่ าง รัฐบาล (intergovernmental organization)

AEC

Asean Economic กฎบัตรอาเซียน(ASEANCHARTER) หรือธรรมนูญอาเซียน

กฎบัตรอาเซี ยนเปรี ยบเสมือนรั ฐธรรมนู ญของอาเซี ยน ที่จะทำให้ อาเซี ยนมีสถานะเป็ นนิติบุคคลเป็ นการวางกรอบทางก ฎหมายและโครงสร้ างองค์ กรให้ กับอาเซี ยนโดยนอกจากจะประ มวลสิ่ ง ที่ ถื อ เป็ นค่ า นิ ย มหลั ก การและแนวปฏิ บั ติ ใ นอดี ต ของ อาเซี ย นมาประกอบกั น เป็ นข้ อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งเป็ นทางการของ ประเทศสมาชิกแล้ วยังมีการปรับปรุ งแก้ ไขและสร้ างกลไกใหม่ ขึน้ พร้ อมกำหนดขอบเขตหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิด ชอบขององค์ ก รที่ ส ำ คั ญ ในอาเชี ย นตลอดจนความสั ม พั น ธ์ ใ นการดำเนิ น งานของ องค์ กรเหล่ านี้ ให้ สอดคล้ องกับความเปลีย่ นแปลงในโลก ปัจจุบัน เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ทธิ ภ าพของอาเซี ย นให้ สามารถดำเนิ น การ บรรลุตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายโดยเฉพาะอย่ างยิ่งการขับ เคลือ่ นการรวมตัวของประชาคมอาเซียน ให้ ได้ ภายในปี พ.ศ.2558 ตามทีผ่ ้ ูนำอาเซียนได้ ตกลงกันไว้

COMMUNITY ความสำคัญของกฎบัตรอาเซียนต่ อประเทศไทย

กฎบั ต รอาเซี ย นให้ ความสำคั ญ กั บ การปฏิ บั ติ ต าม พั น ธกรณี ต่ า งๆของประเทศสมาชิ ก ซึ่ ง จะช่ วยสร้ างเสริ ม หลั กประกัน ให้ กับ ไทยว่ า จะสามารถได้ รั บ ผลประโยชน์ ต ามที่ ต ก ลงกั น ไว้ อ ย่ า งเต็ ม เม็ ด เต็ ม หน่ ว ยนอกจากนี้ ก ารปรั บ ปรุ ง การ ดำเนิ น งานและโครงสร้ างองค์ ก รของอาเซี ย นให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากขึน้ และการเสริมสร้ างความร่ วมมือในทั้ง 3 เสาหลัก ของประชาคมอาเซี ย นจะเป็ นฐานสำคั ญ ที่ จ ะทำให้ อาเซี ย น สามารถตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการและผลประโยชน์ ข องรั ฐ สมาชิก รวมทั้งยกสถานะและอำนาจต่ อรอง และภาพลักษณ์ ของ ประเทศสมาชิกในเวทีระหว่ างประเทศได้ ดยี งิ่ ขึน้ ซึ่งจะเอือ้ ให้ ไทย สามารถผลักดันและได้ รับผลประโยชน์ ด้านต่ างๆ เพิม่ มากขึน้ ด้ วย


ประวัติ AEC เป็ นการพั ฒ นามาจากการเป็ นสมาคมประชาชาติ แห่ งเอเชียตะวันออกเฉียงใต(The Association of South East Asian Nations : ASEAN) ก่ อตั้งขึน้ ตามปฏิญญากรุ งเทพฯ (Bangkok Declaration) เมือ่ 8 สิ งหาคม 2510 โดยมีประเทศผู้ก่อตั้งแรกเริ่ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ และไทย ต่ อมาในปี 2527 บรู ไน ก็ได้ เข้ าเป็ นสมาชิกตามด้ วย 2538 เวียดนาม ก็เข้ าร่ วมเป็ นสมาชิก ต่ อมา 2540 ลาวและพม่ า เข้ าร่ วม และปี 2542 กัมพูชา ก็ได้ เข้ าร่ วมเป็ นสมาชิกลำดับที1่ 0 ทำให้ ปัจจุบันอาเซี ยนเป็ นกลุ่มเศรษฐกิจภูมิภาคขนาดใหญ่ มีประชากร รวมกันเกือบ 500 ล้ านคน จากนั้นในการประชุ มสุ ดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ทีอ่ น ิ โดนีเซีย เมือ่ 7 ต.ค. 2546 ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนได้ ตกลง กันทีจ่ ะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบด้ วย3 เสาหลัก คือ 1.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community:AEC) 2.ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรมอาเซียน (SocioCultural Pillar) 3.ประชาคมความมัน ่ คงอาเซียน (Political and Security Pillar)

