แนวทางอธิปไตยทางดิจิตอลแห่ งชาติ Digital Sovereignty of Nation Roadmap ISBN 978-616-93043-4-0
โดยนักศึกษาสร้ างชาติร่ ุนที่ 4 กลุ่มประเทศโปรตุเกส 1. ดร. สุรพร สิมะกุลธร 2. นายสมมาศเสถียร เลิศวัฒนกูล 3. นายทวีศักดิ์ สุทิน 4. นายสุธีร์ เพชรโลหะกุล 5. ศ.ดร. พันธ์ ยศ อัครอมรพงศ์ 6. นายธนัท เกิดเจริญ 7. นายมงคล ดารงค์ สุทธิพงศ์ 8. นางกนกวรรณ เอ็กกิมันน์ 9. นางสาวนิดา ธีรสฤษกุล 10. นายประภากร สิงหนาท
บทคัดย่ อ (Abstract) ในยุคที่เทคโนโลยีเกิ ดการเปลี่ยนแปลง (Technology Disruption) บริ ษัทข้ ามชาติขนาดใหญ่ หลายแห่ง เช่น Facebook Line Google Amazon Alibaba เป็ นต้ น ที่รวมเรี ยกว่า บริ ษัทเศรษฐกิจ ดิจิ ตอล (Digital Economy) อาศัย ความสามารถเชิงเทคโนโลยี สร้ างความได้ เปรี ยบให้ กบั องค์กรของตน อันทาให้ เกิดความเสียหายแก่ประเทศของผู้บริ โภค หรื อ ผู้ใช้ งานเทคโนโลยีเหล่านัน้ อย่างมหาศาล ยกตัวอย่างเช่น การหลีกเลี่ยงภาษี จ ากการให้ บริ การโฆษณาผ่านสื่อ ดิจิตอลต่างๆ โดยการไม่จดทะเบียนนิติบุคคลในประเทศไทย รวมถึง การจัดเก็บ และส่งออกข้ อมูลพฤติกรรมการใช้ งาน หรื อข้ อมูลสาคัญของผู้บริ โภคไปยังประเทศปลายทางเพื่ออาศัยข้ อมูลดังกล่าวนามาใช้ ในการสร้ างความได้ เปรี ยบทาง ธุรกิจ อีกทังยั ้ งมีอิทธิพลต่อการสือ่ สารมวลชนสมัยใหม่ซึ่งส่งกระทบถึงความมัน่ คงของประเทศอีกด้ วย ดังมีตวั อย่างการ เปลี่ยนแปลงทางการเมื องในหลายๆประเทศที่เป็ นผลจากการใช้ เทคโนโลยีดิจิตอลเป็ นเครื่ อ งมื อ สาคัญ ในอนาคต ประเด็นเหล่านี ้อาจสร้ างความเสียหายแก่ประเทศทังทางเศรษฐกิ ้ จ สังคม และการเมือ ง และจะขยายขอบเขตออกไป อย่างต่อเนื่องหากภาครัฐไม่ได้ กาหนดนโยบายและมาตรการรองรับอย่างเหมาะสมในการเสริ มสร้ าง “อธิปไตยดิจิตอล – Digital Sovereignty“ ของชาติอย่างจริ งจังและเป็ นระบบ คณะนักศึกษา NBI กลุม่ ประเทศโปรตุเกส ได้ ศกึ ษาเชิงลึกถึงประเด็นปั ญหาดังกล่าว โดยอาศัยการค้ นคว้ าข้ อมูล จากงานวิจัยและกรณีศึกษาจากต่างประเทศ ตลอดจนการหารื อกับผู้เชี่ ยวชาญในวางการด้ านเทคโนโลยี และได้ สรุ ป ข้ อเสนอแนะ อันเชื่อว่าเป็ นประโยชน์ตอ่ ภาครัฐ และผู้มีสว่ นได้ เสีย ตามองค์ประกอบแห่งแนวคิดของการสร้ างชาติ ดังนี ้ 1. คน : มุ่งเน้ นไปที่การเพิ่มพูนศักกายภาพแห่งความอ่านออกเขียนได้ ทางดิจิตอล (Digital Literacy) ของคนในชาติ ในยุค Thailand 4.0 ให้ เป็ น คนไทย 4.0 ที่มีอตั ตลักษณ์ร่วมกัน มีอุดมการณ์และเป้าหมายในทิศทางเดียวกัน ทังโดย ้ ริ เริ่ มจากที่ไม่มีให้ เกิดขึ ้นเป็ นรูปเป็ นร่างและพัฒนาจากสิง่ ที่เป็ นอยูใ่ ห้ ดีขึ ้น 2. ระบบ : ภาครัฐมีบทบาทสาคัญในการสนับสนุนให้ เกิดระบบ 4 ประการ 1) การสร้ างกรอบอธิปไตยดิจิตอล (Digital Sovereignty Framework) เพื่อกากับดูแลทังภาครั ้ ฐและเอกชน ครอบคลุมนโยบาย โครงสร้ าง และกฎหมาย 2) การ สร้ างความร่ วมมือระหว่างหน่วยงานที่กากับดูแลภายในประเทศ และภายในภูมิภาค ตลอดจนประเทศมหาอานาจ ทางดิจิตอลต่างๆ 3) การร่ วมมือประกาศเจตนารมณ์ และปฏิบตั ิตามกฎหมายเพื่อธารงไว้ ซึ่งอธิ ปไตยดิจิต อล และ สร้ างความเชื่ อมั่นต่อผู้ใช้ บริ การ 4) การนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ เพื่อกากับดูแลและรักษาความปลอดภัยของ ข้ อมูลในระบบสารสนเทศที่อยูใ่ นประเทศ
3. บริ บ ท : การประยุกต์ ใ ช้ ก รณี ศึกษาต่า งๆ เกี่ ยวกับความสาเร็ จ ของการเสริ ม สร้ าง “อธิ ปไตยดิ จิตอล – Digital Sovereignty“ ของนานาอารยประเทศ เพื่อ สร้ างแนวทางการปฏิรูปและสร้ างทิศทางในอนาคตให้ กับมาตรการ ตลอดจนสร้ างแรงจูงใจให้ กบั ทุกๆ ภาคส่วนของระบบเศรษฐกิจดิจิตอลอย่างเป็ นระบบและมีความยัง่ ยืน
คณะนักศึกษา NBI หวังว่า ข้ อมูลที่ได้ จากการศึกษาข้ างต้ น จะเป็ นประโยชน์ตอ่ ภาครัฐ ในการริ เริ่ มให้ เกิดความ ร่ วมมืออย่างจริ งจังของทุกภาคส่วนและผู้มีสว่ นได้ เสียในชาติ เพื่อให้ เกิดความตระหนักถึงความสาคัญเร่ งด่วนในการ เสริ มสร้ าง “อธิปไตยดิจิตอล – Digital Sovereignty“ อย่างเป็ นรูปธรรม อาทิเช่น การจัดตังองค์ ้ การมหาชน หรื อ วิสาหกิจ เพื่อ สังคมที่ได้ รับมอบหมายจากภาครั ฐเพื่อทาภารกิจ นี ้อย่างเฉพาะเจาะจงและมีทิศทางแห่งเป้าหมายที่ชัดเจน ทาง คณะฯ มีความพร้ อมในการให้ ความช่วยเหลือสนับสนุนข้ อมูล และหารื อวิธีการแนวทางแก้ ไขร่วมกันกับผู้ที่สนใจ ตัวแทน ของทังภาครั ้ ฐและภาคเอกชน หรื อผู้มีอานาจที่หวังจะร่วมกันสร้ างแนวทางแก้ ไขปั ญหาอันเป็ นประเด็นสาคัญแห่งชาติไป ด้ วยกัน
ความนา
