บทนำ ข้ าพเจ้ าได้ รวบรวมเนื ้อหาเ กี่ยวกับประวัติศาสตร์ เมืองเชียงแสนซึ่งเ นื ้อหาภายในเล่มนี ้จะประกอบไปด้ วย ป ระวัติความเป็ นมาและการก่อตังเมื ้ องเชี ยงแสนสมัยต่างๆ และยังมีวดั โบราณเก่ าแก่มากมายเช่นวัดพระธาตุเจดีย์หลวง วัดป่ าสักเชียงแสน วัดพระธาตุจอมกิตติ และอีกหลายวัดที่
หน้ าสนใจแก่ ผ้ ู ที่ ช อบท่ อ งเที่ ย วตา มโบราณวัดวาอารามต่างๆ ทังหม ้ ดนี ข้ ้ าพเจ้ าได้ จั ด ทำสถานที่ ส ำคั ญ และแหล่งความรู้แก่ผ้ ทู ี่สนใจ หากมีค วามผิดพลาดประการใดข้ าพเจ้ าขออภั ยมา ณ ที่นี ้ด้ วย
วัดพระธาตุจอมกิตติ
11
วัดพระเจ้ าล้ านทอง
16
ประวัตเิ มืองเชียงแสน
1
วัดเจดีย์หลวง
5
วัดพระธาตุผาเงา
20
วัดพระธาตุสองพี่น้อง
32
วัดป่ าสัก
36
ประวัตเิ มืองเชียงแสน
เชียงแสนเมืองเกา่ เมือง
เ ชี ย ง แ ส น เ ป็ น ชื่ อ เ ดิ ม ว่ า เ วี ย ง เ ก่ า เป็ นเมืองที่เก่าแก่ของประเทศไทย ตังอยู ้ บ่ น ฝั่ งแม่น้ำโขงหรื อชาวบ้ านเรี ยกว่าแม่น้ำของ ติดกับประเทศลาว ต้ น แม่น้ำนี ้อยูใ่ นประเทศธิเบตจีน เรี ยกชื่อว่าแม่น้ำลานฉอง ก่ อนที่เราจะพูดถึงเรื่ องราวของเมืองเชียงแสน เราขอย้ อนกับไปถึ งความเป็ นมาของอาณาบริ เวณแถบนี ต้ ัง้ แต่อดีตก่อนโน้ นซึง้ มี ปรากฎในตำนานต่างๆดังนี ้ ตำนานสิงหนวัตได้ กล่าวไว้ วา่ พระเจ้ าสิงหนวัตริ าชโอรสของ พระเจ้ าเทวกาล กษัตรย์เมืองนครไทยเทศ เมืองไทยในม ณฑลยู น านได้ อพยพครอบครั ว ลงมาสร้ างเมื อ งขึ น้ เรี ย กว่ า “เมืองนาคพันธุ์สงิ หนวัตินคร” หรื อเมืองโยนกนครไชยบุรีราชธานี ศรี ช้างแสน ซึง่ ต่อมาในรัชสมัยพระเจ้ ามหาไชยชนะ พ.ศ. 1088 มหาศักราช 467 เมืองนี ้ได้ ลม่ ไปคือเมืองหนอง ตำบลท่าข้ าวเปลือก อ. แม่จนั ” ในพงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสนกล่าวว่า ท้ าวลวจังกร าชซึ่ง เกิ ด โดยโอปปาติ ก (เกิ ด เอง)ได้ เ ป็ นกษั ต ริ ย์ ส ร้ างเมื อ งเงิ น ยางขึ ้น เมื่อปี กุนเอกศก ตติยศักราช ๑ ( จุลศักราช ๑๑๘๑ ) เมืองนี ้มีชื่อว่าศรี เชียงแสน เมืองนี ้ได้ ตงอยู ั ้ ต่ ลอดมาจนถึงรัชสมัย พระเจ้ ามังราย และต่อมาพระเจ้ ามังรายได้ มาตีเมืองลำพูนได้ แล้ ว ไป สร้ างเมืองกุ่มก๋วม หมายถึงสร้ างเมืองครอบน้ ำแม่ระ มิงค์ไว้ ทงสองภาค ั้ คำว่า เมืองกุ่มก๋วมหมายถึงครอบ ซึง่ ในระยะนี ้เมืองหิรัญนคร เงินยางคงจะกลายเป็ นเมืองร้ างเพราะปรากฎว่า พระเจ้ ามังรายโ ปรดให้ เจ้ าแสนภูราชนัดดาไปทำการบูรณะ แต่ในตำนานสิงหนวัตคิ ือประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๑
ได้ กล่าวไว้ ในหน้ า ๑๕๘ ว่า ในกลานันพระยามั ้ งรายและพ ระยามังครามเจ้ าสองพ่อลูกจึงปรึกษากันว่า ควรเราจะมีอ าชญาให้ เจ้ าแสนภูตนเป็ นหลานนันไปเลื ้ อกตังเวี ้ ยงเงินยา งเชียงแสน ให้ คืนเป็ นเวียงแถมแล ดังนี ้
เจ้ าพระยามังคราม โอรสองค์กลางของพระเจ้ ามังรายซึง่ ครอง หัวเมืองฝ่ ายเหนือ โดยตังอยู ้ ท่ ี่เมืองเชียงรายนัน้ มีราชบุตรอยู่ ๓ องศ์คือ องค์พี่มีชื่อว่า เจ้ าแสนพู องค์ที่ ๒ ชื่อว่า เจ้ าน้ ำท่วม องค์ที่ ๓ ชื่อว่า เจ้ าน้ ำน่าน พระเจ้ ามังรายจึงมีรับสัง่ กับเจ้ าขุนครามว่าจะ ให้ เจ้ าแสนพูไปตังเวี ้ ยงเงิน ยางเชียงแสนที่ร้างไปนัน้ ให้ เป็ นบ้ านเ มืองขึ ้นใหม่และให้ เจ้ าแสนพูอยูค่ รองเมืองนัน้ ส่วนเจ้ าน้ ำท่วมให้ ไ ปครองเมืองฝาง เจ้ าน้ ำน่านให้ ไปครองเมืองเชียงของ เจ้ าขุนคราม ก็เห็นด้ วยและเรี ยกตัวราชบุตรทัง้ ๓ มารับมอบหมายตามรับสัง่ ฝ่ ายเจ้ าแสนพูเมื่อรับสัง่ แล้ ว ก็พร้ อมด้ วยไพร่พลพร้ อม ด้ วยครอบครั ว ลู ก เมี ย ของเสนาอำมาตย์ ร าษฎรทั ง้ ปวง ออกเดินทางในวันอังคารเดือน ๓ ขึ ้น ๕ ค่ำปี กุน พ.ศ ๑๘๓๐ โ ดยลงเรื อพ่วงล่องไปตามแม่น้ากกเดินทางได้ ๗ คืนก็ถงึ แม่น้ำโ ขงก็ขึ ้นตามแม่น้ำโขงไปได้ หน่อยหนึง่ ครัน้ ถึงวันอังคารขึ ้น ๑๒ ค่ำ ก็ถงึ ท่าเชียงเหล้ าหัวคอนม่อน ก็หยุดพักเอาชัยที่เวียงปรึกษา ซึง่ ปั จจุบนั เรี ยกว่าเชียงแสนน้ อย ซึง่ อยูฝ่ ั่ งแม่น้ำโขง ข้ างต ะวั น ตกก่ อ นแล้ วเจาแสนพู จึ ง จั ด ให้ ผู้ เฒ่ า ผู้ แก่ นั ก ปราชญ์ ผู้ร้ ูโบราณมาแล้ วจัดการทำพิธี และทำการบูรณะเมืองโยนกนา คพันธุ์ซงึ่ กลายเป็ นเมืองร้ างนันขึ ้ ้นใหม่มีประตู ทังหมด ้ ๑๑ แห่ง คือทางทิศเหนือ มีประตู นางเลิ ้ง ๒. ทางริ มแม่น้ำโขงมีประตูรัว้ ปี ก ๓. ประตูทา่ อ้ อย ๔. ประตูทา่ สุกมั ๕. ประตูทา่ หลวง
