The Galaxy

Page 1

The Galaxy The Milky Way

ความลี้ลับแห่งดาราจักร ที่มนุษย์เรีกว่า “บ้าน“

กาแล็กซี่เพื่อนบ้าน Andromeda Galaxy The Large Magellanic Cloud The Small Magellanic Cloud Traingulum Galaxy The impending birth of our supergalaxy. สิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับกาเเล็กซีของเรา การชนกับของกาแล็กซีทางช้างเผือก กับกาแล็กซี่เพื่อนบ้านในอีก 4,000 ล้านปีข้างหน้า

Stars of the future with energy. ดวงดาวกับพลังงานแห่งอนาคต



NGC 7023: The Iris Nebula Image Credit & Copyright: Tony Hallas


The Antennae


Light Echoes from V838 Mon Image Credit: NASA, ESA, H. E. Bond (STScI)


CONTENRS 1

The Galaxy you know it?.

3

TheGalaxy

5

Do you Knoe it? The Secret of the Milky Way. ปริศณามากมายเกี่ยวกับทางช้างเผือก

9

Comes know with neihboring galaxies?.

17

ASTROARTICLE Star of the future witgh energy. ดวงดาวกับพลังงานแห่งอนาคต

19

The Impending birht of our supergalaxy. สิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับกาแล็กซี่ของเรา การชนกันของการแล็กซี่ช้างเผือกกับ กาแล็กซี่เพื่อนบ้านในอีก 4,000 ล้านปีข้างหน้า

23

Top 10 most beautiful and interesting in the universe.

26

Milky Way Galaxy

3

17

Reader galaxy

19 23


NGC 2736: The Pencil Nebula Image Credit & Copyright: Martin Pugh


The GalaxY

You Know it?

ดาราจักร (กาแล็คซี - galaxy) เป็นที่รวมของดาว กระจุกดาว เนบิวลา (nebula) ฝุ่น ก๊าซ และที่ว่าง และระ บบสุริยะจะอยู่ในดาราจักรทางช้างเผือก โดยดาราจักจะมีลักษณะใหญ่ 3 ประการคือ ดาราจักวงรี ดาราจักรกังหัน และดาราจักอสัญฐาน กาแลคซีของเราหรือกาแลคซีทางช้างเผือก ประกอบ พบบริเวณสว่างของก๊าซและฝุ่นในอวกาศ ตลอดบริเวณที่ ด้วยดาวฤกษ์ประมาณหนึ่งแสนล้านดวง ดึงดูดซึ่งกันและกัน มืดจนปิดบังแสงสว่างของดาวอื่น โดยเรียกบริเวณนั้นว่า ทำให้อยู่ในระบบเดียวกันได้ มีความหนาประมาณ เนบิวลาสว่างและเนบิวมืดตามลำดับ และยิ่งศึกษามากขึ้นก็ 10,000 ปีแสง และมีเส้นผ่นศูนย์กลางประมาณ พบว่าไม่สามารถประเมินรูปร่างได้ และในเอกภพจะมีจำนวน 100,000 ปีแสง ส่วนดวงอาทิตย์ของเรา อยู่ที่แขนของ ดาราจักรอยู่มากจนประมาณได้ถึง หมื่นล้านดาราจักร กาแลคซี ห่งจากใจกลางประมาณ 30,000 ปีแสง ดาราจักรช้างเผือกเป็นระบบที่แบนมาก กล่าวคือ กาแลคซี ข องเราความยาวส่ ว นที่ ม องเห็ น ได้ ด้ ว ยตาเปล่ า มีความหนาน้อยเมื่อเทียบกับความกว้างโดยที่ส่วนนูนตรง มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 75,000 ปีแสง (7.1 X 1011 กลางประมาณ 3,500 พาร์เซก และส่วนที่อยู่ห่างจาก km) แต่ค่าที่วัดได้จากเครืองอาจยาวมากกว่านี้ถึง 3 เท่า มีมวล จุ ด ศู น ย์ ก ลางประมาณได้ กั บ ระยะที่ ด วงอาทิ ต ย์ อ ยู่ จ ะ 4 X 1011 เท่า ของมวลดวงอาทิตย์ โดยดวงอาทิตย์ของเราอยู่ห่าง หนาประมาณ 1,500 พาร์เซก ในขณะที่ความกว้างของดาราจั จากศูนย์กลางกาแลคซีประมาณ 26,100 ปีแสง (2.5X1017 กร์ประมาณได้ถึง 50,000 พาร์เซก km)] ดาราจักรจะมีดาวกว่าแสนล้านดวงและก๊าซ ฝุ่น 1. ความหมายของดาราจักร สสารที่มากพอจะให้กำเนิดดาวได้หลายพันล้านดวง และใน ดาราจักร คือ ที่รวมของดาว กระจุกดาวเนบิวลา ฝุ่น ก๊าซ และที่ เอกภพนี้มีดาราจักรมากเสียจนประมาณได้อย่างชัดเจน แต่ จากการเฝ้ า ติ ด ตามด้ ว ยกล้ อ ง ว่างโดยจะมีรูปร่างแตกต่างกันไป โทรทรรศน์ ข นาดใหญ่ ค าดไว้ ว่ า อาณาจั ก รที่ เ ราอาศั ย อยู่ นี้ เ รี ย ก น่าจะมีมากกว่า 100,000,000,000 ว่า อาณาจักรทางช้างเผือก (Milky ดาราจักร (แสนล้าน) และ Way) ในปี พ.ศ. 2152 กาลิเลโอ อาจจะมี ใ นส่ ว นที่ ยั ง ไม่ เ ห็ น ด้ ว ย ไ ด้ ส ำ ร ว จ ท้ อ ง ฟ้ า ด้ ว ย ก ล้ อ ง กล้ อ งอี ก บางที อ าจจะมากกว่ า โ ท ร ท ร ร ศ น์ แ ล้ ว พ บ ว่ า ล้านล้านดาราจักรก็เป็นได้ ทางช้ า งเผื อ กประกอบด้ ว ยดาว จำนวนมากมาย ปรากฎอยู่ใกล้ The Sombrero Galaxy in Infrared Credit: R. Kennicutt (Steward Obs.) กันจนไม่สามารถมองให้แยกออก et al., SSC, JPL, Caltech, NASA จากกันได้ ภายหลังได้มีการศึกษา

1 || The Galaxy


จากการศึกษาของนักดาราศาสตร์ยังพบอีกว่าดวงอาทิตย์ซึ่ง เป็นแกนหลังของระบบสุริยะไม่ได้หยุดนิ่งแต่กำลังเคลื่อนที่ด้วย ความเร็วประมาณ 20 กิโลเมตรต่อวินาที ดังนั้นจึงคาดกันว่าดาร าจักรของเราไม่ได้หยุดนิ่ง แต่ดาราจักรกำลังหมุนรอบตัวเองโดย สังเกตจากรูปร่าง 2. รูปร่างของกาแลกซี่ เอ็ดวิน ฮับเบิล ได้จำแนกรูปร่างของ กาแลกซี่ ได้เป็น 4 แบบคือ 1. กาแลกซี่แบบรูปไข่ หรือ ทรงรี Elliptical จัดว่าเป็นรูปทรงพื้นฐานเริ่มแรก แบ่งออกได้เป็น E0 - E7 คือ E0 จะมีรูปร่างเป็นทรงกลม และยิ่งรีมากขึ้น ตัวเลขตามท้ายก็จะมากขึ้น เช่น E7 มีรูปทรงรีมากที่สุด 2. กาแลกซี่ แบบก้นหอย หรือ รูปเกลียว S p i r a l ลั ก ษ ณ ะ แ บ บ ค ล้ า ย จ า น ส อ ง ใ บ ป ร ะ ก บ เ ข้ า หากัน จะมีจุดกลางสว่าง แล้วมีแขนโค้ง 2-3 แขน ลักษณะหมุนวนรอบแกนกลาง แบ่งย่อยออกเป็น Sa Sb Sc โดยพิจารณาจากระยะความห่างของแขน

3.กาแลกซี่แบบกังหัน หรือรูปเกลียวแขนยาว Barred Spiral ลักษณะคล้ายแบบที่ 2 แต่มีแขนออกมาจาก แกนกลางก่อน แบ่งย่อยออกเป็น SBa SBb SBc โดยพิจารณา จากแขนที่ยาวออกมาจากแกนกลาง 4. กาแลกซี่แบบไม่มีรูปร่าง Irregular เป็นกาแลก ซี่ที่มีรูปร่างไม่แน่นอน เข้าใจว่าเกิดจากการกลืนกินกัน ของสองกาแลกซี่แบบ 1 ถึง 3 ที่อยู่ใกล้กัน

The Galaxy || 2


THE GALAXY

Milky Way Galaxy

.. See yonder, lo, the Galaxyë Which men clepeth the Milky Wey, For hit is whyt. .. — เจฟฟรีย์ ชอเซอร์, The House of Fame, ค.ศ. 1380 อ ย่ า ง ที่ เ ร า ท ร า บ กั น ว่ า ก า แ ล็ ก ซี นั้ น เ ป็ น อาณาจั ก รของดาว กาแล็ ก ซี ห นึ่ ง ๆ ประกอบด้ ว ยก๊ า ซ ฝุ่นและดาวฤกษ์หลายพันล้านดวง กาแล็กซีมีขนาดใหญ่ หมื่นล้านถึงแสนล้านปีแสง “ทางช้างเผือก” เป็นกาแล็กซีของ เรามีขนาดประมาณหนึ่งแสนปีแสง เนื่องจากโลกของเราอยู่ ภายในทางช้างเผือก (ภาพที่ 2) การศึกษาโครงสร้างของ ทางช้างเผือกจำต้องศึกษาจากภายในออกมาการศึกษากาแล็ กซีอื่นๆ จึงช่วยให้เราเข้าใจกาแล็กซีของตัวเองมากขึ้น 3 || The Galaxy

แต่โบราณมนุษย์เข้าใจว่า ทางช้างเผือกเป็น ปรากฏการณ์ ภ ายในบรรยากาศโลกเช่ น เดี ย วกั บ เมฆ หมอก รุ้งกินน้ำ จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้มี การสร้ า งกล้ อ งโทรทรรศน์ ข นาดใหญ่ จึ ง ทราบว่ า ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ด ว ง ด า ว ม า ก ม า ย เซอร์ วิลเลียม เฮอร์เชล (ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส) ทำ การสำรวจความหนาแน่ น ของดาวบนท้ อ งฟ้ า และ ให้ความเห็นว่า ดวงอาทิตย์อยู่ตรงใจกลางของทางช้างเผือ ก ศตวรรษต่อมา ฮาร์โลว์ แชพลีย์ ทำการวัดระยะทางของ กระจุกดาวทรงกลมซึ่งห่อหุ้มกาแล็กซี โดยใช้ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ค า บ ก ำ ลั ง ส่ อ ง ส ว่ า ง ข อ ง ด า ว แ ป ร แสงแบบ RR Lyrae ที่อยู่ในกระจุกดาวทรงกลมทั้งหลาย เขาพบว่ากระจุกดาวเหล่านี้อยู่ห่างจากโลกนับหมื่นปีแสง รอบล้อมส่วนป่องของกาแล็กซี ดังนั้นดวงอาทิตย์ไม่น่าจะ อยู่ตรงใจกลางของทางช้างเผือก