การจัดทาโครงการวิชาการ Cap-Corner Stone Project Cap-Corner Stone (CCS) มาจาก 2 คา คือ Capstone และ Corner Stone โดยที่ Capstone หมายถึง ป้า ย จารึ กสุดท้ ายที่แสดงความสง่างามของชีวิต ที่คนรุ่ นหลังจดจาผลงานชีวิตของผู้สร้ างผลงาน ดังนัน้ Capstone Project คือ โครงการที่ทาแล้ วเป็ นที่จารึกจดจา ส่วน Corner Stone หมายถึง หินก้ อนเล็กที่อยู่ในตาแหน่งมุมตึกเป็ นตัวยึดโยงทัง้ ตึกไว้ ด้วยกัน หินก้ อนเล็กแต่มีพลังยิ่งใหญ่ตอ่ ทังตั ้ วอาคาร ดังนัน้ Corner Project จึงหมายถึง โครงการขนาดเล็กที่มีพลัง ส่งผลกระทบได้ มาก Cap-Corner Stone คือ โครงการขนาดเล็กที่ทาแล้ วมี ผลกระทบสูงหรื อ ขยายผลต่อ ได้ มาก เป็ น ผลงานสาคัญที่จะทิ ้งไว้ ให้ โลกจารึกจดจา Cap-Corner Stone Project เป็ นโครงการที่นกั ศึกษาหลักสูตรนักบริ หารระดับสูงเพื่อ การสร้ างชาติ ของสถาบัน การสร้ างชาติ แต่ละกลุม่ ประเทศได้ นาความรู้ จากการศึกษาในหลักสูตรร่วมกับประสบการณ์ ของตนมาประยุกต์ทาเป็ น โครงการที่ลงมือในภาคปฏิบัติให้ เกิ ดประโยชน์ต่อ สังคม โดยเป็ นโครงการขนาดเล็กแต่มีศักยภาพในการขยายผล มี ประเด็นมุ่งเน้ นที่แคบและเจาะจง เปรี ยบเทียบว่า สมมตินกั ศึกษาเป็ นนายกรัฐมนตรี ของประเทศไทย ให้ เลือกโครงการได้ เพียง 1 โครงการที่จะลงมือปฏิบตั ิการเพื่อช่วยให้ ประเทศไทยก้ าวหน้ าอย่างมัน่ คงยัง่ ยืน ช่วยพัฒนาด้ านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้ อม หรื อคุณภาพชีวิตของประชาชน โครงการ CCS มี อ งค์ ป ระกอบตามโมเดล 3 I Innovation Model (Ideation-Implementation-Impact) ของ ศ.ดร.เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์ โดยมีจุดมุ่งหมายของการนาเสนอแนวคิดใหม่ (New idea) ที่ช่วยส่งเสริ มการพัฒนา ประเทศหรื อองค์กรในเรื่ องใดเรื่ องหนึง่ เจาะจง (Specific issue) เป็ นเรื่ องที่มีผลเพื่อส่วนรวม เป็ นโครงการที่นาไปปฏิบตั ิ ได้ จริ ง (Implementation) แสดงให้ เห็นการเชื่อมโยงและการประยุกต์ใช้ สิ่งที่ได้ เรี ยนรู้ นาไปปฏิบตั ิได้ และวัดผลกระทบ เชิงสัมฤทธิผลได้ (Impact) ทังนี ้ ้ นักศึกษาจะได้ เรี ยบเรี ยงการดาเนินการทังหมดเป้ ้ นเอกสารวิชาการกลุม่ ซึ่งเป็ นผลงาน วิช าการบนฐานการทดลอง ทดสอบ ลงมื อปฏิบัติจ ริ ง ดังนัน้ ข้ อเสนอแนวคิดของกลุ่มในเอกสารวิช าการจึงเป็ นสิ่งที่ ปฏิบตั ิการได้ ในโลกจริ ง