๖. ประตูทา่ เสาศิน ๗.ประตูทา่ คาว เป็ นประตูเมืองทางด้ านทิศตะวันออกนี ้ถูก แม่นํ ้โขงพัดเซาะพังทลายลงในน้ ำเสียเมือประมาณ ๖๐-๗๐ ปี มานี ้ เวลานี ้คงเหลือแต่ประตูทางด้ านทิศเหนือด้ านใต้ และด้ า นทิศตะวันตก คือประตูทา่ ม้ าทาง หางเวียง(ประตูทางด้ านทิศใ ต้ นี ้เรี ยกอีกอย่างหนึง่ ว่า ประตูทพั ม่าน)ซึง่ เป็ นประตูที่๘ ประตูที่๙ คือประตูดนิ ขอ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประตูที่๑๐ ประตูเชียงแสน ทางทิศตะวันตก ประตูที่๑๑ ประตูหนองมุด ทางตะวันตกเฉียงเหนือแจ่ง หัวริ นรวมแล้ วมี ๑๑ ประตู ได้ ทำการแผ้ วถาง อยูจ่ นถึงวันเดือน๓เหนือวันศุกร์ ขึ ้น๑๕ค่ำ ยามเดือนงาย เป็ นเวลา๓วันเจ้ าแสนพูก็ยกพลลงเรื อไปขึ ้นที่ท่ าแจ้ งสี ก็หยุดพักที่นนั ้ แล้ วยกขึ ้นท่าควานปูเต้ าเสด็จออกจาก เรื อแล้ วก็ขึ ้นไปสักการะบูชาไหว้ มหาธาตุ ดอยปู๋เต้ ากระทำปร ะทักษิณ๓รอบแล้ วจึงล่องมาเสด็จเข้ าสูเ่ วียงยามเที่ยง พักเอา ชัยมงคลที่ริมประตูยางนันก่ ้ อน แล้ วก็ให้ เสนาอำมาตย์ทงหลา ั้ ยก่อกำแพงเมืองและสร้ างคุ้มหลวงที่เก่ากลาง เวียงนัน้ ทำกา รบูรณะอยู่ได้ ๓เดือนพอถึงเดือน๖เพ็ญวันอังคารยามแถรจึงแ ล้ วเสร็ จ เจ้ าแสนพูจงึ เข้ าสถิตในหอคำหลวง แล้ วให้ อำมาตย์ร าชครู นกั ปราชญ์ อาจารย์ทงหลายทำพิ ั้ ธีอปุ ภิเษกเป็ นเจ้ าแก่รัฐ ไชยบุรีศรี เชียงแสนในวันนัน้ และโปรดให้ ทำการบูรณะวัดเชียง มัน่
ขึ ้นในวันเดือน๑๐เพ็ญปี นัเอง(พ.ศ๑๘๓๐)แล้ ้ วโปรดให้ หมื่นเจตรา กับนายช่างการถมผู้เป็ นบุตรของขุนเครื่ องคำโอรสองค์โตของพระเ จ้ าเม็งราย ซึง่ ถูกพระบิดาสงสัยว่าจะคิดกบฎ จึงให้ ยิงเสียด้ วยธนูณ. ที่บ้านเวียงยิงนัน้ มาเป็ นพันนาขวาและพันนาซ้ าย และแต่งตังขุ ้ นนางเจ้ าเมืองบรรดาเมืองขึ ้นของเมืองเชียงแสนอีก ๓๒ ตำแหน่ง และจัดการปกครองเมืองเชียงแสนโดยแบ่งเป็ นจตุสดมภ์คือ ๑ หาญราชวัง มีหน้ าที่เกี่ยวกับราชการคุ้ม ๒ หาญราชโกฎิ์ คือตำแห น่งคลังยุ้งฉางเสบียงอาหาร ๓ หาญบ้ านทำการปกครองดูแลพวก พลเมือง กิจการบ้ านเมืองภายใน ๔ หาญเมืองมีหน้ าที่ราชการต่า งเมือง ต่อมาอีก๒ปี ถึง พ.ศ ๑๘๓๒ เจ้ าแสนพูได้ สร้ างเจดีย์สว มครอบพระเจดี ย์ เ ก่ า ที่ วั ด แจ้ งศรี บุ ญ เรื องซึ่ ง หั ก พั ง ไปนั น้ สูง๘วาวัดนี ้มีศลิ าจารึกว่า เป็ นที่บรรจุพระบรมธาตุ ๖๐ องศ์ ต่อมาในปี พ.ศ ๑๘๓๓ เดือนเหนือขึ ้น ๑๕ ค่ำวันศุกร์ สร้ างทางวิหาร หลวงและสร้ างพระเจดีย์สงู ๒๙วา กว้ าง๑๔ และพร้ อมกันนี ้ได้ บรู ณ ะปฎิสงั ขรณ์พระธาตุจอมกิตติ พระธาตุดอยปู๋เต้ า พระธาตดอยรัง ในปี พ.ศ ๑๘๓๘ มีพระมหาเถรเจ้ าชื่อพระพุทธโฆษาจาร ย์ มาแต่เมืองปาฎลิบตุ รเชิญเอาพระบรมธาตุ(กระดูกขิอเท้ าข้ างขวา) มาถวายพระเจ้ าแสนพู จึงโปรดให้ สร้ างพระมหา เจดีย์บรรจุ ไว้ ที่นอกเมืองตรงประตูเชียงแสนด้ านตะวันตก และสร้ างพระอารามกว้ าง๕๐ วาแล้ วเอาต้ นไม้ สกั ปลูกแวดล้ อมไว้ ๓๐๐ต้ น เรี ยกว่าวัดป่ าสัก แล้ วสถาปนาพระพุทธโฆษาจารย์เป็ นพ ระสังฆราชสถิตอยู่ ณ.วัดนัน้ เจ้ าแสนพูได้ ครองเมืองเชียงแสนสืบต่อมา จนถึงปี พ.ศ ๑๘๕๖ เจ้ าขุนครามพระชารบิดา ซึง่ ครองราชสมบัติ ณ.เมืองเชียงใหม่สวรรคต เจ้ าแสนพูจงึ ส่งไปเสวยราชสมบัติ ณ.เมืองเชียงใหม่ พระองศ์ครองเมืองเชียงแสนอยูน่ าน๒๕ปี แล้ วให้ หมื่นเจตราพันนาขวา และนายช่างการถมพันนาซ้ าย๒ค นพี่น้องซึง่ เป็ นลูกพี่ลกู น้ อง ให้ ครองเมืองเชียงแสน ครัง้ ในปี พ.ศ ๑๘๖๒หมื่นเจตรา ได้ ถงึ แก่กรรม จึงโปรดให้ เจ้ าคำปูราชโอรสขึ ้ นมาครอง ต่อมาในปี พ.ศ ๑๘๗๕ พระเจ้ าแสนพูได้ เสด็จมาคร องเมืองเชียงแสนอีกครัง้ หนึง่ และครองอยูไ่ ด้ ๒พรรษา ถึงปี พ.ศ ๑๘๗๗ก็สวรรคต ณ.เมืองเชียงแสน เจ้ าคำพูได้ เสวยราชย์ตอ่ มา
และได้ ให้ เชิ ญ พระศพพระราชบิ ด าไปประดิ ษ ฐานไว้ ณ.เวียงเหนือปากแม่น้ำกก เรี ยกว่า ตำบลท่ากาดเปลือก พ ระเจ้ า คำปูจึ ง ให้ ท้ า วผายูโ อรสมาครองเมื อ งเชี ย งแสนแล้ ว พระองศ์ไปครองเมือง เชียงใหม่ แต่ตอ่ มาในปี พ.ศ ๑๘๙๙
รายพระนามกษัตริ ย์ผ้ คู รองเมืองเชียงแสน ยุคเมืองหิรัญนคร 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
พญาลวจักราช (ลาวจก) พญาลาวเก๊ าแก้ วมาเมือง พญาลาวเส้ า (ลาวเสา) พญาลาวตัง (ลาวพัง) พญาลาวกลม (ลาวหลวง) พญาลาวเหลว พญาลาวกับ พญาลาวคิม (ลาวกิน)
ยุคเมืองเงินยาง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
พญาลาวเคียง พญาลาวคิว พญาลาวเทิง (ลาวติง) พญาลาวทึง (ลาวเติง) พญาลาวคน พญาลาวสม พญาลาวกวก (ลาวพวก) พญาลาวกิว (ลาวกวิน) พญาลาวจง พญาจอมผาเรื อง
11. 12. 13. 14. 15. 16.