โครงสร้างของกาแล็กซีทางช้างเผือก


กาแล็กซีทางช้างเผือก (The Milky Way Galaxy) เป็นกาแล็กซีแบบกังหัน มีดาวประมาณแสนล้านดวง มวลรวมประมาณ 9 หมื่นล้านเท่าของมวลดวงอาทิตย์ แบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. จาน (Disk) ประกอบด้วยแขนของกาแล็กซี มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง หนาประมาณ 1,000 – 2,000 ปีแสง มีดาวฤกษ์ประมาณ 400,000 ล้านดวง องค์ประกอบหลักเป็นฝุ่น ก๊าซ และประชากรดาวประเภทหนึ่ง (Population I) ซึ่งมีสเปคตรัมของโลหะอยู่มาก 2. ส่วนโป่ง (Bulge) คือบริเวณใจกลางของกาแล็กซี มีขนาดประมาณ 6,000 ปีแสง มีฝุ่นและก๊าซเพียงเล็กน้อย องค์ประกอบหลัก เป็นประชากรดาวประเภทหนึ่งที่เก่า แก่ และประชากรดาวประเภทสอง (Population II) ซึ่งเป็น ดาวเก่าแก่แต่มีโลหะเพียงเล็กน้อย 3. เฮโล (Halo) อยู่ล้อมรอบส่วนโป่งของกาแล็กซี มีองค์ประกอบหลักเป็น “กระจุกดาวทรงกลม” (Global Cluster) จำนวนมาก แต่ละกระจุกประกอบด้วย ดาวฤกษ์นับล้านดวง ล้วนเป็นประชากรดาวประเภทสอง นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า กระจุกดาวทรงกลมเป็น โครงสร้างเก่าของกาแล็กซี เพราะมันโคจรขึ้นลงผ่านส่วน โป่งของกาแล็กซี การศึกษาทางช้างเผือกทำจากด้านในออก ไป จึงยากที่จะเข้าใจภาพรวมว่า กาแล็กซีของเรามีรูป ร่างหน้าตาอย่างไร ประกอบกับระนาบของทางช้างเผือก หนาแน่นไปด้วยดาว ฝุ่น และก๊าซ เป็นอุปสรรคกีดขวาง การสังเกตการณ์ว่า อีกด้านหนึ่งของกาแล็กซีเป็นอย่าง ไร อุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาโครงสร้างของกาแล็กซีได้ดีที่สุดก็ คือ กล้องโทรทรรศน์อินฟราเรด (ภาพที่ 3) เพราะว่าใช้ คลื่นยาวซึ่งสามารถเดินทางผ่านกลุ่มก๊าซและฝุ่นได้ ปัจจุบันเชื่อกันว่า ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจาก ศูนย์กลางของกาแล็กซีประมาณ 30,000 ปีแสง และหมุน รอบศูนย์กลางไปตามแขนนายพราน ด้วยความเร็ว 220 km ต่อวินาที หนึ่งรอบใช้เวลา 240 ล้านปี ดวงอาทิตย์มีอายุ 4,600 ล้านปี จึงโคจรรอบกาแล็กซีมาแล้วเกือบ 20 รอบ นักดาราศาสตร์ใช้กฎเคปเลอร์ข้อที่ 3 คำนวณหามวล รวมของทางช้ า งเผื อ กภายในวงโคจรของดวงอาทิ ต ย์ ได้ 9 x 1010 เท่าของดวงอาทิตย์ จากนั้นทำการตรวจวัด มวลของกาแล็ ก ซี ด้ า นนอกของวงโคจรดวงอาทิ ต ย์

เพิม่ เติม โดยใช้กล้องโทรทรรศน์วทิ ยุ พบว่า มวลทัง้ หมดของ กาแล็กซีทางช้างเผือกควรจะเป็น 6 x 1011 เท่าของดวงอาทิตย์ ในจำนวนนี้เป็นดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ก๊าซ และฝุ่น ที่สังเกตได้โดยตรงด้วยแสงเพียง 10% ฉะนั้น มวลสารส่วนใหญ่ของกาแล็กซีอีก 90% เป็นสิ่งที่ไม่ สามารถมองเห็นได้ซึ่งอาจจะเป็น หลุมดำขนาดเล็ก ดาวที่เย็นมาก หรืออนุภาคขนาดเล็กจำนวนมาก นักดาราศาสตร์จึงเรียกวัตถุเหล่านี้โดยรวมว่า “สสารมืด” (Dark Matter) แขนกังหันของกาแล็กซีทางช้างเผือกประกอบด้วย ฝุ่น ก๊าซ และดาวอายุน้อยอุณหภูมิสูง สเปกตรัม O และ B ซึ่งทำให้มองดูสว่างเป็นสีน้ำเงินกว่าบริเวณโดยรอบ แขน กังหันของมันทำหน้าที่เหมือนไม้กวาด ปัดรวบรวม ดาว ฝุ่น และก๊าซ ไว้ด้วยกัน ทำให้เกิดคลื่นความหนาแน่น กระตุ้นให้เกิดการก่อตัวของดาวดวงใหม่ เขียนโดย ปิติภัทร ประทุมพรศิริ ที่ 04:49

การสังเกตทางช้างเผือก ก า ร สั ง เ ก ต ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก ค ว ร จ ะ สั ง เ ก ต ใ น บ ริ เ ว ณ ที่ มื ด ส นิ ท แ ล ะ มี ม ล ภ า ว ะ ทางอากาศน้อย เช่น พื้นที่ในชนบทหรือตามป่าเขา ใ น คื น เ ดื อ น มื ด ( ห รื อ ช่ ว ง ที่ ไ ม่ มี แ ส ง จั น ท ร์ ร บ ก ว น ) หากไม่แน่ใจว่าทางทางเผือกอยู่ ณ ตำแหน่งในบนท้องฟ้ าควรใช้แผนที่ดาวประกอบการสังเกต ช่วงเวลาที่สังเกต ทางช้ า งเผื อ กได้ ดี ที่ สุ ด จะอยู่ ใ นช่ ว งปลายเมษายน (ช่วงใกล้รุ่งสาง) ถึงเดือนมิถุนายน เพราะช่วงหลังจจาก นี้จะเข้าสู่ฤดูฝน ทำให้โอกาสที่ฟ้าจะเปิดมีน้อยลงแต่หาก โชคดีฟ้าเปิดไม่มีเมฆ และได้มีโอกาสสังเกต ทางช้างเผือกในช่วงฤดูฝน(กรกฎาคม – สิงหาคม) เพราะใน ช่วงสองเดือนนี้ทางช้างเผือกส่วนที่สว่างที่สุดจะปรากฏพา ดจากทิศใต้ผ่านกลางท้องฟ้าขึ้นไปยังทิศเหนือ คล้ายกับจะ แบ่งท้องฟ้าออกเป็นสองส่วน แต่ในช่วงปลายเดือนเมษายน – ต้นเดือนตุลาคม เราจะสามารถเห็นทางช้างเผือกบริเวณ ดวงดาวแมงป่องและคนยิงธนูได้ง่ายทางช้างเผือกบริเวณนี้ สว่างและสวยงามกว่าบริเวณอื่นๆเนื่องจากเป็นมุมมองที่เรา มองเข้าไปยังศูนย์กลางของกาแล็กซี

The Galaxy || 4


The Galaxy

Milky Way Galaxy The Mystery of The man called

5 || The Galaxy

the as

Milky Way. “home”.


Do you know it.

The secret of the Milky Way galaxy.

ปริศนามากมายเกี่ยวกับทางช้างเผือก ? ใ น อ ดี ต ก ว่ า 2 0 0 ปี ก่ อ น ม นุ ษ ย์ มี ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง ด า ร า จั ก ร (Galaxy)อยู่ น้ อ ยมากแต่ ปั จ จุ บั น วิทยาการด้านดารศาสตร์ก้าวหน้าไป ม า ก จ น ท ำ ใ ห้ เ ร า รู้ ว่ า ก า ร แ ล็ ก ซี คื อ ก ลุ่ ม ด า ว จ ำ น ว น ม า ก มหาศาลที่สามารถลอยตัวร่วมกันเป็น ก ลุ่ ม ใ ห ญ่ ภ า ย ใ ต้ อิ ท ธิ พ ล ข อ ง แรงโน้ ม ถ่ ว งซึ่ ง กระทำต่ อ กั น และกั น ภายในกาแล็กซีอกจากจะมีดาวฤกษ แ ล ะ ด า ว เ ค ร า ะ ห์ แ ล้ ว ยั ง มี ละอองดาว ฝุ่ น อวกาศ อุ ก กาบาต ด า ว ห า ง ด า ว เ ค ร า ะ ห์ น้ อ ย แ ล ะ เทหวัตถุอื่นอีกมากมาย ระบบสุริยะ (Solar System) ของเราที่มีดวงอาทิตย์ (Sun) เป็ น ศู น ย์ ก ลาง ก็ เ ป็ น เพี ย ง ระบบหนึ่ ง ในหนึ่ ง แสนล้ า นระบบที่ อยู่ภายในกาแล็กซีเดียวกัน ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (Milky Way) ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในกาแล็ ก ซี นั บ ล้ า นล้ า น ก า แ ล็ ก ซี ที่ ร ว ม กั น เ ป็ น จั ก ร ว า ล (Universe) ใ น ช่ ว ง แ ร ก ที่ ม นุ ษ ย์ รู้ จั ก ก า แ ล็ ก ซี ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก นั ก ดาราศาสตร์ ส่ ว นใหญ่ เ ชื่ อ กั น ว่ า ด ว ง อ า ทิ ต ย์ เ ป็ น ศู น ย์ ก ล า ง ข อ ง ก า แ ล็ ก ซี ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก แ ม้ แ ต่ William Herschel นั ก ดาราศาสตร์ ผู้ ค้ น พบดาวยู เ รนั ส (Uranus)(Uranus) เมื่อปี ค.ศ.1781 ก็คิดเช่นนั้น แต่ในปัจจุบันเรารู้กัน แล้ ว ว่ า กาแล็ ก ซี ท างช้ า งเผื อ กที่ เ รา อยู่นั้น มีขนาดใหญ่โตมโหฬารมาก