คำขวัญของอาเซียน คือ “ One Vision, One Identity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม เดิมกำหนดเป้าหมายทีจ่ ะตั้งขึน้ ในปี 2563 แต่ ต่อมาได้ ตกลงกันเลือ่ นกำหนดให้ เร็วขึน้ เป็ นปี 2558 และก้ าวสำคัญต่ อ มาคือการจัดทำปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งมีผล ใช้ บังคับแล้ วตั้งแต่ เดือนธันวาคม ปี 2552 นับเป็ นการยกระดั บความร่ วมมือของอาเซียนเข้ าสู่ มิติใหม่ ในการสร้ างประชาค ม โดยมีพน ื้ ฐานทีแ่ ข็งแกร่ งทางกฎหมายและมีองค์ กรรองรับ การดำเนินการเข้ าสู่ เป้าหมายดังกล่ าวภายในปี 2558

ปัจจุบันประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 ประเทศได้ แก่ ไทย พม่ า มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ เวียดนาม ลาว กัมพูชา บรู ไน สำหรั บ เสาหลัก การจั ด ตั้ ง ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community หรือ AEC )ภายในปี 2558 เพือ่ ให้ อาเซียนมีการเคลือ่ นย้ ายสิ นค้ า บริการ การลงทุน แรงงานฝี มือ อย่ างเสรี และเงินทุนทีเ่ สรีขน ึ้ ต่ อมาในปี 2550 อาเซี ย นได้ จั ด ทำพิ ม พ์ เ ขี ย วเพื่ อ จั ด ตั้ ง ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน (AEC Blueprint) เป็ นแผนบูรณาการงานด้ านเศรษฐ กิจให้ เห็นภาพรวมในการมุ่งไปสู่ AEC ซึ่งประกอบด้ วยแผน งานเศรษฐกิจในด้ าน ต่ าง ๆ พร้ อมกรอบระยะเวลาทีช่ ัดเจนใน การดำเนินมาตรการต่ าง ๆ จนบรรลุเป้าหมายในปี 2558 รวม ทั้งการให้ ความยืดหยุ่นตามที่ประเทศสมาชิ กได้ ตกลงกันล่ วง หน้ าในอนาคตAECจะเป็ นอาเซียน+3 โดยจะเพิม่ ประเทศ จีน เกาหลีใต้ และญีป่ ุ่ น เข้ ามาอยู่ด้วย และต่ อไปก็จะมีการเจรจา อาเซียน+6 จะมีประเทศ จีน เกาหลีใต้ ญีป่ ุ่ น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และ อินเดียต่ อไป

AEC BLUEPRINT

สำหรั บ เสาหลั ก การจั ด ตั้ ง ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community หรือ AEC )ภายในปี 2558 เพือ่ ให้ อาเซียนมีการเคลือ่ นย้ ายสิ นค้ า บริการ การลงทุนแรงงานฝี มือ อย่ างเสรี แ ละเงิ น ทุ น ที่ เ สรี ขึ้ น ต่ อมาในปี 255อาเซี ย นไดจั ด ทำพิ ม พ์ เ ขี ย วเพื่ อ จั ด ตั้ ง ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น(AEC Blueprint)เป็ นแผนบู ร ณาการงานด้ า นเศรษฐกิ จ ให้ เ ห็ น ภาพ รวมในการมุ่ ง ไปสู่ AECซึ่ ง ประกอบด้ ว ยแผนงานเศรษฐกิจ ใน ด้ านต่ างๆพร้ อมกรอบระยะเวลาที่ ชั ดเจนในการดำเนิ น มาตรการต่ าง ๆ จนบรรลุเป้าหมายในปี 2558 รวมทั้งการให้ ความ ยืดหยุ่นตามที่ประเทศสมาชิ กได้ ตกลงกันล่ วงหน้ าเพือ่ สร้ างพันธ สั ญญาระหว่ างประเทศสมาชิกอาเซียน อาเซี ย นได้ ก ำหนดยุ ท ธศาสตร์ การก้ า วไปสู่ ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ทีส่ าคัญดังนี้ 1. การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน 2.การเป็ นภูมภิ าคทีม่ ขี ดี ความสามารถในการแข่ งขันสู ง 3. การเป็ นภูมภิ าคทีม่ กี ารพัฒนาทางเศรษฐกิจทีเ่ ท่ าเทียมกั น และ 4. การเป็ นภูมภิ าคทีม่ กี ารบูรณาการเข้ ากับเศรษฐกิจโลก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.