พญาลาวเจิง (ลาวเจื๋อง) พญาลาวเงินเรื อง พญาลาวซิน (ลาวชื่น) พญาลาวมิง พญาลาวเมือง (ลาวเมิง) พญาลาวเม็ง
ภูมิศาสตร์ อำเภอเชียงแสน เป็ นอำเภอหนึง่ ของจังหวัดเชียงราย ลักษณะภูมิประเทศเป็ นที่ราบ มีซากโบราณสถานของเมืองเชียง แสนเก่าอยูใ่ นบริ เวณตัวอำเภอ ปั จจุบนั เป็ นแหล่งท่องเที่ยวและ ท่าเรื อขนส่งสินค้ าที่สำคัญในภาคเหนือ นอกจากนี ้เชียงแสนมีพื ้ นที่ซงึ่ เรี ยกว่า สามเหลี่ยมทองคำ อันเป็ นบริ เวณที่บรรจบกันของ ชายแดนสามประเทศ คือ ไทย ลาว และพม่า ที่ตงและอาณาเขต ั้ อำเภอเชียงแสนตังอยู ้ ท่ างทิศเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่ อกับเขตการปกครองข้ างเคียงดังต่อไปนี ้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอแม่สาย และรัฐฉาน (ประเทศพม่า) ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงบ่อแก้ ว (ประเทศลาว) และอำเภอเชียงของ ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภเชียงของ อำเภอดอยหลวง และอำเภอแม่จนั ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอแม่จนั และอำเภอแม่สาย
วัดพระธาตุเจดีย์หลวง
วัดพระธาตุเจดีย์หลวงเชียงแสน ตำนานแห่งโบราณสถานโบราณวัตถุ วัดพระธาตุเจดีย์หลวง เป็ นโบราณสถานที่มีขนาดใหญ่ในเมืองเชียงแสน ตังอยู ้ ใ่ นเขตกำแพงเมืองเชียงแสน ติดกับบริ เวณพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชา ติเชียงแสน เลขที่ 635/3 บ้ านเวียง หมูท่ ี่ 3 ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้ างขึ ้นในสมัยพญาแสนภู กษัตริ ย์ราชวงศ์มงั ราย โดยสร้ างขึ ้นหลังจากที่ทรงโปรดฯให้ สร้ างเมือ งเชียงแสน ขึ ้นที่บริ เวณเมืองเงินยางเป็ นเวลา 3 ปี ซึง่ ตรงกับปี พ.ศ. 1834 ( สร้ างเมืองเชียงแสนเมื่อปี พ.ศ. 1831 ) ตามที่กล่าวไว้ ในหนังสือ ประชุมพงศาวดารภาคที่ 16 แต่จากหนังสือ ชินกาลมาลีปกรณ์ กล่าวว่ าพญาแสนภูทรงสร้ างเมืองเชียงแสนเมื่อ พ.ศ. 1871 เนื่องจากพระเจ้ าแ สนภูทรงครองเมืองเชียงแสนถึง 2 ครัง้ คือ ในช่วงปี พ.ศ. 1831 - 1856 กับช่วงที่ 2 ระหว่างปี พ.ศ. 1875 - 1877 ตามตำนานและประชุมพงศาวดารยังกล่าวอีกว่าพญาแสนภูทรงส ร้ างพระเจดีย์ทรงกลม ฐานล่างสุดเป็ นรูปแปดเหลี่ยมแบบพื ้นเมืองรุ่น แรกขึ ้นที่ด้านหลังของพระวิหาร ลักษณะซ้ อนลดหลัน่ กันขึ ้นไปจนถึงย อดสุด มีความกว้ าง 34 เมตร สูง 59 เมตร และมีฐานบัวลูกแก้ ว 2 ชัน้ ต่อหน้ ากระดาน ชันมาลั ้ ยลูกแก้ วแบบชันแว่ ้ นฟ้า ต่อบัวปากบานรับอง ศ์ระฆังสูป่ ล้ องไฉนและปลียอด ถือเป็ นต้ นแบบพระเจดีย์รุ่นหลังในเมือง เชียงแสน อนึง่ ทางด้ านหน้ าองค์พระธาตุมีวิหารกว้ าง 17 เมตร สูง 39 เมตร ซึง่ ต่อมาพระเมืองแก้ วตรัสสัง่ ให้ ขดุ ฐานพระเจดีย์องค์เดิมแล้ วก่อ พระเจดีย์องค์ที่เห็นในปั จจุบนั ขึ ้นในปี พ.ศ. 2058 จากนัน้ ประมาณปี
พ.ศ. 2500 - 2501 ทางกรมศิลปากรได้ ทำการขุดแต่งบูรณะองค์พระ เจดีย์ให้ มีสภาพดีขึ ้น ส่วนวิหารเก่าของวัดเจดีย์หลวงยังมีร่องรอยของ เจดีย์ล้อมรอบอยูด่ ้ วย สำหรับวิหารที่เห็นในปั จจุบนั เป็ นวิหารที่สร้ าง ขึ ้นคร่อมฐานวิหารเดิมเพื่อใช้ เพียงชัว่ คราว มีพระพุทธรูปปางพิชิตมา รประดิษฐานอยูภ่ ายใน และพระพุทธรูปที่วา่ นี ้เป็ นพระพุทธรูปเก่าแก่ ที่สร้ างขึ ้นพร้ อมๆ กับวิหารพระเจดีย์เดิม แม้ วา่ ภายหลังจะทำการบูร ณะใหม่แต่ก็ไม่งดงามเท่ากับของเดิม อาคารเสนาสนะของวัดเจดีย์หลวงประกอบด้ วยศาลาการเปรี ยญแล ะกุฏิสงฆ์ ปูชนียวัตถุคือพระประธานซึง่ เป็ นพระพุทธรูปปูนปั น้ 1 องค์ สิง่ สำคัญของวัดที่ได้ รับการประกาศขึ ้นทะเบียนแล้ ว ได้ แก่ เจดีย์ทรงก ลมแบบพื ้นเมืองรุ่นแรกๆ ซึง่ เป็ นพระเจดีย์องค์พระประธานของวัด ลัก ษณะที่แปลกกว่าเจดีย์ที่เห็นกันอยูโ่ ดยทัว่ ไป คือการประดับบัวที่ฐาน การเลือกใช้ ชนิดของฐาน ตลอดจนลวดบัวในส่วนยอด สันนิษฐานว่า เป็ นเจดีย์องค์นี ้ในเมืองเชียงแสนยุคหลังๆ นอกจากนี ้ ยังมีเจดีย์ เล็กๆ อีก 3 องค์ วิหาร ตลอดจนซากเจดีย์ซงึ่ ล้ วนแล้ วแต่ได้ รับการประกาศขึ ้ นทะเบียนในราชกิจจานุเบกษาพร้ อมๆ กัน ถึงแม้ วา่ กาลเวลาจะผ่านไปนานเพียงใด แต่ถ้าหากว่าโบราณสถาน โ บ ร า ณ วั ต ถุ เ ห ล่ า นี ้ ไ ด้ รั บ ก า ร บู ร ณ ะ ป ฏิ สั ง ข ร ณ์ แ ล้ ว ความงดงามของศิลปะจะคงอยู่ และให้ คนรุ่นหลังได้ สกั การบูชาพร้ อ มทังศึ ้ กษาค้ นคว้ าต่อไป. ทวิชวดี
วัดพระธาตุเจดียห์ ลวง สูงถึง88เมตรมีฐานกว้ าง24เมตรเป็ นพระเจดียท์ รงระฆังแบบล้านนาที่ ใหญ่ที่สดุ ในเมืองเชียงแสน นอกจากพระเจดีย์หลวงแล้ ว ยังมีพระวิหารเก่าแก่อีกมากซึง่ พังทลายเกือบหมดแล้ ว และเจดีย์แบบต่างๆ อีก 4 องค์ โบราณสถานแห่งนี ้แม้ วา่ จะปรักหักพังไปมากแล้ ว แต่ได้ รับการบูรณะเป็ นอย่างดี ให้ สมกับเป็ นวัดที่สำคัญของเมืองหิรัญนครเงินยาง ในสมัยอาณาจักรล้ านนาไทย
บริ เวณรอบๆ วัดดุร่มรื่ นมีร้านรวงขายของที่ระลึกมากมาย ในทุกย่างก้ าว กลิน่ อายแห่งล้ านนายังคงลอยล่องเข้ ามา