จนแสงที่ พุ่ ง ออกจากขอบข้ า งหนึ่ ง ของกาแล็กซีต้องใช้เวลานาน 1 แสนปี (แสงเดินทาง 1 ปีได้ระยะทางประมาณ 1 0 ล้ า น ล้ า น กิ โ ล เ ม ต ร ) จึ ง จะเดิ น ทางถึ ง ขอบอี ก ข้ า งหนึ่ ง จึ ง มี ร ะบบสุ ริ ย ะอื่ น ๆ อี ก มากมายใน กาแล็กซีนี้ และระบบสุริยะของเราก็มิใช่ อยู่ตรงกลางของกาแล็กซี

กาแล็ กซี ทางช้ า งเผื อกมี ลั กษณะ เหมื อนจานแบนที ่ น ู น ตรงกลาง

แ ล ะ ยั ง รู้ อี ก ว่ า ก า แ ล็ ก ซี ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก มี ลั ก ษ ณ ะ เ ห มื อ น จ า น แ บ น แ ล ะ นู น ต ร ง ก ล า ง บ ริ เ ว ณ ต ร ง ก ล า ง ที่ นู น นี้ มี ดาวฤกษ์ อ ยู่ อ ย่ า งหนาแน่ น นั บ ร้ อ ย ล้ า น ด ว ง ส่ ว น ด ว ง อ า ทิ ต ย์ ที่ เ ป็ น ดาวฤกษ์ดวงหนึ่งนั้นก็โคจรอยู่ห่างจาก จุดศูนย์กลางของทางช้างเผือกประมาณ 2 5 , 0 0 0 ปี แ ส ง แ ล ะ มั น ก ำ ลั ง โคจรรอบจุ ด ศู น ย์ ก ลางของกาแล็ ก ซี โ ด ย ใ ช้ เ ว ล า ป ร ะ ม า ณ 2 3 0 ล้ า น ปี จึงจะโคจรได้ครบหนึ่งรอบ แ ต่ ก็ ยั ง มี เ รื่ อ ง ร า ว อี ก ม า ก ของกาแล็ ก ซี ท างช้ า งเผื อ กที่ เ รายั ง ไ ม่ รู้ แ ล ะ เ ป็ น ที่ ส น ใ จ ข อ ง นั ก ด า ร า ศ า ส ต ร์ ใ น ปั จ จุ บั น

เ ช่ น ก า แ ล็ ก ซี ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก ถือกำเนิดมาได้อย่างไร บริเวณตร งกลางของกาแล็ ก ซี มี ด าวประเภท ใดอยู่ ดาวในกาแล็กซีถือกำเนิดอย่างไร กาแล็กซีและดาวจะดับไปอย่างไร

ภาพตำนานกำเนิ ดทางช้า งเผือ ก ที ่ ว าดโดย Tintoretto

สำหรั บ ประเด็ น การกำเนิ ด ข อ ง ก า แ ล็ ก ซี ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก นั้ น มี ต ำนานปรำปราของโรมั น เกี่ ย วกั บ ความรั ก ของเทพเจ้ า คื อ เทพจู ปิ เ ต อร์(Jupiter) ซึ่งเป็นมหาเทพปกค รองเทพทั้ ง ปวงแต่ ท รงเป็ น เทพเจ้ า ผู้มักมากในกามคุณ พระองค์ทรงมี เพศสัมพันธ์กับสตรีปุถุชนชื่อ แอลซ์มีนี (Alcmene) และนางได้ให้กำเนิด เทพเฮอร์คิวลิส(Hercules)ในเวลาต่อ มาเทพจูปิเตอร์ทรงอุ้มเทพเฮอร์คิวลิส ไปแอบดื่มพระกษิรธารา (น้ำนม) ของ เทพจูโน (Juno) พระมเหสีของพระองค์ ขณะที่บรรทมอยู่ แต่เทพเฮอร์คิวลิส ทรงมี พ ละกำลั ง มากตั้ ง แต่ ป ระสู ติ จึ ง ทรงดู ด พระกษิ ร ธาราด้ ว ยความแรง จ น เ ท พ จู โ น ต ก พ ร ะ ทั ย ตื่ น The Galaxy || 6


น้ำพระกษิรธารากระเด็นจากพระเต้า กระจั ด กระจายกลายเป็ น ดวงดาวใน ทางช้างเผือกนั่นเอง นี้คือเรื่องเล่าถึง การกำเนิ ด ของกาแล็ ก ซี ท างช้ า ง เผือกที่ Gauis Julius Hygienus บรรณารั ก ษ์ ป ระจำห้ อ งสมุ ด ของ Augustus Caesar กษัตริย์อาณาจักร โรมันเมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนนี้ และจิ ต รกรชาวเวนิ ส ชื่ อ Tintoretto ได้ ว าดภาพประกอบตำนานเรื่ อ งนี้ ชื่อ The Origin of the Milky Way ขึ้นเมื่อประมาณปี ค.ศ.1580 ณ วันนี้ ที่เรายังไม่รู้แน่ชัดว่า กาแล็ ก ซี ที่ มี ด าวนั บ แสนล้ า นดวงนี้ มาจากไหนและกำลั ง ไปไหน ดั ง นั้ น นั ก ดาราศาสตร์ จึ ง สนใจบริ เ วณตรง กลางของกาแล็กซีซึ่งโค้นูนอัดแน่นไป ด้ ว ยกลุ่ ม ดาวฤกษ์ เ พราะที่ นั่ น มี แ ก๊ ส ร้อนปริมาณมาก และแก๊สร้อนนี้อาจ จะเป็นตัวให้กำเนิดดาวฤกษ์ ดังนั้น นั ก ดาราศาสตร์ จึ ง ได้ พ ยายามสั ง เกต การเคลื่ อ นที่ ข องดาวฤกษ์ ที่ โ คจรอยู่ ไม่ไกลจากจุดศูนย์กลางของกาแล็กซี ทางช้างเผือกโดยเฉพาะในระดับไม่เกิน ปีแสง การสังเกตดาวดังกล่าวต้องใช้ กล้ อ งโทรทรรศน์ ที่ มี เ ลนส์ ข นาดใหญ่ ราว 8 เมตร เช่น กล้องของ European Southern Observatory (ESO) ในประเทศชิลีหรือกล้องที่มี เลนส์ขนาด 10 เมตร เช่น กล้อง W. M. Keck Observatory ที่เกาะฮาวาย โดยจัดให้กล้องรับรังสีอินฟราเรดจาก ดาวฤกษ์ที่ต้องการศึกษา ทั้งนี้เพราะ รังสีอินฟราเรดที่มีความยาวคลื่นยาว จะสามารถทะลุทะลวงผ่านฝุ่นละออง อวกาศมาถึงดวงอาทิตย์และโลกได้

7 || The Galaxy

เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.2002 สถาบัน Max Planck ที่ประเทศเยอรมนี ได้ ร ายงานผลสั ง เกตการเคลื่ อ นที่ ข อง ด า ว ฤ ก ษ์ ด ว ง ห นึ่ ง ชื่ อ ด า ว S 2 ที่ โ คจรใกล้ จุ ด ศู น ย์ ก ลางของกาแล็ ก ซี ทางช้างเผือก ห่างจากจุดศูนย์กลาง ของทางช้างเผือกเพียง 17 ชั่วโมงแสง

เมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ.2003 ในการประชุมของ American Astronomical Society นักดาราศาสตร์ชื่อ H.J. Newberg แห่ง Rensselaer Polytechnic ได้เสนอแนวคิดว่า กาแล็กซี ทางช้างเผือกมีโครงสร้างลักณะเดียวกับ ดาวเสาร์ (Saturn)คือ มีวงแหวนล้อมรอบ วงแหวนที่ ว่ า นี้ ป ระกอบด้ ว ยดาวฤกษ์ ใหญ่น้อยเรียงรายรอบทางช้างเผือกเป็น วงกลม โดยมีรัศมีประมาณ 60,000 ปีแสง ส ำ ห รั บ ที่ ม า ข อ ง ว ง แ ห ว น นี้ นักดาราศาสตร์หลายคนเชื่อว่าในอดีต เมื่อ 10,000 ล้านปีก่อน กาแล็กซี ทางช้ า งเผื อ กได้ พุ่ ง ชนกาแล็ ก ซี ข นาด เล็ ก กาแล็ ก ซี ห นึ่ ง การชนกั น ทำให้ ก า แ ล็ ก ซี ทั้ ง ส อ ง ห ล อ ม ร ว ม เ ป็ น ภาพจำลองทางช้ า งเผื อ กในแนวตั ด หนึ่งเดียว และดาวใหญ่น้อยซึ่งอยู่ที่ บริ เ วณตรงกลางจะอั น ่ น ไปด้ ว ยกลุ ่ ม บริเวณขอบกาแล็กซีกระจัดกระจายไป ด า ว ฤ ก ษ์ แ ล ะ เ ชื ่ อ ว่ า มี ห ลุ ม ด ำ อ ยู ่ โคจรรอบกาแล็กซีที่เกิดใหม่ นี่คือวิธีหนึ่ง ดาวดวงนี้มีความเร็วในการโคจรสูง ที่กาแล็กซีใช้ในการถือกำเนิด คือแทนที่ มากถึง 5,000 กิโลเมตร/วินาที (โลกโคจรรอบ จะเกิดจากการสร้างดาวฤกษ์ขึ้นมาทีละ ดวงอาทิตย์ด้วยความเร็ว 30 กิโลเมตร/ ดวง กลับใช้วิธีกลืนกินกาแล็กซีอื่น วินาที) จึงทำให้ใช้เวลาเพียง 15.2 ± 0.8 ปี ก็ จ ะ โ ค จ ร ร อ บ จุ ด ศู น ย์ ก ล า ง ข อ ง ทางช้างเผือก การสังเกตดาว S2 นี้ใช้เวลานานถึง 10 ปี ก็พบว่า ที่จุดศูนย์กลางของกาแล็กซี ทางช้างเผือกนั้นมี หลุมดำ (Black Hole) ที่มีมวล 2 ล้านเท่าของดวงอาทิตย์อยู่ นอกจากนั้ น ในการสั ง เกตดาวฤกษ์ อี ก ก า แ ล็ ก ซี แ อ น โ ด ร เ ม ด า ดวงที่ชื่อ Sagittarius ซึ่งอยู่ใกล้จุด ซึ่ ง เ ป็ น ก า แ ล็ ก ซี อื่ น ที่ อ ยู่ ใ ก ล้ ก า แ ล็ ก ซี ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก ม า ก ที ่ สุ ด ศูนย์กลางของกาแล็กซีทางช้างเผือกยิ่งกว่ าดาว S2 ก็พบรังสีเอ็กซ์มากมาย ซึ่งเป็นรั งสีที่เกิดเมื่อแก๊สร้อนของดาว Sagittarius ถูกหลุมดำดึงดูดด้วยพลังงานมหาศาลจนท ำให้แก๊สแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา ดังนั้น จึงเป็นที่น่าเชื่อได้ว่าใจกลางของกาแล็กซี ทางช้างเผือกนั้นมีหลุมดำอยู่