คานา โลกปั จจุบนั กาลังถูกขับเคลือ่ นอย่างรุ นแรงและรวดเร็ วด้ วยกระแสแห่งดิจิตอลเทคโนโลยีภายใต้ นิยามของคาว่า Disruptive อธิ ปไตยดิจิตอลแห่งชาติ (Digital Sovereignty of the Nation) จึงเป็ นสิ่งที่ต้องถูกนามาบริ หารอย่างเข้ มข้ น และเร่งด่วนเพื่อให้ ทนั ต่อภาวะอันสุดขัวเช่ ้ นนี ้แต่ในภาพความเป็ นจริ งรัฐของชาติไทยยังไม่มีทิศทางที่ชดั เจนมากพอในคา ว่า Thailand 4.0 ผู้ป ระกอบการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ วงจรธุ ร กิ จ ดิ จิ ต อลไม่ ไ ด้ รั บ การส่ง เสริ ม เท่ า ที่ ค วรจะเป็ นในขณะที่ ผู้ประกอบการที่เป็ นบริ ษัทยักษ์ ใหญ่ข้ามชาติระดับโลกซึง่ มีข้อได้ เปรี ยบมากมายอยู่แล้ วกลับมีความสะดวกสบายอย่าง ยิ่งในการแสวงหาผลประโยชน์จากประชากรของประเทศอย่างไม่เป็ นธรรมเท่าที่ควร การจัดเก็บภาษี เงิ นได้ จากบริ ษัท ยัก ษ์ ใ หญ่ ข้ า มชาติ เ หล่า นี ้ จะเป็ น การประกาศให้ นานาประเทศได้ รั บ ทราบถึ งความพร้ อมของประเทศไทยในการ ตอบสนองต่ อ กระแสแห่ ง ความเปลี่ ย นแปลงครั ง้ ใหญ่ (Mega Trend) นี ้ และจุ ด ประกายให้ ทุ ก ภาคส่ ว นที่ มี ขี ด ความสามารถในชาติได้ ตระหนักถึงความจาเป็ นเร่งด่วนที่จะเข้ าร่วมกันพัฒนาบริ หารจัดการอย่างเป็ นระบบโดยมีอานาจ แห่งรัฐให้ การสนับสนุนตลอดเส้ นทาง สมเป็ น Thailand 4.0 ที่ร้ ูเท่าทันกระแสโลกอย่างแท้ จริ ง ปั จจุบนั มี การประเมิ นว่าบริ ษัทดิจิ ตอลยักษ์ ใหญ่ข้ามชาติ (อาทิ: FB, GG, YT, LN, AGD, etc.) เป็ นหลักหมื่ น ล้ านบาททุกๆปี รั ฐมีก ารจัดเก็บภาษี เงินได้ จากบริ ษัทฯ เหล่านี ้ได้ น้อ ยมาก (อาทิ: เก็บจาก FB ได้ 130,000 บาท ในปี 2559) รัฐจึงควรต้ องใช้ อานาจเข้ าจัดการเจรจาเพื่อหาหาแนวทางในการเรี ยกเก็บภาษีเพื่อสรุปให้ ปฏิบตั ิได้ โดยเร็ วและมี ประสิทธิ ภาพสูงสุด โดยระดมผู้เชี่ ยวชาญและกรณีศึกษาจากทัว่ โลกมาเป็ นแนวทาง แทนที่จะใช้ การร่ างกฎหมายแต่ เพียงอย่างเดียวซึง่ ใช้ เวลามาก เมื่อเกิดภาวะความเอาจริ งเอาจังจากภาครัฐในน ้าหนักที่มากพอและระยะเวลาที่นานพอ ย่อมจะส่งผลให้ ทุกฝ่ ายที่เกี่ ยวข้ องเรี ยบเรี ยงกติกาที่เหมาะสมที่สดุ ต่อกันและกัน ถือเป็ นการรั บรู้ ถึง “อ านาจอธิ ปไตย ดิจิตอลแห่งชาติ” ไปตลอดทาง และมีความเข้ มข้ นมากขึ ้นเรื่ อยๆ จนสามารถนาไปสูก่ ารต่อรองในด้ านอื่นๆ ในระดับที่ สูงขึ ้นไปเป็ นลาดับ ทังนี ้ ้ Disruptive เทคโนโลยีแทบทังหมดเกิ ้ ดขึ ้นจากระบบดิจิตอลที่ทางานร่ วมกันแบบเครื อข่าย เมื่อ ผู้ป ระกอบการทุก รายรั บ ทราบถึ ง อ านาจอธิ ป ไตยฯนี ้ รั ฐ ย่อ มสามารถดึง ขี ด ความสามารถ Leverage ของแต่ล ะ แพลตฟอร์ มของผู้ป ระกอบการมาใช้ เ พื่อสร้ างบริ การจากภาครั ฐ สู่ประชาชนทุกภาคส่วนได้ ในทุกๆ หน้ า ที่ของทุก ๆ กระทรวงทบวงกรมต่อไป อย่างมีบูรณาการ