วิหารวัดพระธาตุเจดีย์หลวง จะเป็ นหลังคาที่สร้ างใหม่ขึ ้นมาเพื่อคลุมโบราณสถานและพระพุทธรูปที่ประดิษฐานอยูใ่ นวิหารเอา ไว้ จากด้ านหน้ าจะมองเห็นองค์พระปฏิมากรได้ อย่างชัดเจน เป็ นพระพุทธรูปองค์ใหญ่สีทองเหลือมอร่ามภ ายในวิหารวัดพระธาตุเจดีย์หลวง พระพุทธรูปประดิษฐานอยูบ่ นฐานยกสูงขึ ้นไป ตกแต่งอย่างสวยงามด้ วย ศิลปะแบบชาวเหนือมีบนั ไดขึนลงทัง้ 2 ข้ าง พระพุทธรูปบนฐานที่ยกสูงขึ ้นไปนันมี ้ หลวงพ่อเชียงแสน สิงห์ ๑ ประดิษฐานเป็ นองค์ประธาน และด้ านบน พระพุทธอุโฆษ พระพุทธรูปปางมารวิชยั ประดิษฐานเบื ้องหน้ าองค์ หลวพ่อเชียงแสนสิงห์ ๑
วัดพระธาตุจอมกิตติ
วัดพระธาตุจอมกิตติ ตังอยู ้ บ่ นยอดดอยน้ อย อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ห่างจากตัวอำเภอประมาณ 1.5 กิโลเมตร ประวัตวิ ดั และพระบรมธาตุ พระเจ้ าพังคราช เป็ นกษัตริ ย์แห่งอาณาจักรโยนกเชียงแสนขึ ้น ครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 1458 มีราชโอรสคือ พระเจ้ าพรหม ทรงสร้ างวัด พระธาตุจอมกิตติเป็ นเจดีย์ยอ่ เหลี่ยมไม้ สบิ สอง เพื่อบรรจุพระบรมธา ตุนอกกำแพงเมืองเชียงแสน พระธาตุเจดีย์ หรื อบรมธาตุเจดีย์มีลกั ษ ณะฐานล่างเป็ นสี่เหลี่ยมจตุรัส ถัดขึ ้นไปเป็ นฐานปั ทม์ยอ่ มุมเป็ นเรื อน ธาตุ (ย่อมุมรองรับ) ซึง่ มีซ้ มุ ทิศประดิษฐานพระพุทธรูปประทับยืนปูน ปั น้ ทัง้ 4 ด้ าน ส่วนยอดเป็ นองค์ระฆังกลม ตำนานการสร้ างพระธาตุจ อมกิตติคอ่ นข้ างจะสับสนพอ ๆ กับตำนานเมืองเชียงแสน ศิลาจารึกวัดพระธาตุจอมกิตติได้ กล่าวไว้ วา่ เมื่อตอนที่พระพุทธ องค์ได้ เสด็จมา ณ ที่นี ้ พระองค์ได้ ทรงดึงพระเกศาและประดิษฐานไว้ ที่พระธาตุจอมกิตติ แล้ วพระองค์จงึ ทรงพยากร์ วา่ แว้ นแคว้ นแห่งนี ้จะ คงสืบพระพุทธศาสนาดำรงได้ ครบ 5000 ปี บางตำนานบอกว่า เมือง เชียงแสนนันเกิ ้ ดมาตังแต่ ้ สมัยพระพุทธองค์ยงั ดำรงพระชนม์ชีพและ เคยเสด็จมายังเชียงแสนประทานเส้ นพระเกศาให้ ไว้ จึงสร้ างพระธาตุ ขึ ้นมาเพื่อประดิษฐาน ตำนานต่อมาที่คอ่ นข้ างจะแน่นอนกว่าคือการ สร้ างพระธาตุจอมกิตติโดยพระเจ้ าพังคราช เมื่อปี พ.ศ. 1481 เมื่อสร้ า งแล้ วเสร็ จจึงได้ พระบรมธาตุมา โดยมีพระพุทธโฆษาจารย์ ชาวมอญ ซึง่ หลังจากเดินทางไปศึกษาพระพุทธศาสนาจากประเทศลังกา
แล้ วจึงกลับมาเผยแพร่ พระพุทธศาสนาในมอญพม่าตามลำดับจนเ ข้ ามาในโยนกนคร (เชียงแสน) ตรงกับสมัยของพระเจ้ าพังคราช ซึง่ ยุคนี ้พระเจ้ าพรหมได้ ทรงขับไล่ขอมไปสิ ้นจากโยนกหมดแล้ วและพ ระเจ้ าพรหมได้ อญ ั เชิญพระเจ้ าพังคราช ราชบิดากลับมาขึ ้นครองเมื องเชียงแสน ส่วนพระเจ้ าพรหมมหาราช ซึง่ เป็ นนักรบที่ยิ่งใหญ่พร ะองค์หนึง่ ไปสร้ างเมืองใหม่คือเมือง “ชัยปราการ” ที่ริมแม่น้ำกก เพื่อเป็ นเมืองหน้ าด่าน ป้องกันการรุกรานของข้ าศึก ซึง่ ชัยปราการนี ้ จะเป็ นเมืองหน้ าด่านให้ เชียงแสน จะสกัดการรุกรานของข้ าศึกที่จะ ยกมาทางด้ านทิศตะวันตกไว้ ก่อน และได้ ครองเมืองชัยปราการ ดังนันเมื ้ ่อพระพุทธโฆษาจารย์ได้ นำพระพุทธศาสนามาเผ ยแพร่ในเชียงแสน พร้ อมกับได้ อญ ั เชิญพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้ ามาด้ วยจำนวนถึง 16 พระองค์ เป็ นพระบรมอัฐิธาตุสว่ นพระนลาต (หน้ าผาก) มีหลายขนาด พระเจ้ าพังคราชจึงได้ แบ่งพระบรมธา ตุขนาดใหญ่ 1 องค์ ขนาดกลาง 2 องค์ และขนาดเล็กอีก 2 องค์ ให้ กบั พระยาเรื อนแก้ ว (เจ้ าเมืองเชียงราย) ซึง่ ได้ นำไปประดิษฐานไ ว้ ในพระเจดีย์ในเมืองเชียงราย ขอให้ คำว่าหากจำไม่ผิดคือวัดจอมท องพระเจ้ าพังคราช นำพระโกศเงิน พระโกศทองและพระโกศแก้ วร องรับพระบรมธาตุแล้ วจึงประทานแก่พระเจ้ าพรหมมหาราชนำไปป ระดิษฐานไว้ บนดอยน้ อย หรื อ จอมกิตติ ซึง่ ตามตำนานดังเดิ ้ มบอก ว่าเมื่อพระพุทธเจ้ าเสด็จมาในสมัยพุทธกาลนัน้ ได้ ประทานพระเกศ ธาตุประดิษฐานไว้ แล้ ว
พระเจ้ าพรหมมหาราช ทรงใช้ ชา่ งก่อพระเจดีย์ขึ ้น กว้ าง 3 วา สูง 6 วา 2 ศอก บนดอยจอมกิตติ พระเจดีย์แล้ วเสร็จในเดือน 6 เพ็ญ วันจันทร์ พ.ศ. 1483 และเรี ยกพระเจดีย์องค์นี ้ว่า พระธาตุจอมกิตติแต่ ยังไม่มีวดั พระธาตุจอมกิตติ วัดนี ้มาเริ่ มเกิดใหม่ในปี พ.ศ. 2500 นี่เอง เ มืองเชียงแสนนันเกิ ้ ดเจริ ญรุ่งเรื อง แล้ วก็ร้าง หลายยุคหลายสมัย ตำนา นการสร้ างเมืองถึงเอาแน่กันไม่ค่อยจะได้ หากไม่ล้วงลึกแล้ วก็จะบอกว่า พระธาตุจอมกิตติสร้ างขึ ้นเมื่อ พ.ศ. 2030 เจ้ าเมืองเชียงแสนนามว่า เจ้ าสุวรรณคำล้ าน ซึง่ น่าจะหมายถึงมาบูรณะองค์พระธาตุจอมกิตติแ ละสร้ าง วัดพระธาตุจอมแจ้ งผมเข้ าใจตามนี ้ แม้ แต่เมืองเชียงแสน ตำ นานที่สร้ างหลังสุดคือสร้ างโดยพระเจ้ าแสนภู กษัตริ ย์ราชวงศ์เชียงราย สร้ างเมืองเชียงแสนเมื่อ พ.ศ. 1871 แต่หากมองย้ อนกลับไปถึงสมัยพระเ จ้ าพรหมมหาราชเมืองเชียงแสนก็มีอยูแ่ ล้ ว และเมื่อพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช โปรดให้ ยกทัพขึ ้นไปตีเชียงแสน เมื่อตีได้ แล้ วถอยทัพไทยกลั บก็ให้ เผาเมืองเชียงแสนเสีย เพราะพม่าเข้ ามายึดเป็ นที่มนั่ อยูเ่ ป็ นการปร ะจำจึงเผาเสีย เชียงแสนมาฟื น้ คืนชีพเป็ นเมืองที่เห็นอยูท่ กุ วันนี ้ในรัชสมัย
ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั เมื่อ พ.ศ. 2424 นี่เอง สรุปว่า วัดพระธาตุจอมแจ้ งบนดอยน้ อยนี ้มีจริ ง และเกิดในสมัยที่เจ้ าสุ วรรณคำล้ าน มาบูรณะพระธาตุจอมกิตติแล้ วก็สร้ างวัดพระธาตุจอมแ จ้ งขึ ้นมาในปี พ.ศ. 2030 ส่วนวัดพระธาตุจอมกิตตินนเมื ั ้ ่อปี พ.ศ. 2500 พระครูสงั วรสมาธิวตั ร แห่งสำนักวิปัสนา เขตบางกอกน้ อย กรุงเทพฯ ซึ่ งเป็ นชาวเชียงแสนได้ จดั ตังสำนั ้ กสงฆ์ขึ ้นมาที่เชิงดอยพระธาตุจอมกิต ติ และได้ ย้ายขึ ้นไปสร้ างวัดอยูบ่ นเชิงพระธาตุ ในภายหลังจึงได้ มีการส ร้ างบันไดขึ ้น สร้ างอุโบสถที่หนั หน้ าสูแ่ ม่น้ำโขง สร้ างซุ้มประตูโขงโยนก 4 ซุ้มประตูประจำ 4 ทิศ ส่วนที่เชิงดอยพระธาตุก็ยงั มีพระพุทธรูปสำคั ญองค์ใหญ่คือพระพุทธรูปองค์หลวง หรื อหลวงพ่อพุทธองค์โยนกมิ่ง มงคลเชียงแสน ซึง่ ปั จจุบนั ประดิษฐานอยูใ่ นบริ เวณบ่อน้ ำทิพย์ สร้ าง ขึ ้นแทนพระเจ้ าล้ านตื ้อที่จมอยูใ่ นแม่น้ำโขง แต่เศียรงมขึ ้นมาได้ อยูท่ ี่ พิพิธภัณฑ์เชียงแสน รวมทังปราสาทหลั ้ งเก่าที่เป็ นสำนักสงฆ์ก็ยงั คง อยูท่ ี่เชิงดอย ส่วนวัดพระธาตุจอมกิตตินนได้ ั ้ รับการบูรณะเป็ นอย่างดี รวมทังการบู ้ รณะองค์พระธาตุด้วย
เมื่อวันพุธที่ 16 พฤษภาคม 2550 เวลา15.57น. เกิดแผ่นดินไหววั ดความแรงได้ 5.8ริ กเตอร์ ศนู ย์กลางชายแดนไทยลาวห่างจากจั งหวัดเชียงราย 57 กิโลเมตร ส่งผลให้ ยอดฉัตรพระธาตุจอมกิตติ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายหักโค่นลงมาได้ รับความเสีย หาย ทางวัดได้ นำไปเก็บรักษาไว้ ณ พิพิธภัณฑ์เชียงแสนสิง่ ข องที่บรรจุในยอดปลีองค์พระธาตุ ซึง่ มีอญ ั มณี 9 ชนิดที่พระบ าทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้ าฯ พระบรมรา ชินีนาถได้ พระราชทานบรรจุในยอดฉัตรเพื่อบูชาพระบรมสารี ริ กธาตุ (พระเกศาธาตุ) ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ซึง่ พบแล้ ว 7 อย่าง สูญหายไป 2 อย่าง ต่อมา สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากรได้ ซอ่ มแซมฉัตรจากของเดิมให้ มีความสมบูรณ์แล ะแข็งแรงมากขึ ้นรวมทังได้ ้ เปลี่ยนก้ านและแกนฉัตรเป็ นสแตนเ ลสจากเดิมที่เป็ นเหล็กซึง่ ผุกร่ อนเป็ นสนิมส่วนตัวฉัตรนันช่ ้ างได้ ทำให้ เข้ ารูปเดิม และเปลี่ยนวิธีหอ่ หุ้มทองคำ 99 เปอร์ เซ็นต์ จากวิธีเปี ยกทองโบราณ มาใช้ เทคโนโลยีใหม่วิธีฟอร์ มท องโดยใช้ ไฟฟ้าเป็ นตัวหล่อและหุ้ม ซึง่ ทำให้ ทองคำอยูต่ ดิ คงทน และสีไม่หมอง ส่วนยอดฉัตรที่ประดับด้ วยอัญมณีนพเก้ าและมี อัญมณีหลุดหายไป2 ชนิดนันได้ ้ มีประชาชนบริ จาคโกเนและนิล ซึง่ ช่างได้ นำขึ ้นไปประดับไว้ ครบทัง้ 9 ชนิดแล้ ว ส่วนองค์พระธาตุ กรมศิลปากรได้ ดำเนินการบูรณะเสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ วทัง้ ในส่ว นโครงสร้ างและฐานราก เสริ มอิฐซ่อมแซมส่วนที่เสียหายและ เสริ มความมัน่ คงรอยแตกร้ าวด้ วยกาววิทยาศาสตร์ (Epoxy) และอัดฉีดน้ ำปูนเข้ าไป ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2551 เวลา 09.00 น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระรา ชดำเนินไปยังวัดพระธาตุจอมกิตติ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ทรง ประกอบพิธียกฉัตรประดับยอดพระธาตุกลับคืนดังเดิม
การเดินทาง จากอำเภอเมืองใช้ ทางหลวงหมายเลข ๑o๒o ผ่านอำเภอพญาเม็ง รายใช้ ทางหลวงหมายลข ๑๑๗๔ผ่านปากทางเข้ าน้ ำตกตากควันบ้ ายไชย พัฒนาเข้ าเขตอำเภอเวียงเชียงรุ้งใช้ ทางหวงหมายเลข ๑o๙๘ ผ่านบ้ านเนิ นสมบูรณ์ปากทางแยกเข้ าอำเภอเวียงชัย ปากทาง เข้ ากิ่งอำเภอดอยหลวง ใช้ ทางหลวงหมายเลข ๑๒๗๑ มุง่ ตรงสูอ่ ำเภอเชียงแสนผ่านวัดพระธาตุผาเ งา เข้ าถนน บายพาส เข้ าถนนเชียงราย – เชียงแสนไปอีก ๒ กิโลเมตร ถึงทา งเข้ าพระธาตุจอมกิตติฝั่งซ้ ายมือรวมระยะทางทังสิ ้ ้น ๑๑๗ กิโลเมตร
ความเชื่อ
ในการไหว้ พระธาตุดอยจอมกิตติเชื่อกันว่าถ้ าได้ กราบไหว้ และตังจิ ้ ตอธิฐานท่านจะอุดมไปด้ วย ยศถาบรรดาศักดิ์ ลาภยศ ผู้คนสรรเสริ ญ เจ้ าคนนายคน
วัดพระเจ้ าล้ านทอง
วัดพระเจา้ล้านทอง ประวัตยิ อ่ วัดพระเจ้ าล้ านทอง ตังอยู ้ ใ่ นเขตกำแพงเมืองท่ามกลางเมืองเชียงแสนตามสายประวัต ิศาสตร์ ของมนุษย์ชนช าติเผ่าไทยอันยาวนาน วัดนี ้เมื่อก่อนยุคพุทธสตวรรษ ที่ ๒๑ กล่าวคือปลายสตวรรษ ที่ ๙ ของชนเผ่าไทยที่เคลื่อนย้ ายต่อลงสู่ ทางทิศใต้ ด้ วยอิทธิพลของการผลักดันแบบแผ่อำนาจของชนชาติเตอรักและจิ๋น (มองโกล) วัดนี ้ถูกเรี ยบหลายชื่อด้ วยกัน เช่น เ รี ยกว่าวัดกลางเวียงบ้ างวัดหลักเมืองบ้ างวัดสะดือเมืองบ้ าง วัดล้ านทองบ้ างตามแต่ผ้ มู ีอำนาจและประชาชนในสมัยจะเรี ยกอั นชนเผ่าสมัยนัน้ เรี ยกกันว่า “ไต”ไตเมิง หรื อไตเมือง ไทนเทศ เผ่าละว้ า เผ่านาคี อีกทังเผ่ ้ าอารยัน เชื่อสายปาฏลีบตุ ร พอกาล เวลาเนิ่นนานไปหรื อผ่านพ้ นไปตามหลักของกฎแก้ วแห่งสภาวธรรมทังหลายก็ ้ ชำรุดทรุดโทรม ถูกปล่อยปะละเลยเพราะภัยสง ครามเป็ นเวลาอันเนิ่นนานผ่านไปพอลุถงึ ปี พ.ศ ๒๐๓๒ อันเป็ นยุคปลายที่สดุ ปรากฏในพงศาวดารโยนก และ พงศาวดารภาค ๖๑ ที่พระยาประชากิจกรจักร (แช่ม บุญนาค) แปลและเรี ยบเรี ยงมาจากตำนานสิงหนวัติ และตำนานสุวรรณโคมคำกล่าวไว้ วา่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๐๒๙ พระเจ้ าติโลกมหาราช กษัตริ ย์ผ้ คู รองนครเมืองเชียงใหม่ของอาณาจักรล้ านนาถึงแก่พิราลัย