ส่ ว นคำถามที่ ว่ า เหตุ ใ ดดาวที่ โ คจรอยู่ บ ริ เ วณขอ บของกาแล็ ก ซี ท างช้ า งเผื อ กจึ ง ไม่ ก ระเด็ น หลุ ด ออกไป จากกาแล็ ก ซี เ พราะแรงดึ ง ดู ด ของกาแล็ ก ซี ใ นบริ เ วณขอ บกาแล็ ก ซี ไ ม่ น่ า มี ม ากพอจะดึ ง ดู ด ให้ ด าวฤกษ์ เ หล่ า นั้ น โคจรไปรอบๆ กาแล็กซีได้

ในการตอบปัญหานี้นักฟิสิกส์ด้านดาราศาส ตร์ปัจจุบันหลายคนเชื่อว่า การที่เป็นเช่นนั้นได้เพราะภายในก าแล็กซีมี สสารมืด (Dark Matter) ที่เรายังไม่เห็นและไม่รู้ว่ามี อยู่อีกมาก สสารมืดเหล่านี้เองที่ส่งแรงดึงดูดไปยึดดาวฤกษ์ที่ บริเวณขอบกาแล็กซีไม่ให้หลุดกระเด็นไป

The Galaxy || 8


Comes know with neighboring galaxies. อย่างไรก็ตาม จากอิทธิพลของแรงดึงดูดโน้มถ่วง ประกอบด้วย กาแล็กซีจำนวนมากมาย บรรดากาแล็กซีจำนวนมากนั้น หากมีการจับกลุ่มกันอยู่เป็น ที่ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อ ย่ า ง ใ น จั ก ร ว า ล ที่ มี ม ว ล ก ร ะ ท ำ ต่ อ กั น หมวดหมู่เราเรียกว่า กลุ่มกาแล็กซี (Galaxy Cluster)กาแล็กซี ทำให้มีการจับกลุ่มของกลุ่มกาแล็กซีเป็นกลุ่มใหญ่ขึ้นด้วย ต่างๆที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันจะมีอิทธิพลต่อกันโดยทางแรงดึงดูด หรือเรียกว่า กลุ่มกาแล็กซีระดับซูเปอร์ ประกอบด้วย จึงเกาะกลุ่มอยู่ด้วยกันได้ ความจริงแล้วกาแล็กซีทุกกาแล็กซี กลุ่มกาแล็กซีตั้งแต่ 2-30 กว่ากลุ่ม ในจักรวาล ล้วนแต่มีแรงดูงดูดโน้มถ่วงกระทำต่อกาแล็กซีอื่นๆ กาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มกาแล็กซี แ ต่ ก า แ ล็ ก ซี อื่ น ๆ ที่ อ ยู่ น อ ก ก ลุ่ ม จ ะ อ ยู่ ห่ า ง ท้องถิ่น ประกอบด้วย กาแล็กซีต่างๆ ประมาณ 40 กาแล็กซี

จักรวาล

ไกลออกมากจากกลุ่ม ผลของแรงดึงดูุดโน้มถ่วงจึงมีน้อยกว่า บรรดากาแล็กซีในกลุ่มเดียวกัน 9 || The Galaxy


โดยภาพรวมอย่างคร่าวๆ ของจักรวาลบ รรดากาแล็ ก ซี ต่ า งๆ กำลั ง เคลื่ อ นที่ ห นี อ อกจากกั น อย่างไรก็ ดี ก ารเคลื่ อ นที่หนีออกจากกันของกาแล็ก ซี ต่ า งๆ แม้แต่ในกลุ่มกาแล็กซีำเดียวกัน ก็มิได้เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ กล่าวคือ ก็มีบางกาแล็กซีที่เคลื่อนที่เข้าไปใกล้กาแล็กซีอื่นๆ แทนที่จะเคลื่อนที่หนีออกจากกาแล็กซีอื่น ซึ่งก็เป็นกรรีการ ชนกันของกาแล็กซีนั่นเอง

The Galaxy || 10


กาแล็ ก ซ่ ี เ พื ่ อ นบ้ า น

Andromeda Galaxy การแล็ ก ซี เ พื่ อ นบ้ า นที่ มี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด ในกลุ่ ม กาแล็ ก ซี่ ท้ อ งถิ่ น และอยู่ ใ กล้ กั บ กาแล็ ก ซี่ ท างช้ า งเผื อ กของเรามากที่ สุ ด ด า ร า จั ก ร แ อ น โ ด ร เ ม ด า ( อั ง ก ฤ ษ : A n d r o m e d a G a l a x y ; ห รื อ ที่ รู้ จั ก ใ น ชื่ อ อื่ น คื อ เมสสิเยร์ 31 เอ็ม 31 หรือ เอ็นจีซี 224 บางครั้งในตำรา เก่าๆ จะเรี ย กว่ า เนบิ วลาแอนโดรเมดาใหญ่) เป็นดาราจั ก ร ชนิดก้นหอยที่อยู่ห่างจากเราประมาณ 2.5 ล้านปีแสง อยู่ใน กลุ่มดาวแอนโดรเมดาถือเป็นดาราจักรแบบกังหันที่อยู่ใกล้ กับดาราจักรทางช้างเผือกของเรามากที่สุด สามารถมองเห็น เป็นรอยจางๆ บนท้องฟ้าคืนที่ไร้จันทร์ได้แม้มองด้วยตาเปล่า

11 || The Galaxy

ดาราจั ก รแอนโดรเมดาเป็ น ดาราจั ก รที่ ใ หญ่ ที่ สุดในกลุ่มดาราจักรท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วยดาราจักร แอนโดรเมดา ดาราจักรทางช้างเผือก ดาราจักรสามเหลี่ยม และดาราจักรขนาดเล็กอื่น ๆ อีกกว่า 30 แห่ง แม้ แอนโดรเมดาจะเป็นดาราจักรที่ใหญ่ที่สุด แต่ก็ไม่ใช ดาราจักรที่มีมวลมากที่สุด จากการค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ บ่งชี้ว่า ดาราจักรทางช้างเผือกมีสสารมืดมากกว่าและน่าจะ เป็นดาราจักรที่มีมวลมากที่สุดในกลุ่ม ถึงกระนั้น


จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร ณ์ โ ด ย ก ล้ อ ง โ ท ร ท ร ร ศ น์ อ ว ก า ศ สปิตเซอร์เมื่อเร็ว ๆ นี้พบว่า ดาราจักร M31 มีดาวฤกษ์อยู่ราว 1 ล้ า นล้ า นดวง ซึ่ ง มี จ ำนวนมากกว่ า ดาวฤกษ์ ใ นดาราจั ก รของ เรา ผลการคำนวณเมื่อปี 2006 ประมาณการว่า มวลของ ดาราจั ก รทางช้ า งเผื อ กน่ า จะมี ป ระมาณ 80% ของดาราจั ก ร แอนโดรมีดาคือประมาณ 7.1×1011 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ดาราจักรแอนโดรเมดามีระดับความสว่างที่ 4.4 ซึ่ง ถื อ ได้ ว่ า เป็ น วั ต ถุ เ มสสิ เ ยร์ ที่ ส ว่ า งที่ สุ ด ชิ้ น หนึ่ ง และสามารถมอง เห็นได้โดยง่ายด้วยตาเปล่า แม้จะอยู่ในพื้นที่ ที่มีลภาวะใน อากาศอยู่ บ้ า ง หากไม่ ใ ช้ ก ล้ อ งโทรทรรศน์ ช่ ว ย อาจมองเห็ น ดาราจักรเป็นดวงเล็ก ๆ เพราะสามารถมองเห็นได้เพียงส่วนสว่า งที่สุดซึ่งเป็นศูนย์กลาง แต่เส้นผ่านศูนย์กลางเชิงมุมทั้งหมดของ ดาราจักรกินอาณาบริเวณกว้างถึง 7 เท่าของดวงจันทร์เต็มดวงทีเดียว

WISE Infrared Andromeda Credit: NASA / JPL-Caltech / UCLA Explanation: This sharp, wide-field view features infrared

light from the spiral Andromeda Galaxy (M31). Dust heated by Andromeda’s young stars is shown in yellow and red, while its older population of stars appears as a bluish haze. The false-color skyscape is a mosaic of images from NASA’s new Wide-field Infrared Survey Explorer (WISE) satellite. With over twice the diameter of our Milky Way, Andromeda is the largest galaxy in the local group. Andromeda’s own satellite galaxies M110 (below) and M32 (above) are also included in the combined fields. Launched in December 2009, WISE began a six month long infrared survey of the entire sky on January 14. Expected to discover near-Earth asteroids as well as explore the distant universe, its sensitive infrared detectors are cooled by frozen hydrogen.

The Galaxy || 12


กาแล็ ก ซ่ ี เ พื ่ อ นบ้ า น

Triangulum Galaxy

ดาราจั ก รสามเหลี่ ย มเป็ น ดาราจั ก รที่ ใ หญ่ เป็นอันดับที่สามในกลุ่มท้องถิ่น โดยเล็ก กว่าดาราจักรแอนโดรเมดาและทางช้างเผือก

ดาราจักรไทรแองกูลัม หรือ ดาราจักรสามเหลี่ยม ( อั ง ก ฤ ษ : T r i a n g u l u m G a l a x y ; ห รื อ ที่ รู้ จั ก ใ น ชื่ อ วัตถุเมสสิเยร์ M33 หรือ NGC 598) เป็นดาราจักรชนิด ก้ น หอยที่ อ ยู่ ห่ า งออกไปประมาณ 3 ล้ า นปี แ สงในบริ เ วณ กลุ่ ม ดาวสามเหลี่ ย ม บางครั้ ง ในหมู่ นั ก ดาราศาสตร์ สมั ค รเล่ น อาจเรี ย กอย่ า งไม่ เ ป็ น ทางการว่ า ดาราจั ก รเครื่ อ ง ปั่นด้าย (Pinwheel Galaxy) รวมถึงในเว็บไซต์สาธารณะทั่วไป อย่างไรก็ดีในฐานข้อมูลดาราศาสตร์ SIMBAD นักวิชาการด้าน ด า ร า ศ า ส ต ร์ จ ะ ใ ช้ ค ำ ว่ า “ P i n w h e e l G a l a x y ” กั บ วัตถุเมสสิเยร์ M101 รวมถึงนักดาราศาสตร์สมัครเล่นอีกส่วน หนึ่งหรือเว็บไซต์ทั่วไปก็อ้างอิงถึงวัตถุเมสสิเยร์ M101 ด้วยชื่อ “Pinwheel Galaxy” เช่นเดียวกัน ดาราจั ก รสามเหลี่ ย มเป็ น ดาราจั ก รที่ ใ หญ่ เ ป็ น อันดับที่สามในกลุ่มท้องถิ่น โดยเล็กกว่าดาราจักร แอนโดรเมดาและทางช้างเผือก มันอาจมีแรงโน้มถ่วงที่ดึงดูด อยู่กับดาราจักรแอนโดรเมดาด้วย ขณะเดียวกัน ดาราจักรปลา (LGS 3) ซึ่งเป็นดาราจักรสมาชิกเล็กๆ แห่งหนึ่งในกลุ่มท้องถิ่น อาจจะเป็นดาราจักรบริวารของดาราจักรสามเหลี่ยมก็ได้