สารบัญ หน้ า บทคัดย่อ (Abstract)
(1)
ความนา
(3)
คานา
(4)
สารบัญ
(5)
สารบัญภาพ
(7)
สารบัญตาราง
(8)
บทที่ 1 บทนาและประเด็นปั ญหา
1
บทนา
1
ประเด็นปั ญหา
2
บทที่ 2 สภาพปั จจุบนั และความจาเป็ นที่ต้องมีโครงการ
4
ข้ อมูลพื ้นฐาน
4
สภาพปั ญหา
8
บทที่ 3 หลักคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข้ อง เช่น นโยบายภาครัฐ, Social Enterprise
11
ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกันอินเทอร์ เน็ต
11
การใช้ บริ การอินเทอร์ เน็ต
12
อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย
14
แนวคิดเกี่ยวกับเครื อข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking Online)
15
แนวความคิดแห่งองค์ประกอบของรัฐ
17
แนวความคิดแบบทางเลือกที่สาม Third Way หรื อปฎิบตั ินิยม Pragmatism
18
แนวคิดการสร้ างชาติของสถาบันสร้ างชาติ
20
บทที่ 4 การประยุกต์หลักคิดและทฤษฎี กลุม่ งานได้ จดั ทาข้ อเสนอ 3 ข้ อบทพื ้นฐานของการวินิจฉัย
21 25
บทที่ 5 กลุม่ ตัวอย่างพื ้นที่และวิธีการ
27
บทที่ 6 แผนการดาเนินการ
30
วิธีการศึกษา
30
บทที่ 7 สถานการณ์การดาเนินการ
32
คน สรุปความเป็ นไปได้ ในการแก้ ปัญหา
32
ระบบ สามารถสรุปหลักการและหลักปฏิบตั ิได้ 4 ประการหลัก
33
บริ บท ของนานาประเทศในโลกที่มีตอ่ บริ ษัทดิจิตอลยักษ์ ใหญ่ข้ามชาติ
35
บทที่ 8 ผลกระทบต่อกลุม่ เป้าหมาย
39
บทที่ 9 ผลกระทบต่อภาพรวมประเทศ
41
การประชุมอินเทอร์ เน็ตโลกครัง้ ที่ 2
42
บทที่ 10 ผลกระทบระยะสัน้ ระยะกลาง ระยะยาว
51
รัฐกับบทบาทผู้อานวยความสะดวก
51
แนวทางปรับตัวของรัฐในสังคมดิจิตอล
51
บทสรุปและข้ อเสนอแนะ
53
บรรณานุกรม
54
ภาคผนวก
56
Digital Sovereignty of Nation Building
57
รายชื่อคณะผู้จดั ทา
68
แนะนาสถาบันการสร้ างชาติและหลักสูตรนักบริ หารระดับสูงเพื่อการสร้ างชาติ
69
สารบัญภาพ รูปภาพที่ 1 เทคโนโลยีหลัก 12 ประการที่จะมีบทบาทอย่างยิ่งยวดต่อการเปลีย่ นแปลงของโลก
หน้ า 1
รูปภาพที่ 2 ขนาดของบริ ษัทที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ ของโลก 5 อันดับแรกจัดเรี ยงตาม Market Cap
3
รูปภาพที่ 3 ร้ อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึ ้นไปที่ใช้ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์ เน็ต โทรศัพท์มือถือทุกประเภท
4