พระยอดเชียงรายซึง่ เป็ นราชโอรสมีศั กดิ์ เ ป็ นพระอนุ ช าของหมื่ น ศิ ริ รั ช ฎ์ เ งิ น กอ งแต่มีร่างกายไม่สมบูรณ์ จึงสิ ้นพระชนม์ เมื่อแต่ยงั ทรงเยาว์ พระเมืองแก้ วซึง่ เป็ นร าชนัดดาขึ ้นครองเมืองแทน พ.ศ. ๒๐๓๐ ทางเมืองเชียงแสน ซึง่ เจ้ าสุวรรณคำล้ านนาไ ด้ ถงึ แก่พิราลัย ทำให้ เมืองเชียงแสนว่างจาก กษัตริ ย์ผ้ คู รองเมือง เชียงแสนซึง่ เป็ นหัวเมือง สำคัญฝ่ ายเหนือ พระเมืองแก้ วจึงได้ มีพระบร
มราชโองการให้ หมื่น ศิริรัชฎ์เงินกอง(เจ้ าทองวัว) ให้ มาครองเมืองเชียงแสนในปี พ.ศ. ๒๐๓๒ ท รงเฉลิมพระอภิไชยว่า“พระยาศิริรัชฎ์”มื่อพระอง
ค์ ทรงขึน้ ครองเมื องเชี ยงแสนแล้ วทรงบูรณวัดพระ เจ้ าล้ านทองขึน้ โดยทรงหล่อพระประธานองคหนึ่ง ด้ วยทองปั ญจะโลหะ ๕ ชนิด มีน้ำหนักถึงล้ านทอง ( ๑ , ๒ ๐ ๐ ก . ก . )ึ ง เรี ยกว่ า วั ด พระเจ้ าล้ านทอง ต่อมาประชาชนทังหลายจึ ้ งเรี ยก วัดนี ้ตามว่า”วัดพร ะเจ้ าล้ านทอง“ ตังแต่ ้ บดั นันเป็ ้ นต้ นมา
วัดพระธาตุผาเงา
วัดพระธาตุผาเงา ตังอยู ้ บ่ นฝั่ งแม่น้ำโขงทางด้ านทิศตะวันตก ตรงกันข้ ามกับประเทศลาว อยูใ่ นหมูบ่ ้ านสบคำ ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน อยูท่ างทิศใต้ ของตัวอำเภอเชียงแสนประมาณ 3 กม. หรื ออยูห่ า่ งจากสามเหลี่ยมทองคำ ประมาณ 15 กม. มีพื ้นที่ทงหมด ั้ 743 ไร่ พื ้นที่สว่ นใหญ่เป็ นเนินเขาเล็กๆ ทอดยาวลงมาตังแต่ ้ บ้านจำปี ผ่านบ้ านดอยจันและ มาสิ ้นสุดที่บ้านสบคำ แต่ก่อนเขาเรี ยกดอยลูกนี ้ว่า “ดอยคำ”แต่มาภายหลังชาวบ้ าน เรี ยกว่า “ดอยจัน” ชื่อของวัดนี ้มาจากชื่อของพระธาตุผาเงาที่ตงอยู ั ้ บ่ นยอดหินก้ อนใหญ่ คำว่าผาเงาก็คือ เงาของก้ อนผา (ก้ อนหิน) หินก้ อนนี ้มีลกั ษณะสูงใหญ่คล้ ายรูปทรงเจดีย์และทำให้ ร่มเงาได้ ดีมากชาวบ้ านจึ งตังชื ้ ่อว่า “พระธาตุผาเงา”ความจริ งก่อนที่จะย้ ายวัดมาที่นี่ เดิมมีชื่อว่า “วัดสบคำ” ซึง่ ตังอยู ้ บ่ นฝั่ งแม่น้ำโขง ฝั่ งน้ ำได้ พงั ทลายลง ทำให้ บริ เวณ ของวัดพัดพังลงใต้ น้ำโขงเกือบหมดวัด คณะศรัทธาจึงได้ ย้ายวัดไปอยูท่ ี่ใหม่บ นเนินเขา ซึง่ ไม่ไกลจากวัดเดิม
ประวัตวิ ดั พระธาตุผาเงา ในช่วงสมัยของอาณาจักรโยนก วัดร้ างแห่งนี ้กำลังอยูใ่ นช่วงที่เจริ ญรุ่งเรื องสุดขีด สันนิษฐานว่าอาจจะ เป็ นวัดที่สำคัญและ ประจำกรุงเก่าแห่งนี ้ก็เป็ นได้ จะเห็นได้ ว่าพระพุทธรูปหลวงพ่อผาเงาที่ขดุ ค้ นพบแห่งนี ้ถู กสร้ างและฝั งอยูใ่ ตพระพุทธรูปองค์ใหญ่ (พระประธาน) จะปิ ดบังซ่อนเร้ นกลัวถูกโจรกรรมจากพวกนิยมสะส ม ของเก่า ตอนแรกได้ สนั นิษฐานว่าบริ เวณเนินเขาเล็กๆ ลูกนี ้ที่กำลังแผ้ วถางอยูน่ ี ้จะต้ องเป็ นวัดเก่าแน่เพราะ ได้ พบเห็นซากโบราณวัตถุ ุกลาดเกลื่อนไปทัว่ บริ เวณในเดือนกุมภาพันธ์ 2519 จึงได้ ลงมือแผ้ วถางป่ าแต่เดิม ที่แห่งนี ้เคยเป็ นถ้ ำ เรี ยกว่า ถ้ ำผาเงา ปากถ้ ำถูกปิ ดไว้ นาน ทำให้ บริ เวณแห่งนี ้เป็ นป่ ารก เต็มไปด้ วย ซากโบรา ณวัตถุกระจัดกระจายอยูก่ ลาดเกลื่อน การค้ นพบพระพุทธรูปหลวงพ่อผาเงา เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2519 เวลา 14.00 น. เมื่อคณะศรัทธาได้ ปรับพื ้นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว ทุกคนต่างตื่นเต้ นและปี ติยินดีเมื่อ ได้ พบว่าใต้ ตอไม้ นนั ้ (หน้ าฐานพระประธาน) มีอิฐโบราณก่อเรี ยงไว้ เมื่อยกอิฐออกก็พบหน้ ากาก จึงได้ พบพระพุทธรูปมีลกั ษณะสว ยงามมาก ผู้เชี่ยวชาญทางโบราณวัตถุได้ วิเคราะห์วา่ พระพุทธรูปองค์นี ้มีอายุระหว่าง 700-1,300 ปี คณะทัง้ หมดจึงได้ พร้ อมกันตังชื ้ ่อพระพุทธรูปองค์นี ้ว่า “หลวงพ่อผาเงา” และเปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็ น “วัดพระธาตุผาเงา” ตังแต่ ้ บดั นันเป็ ้ นต้ นมา
ผู้สร้ างพระธาตุผาเงา จากพงศาวดารโยนกบอกว่า ขุนผาพิงหรื อขุนพิง (พระองค์พิง) ผู้ครองนครโยนก องค์ที่ 23 ช่วงปี พ.ศ. 494-512 เป็ นผู้สร้ างเจดีย์ไว้ บนหินก้ อนใหญ่ที่เชิงเขาดอยจันทร์ ซึง่ เข้ าใจว่าหมายถึงพระธาตุผาเงาใน วัดนี ้ พระธาตุผาเงาได้ ชำรุดทรุดโทรมลงมาก คาดว่าน่าจะมีการบูรณะมาบ้ าง เพราะพระธาตุองค์นี ้ตังอยู ้ ท่ ี่ลาดต่ ำสุดของภูเขา ซึง่ ง่ายต่อการดูแลซ่อมแซม ผู้สร้ างพระธาตุจอมจันและพระธาตุเจ็ดยอด ต่อมาภายหลัง เมื่อขุนลังได้ ขึ ้นครองเมือง “เวียงเปิ กสา” (เมืองเชียงแสนปั จจุบนั นี ้) ช่วงปี พ.ศ. 9961007 พระองค์ได้ ชกั ชวนไพร่บ้านชาวเมืองทังหลายให้ ้ ชว่ ยกันสร้ างเจดีย์ไว้ บนยอดดอยคำ ซึง่ ปั จจุบนั ชาวบ้ านเรี ย กว่าตอดจันทร์ เจดีย์ที่วา่ นี ้หมายถึงพระธาตุจอมจันและพระธาตุเจ็ดยอดเจดีย์ทง2 ั ้ องค์นี ้ถูกภัยธรรมชาติทำลาย เช่นถุกแดด-ฝนและลมพัดทำลายมานับพันปี จนเหลือแต่ซากฐานไว้ ประมาณ 5 เมตร ประกอบกับช่วยนันภาวะเ ้ ศรษฐกิจอาจจะฝื ดเคืองจนทำให้ ชาวบ้ านทอดทิ ้งศาสนาขาดการดูแลเอาใจใส่และที่ฐานองค์พระเจดีย์ทงสองก็ ั้ มี รอยขุดเจาะ อาจจะเป็ นฝี มือของพวกนักสะสมของเก่าเสาะแสวงหาโบราณวัตถุก็เป็ นได้