M33: Triangulum Galaxy

Credit & Copyright: Paul Mortfield, Stefano Cancelli Explanation: The small, northern constellation Triangulum harbors this magnificent face-on spiral galaxy, M33. Its popular names include the Pinwheel Galaxy or just the Triangulum Galaxy. M33 is over 50,000 light-years in diameter, third largest in the Local Group of galaxies after the Andromeda Galaxy (M31), and our own Milky Way. About 3 million light-years from the Milky Way, M33 is itself thought to be a satellite of the Andromeda Galaxy and astronomers in these two galaxies would likely have spectacular views of each other’s grand spiral star systems. As for the view from planet Earth, this sharp, detailed image nicely shows off M33’s blue star clusters and pinkish star forming regions that trace the galaxy’s loosely wound spiral arms. In fact, the cavernous NGC 604 is the brightest star forming region, seen here at about the 1 o’clock position from the galaxy center. Like M31, M33’s population of well-measured variable stars have helped make this nearby spiral a cosmic yardstick for establishing the distance scale of the Universe. 13 || The Galaxy


กาแล็ ก ซ่ ี เ พื ่ อ นบ้ า น

Magellanic Cloud

ก า ร แ ล็ ก ซี เ พื่ อ น บ้ า น ที่ มี ข น า ด ใ ห ญ่ ร อ ง จ า ก ก า แ ล็ ก ซี่ ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก แ ล ะ ก า ร แ ล็ ก ซี่ แ อ น โ ด ร มี ด า ใ น น ก ลุ่ ม กาแล็ ก ซี่ ท้ อ งถิ่ น และอยู่ ใ กล้ กั บ กาแล็ ก ซี่ ทางช้างเผือกของเรามากที่สุดอีกกาแล็กซี่หนึ่ง

The Large Magellanic Cloud เมฆแมกเจลแลนใหญ่ เมฆแมกเจลแลนใหญ่ (อังกฤษ: Large Magellanic Cloud, LMC) คือดาราจักรบริวารของ ทางช้างเผือก อยู่ห่างจากเราออกไปเพียงไม่ถึง 50 กิโลพาร์เซก (ประมาณ 160,000 ปีแสง) ถือเป็นดาราจักรที่อยู่ใกล้กับ ทางช้ า งเผื อ กเป็ น อั น ดั บ ที่ ส ามโดยมี ด าราจั ก รแคระชนิ ด รี คนยิงธนู (ประมาณ 16 กิโลพาร์เซก) กับดาราจักรแคระสุนขั ใหญ่ (ประมาณ 12.9 กิโลพาร์เซก) อยู่ใกล้กับศูนย์กลางของ ดาราจักรทางช้างเผือกเมฆแมกเจลแลนใหญ่มีมวลสมมูลประ มาณ1หมื่นล้านเท่าขงมวลดวงอาทิตย์ (1010 มวลดวงอาทิตย์) นั่ น คื อ มี ม ว ล เ ป็ น ป ร ะ ม า ณ

1 / 1 0 เ ท่ า ข อ ง ม ว ล ข อ ง ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก เ ม ฆ แ ม ก เ จ ล แ ล น ใ ห ญ่ เ ป็ น ด า ร า จั ก ร ที่ ใ ห ญ่ เ ป็ น อั น ดั บ สี่ ใ น ก ลุ่ ม ท้ อ ง ถิ่ น โ ด ย มี ด า ร า จั ก ร แอนโดรเมดา ทางช้างเผือก และดาราจักรไทรแองกูลัม เป็น ดาราจักรขนาดใหญ่เป็นอันดับหนึ่ง สอง และสามตามลำดับ โดยมากเมฆแมเจลแลนใหญ่มักถูกพิจารณาว่า เ ป็ น ด า ร า จั ก ร ไ ร้ รู ป แ บ บ ( ใ น ฐ า น ข้ อ มู ล วั ต ถุ พ้ น ด า ร า จั ก ร ข อ ง อ ง ค์ ก า ร น า ซ า ร ะ บุ ร หั ส ต า ม ล ำ ดั บ ฮั บ เ บิ ล ใ ห้ แ ก่ มั น เ ป็ น I r r / S B ( s ) m )

Infrared Portrait of the Large Magellanic Cloud

Credit: ESA / NASA / JPL-Caltech / STScI Explanation: Cosmic dust clouds ripple across this infrared portrait of our Milky Way’s satellite galaxy, the Large Magellanic Cloud. In fact, the remarkable composite image from the Herschel Space Observatory and the Spitzer Space Telescope show that dust clouds fill this neighboring dwarf galaxy, much like dust along the plane of the Milky Way itself. The dust temperatures tend to trace star forming activity. Spitzer data in blue hues indicate warm dust heated by young stars. Herschel’s instruments contributed the image data shown in red and green, revealing dust emission from cooler and intermediate regions where star formation is just beginning or has stopped. Dominated by dust emission, the Large Magellanic Cloud’s infrared appearance is different from views in optical images. But this galaxy’s well-known Tarantula Nebula still stands out, easily seen here as the brightest region to the left of center. A mere 160,000 light-years distant, the Large Cloud of Magellan is about 30,000 light-years across.

The Galaxy || 14


อ ย่ า ง ไ ร ก็ ดี เ ม ฆ แ ม เ จ ล แ ล น ใ ห ญ่ ก็ มี โ ค ร ง ส ร้ า ง ค ล้ า ย คานที่ บ ริ เ วณศู น ย์ ก ลาง ทำให้ เ ชื่ อ ได้ ว่ า มั น อาจจะเคยเป็ น ด า ร า จ กรชนิ ด ก้ น หอยมี ค านมาก่ อ นลั ก ษณะ อั น ไ ร้ รู ป แ บ บ ข อ ง เ ม ฆแมเจลแลนใหญ่ า จเป็ น ผลมาจากป ฏิ กิ ริ ย า น้ ำ ขึ้ น น้ ำ ลงระหว่ า งตวมั น เองกั บ ทางช้ า งเผื อ กและเมฆแมเจลแลนเล็ ก เ ม ฆ แ ม เ จ ล แ ล น ใ ห ญ่ ป ร า ก ฏ บ น ท้ อ ง ฟ้ า ยามกลางคืนเป็น “เมฆ” จาง ๆ อยู่ในทางซีกโลกใต้ บริเวณ ชายขอบระหว่ า งกลุ่ ม ดาวปลากระโทงแทงกั บ กลุ่ ม ดาวภู เ ขา เ ม ฆ แ ม เ จ ล แ ล น ใ ห ญ่ เ ป็ น ด า ร า จั ก ร คู่ กั บ เ ม ฆ แมเจลแลนเล็ก ซึ่งอยู่ห่างออกไปทางตะวันตกประมาณ 20 องศา กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ จะโคจรรอบทางช้างเผือก ที่ระยะห่างประมาณ 200,000 ปีแสง เป็นกาแล็กซีแบบไร้รูปทรง หรือมีรูปร่างไม่แน่นอน มีความสว่างมากจนสามารถมองเห็นได้ คล้ายกับก้อนเมฆในยามค่ำคืน อยู่ใกล้ขอบฟ้าทิศใต้ เป็นกาแล็ กซีที่อยู่ใกล้เราที่สุดกาแล็กซีแอนโดรเมดา มองเห็นอยู่ในบริเวณ ท้องฟ้าทางเหนือมีรูปร่างแบบกังหัน เหมือนกาแล็กซีทางช้างเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดาอยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราไกล ประมาณ 2 ล้านปีแสง มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า M31 หรือ NGC 224 เ ม ฆ แ ม ก เ จ ล แ ล น เ ป็ น ที่ รู้ จั ก กั น ม า น า น แ ล้ ว ตั้ ง แ ต่ ยุคโบราณในตะวันออกกลาง การอ้างอิงถึงเมฆแมเจลแลนใหญ่ ครั้งแรกทำโดยนักดาราศาสตร์ชาวเปอร์เซียชื่อ อัล ซูฟี ในหนังสือ Book of Fixed Star ที่เขาเขียนในปี ค.ศ. 964 เรียกดาราจักรนี้ว่า Al Bakr ซึ่งหมายถึง “แกะแห่งอาหรับใต้” ทั้งยังระบุด้วยว่าทางตอน เหนื อ ของคาบสมุ ท รอาหรั บ กั บ ในแบกแดดไม่ ส ามารถมองเห็ น ดาราจั ก รนี้ แ ต่ จ ะมองเห็ น ได้ จ ากช่ อ งแคบบั บ เอลมั น เดบที่ ละติจูด12°15’เหนือ ในยุโรป คณะสำรวจของเฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน เป็ น ผู้ แ รกที่ สั ง เกตเห็ น เมฆนี้ ใ นระหว่ า งการแล่ น เรื อ รอบโลก ระหว่างปี ค.ศ. 1519-1522 โดยมีการบันทึกไว้โดยอันโตนีโอ ปีกาเฟตตา อย่ า งไรก็ ดี ก ารเรี ย กชื่ อ เมฆเหล่ า นี้ ต ามนามสกุ ล ของมาเจลลั น ยั ง ไม่เป็นที่แพร่หลายนักจนเวลาผ่านไปอีกนาน ในรายการดวงดาว Uranometria ของไบเออร์ นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน เรียกเมฆทั้งสองนี้ว่า “นูเบคูลาใหญ่” (Nubecula Major) และ “นูเบคูลาเล็ก” (Nubecula Minor) แม้ในแผนที่ดาวฉบับปี ค.ศ. 1756 ของลาซายล์ นักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เมฆทั้งสองนี้ก็ยังมีชื่อว่า “Le Grand Nuage” กับ “Le Petit Nuage”[4] (ภาษาฝรั่งเศส มีความหมายว่า “เมฆใหญ่” และ “เมฆเล็ก” ตามลำดับ) 15 || The Galaxy

The Large Cloud of Magellan

Credit & Copyright: John P. Gleason Explanation: The 16th century Portuguese navigator Ferdinand Magellan and his crew had plenty of time to study the southern sky during the first circumnavigation of planet Earth. As a result, two fuzzy cloud-like objects easily visible to southern hemisphere skygazers are known as the Clouds of Magellan, now understood to be satellite galaxies of our much larger, spiral Milky Way galaxy. About 160,000 light-years distant in the constellation Dorado, the Large Magellanic Cloud (LMC) is seen here in a remarkably deep, colorful composite image, starlight from the central bluish bar contrasting with the telltale reddish glow of ionized atomic hydrogen gas. Spanning about 15,000 light-years or so, it is the most massive of the Milky Way’s satellite galaxies and is the home of the closest supernova in modern times, SN 1987A. The prominent patch at top left is 30 Doradus, also known as the magnificent Tarantula Nebula. The giant star-forming region is about 1,000 light-years across.