และโทรศัพท์มือถือแบบ Smart Phone พ.ศ. 2555-2559 รูปภาพที่ 4 ร้ อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึ ้นไปที่ใช้ อินเทอร์ เน็ตตามเพศ พ.ศ. 2555 – 2559
5
รูปภาพที่ 5 เปรี ยบเทียบสัดส่วนการโฆษณา
5
รูปภาพที่ 6 แสดงการเติบโตของการโฆษณาผ่านสือ่ Social Media
6
รูปภาพที่ 7 แสดงส่วนแบ่งการตลาด การโฆษณา
6
รูปภาพที่ 8 แสดงส่วนแบ่งการตลาด การโฆษณาผ่านสือ่ Social
7
รูปภาพที่ 9 อธิบายว่า The New Oil หมายถึงข้ อมูลต่างๆ ของชาติเปรี ยบได้ กบั แหล่งทรัพยากรของชาติ
10
รูปภาพที่ 10 เปรี ยบเทียบการเจาะข้ อมูลของประชากรในชาติเหมือนการเจาะบ่อน ้ามัน
10
รูปภาพที่ 11 องค์ประกอบแห่งรัฐตามนิยามของนักปราชญ์ ทางด้ านรัฐศาสตร์
18
รูปภาพที่ 12 แนวความคิดแบบ Third Way หรื อแนวคิดแบบปฏิบตั ินิยม Pragmatism
19
รูปภาพที่ 13 แนวคิดของการสร้ างชาติตามแบบของถาบันสร้ างชาติ Nation Building Institute ประเทศไทย
20
รูปภาพที่ 14 แหล่งข้ อมูลต่างๆ ที่ใช้ ประกอบการวิจยั เชิงคุณภาพแบบ Focus Group
27
รูปภาพที่ 15 คนไทย 4.0 คือวุฒิภาวะหรื อการอ่านออกเขียนได้ ทางดิจิตอลที่คนไทยต้ องมี
32
รูปภาพที่ 16 สรุปภาพรวมของระบบ 4 ด้ านเพื่อสร้ างอธิปไตยดิจิตอลของชาติ
34
รูปภาพที่ 17 บริ บทที่เกี่ยวกับการสร้ างอธิปไตยดิจิตอลที่ประสบความสาเร็ จในประเทศอังกฤษ
36
รูปภาพที่ 18 ชัยชนะจากการรณรงค์ เพือ่ ให้ บริ ษัททังหลายจ่ ้ ายภาษีตามที่ควรจะเป็ นตามกาไรที่ได้ ในอังกฤษ
38
รูปภาพที่ 19 ผลกระทบต่อกลุม่ เป้าหมายที่เกี่ยวเนื่องกับการสร้ างอธิปไตยดิจิตอลของชาติ
39
รูปภาพที่ 20 นายสี จิ ้นผิง ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนในการประชุมอินเทอร์ เน็ตโลก
42
รูปภาพที่ 21 ความคิดเห็นของชนชันน ้ าในประเทศเยอรมันเกี่ยวกับของอธิปไตยดิจิตอลในประเทศ
46
สารบัญตาราง ตารางที่ 1 แผนการดาเนินงาน ตารางที่ 2 แนวทางปรับตัวของรัฐในสังคมดิจิตอล
หน้ า 31 52
1
บทที่ 1 บทนาและประเด็นปั ญหา บทนา โลกปั จจุบนั กาลังขับเคลื่อนอย่างรุ นแรงและรวดเร็ วด้ วยกระแสแห่งดิจิตอลเทคโนโลยี การค้ าและการดาเนิน ธุรกิจในศตวรรษที่ยี่สบิ มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างยิ่งยวด ดังจะเห็นได้ จากแนวโน้ มของเทคโนโลยีแห่งอนาคตที่ จะมีผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของโลกตามการประเมินของทุกๆ สานัก อาทิเช่น กลุม่ สภาบันธุรกิจแมคคินซี่ ล้ วนมี ความเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีดิจิตอลที่ทางานร่วมกันเป็ นโครงข่ายทังสิ ้ ้น