ชื่อของวัดพระธาตุผาเงา ชื่อของวัดนี ้มาจากชื่อของพระธาตุผาเงา ที่ตงอยู ั ้ บ่ นยอดหินก้ อนใหญ่คำว่า ผาเงาคือ เงาของก้ อนผา (ก้ อนหิน) หินก้ อนนี ้มีลกั ษณะสูงใหญ่คล้ ายรูปทรงเจดีย์และให้ ร่มเงาได้ ดีมาก
การสร้ างวัดใหม่ ตอนแรกได้ สนั นิฐานว่าบริ เวณเนิน เขาเล็กๆ ลูกนี ้ ที่กำลังแผ้ วถางอยูน่ ี ้จะ ต้ องเป็ นวั ด เก่ า แน่ เ พราะได้ พบซากโบราณวั ต ถุ ก ล าดเกลื่อนไปทัว่ บริ เวณ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2519 จึงได้ ลงมือแผ้ วถางป่ า แต่เดิมที่แห่งนี ้เคยเป็ นถ้ ำเรี ยกว่า “ถ้ ำผาเงา” ปากถ้ ำถูกปิ ดไว้ นาน ทำให้ บริ เวณ แห่งนี ้เป็ นป่ ารกชัฎเต็มไปด้ วยซากโบราณวัตถุกระจัดกระ จายอยูก่ ลาดเกลื่อนเต็มไปหมด มีชิ ้นส่วนใหญ่ อยูช่ ิ ้นหนึง่ เป็ นพระพุทธรูปครึ่งองค์ ช่วงล่างหน้ าตักกว้ าง 4 วา เชื่อว่าเป็ นพระประธานในวิหาร คณะศรัทธา จึ ง ตั ง้ ใจบู ร ณะปฏิ สั ง ขรณ์ ให้ สมบู ร ณ์ เหมื อ นเดิ ม ความฝั นของนายจันทรา พรมมา วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2519 นายจันทรา พรมมา หนึง่ ในคณะศรัทธาทังหมด ้ ที่เริ่ มบุกเบิกแผ้ วถางป่ า ได้ นอนหลับและฝั นในเวลากล างคือว่า มีพระภิกษุรูปหนึง่ รูปร่างสูง-ดำ มาบอกว่า “ก่ อนที่จะยกชิน้ ส่วนองค์พระประธานที่เหลือครึ่ งองค์ออก ให้ ไปนิมนต์พระมา 8 รูป ทำพิธีสวดถอนเสียก่อน แล้ วจะไ ด้ พบสิง่ มหัศจรรย์ยิ่งกว่านี ้”
ทำพิธีสวดถอน รุ่งขึ ้น วันที่ 1 มีนาคม 2519 นายจันทรา พรมมา จึงได้ นำเอาความฝั นนันไปบอก ้ ให้ คณะศรัทธาทังหมดฟั ้ ง และต่อจากนันทุ ้ กอย่างก็ ดำเนินไปตามความฝั นทุกประการ เพื่อปรับพื ้นที่ซงึ่ ต็มไปด้ วยตอไม้ รากไม้ และก้ อนหินน้ อยใหญ่ งานป รับพื ้นที่ได้ ดำเนินไปด้ วยความยากลำบาก ค้ นพบพระพุทธรูปหลวงพ่อผาเงา วันที่ 17 มีนาคม 2519 เวลา 14.00 น. เมื่อคณะศรัทธาได้ ปรับพื ้ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว ทุกคนต่างตื่นเต้ นและปิ ติยินดี เมื่อได้ พบว่าใต้ ตอไม้ นนั ้ (หน้ าฐานพระประธาน) มีอิฐโบราณก่อเรี ยงไว้ เมื่อยกอิฐออกก็พบหน้ ากาก (แผ่นทึบ) ก่อกันไว้ ้ เมื่อเอาหน้ ากากออก จึ ง ไ ด้ พ บ พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ส ว ย ง า ม ม าก ผู้เชี่ยวชาญโบราณวัตถุ วิเคราะห์วา่ พระพุทธรูปองค์นี ้มีอายุระหว่าง 700-1,300 ปี ค ณะทัง้ หมดจึ ง ได้ พ ร้ อมกัน ตัง้ ชื่ อ พระพุท ธรู ป องค์ นี ้ว่า “หลวงพ่อผาเงา” และเปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็ น “วัดพระธาตุผาเงา” ตังแต่ ้ บดั นันเป็ ้ นต้ นมา
วัดประจำเมืองเก่าในช่วงสมัยของอาณาจักร โยนก วัดร้ างแห่งนี ้กำลังอยูใ่ นช่วงที่เจริ ญรุ่งเรื อง สุดขีด สันนิษฐานว่าอาจจะเป็ นวัดที่สำคัญและป ระจำกรุงเก่าแห่งนี ้ จะเห็นได้ ว่าพระพุทธรูปหลวง พ่อผาเงาที่ขดุ ค้ นพบแห่งนี ้ถูกสร้ างและฝั งอยูใ่ ต้ พ ระพุทธ รูปองค์ใหญ่ (พระประธาน) ปิ ดบังซ่อนเร้ นกลัวถูกโจรกรรมจากพวกนิยมสะสมของเก่าการ
พัฒนาวัดเมื่อค้ นพบพระพุทธรู ปหลวงพ่อผาเงาแล้ ว วัดเก่าแห่งนี ้ก็ถกู บูรณะและพัฒนาอย่างต่อเนื่องกา รก่อสร้ างวัตถุถาวรต่างๆ ก็ดำเนินไปอย่างไม่หยุดยัง้ เช่น ซุ้มประตูวดั กำแพงด้ านหน้ า, กุฏิสงฆ์,ศาลาการ เปรี ยญและพระธาตุผาเงา ท่านเจ้ าอาวาสองค์แรกท่ านเป็ นพระนักพัฒนา ท่านได้ สร้ างพระวิหารซึง่ เป็ น ที่ประดิษฐานหลวงพ่อผาเงา ที่เห็นอยูท่ กุ วันนี ้
จากวัดร้ างเป็ นวัดปกติ เมื่อมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทางกรมการศาสนาจึงได้ ประกาศยก เลิกฐานะวัดร้ างให้ เป็ นวัดปกติทวั่ ไปที่มีพระภิกษุสงฆ์สามเณรอยูจ่ ำพรรษา ตังแต่ ้ วันที่ 22 ตุลาคม 2522รายนามเจ้ าอาวาสของวัด นับตังแต่ ้ ย้ายพระภิกษุสามเณรจากวัดสบคำมาอยูว่ ดั พระธาตุผาเง านี ้มีเจ้ าอาวาสรวม 3 รูป คือ 1. พระอาจารย์คำแสน คมฺมภีโร เป็ นเจ้ าอาวาสปี พ.ศ. 2519 - 2529 2. พระอาจารย์วณ ั ชัย สีลวณฺโณ เป็ นเจ้ าอาวาส พ.ศ. 2530 - 2531 3. พระพุทธิญาณมุนี เป็ นเจ้ าอาวาสปี พ.ศ. 2531 - ปั จจุบนั ท่านเจ้ าอาวาสองค์ที่ 3 ท่านเป็ นพระนักพัฒนาและมีวิสยั ทั ศน์ที่กว้ างไกล ท่านได้ ดำเนินการตามแผนการพัฒนาวัดที่ทา่ นเจ้ าอาวาสองค์แรกได้ ถือปฏิบตั มิ าตัง้ แต่ต้น
วัดพระธาตุสองพี่น้อง
วัดพระธาตุสองพี่น้อง สถานที่ทอ่ งเที่ยวและโบราณสถานสำคัญของอ.เชียงแสนจ.เชียงรายปั จจุบนั อยู่ ภายในวัดพระธาตุ สองพี่น้องนอกเมืองเชียงแสน จ.เชียงราย บริ เวณนี ้เรี ยกว่าเชียงแสนน้ อยซึง่ เป็ นกลุม่ โบราณสถานนอกกำแพงเมืองเก่า มีเจดีย์ทรงปราสาทสององค์ตงคู ั ้ ก่ นั จึงเรี ยกว่าพระธาตุสองพี่น้อง องค์ที่มีพระ พุทธรูปนัง่ อยูด่ ้ านหน้ าคือองค์น้อง ที่ตงั ้ ของวัดพระธาตุสองพี่น้อง บ้ านเชียงแสนน้ อย ต.เวียง อ.เชียงแสนห่างตัวเมืองเชียงแสน 7 กม.สถานที่ทอ่ งเที่ยวน่าสนใจพระธาตุเจ ดีย์หมายเลขหนึง่ มีเจดีย์ทรงปราสาทสององค์อยูค่ กู่ นั เรื อนธาตุ มีซ้ มุ จระนำสี่ด้านประดับลายปูนปั น้ บนฐานปั ทม์ มีชนมาลั ั ้ ยเถาแปดเหลี่ยม เจดีย์ทงสี ั ้ ่มมุ ด้ านบนเป็ นระฆังทรงกลมได้ รับแบบแผนจากเจดีย์เชียงใหม่ยนั จ.ลำพูน ทิ ศตะวันออกของเจดีย์เป็ นวิหารแบบล้ านนา กว้ าง 13ม.ยาว 16ม.