The small Magellanic Cloud เมฆแมกเจลแลนเล็ก ก า ร แ ล็ ก ซี เ พื่ อ น บ้ า น ที่ เ ป็ น ด า ร า จั ก ร แ ค ร ะ ถื อ เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น กาแล็ ก ซี่ ที่ อ ยู่ ใ กล้ ท างช้ า งเผื อ กมากที่ สุ ด

เ ม ฆ แ ม เ จ ล แ ล น เ ล็ ก ( อั ง ก ฤ ษ : S m a l l M a g e llanic Cloud, SMC) เป็นดาราจักรแคระ แห่งหนึ่ ง ใ น ก ลุ่ ม ท้ อ ง ถิ่ น ถื อ เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น ด า ร า จั ก ร ที่ อ ยู่ ใ ก ล้ ทางช้ า งเผื อ กมากที่ สุ ด และสามารถมองเห็ น ได้ ด้ ว ย ตาเปล่ า โดยอยู่ ห่ า งจากดาราจั ก รของเราประมาณ 200,000 ปี แ สง มี ด าวฤกษ์ อ ยู่ เ ป็ น สมาชิ ก จำนวนหลาย ร้อยล้านดวง บ้ า ง เ ชื่ อ ว่ า เ ม ฆ แ ม เ จ ล แ ล น เ ล็ ก เ ค ย เ ป็ น ด า ร า จั ก ร ช นิ ด ก้ น ห อ ย มี ค า น ม า ก่ อ น แ ต่ ถู ก ร บ ก ว น โ ด ย ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก ท ำ ใ ห้ มั น เ สี ย รู ป ร่ า ง ไ ป แ ต่ ก็ ยั ง สามารถมองเห็นโครงสร้างรูปคานบริเวณตรงกลางได้บ้าง เมฆแมเจลแลนเล็ ก มี ค่ า เดคลิ เ นชั น เฉลี่ ย ถึ ง -73 องศา มันจึงสามารถมองเห็นได้จากด้านซีกโลกใต้หรือ

ซีกโลกเหนือตอนล่างมาก ๆ เท่านั้น ตำแหน่งปรากฏบนฟ้า อยู่ใกล้กลุ่มดาวนกทูแคน เป็นแถบแสงหม่น ๆ กว้างประมาณ 3 องศาบนท้องฟ้า ดูราวกับเป็นชิ้นส่วนที่หลุดออกไปจาก ทางช้ า งเผื อ กเมฆแมเจลแลนเล็ ก เป็ น ดารจั ก รคู่ กั น กั บ เมฆแมเจลแลนใหญ ่ ซึ่ ง อยู่ ห่ า งออกไปทางตะวั น ออก ประมาณ 20 องศา

The Galaxy || 16


ASTROArticle

Star of the future with energy ดวงดาวกับพลังงานแห่งอนาคต

Milky Way Galaxy Doomed: Collision with Andromeda Pending Illustration Credit: NASA, ESA, Z. Levay and R. van der Marel (STScI), and A. Mellinger

Milky Way Over Piton de l’Eau Image Credit & Copyright: Luc Perrot

มื่อแหงนมองฟ้าในยามค่ำคืน มีดาวนับพันดวงส่องประกายแสง ระยิ บ ระยั บ เคยคิ ด ไหมว่ า ดวงดาวเริ่ ม ส่ อ งแสงตั้ ง แต่ เ มื่ อ ไหร่ เ ท่ า ที่ จำความได้ ต อนเด็ ก ๆ ผมเคยนอนนั บ ดาวในเวลากลางคื น นั่ น ก็ ผ่ า น มานานแล้วแต่ดวงดาวก็ยังส่องแสงเหมือนเดิมไม่หรี่แสงลดลงเลยแม้แต่ น้อย ซึ่งจริงๆแล้วดวงดาวส่องแสงมาไม่ใช่ช่วงเวลาแค่ปีสองปีแต่เป็น เวลานับพันล้านปีมาแล้ว และจะยังส่องแสงอย่างนี้ไปอีกนานแสนนาน โดยกระบวนการที่น่าอัศจรรย์ของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันทำให้เราได้ทึ่ง กับความสวยงามตระการตา พู ด ถึ ง พลั ง งานก็ อ ดนึ ก สภาพ ของโลกเราไม่ ไ ด้ เ พราะว่ า มี ก ระแส โด่งดังเกี่ยวกับการขาดแคลนพลังงาน ในอนาคต ทำให้เกิดคำถามว่า ทำไมเร าไม่เลียนแบบกระบวนการผลิตพลังงาน ของดาว มาใช้ผลิตพลังงานบนโลกเรา บ้างจะได้มีพลังงานใช้อย่างยั่งยืน ปั จ จุ บั น โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า พ ลั ง ง า น นิ ว เคลี ย ร์ ที่ ใ ช้ ผ ลิ ต กระแสไฟฟ้ า บ โ ล ก เ ป็ น โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า พ ลั ง ค ว า ม ร้ อ น ชนิดหนึ่ง โดยใช้ความร้อนทำให้น้ำ เดื อ ดกลายเป็ น ไอน้ ำ ไปหมุ น กั ง หั น เพื่ อ หมุ น เครื่ อ งกำเนิ ด ไฟฟ้ า แล้ ว ผลิตไฟฟ้าออกมา โรงไฟฟ้าพลังงาน นิวเคลียรดังกล่าวเป็นการใช้ปฏิกิริยา นิ ว เคลี ย ร์ ฟิ ช ชั น ซึ่ ง ต่ า งจากปฏิ กิ ริ ย า นิ ว เคลี ย ร์ ฟิ ว ชั น ที่ เ กิ ด ในแกนกลาง 17 || The Galaxy

ข อ ง ด ว ง ด า ว ป ฏิ กิ ริ ย า นิ ว เ ค ลี ย ร์ ฟิ ช ชั น เ กิ ด จ า ก ก า ร แตกตั ว ของนิ ว เคลี ย สของธาตุ ห นั ก เช่น ยูเรเนียม พลูโตเนียม แตกตัวเป็น นิวเคลียสที่เบากว่าแล้วปล่อยพลังงาน ออกมา ส่วนปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน เกิดจากการหลอมนิวเคลียสของธาตุ เบา เช่นนิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจน จ น ไ ด้ นิ ว เ ค ลี ย ส ข อ ง ธ า ตุ ที่ ห นั ก ขึ้ น และปล่ อ ยพลั ง งานออกมาเมื่ อ นิ ว เคลี ย สก่ อ ตั ว ขึ้ น จากปฏิ กิ ริ ย า นิ ว เคลี ย ร์ ฟิ ว ชั น มวลทั้ ง หมดของ นิ ว เคลี ย สที่ เ กิ ด หลั ง ปฏิ กิ ริ ย าจะน้ อ ย กว่ า มวลทั้ ง หมดที่ เ กิ ด ก่ อ นปฏิ กิ ริ ย า แสดงว่ า มี ม วลส่ ว นหนึ่ ง เปลี่ ย นเป็ น พลั ง งานตามสมการอั น เลื่ อ งชื่ อ ของ ไอสไตน์ E=mc2

ปฏิ กิ ริ ย านิ ว เคลี ย ร์ ฟิ ว ชั น ภายในดวงดาว สามารถเกิ ด ขึ้ น ได้ เ พราะที่ แ กนกลาง ดวงดาวนั้ น มี อุ ณ หภู มิ สู ง และมี ค วาม หนาแน่ น มากปกติ แ ล้ ว นิ ว เคลี ย ส 2 นิ ว คลี ยสจะผลักกันด้วยแรงคูลอมบ์ (Coulomb’s force) เนื่องจากมีประจุบวกเหมือนกัน แต่ ที่ แ กนกลางของดวงดาวมี อุ ณ หภู มิ สู ง มาก พอและมี ค วามหนาแน่ น มากจนนิ ว เคลี ย ส หลอมรวมเป็นนิวเคลียสของธาตุที่หนักขึ้น ด้วยแรงระหว่างนิวคลีออนซึ่งเป็นปรากฏกา รณ์ตกค้างจากแรงที่ยึดเหนี่ยวอนุภาคควาร์ก เอาไว้ เรียกว่า อันตรกิริยาอย่างเข้มซึ่งมี อนุภาคพาหะที่เรียกว่า กลูออน ปั จ จุ บั น ได้ มี โ ครงการวิ จั ย ที่ ก ำลั ง ดำเนินการในเรื่องฟิวชันนี้อยู่หลายแห่งทั่ว โลก โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะนำพลังงาน จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันมาใช้ในการผ ลิตไฟฟ้าการควบคุมกระบวนการฟิวชันบน โลก มีความแตกต่างจากปฏิกิริยาฟิวชันที่ เกิดขึ้นที่ดวงดาว โดยการเลือกใช้อะตอม ไฮโดรเจนที่ มี น้ ำ หนั ก มากกว่ า ไฮโดรเจน ปกติ คือ ดิวทีเรียม และตริเตียม ซึ่งโอกาสเกิด ปฏิกิริยาได้มากกว่าไฮโดรเจนโดยทั่วไปที่มี เพียง 1 โปรตอนและ 1 อิเล็กตรอน เรียกว่า โปรเทียม ซึ่งเป็นรูปแบบของไฮโดรเจนปกติ ที่ไม่มีนิวตรอน ขณะที่ ดิวทีเรียม มี 1 นิวตรอน และ ตริเตียม มี 2 นิวตรอน ตามลำดับ


ASTROArticle

Star of the future with energy ดวงดาวกับพลังงานแห่งอนาคต

ที่มีอุณหภูมิสูงมากนี้ให้ได้ก่อน ถือเป็นงานท้าทายความ สามารถทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมในการที่จะทำควา มร้อนให้พลาสมามีอุณหภูมิสูงมากๆ รวมทั้งการหาวิธีบีบ ลำพลาสมาให้ มี ค วามหนาแน่ น มากพอที่ จ ะเกิด ปฏิ กิ ริ ย า ฟิวชันได้อย่างต่อเนื่อง ถ้าประสบความสำเร็จโลกเราจะมี โอกาสเกิดโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟิวชันใช้กันในอนาคต อ้างอิง P.-Y. Bely, C. Christian and J.-R. Roy, A Question and Answer Guide to Astronomy, 34-35, 2010

การเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันและเตาปฎิกรนิวเคลียร์ฟิวชั