รูปภาพที่ 1 เทคโนโลยีหลัก 12 ประการที่จะมีบทบาทอย่างยิ่งยวดต่อการเปลีย่ นแปลงของโลก ที่มา: Disruptive technologies: McKinsey Global Institute. 2013 จากการค้ าแบบไร้ เทคโนโลยีหรื อใช้ เทคโนโลยีที่ไม่ส้ จู ะเป็ นมิตรกับผู้ใช้ และการดาเนินการที่ลา่ ช้ าบนเครื อข่ายที่ จากัดจึงทาให้ การประกอบธุรกิจแบบดังเดิ ้ มกระทาได้ ในวงแคบ แต่เมื่อเกิดการปฎิวตั ิทางดิจิตอล (Digital Revolution) ควบคูไ่ ปกับการพัฒนาระบบการทางานของอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล โทรศัพท์มือถือ แบบ Smart Phone และ Tablets รวมถึงระบบโครงสร้ างพื ้นฐานสาหรับเครื อข่ายสื่อสารแบบไร้ สายและระบบซอฟต์แวร์ ที่ดี ขึ ้น การเข้ าถึงและการเผยแพร่ข้อมูลที่ทาได้ กระชับและรวดเร็ วขึ ้นแบบติดจรวดโดยใช้ เว็บไซต์และแอผพลิเคชัน่ ต่างๆใน การพัฒนาระบบความปลอดภัยของฐานข้ อมูล การจัดเก็ บข้ อ มูลโดยใช้ ระบบคลาวด์ การสร้ างสกุลเงินตราใหม่แบบ เสมือนจริ ง และ การดาเนินธุรกิจออนไลน์ และการบริ หารธุรกิจโดยที่สานักงานหรื อตัวผู้บริ หารไม่จาเป็ นต้ องอยู่ ประเทศ เดียวกัน ส่งผลให้ การดาเนินการทางธุรกิจในโลกปั จจุบนั เปลี่ยนไปจากเดิมแบบ 360 องศา หรื อ หักศอก จนถูกนิยาม
2
ด้ วยคาว่า Technology Disruptive หรื อ Digital Disruption ซึง่ ปั จจุบนั มีบริ ษัทนาหน้ าของโลกได้ เติบโตแบบก้ าวกระโดด ขึ ้นมาเป็ นบริ ษัทที่มีสถานะการเงินและแบรนด์ที่คุณค่าและมูลค่ามากที่สดุ อันดับต้ นๆของโลก ไม่ว่าจะเป็ น อเมซอน (Amazon), เฟสบุ๊ค (Facebook), และกูเ กิ ล (Google) รวมถึง บริ ษัทที่ เติ บโตที่รวดเร็ วระดับภูมิ ภาคเช่ น ไลน์ (Line), และอโกด้ า (Agoda) เป็ นต้ น บริ ษัทเหล่านี ้ ในยุคที่ภาคธุรกิจมีเปลีย่ นแปลงช่องทางในการขายและโฆษณาเพื่อนาเสนอขายบริ การและสินค้ าที่เปลีย่ นแปลง จากระบบการค้ าในอดีตที่ต้องมีการลงทุนในเรื่ องงบโฆษณาอย่างมหาศาลมาอยูใ่ นรูปแบบดิจิตอล บวกกับการแข่งขันสูง และความต้ อ งการที่ จ ะลดต้ น ทุ น ในการประกอบการมี ม ากขึ น้ และการจั ด ซื อ้ สิ น ค้ า แบบไร้ พรหมแดน ท าให้ ผู้ประกอบการข้ ามชาติยุคใหม่ที่มีความสามารถใช้ เทคโนโลยีแบบไร้ สายในการเข้ าถึงผู้บริ โภค บวกกับแรงจูงใจทาง ธุรกิจที่ไร้ ศีลธรรม ทาให้ เกิดการวางแผนภาษี