ตามตำนานกล่ าวว่ า พระเจดีย์องค์ที่สร้ างขึ ้นเพื่อบรรจุอฐั ิ ของพระยาคำฟู (พ.ศ.๑๘๘๑ – ๑๘๘๘) ส่วนพื ้นที่นี ้พญาแสนภู ทรงให้ สร้ างเมืองเวียง ปรึกษาเพื่อหาทำเลที่สร้ างเมืองแห่งใหม่ (เมืองเชียงแสน) ยังปรากฏร่องรอยกำแพงเมือง คูเมืองและวัดร้ างอยูจ่ ำนวนหนึง่ ภายในเมืองพบโบราณสถานสำคัญแห่งหนึง่ แต่เดิมเคยเรี ยกกันว่า เจดีย์พระธาตุบำเหมือดเชียงแสนน้ อย ต่อมาเปลี่ยนเป็ น เรี ยกเจดีย์พระธาตุสองพี่น้อง คงเนื่องมาจากมีเจดีย์สององค์ตงอยู ั ้ ใ่ กล้ กนั โบราณสถานแห่งนี ้ไม่ปรากหลักฐานเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ทางด้ านประวัติการก่อสร้ างโดยตรงรูปแบบของสถาปั ตยกรรมองค์พี่เป็ นเจดีย์ทรงปราสาทห้ ายอดอันมีแบบแผน เดียวกันกับ เจดีย ์ ประธานวัดป่ าสัก เมืองเชียงแสน เจดีย์องค์นี ้ถูกกำหนดอายุอยูใ่ นราว พุทธศตวรรษที่ 19 หลักฐานทางด้ านศิลปกรรมและ ด้ านโบราณคดี แสดงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์กบั การตังเมื ้ องเชียงแสน อันสอ ดคล้ องกับเรื่ องราวในพงศาวดาร ที่กล่าวถึงพญาแสนภูได้ เดินทางล่องมาตามลำน้ ำกกถึงลำน้ ำ โขงและตังมั ้ น่ เอ าชัยที่เวียงเปิ กสาก่อนเดินทางเข้ าเมืองเชียงแสน รวมถึงเรื่ องเล่าที่วา่ เจดีย์องค์นี ้อาจเป็ นเจดีย์ที่บรรจุอฐั ิ ของพญ าคำฟูและพระยาแสนภู จึงได้ กลายเป็ นพระธาตุสองพี่น้องหรื อ เจดีย์สองพี่น้อง
การเดินทาง ไปวัดพระธาตุสองพี่น้อง มีรถประจำทางทังรถธรรมดาและปรั ้ บอากาศ บริ การระหว่างกรุงเทพฯ-เชียงรายทุกวัน วันละหลายเที่ยว ใช้ เวลาเดินทาง ประมาณ 11 ชัว่ โมงเมื่อถึงสถานีขนส่งจังหวัดเชียงรายให้ ตอ่ รถไปอำเภอเชียงแสนเมืื่อถึงอำเภอ เชียงแสน เดินทางต่อไปที่ตำบลเวียง ตังอยู ้ ท่ ิศใต้ ของเชียงแสนประมาณ 5 กิโลเมตร และไปตามเส้ นทางเชียงของ ก็จะเจอโบราณสถานวัดพระธาตุสองพี่น้อง
วัดป่ าสัก
เจดีย์ประธานวัดป่ าสัก ตังอยู ้ เ่ ขตนอกกำแพงเมืองเชียงแสน อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ตามประวัติ พระ เจ้ าแสนภู ทรงสร้ างวัดแห่งนี ้ เมื่อพ.ศ. 1838 เพื่อบรรจุพระโคปผกะธาตุ(พระธาตุกระดูกตาตุม่ ข้ างขวา) และโปรดเกล้ าฯ ให้ ปลูกต้ นสักจำนวน 300 ต้ นทัว่ บริ เวณวัดป่ าสักมีพื ้นที่ทงหมดประมาณ ั้ 16 ไร่ ประกอบด้ วยโบราณสถานต่าง ๆ จำนวน 22 แห่ง เจดีย์ประธานเป็ นเจดีย์ทรงปราสาท ยอดทรงระฆังแบบห้ ายอด ที่ฐานเป็ นซุ้มประดิษฐานพระ พุทธรูปสลับกับรูปเทวดาส่วนกลางเป็ น เรื อนธาตุ ที่ซ้ มุ ประดิษฐานพระพุทธรูปทังสี ้ ่ด้าน ส่วนยอดเป็ นองค์ระฆัง มีเจดีย์องค์เล็กประดับอยูท่ ี่มมุ ทังสี ้ ่ เจดีย์วดั ป่ าสักยังเป็ นเจดีย์ที่คงสภาพสมบูรณ์ที่สดุ ในเมืองโบราณเชียงแสน และเป็ นเจดีย์ที่มีความงดงามมากที่สดุ องค์หนึ่งในกลุ่มศิลปะล้ านนาลวดลายที่ประดับอยู่บนองค์เจดีย์สะท้ อน ให้ เห็น ถึงการพัฒนาศิลปะและโครงสร้ าง ทางศิลปะล้ านนาโดยผสมผสานศิลปะสุโขทัย พุกาม และหริ ภญ ุ ไชย เข้ าด้ วยกันอย่างกลมกลืน จนกลายเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะและเป็ นต้ นเค้ าวิวฒ ั นาการของเจดีย์เรื อนธาตุศลิ ปะ ล้ านนา ซึง่ พระพุทธโฆษาจารย์นำมาถวายและโปรดฯ ให้ ปลูกต้ นสักล้ อมรอบวัด จำนวน 300 ต้ น จึงได้ ชื่อว่าวัดป่ า สักทรงตังให้ ้ พทุ ธโฆษาจารย์ เป็ นสังฆราช สถิต ณ พระอารามนี ้โบราณสถานที่สำคัญที่สดุ
เป็ นเจดีย์ทรงมณฑป ยอดระฆัง ๕ ยอด รูปแบบทรงสถาปั ตยกรรมส่วนฐานได้ รับอิทธิพลมาจากเจดีย์ก่กู ดุ จังหวัดลำพูน ส่วนมณฑปถึงส่วนยอดได้ รับอิทธิพลจากเจดีย์เชียงอันจังหวัลำพูนและด้ านศิลปกรรม ได้ รับอิทธิพลจาก กุกาม จีน ขอม สุโขทัย เป็ นต้ น
พระประธานทรงมณฑปยอดระฆัง ฐานกว้ าง 8 เมตร สูง 12.5 เมตรตกแต่งลวดลายปูนปั น้ วิจิตรพิศดาร ฝี มือช่างชันครู ้ เป็ นที่บรรจุพระบรมสารี ริกธาตุกระดูกตาตุม่ ข้ างขวาจากเมืองปาฏลีบตุ ร
เชียงแสนเมืองเก่า