จากภาพเมื่อทำให้นิวเคลียสของ ดิวทีเรียม กับ ตริเตียม หลอมรวมกันจะได้ฮีเลียม (He) นิวตรอน(n) และพลังงานออกมา อนุภาคที่เกิดจากปฏิกิริยาฟิวชันมี ความเสถี ย รมากกว่ า ปฏิ กิ ริ ย าฟิ ช ชั น ที่ มี ก ารปล่ อ ย กัมมันตรังสีออกมา จะเห็นได้ว่าปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันดูเหมือนจะมี ข้อดีมากกว่าปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันของนิวเคลียสที่หนัก คือนิวเคลียร์ฟิวชันให้พลังงานต่อมวลมากและหาเชื้อเพลิง ได้ง่ายกว่านิวเคลียร์ฟิชชัน ตัวอย่างเช่น ยูเรเนียมยิ่ง เวลาผ่ า นไปนานก็ ยิ่ ง หายากเพราะมี ก ารสลายตั ว ไปตา มธรรมชาติ อี ก ทั้ ง โอกาสที่ จ ะเกิ ด การสั ง เคราะห์ ธ าตุ ห นั ก ๆ (ในดวงดาว) ยิ่งเกิดขึ้นยากทำให้ในเอกภพนี้มีจำนวน ธาตุหนักน้อยกว่าธาตุเบา อย่างไรก็ตาม ฟิวชันจะเกิดขึ้นได้ ต้องมีอุณหภูมิสูงมากพอ (ประมาณ 15 ล้านเคลวิน) และ ความหนาแนนของสสารที่ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง สู ง มากเงื่ อ นไข นี้ ส ามารถเกิ ด ขึ้ น ได้ ใ นระเบิ ด ไฮโดรเจนแต่ ไ ม่ ส ามารถ ควบคุมได้ ในการควบคุมพลังงานของปฏิกิริยาฟิวชัน นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรต้องหาวิธีที่จะควบคุมพลาสมา

เรียบเรียงโดย นายตอริก เฮ็งปิยา สำนักบริการวิชาการและสื่อสารทางดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน)

ASTROMAGAZINE

The world’s best-selling astronomy magazine

Astronomy offers you t hemost exciting, visually stunning,thorough, and timely coverage of the heavensabove. Each monthly issue includes expert science reporting, vivid color photography,complete

sky-event coverage, spot-on observing tips, informative telescope reviews, and more. All of this comes in an easy-to-understand, user-friendly style that’s perfect for astronomers at any level. The Galaxy || 18


The impending birth of our supergalaxy. สิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับกาเเล็กซีของเรา การชนกับของกาแล็กซีทางช้างเผือกกับกาแล็กซี่เพื่อนบ้านใน อีก 4,000 ล้านปีข้างหน้า

19 || The Galaxy


The Galaxy || 20


Collision of the Milky Way galaxy Vs Andromeda galaxy.

นั ก ด า ร า ศ า ส ต ร์ ค้ น พ บ ข้ อ มู ล ล่ า สุ ด จ า ก ก ล้ อ ง โ ท ร ท ร ร น์ อ ว ก า ศ ฮั บ เ บิ ล เ กี่ ย ว กั บ การพุง่ ชนกันของกาแลกซีทางช้างเผือกและกาแลกซีแอนโดรมีดาในอีก4,000ล้านปีขา้ งหน้าและหลังจากนัน้ ทัง้ สอง กาแลกซีก็จะหลอมรวมกันเป็นหนึ่งเดียว

ห ลั ง จ า ก ที่ นั ก ด า ร า ศ า ส ต ร์ ไ ด้ ใ ช้ ก ล้ อ ง โทรทรรศน์ อ วกาศฮั บ เบิ ล เพื่ อ ศึ ก ษาความเป็ น ไ ป ไ ด้ ที่ ก า แ ล ก ซี ท า ง ช้ า ง เ ผื อ ก จ ะ ช น กั บ ก า แ ล ก ซี แอนโดรมี ด า ซึ่ ง เป็ น กาแลกซี เ พื่ อ นบ้ า น ที่ อ ยู่ ใ กล้ กั บ กาแลกซีทางช้างเผือกนั้นล่าสุดกลุ่มนักดาราศาสตร์ก็ได้ เปิ ด เผยข้ อ มู ล ว่ า กาแลกซี ท างช้ า งเผื อ กจะชนเข้ า กั​ับกาแลกซีแอนโดรมีดาในอีก 4,000 ล้านปีข้างหน้า เนื่องจากทั้งสองกาแลกซี ต่างก็ถูกอีกฝ่ายหนึ่งดึงดูดเข้า มาหา จนเกิดการชนกันในที่สุด และหลังจากนั้น อีก 2,000 ล้านปี ทั้งสองกาแลกซีก็จะหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียว โดย ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมาก็คือ ตำแหน่งที่ตั้งของดวง อาทิ ต ย์ จ ะเปลี่ ย นไป ส่ ว นดวงดาวอี ก จำนวนหนึ่ ง ก็จะถูกทำลาย แต่เป็นเพียงส่วนน้อยเท่านั้น โ ด ย ห นึ่ ง ใ น นั ก วิ จั ย จ า ก ส ถ า บั น ก ล้ อ ง โทรทรรศน์อวกาศ ในบัลติมอร์ สหรัฐอเมริกา เปิดเผยว่า ปัจจุบัน ถ้าเรามองจากโลกนั้น จะเห็นกาแลกซี แอนโดรมีดาเป็นเพียงกลุ่มควันเล็กๆ แต่หลังจากมี การค้นพบและยืนยันว่า ในอนาคตกาแลกซีแอนโดรมีดา จะเคลื่อนมาชนกับทางช้างเผือก และปกคลุมโลกของเรา และระบบสุริยะเอาไว้ ก็ทำให้วงการดาราศาสตร์ กลับมาคึกคักครั้ง โดยหลายฝ่ายยกย่องให้การค้นพบครั้งนี้ เป็นการค้นพบอันยิ่งใหญ่

21 || The Galaxy

หลังจากนี้ สิ่งที่นักดาราศาสตร์ต้องดำเนินการ เป็นลำดับต่อไป ก็คือ การตรวจสอบว่า กาแลกซี แอนโดรมี ด าจะเคลื่ อ นตั ว เข้ า มาใกล้ กั บ กาแลกซี ทางช้างเผือกในทิศทางใด แต่เนื่องด้วยเทคโนโลยี ที่มนุษย์มีอยู่ในปัจจุบัน อาจท ำให้การคาดการณ์ดังกล่าวไม่ประสบผลสำเร็จ แต่สิ่ง หนึ่ ง ที่ นั ก ดาราศาสตร์ ส ามารถยื น ยั น ได้ ใ นขณะนี้ ก็ คื อ แม้ว่า กาแลกซีแอนโดรมีดา จะเคลื่อนตัวเข้ามาปะทะกับ กาแลกซีทางช้างเผือก แต่ดวงดาวที่โคจรอยู่ในทั้งสอง กาแลกซี จะไม่พุ่งชนกันอย่างแน่นอน เพราะว่าระยะห่างข องทั้งสองกาแลกซีนั้น มีขนาดใหญ่มาก ส่วนหลุมดำที่อยู่ ใจกลางของสองกาแลกซี ก็จะรวมกันเป็นหนึ่งเดียว อย่างไรก็ตาม หลายฝ่ายตั้งข้อสังเกตว่า เหตุการณ์ ดังกล่าวที่จะเกิดขึ้นในอีก 4,000 ล้านปีข้างหน้า มนุษย์จะ ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของเหตุการณ์นี้หรือไม่ นักวิจัยผู้รับผิด ชอบโครงการนี้กล่าวว่า เมื่อถึงเวลานั้น อาจจะไม่มีมนุษย์ อาศัยอยู่บนโลกอีกต่อไป เพราะว่าอากาศจะร้อนขึ้น จนไม่ เอื้อให้มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ แต่หากว่า มนุษย์ในโลกอนาคต สามารถเปลี่ ย นความร้ อ นดั ง กล่ า วเป็ น พลั ง งานอื่ น ๆแทน ก็อาจจะมีชีวิตอยู่รอด และสามารถพบเห็นเหตุการณ์ที่จะ เกิดขึ้นก็เป็นได้


ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงการชนกันที่คาดการณ์ไว้ระหว่างทางช้างเผือกและแอนโดรเมดา ถ้ามองจากโลก เฟรมแรกเป็นวันที่ปัจจุบัน; เฟรมสุดท้ายเป็น 7 พันล้านปีนับจากนี้

The Galaxy || 22


T op 10

most beautiful and interesting in the universe .

10 อันดับภาพที่สวยงามและน่าสนใจที่สุดในจักรวาล

23 || The Galaxy

1 0 .Supernova

1987a

Supernova 1987a นี้ ถือว่าเป็นภาพที่ชัดเจนของการพิสูจน์ ปรากฏการณ์ supernova เนื่องจาก supernova ครั้งนี้สามารถตรวจสอบ และเทียบเคียงได้ว่า ความสว่างก่อนและหลังการเกิด supernova เป็นเช่นไร Supernova 1987a นี้ระเบิดขึ้น (ตรวจจับได้) ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 1987 ใน Large Magellanic Cloud (หมู่เมฆแมคเจลแลนใหญ่) เกิดจากการระเบิด supernova ชนิดที่ 2 ของดาวฤกษ์ชื่อ Sanduleak -69° 202 ซึ่งเป็นดาวประเภท Blue supergiant ในวันนั้นสามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่าและแสงยังคงปรากฏนานถึง 4 เดือน

9 . Ant

Nebula

Ant nebula หรืออีกชื่อคือ Menzel 3 เป็นเนบิวล่าประเภท Planetary nebula ไกลจากโลก 8,000 ปีแสง เกิดจากการยุบตัวของ ดาวฤกษ์มวลน้อยและมีการแพร่กระจายมวลที่เหลืออยู่ในช่วงชีวิตทั้งหมด ออกไป Ane nebula นี้เป็นตัวอย่างที่ดีของการพิสูจน์การเปลี่ยนแปลงสภาพ ดาวฤกษ์เมื่อหมดอายุขัยว่าจะกลายสภาพเป็นเช่นไร ดวงอาทิตย์ของเรา เมื่อหมดอายุก็จะกลายสภาพเป็นเช่นนี้

8 . Pillars

of Creation

ชื่อ Pillars of Creation นี้เป็นภาพส่วน หนึ่ ง ที่ ตั ด มาจาก Eagle Nebula ห่ า งจากโลกประมาณ7,000ปี แ สง ในส่วนของ “เสา” 3 ต้นนี้ คือกลุ่มก๊าซและโมเลกุลของไฮโดรเจนโดยมี ฉากหลังเป็นโมเลกุก๊าซที่แตกตัวจากดาวฤกษ์อันร้อนแรง 3 ดวง“เสา” แต่ละต้นนี้มีความยาวถึง 4 ปีแสง ภาพส่วนนี้ถือเป็นหนึ่งในภาพที่ดีที่สุด จากกล้องโทรทัศน์ Hubble


7.

Eta Carinae

Eta Carinae เป็นดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ในกลุ่มดาวกระดูกงูเรือ (Constellation Carina) อยู่ห่างจากโลกประมาณ 7,500 ปีแสงมีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ถึง 100 เท่าสว่างกว่าดวงอาทิตย์ถงึ 4 ล้านเท่า! ดาวดวงนีม้ คี วามพิเศษอันน่ากลัว กล่าว คือมีความไม่เสถียรของดาวตลอดเวลากว่า 200 ปีที่ผ่านมาดาวดวงนี้เปลี่ยนความ สว่างขึ้น ๆ ลง ๆ ตั้งแต่ปี 1730ถึงปี 1827 และในที่สุดในปี 1994 กล้องโทรทัศน์อวกาศ Hubbleได้แสดงให้เห็นภาพอันน่ากลัวนี้ครับ คือดาวดวงนี้ได้ระเบิดปล่อยมวลก๊าซ ขนาดยักษ์ออกมาสองข้างตัวมันแต่ตัวดาวก็ยังคงสภาพอยู่ได้ ไม่ระเบิดกลายเป็น Supernova ปัจจุบันนี้ดาวดวงนี้ก็ยังคงสภาพเช่นนี้อยู่

6.

Rosetta Nebula

Rosetta Nebula หรือเนบิวล่ากุหลาบ (หรืออีกชื่อคือ Caldwell 49) นี้ อยู่ ในทิศทางของกลุ่มดาวยูนิคอร์นห่างจากโลก 5,200 ปีแสง และมีความกว้างถึง 130 ปีแสง เนบิวล่านี้สว่างเรืองรองด้วยการกระตุ้นโมเลกุลก๊าซจากกลุ่มดาวเกิดใหม่ใจ กลางเนบิวล่า ก่อให้เกิดแสงสวยงามเช่นนี้

5.

Sombrero Galaxy

Sombrero Galaxy หรือในชื่อ M104 , NGC 4594 เป็นแกแลคซี่ชนิด unbarred spiral galaxy อยู่ในทิศทางกลุ่มดาวหญิงสาว ห่างจากโลก 28 ล้านปีแสง ลั กษณะพิเศษของแกแลคซี่นี้คือแกนกลางที่สว่างใสวมาก แและมีจานฝุ่นขนาดยักษ์ แผ่หมุนรอบ ๆ ด้วยลักษณะนี้จึงเรียกชื่อว่า Sombrero (หมวกปีกกว้างแบบเม็กซิกัน) ภาพนี้ถ่ายโดยกล้องโทรทัศน์ Hubble โดยใช้เวลาเก็บภาพนานถึง 10.2 ชั่วโมง

4.

Andromeda Galaxy

Andromeda Galaxy (M31 หรือ NGC 224) เป็น Major Galaxy ที่อยู่ใกล้เราที่สุด ห่างจากเรา 2.5 ล้านปีแสงเป็นแกแลคซี่ก้นหอยที่สวยงามและสม มาตรเป็นอย่างยิ่ง

The Galaxy || 24


T op 10

most beautiful and interesting in the universe .

10 อันดับภาพที่สวยงามและน่าสนใจที่สุดในจักรวาล

25 || The Galaxy

3.

Cone Nebula

ภาพนี้เป็นภาพเงาดำของ Cone Nebula ซึ่งเป็นเนบิวล่ามืดที่ ประกอบด้วยโมเลกุลที่เย็นแล้วของไฮโดรเจน และมีฉากหลังเป็น Emission nebula NGC-2264 ซึ่งสว่างเรืองรองด้วยโมเลกุลก๊าซที่แตกตัวด้วยความ ร้อนแรงของดาวฤกษ์ชื่อ S Monocerotis ซึ่งแผดแสงอันร้อนแรงอยู่ภายใน เนบิวล่า NGC-2264

2.

กลุ่มดาวฤกษ์เกิดใหม่

กลุ่มดาวสีน้ำเงินสดใสนี้ อยู่ในเมฆแมคเจลแลนด์น้อย ,Small Magellanic Cloud (SMC) ซึ่งถือเป็นแกแลคซี่บริวารของทางช้างเผือ ก ห่างจากเราประมาณ 200,000 ปีแสง กลุ่มดาวเหล่านี้ เพิ่งก่อตัวขึ้น จากลุ่มก๊าซร้อนจัดพร้อม ๆ กันเป็นสิบ ๆ ดวง ด้วยอายุเพียง 2 - 3 ล้านปี ทำให้เกิดการแตกตัวของก๊าซร้อน เปล่งประกายสวยงามดั่งสวรรค์ทีเดียว

1.

Horse head Nebula in Alnitak region

กลุ่มดาวสีน้ำเงินสดใสนี้ อยู่ในเมฆแมคเจลแลนด์น้อย ,Small Magellanic Cloud (SMC) ซึ่งถือ เป็นแกแลคซี่บริวารของทางช้างเผือก ห่างจากเราประมาณ 200,000 ปีแสง กลุ่มดาวเหล่านี้ เพิ่งก่อตัวขึ้น จากลุ่มก๊าซร้อนจัดพร้อม ๆ กันเป็นสิบ ๆ ดวง ด้วยอายุเพียง 2 - 3 ล้านปี ทำให้เกิดการแตกตัวของก๊าซร้อน เปล่งประกายสวยงามดั่งสวรรค์ทีเดียว


Reader

Gallery

Discover the cosmos! Each day a different image or photograph of our fascinating universe is featured, along with a brief explanation written by a professional astronomer.

1

1. IC 1805: The Heart Nebula Image Credit&Copyright:TerryHancock Explanation: Sprawling across almost 200 light-years, emission nebula IC 1805 is a mix of glowing interstellar gas and dark dust clouds. Derived from its Valentine’s-Day-approved shape, its nickname is the Heart Nebula. About 7,500 light-years away in the Perseus spiral arm of our galaxy, stars were born in IC 1805. In fact, near the cosmic heart’s center are the massive hot stars of a newborn star cluster also known as Melotte 15, about 1.5 million years young. A little ironically, the Heart Nebula is located in the constellation of the mythical Queen of Aethiopia (Cassiopeia). This deep view of the region around the Heart Nebula spans about two degrees on the sky or about four times the diameter of the Full Moon.

2. Colors of Mercury Colors of Mercury Image Credit: NASA / JHU Applied Physics Lab / Carnegie Inst. Washington Explanation: The colors of the solar system’s innermost planet are enhanced in this tantalizing view, based on global image data from the Mercury-orbiting MESSENGER spacecraft. Human eyes would not discern the clear color differences but they are real none the less, indicating distinct chemical, mineralogical, and physical regions across the cratered surface. Notable at the upper right, Mercury’s large, circular, tan colored feature known as the Caloris basin was created by an impacting comet or asteroid during the solar system’s early years. The ancient basin was subsequently flooded with lava from volcanic activity, analogous to the formation of the lunar maria. Color contrasts also make the light blue and white young crater rays, material blasted out by recent impacts, easy to follow as they extend across a darker blue, low reflectance terrain.

2 The Galaxy || 26


Image Credit: Subaru Telescope (NAOJ), Hubble Space Telescope, Martin Pugh; Processing: Robert Gendler Explanation: Clouds of glowing gas mingle with dust lanes in the Trifid Nebula, a star forming region toward the constellation of the Archer (Sagittarius). In the center, the three prominent dust lanes that give the Trifid its name all come together. Mountains of opaque dust appear on the right, while other dark filaments of dust are visible threaded throughout the nebula. A single massive star visible near the center causes much of the Trifid’s glow. The Trifid, also known as M20, is only about 300,000 years old, making it among the youngest emission nebulae known. The nebula lies about 9,000 light years away and the part pictured here spans about 10 light years. The above image is a composite with luminance taken from an image by the 8.2-m ground-based Subaru Telescope, detail provided by the 2.4-m orbiting Hubble Space Telescope, color data provided by Martin Pugh and image assembly and processing provided by Robert Gendler.

3

4

3.In the Center of the Trifid Nebula

5

4. The Arms of M106 Credit: Image Data - Hubble Legacy Archive, Robert Gendler, Jay Gabany, Processing - Robert Gendler Explanation: The spiral arms of bright galaxy M106 sprawl through this remarkable multiframe portrait, composed of data from ground- and spacebased telescopes. Also known as NGC 4258, M106 can be found toward the northern constellation Canes Venatici. The well-measured distance to M106 is 23.5 million light-years, making this cosmic scene about 80,000 light-years across. Typical in grand spiral galaxies, dark dust lanes, youthful blue star clusters, and pinkish star forming regions trace spiral arms that converge on the bright nucleus of older yellowish stars. But this detailed composite reveals hints of two anomalous arms that don’t align with the more familiar tracers. Seen here in red hues, sweeping filaments of glowing hydrogen gas seem to rise from the central region of M106, evidence of energetic jets of material blasting into the galaxy’s disk. The jets are likely powered by matter falling into a massive central black hole. 5.Orion Nebula: The Hubble View Image Credit: NASA, ESA, M. Robberto (STScI/ESA) et al.Explanation: Few cosmic vistas excite the imagination like the Orion Nebula. Also known as M42, the nebula’s glowing gas surrounds hot young stars at the edge of an immense interstellar molecular cloud only 1,500 light-years away. The Orion Nebula offers one of the best opportunities to study how stars are born partly because it is the nearest large star-forming region, but also because the nebula’s energetic stars have blown away obscuring gas and dust clouds that would otherwise block our view - providing an intimate look at a range of ongoing stages of starbirth and evolution. This detailed image of the Orion Nebula is the sharpest ever, constructed using data from the Hubble Space Telescope’s Advanced Camera for Surveys and the European Southern Observatory’s La Silla 2.2 meter telescope. The mosaic contains a billion pixels at full resolution and reveals about 3,000 stars.

6 6.Sentinels of the Arctic Image Credit & Copyright: Niccolò Bonfadini Explanation: Who guards the north? Judging from the above photograph, possibly giant trees covered in snow and ice. The picture was taken last winter in Finnish Lapland where weather can include sub-freezing temperatures and driving snow. Surreal landscapes sometimes result, where common trees become cloaked in white and so appear, to some, as watchful aliens. Far in the distance, behind this uncommon Earthly vista, is a more common sight -- a Belt of Venus that divided a darkened from sunlit sky as the Sun rose behind the photographer. Of course, in the spring, the trees have thawed and Lapland looks much different.

27 || The Galaxy


Celestron AstroMaster 114 EQ Reflector Telescope

Sale Price: $149.98 List Price: $370.95 SAVE 60%

Free!!

Shipping with Economy Service This does not ship to Thailand with Fed Ex Ground when you buy today AstroMaster 114EQ Features: Quick and easy no-tool setup Permanently mounted StarPointer Erect image optics - Ideal for terrestrial and astronomical use Quick release dovetail attachment - no tool setup German Equatorial Mount with Setting Circles - to accurately locate and track sky objects Rugged pre-assembled tripod with 1.25� steel tube legs - Provides a rigid and stable platform All coated glass optics for clear, crisp images Deluxe accessory tray for convenient storage of accessories The Sky Level 1 planetarium software with 10,000 object database and enhanced images



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.