โดยอาศัยสิทธิ ประโยชน์ตา่ งๆ เพื่อลดค่าใช้ จ่ายทางภาษี อากรของบริ ษัท ข้ ามชาติซงึ่ เกิดขึ ้นและมีการปฏิบตั ิกนั โดยอาศัยช่องว่างของกฏหมายในประเทศนันๆ ้ ทังที ้ ่ประเทศเหล่านันรู ้ ้ เท่าทันบ้ าง และรู้ ไม่เท่าทันบ้ าง บ้ างครัง้ ก็มีการยกเหตุผลเรื่ องของเทคโนโลยีแบบไร้ พรหมแดนมาเป็ นข้ ออ้ างในการทาให้ รัฐบาล ประเทศต่างๆคล้ อยตาม การปฎิวตั ิทางเทคโนโลยีและการดาเนินธุรกิจเป็ นไปอย่างรวดเร็ วภายใต้ ยุคดิจิตอลที่ดาเนินธุรกิจไปในทิศทาง ตรงกันข้ ามกับการพัฒนากฎหมายภาษีอาการของแต่ละประเทศที่ยงั ปรับปรุงแบบค่อยเป็ นค่อยไปและไม่ทนั สมัย ผนวก กับช่องว่างของอนุสญ ั ญาภาษีซ้อนที่เปิ ดโอกาสให้ มีการโอนย้ ายฐานภาษี (กาไร) ไปยังต่างประเทศโดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีหรื อเสียภาษีในอัตราต่า ทังภาษี ้ ทางตรงและภาษี ทางอ้ อม ซึ่งการเสียภาษีในลักษณะดังกล่าว ไม่สอดคล้ องกับกิจกรรมหรื อการเกิดชึ ้นของมูลค่าทางเศรษฐกิจที่แท้ จริ ง
ประเด็นปั ญหา ณ ปั จจุบนั ทางประเทศมหาอานาจทางเศรษฐกิจ 20 ประเทศ ( G20 ) รวมถึงคณะมนตรี สหประชาชาติยโุ รป ( Council of the European Union ) สื่อมวลชน และภาคประชาสังคมทัว่ โลกได้ ตระหนักถึงความรุ นแรงและผลกระทบที่ เพิ่มมากขึ ้นจากการวางแผนเพื่อเลี่ยงภาษี ของบริ ษัทข้ ามชาติ การอาศัยช่องว่างจากความแตกต่างของระบบภาษี ของ บริ ษัทในเครื อที่ ตงอยู ั ้ ่ในประเทศต่างๆ เพื่อลดภาระภาษี หรื อ โอนย้ ายกาไรไปยังประเทศที่ไม่เสียภาษี หรื อ เสียภาษี ใน อัตราต่ากว่า โดยอาศัยความสะดวกรวดเร็ วในยุคเศรษฐกิจ ทาให้ การเลีย่ งภาษี ทาได้ ง่าย เป็ นผลให้ รายได้ ของประเทศ ลดลงอย่างมหาศาล และทาให้ ขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้เสียภาษี ภายในประเทศลดลงมหาศาล และทาให้ ขีด
3
ความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอกการขนาดเล็ก หรื อผู้ที่ทาธุรกิจแบบตรงไปตรงมา ที่ไม่ได้ มีศกั ยภาพทัดเทียม กับบริ ษัทขนาดใหญ่ในการเข้ าถึงประโยชน์จากช่องว่างทางกฎหมายในลักษณะเดียวกัน อีกทังในปั ้ จจุบันบริ ษัทที่มีขนาดของทุนในตลาดการเงินที่ใหญ่ ที่สดุ ระดับโลกทัง้ 5 อันดับแรกล้ วนเป็ นบริ ษัท ทางด้ านเทคโนโลยีดิจิตอลบนโครงข่ายอินเตอร์ เน็ตทังสิ ้ ้น แตกต่างจากในทศวรรษที่ผา่ นมาอย่างสิ ้นเชิง บริ ษัทยักษ์ ใหญ่ ของโลกที่เคยเป็ นบริ ษัทเกี่ยวกับทรัพยากรน ้ามัน และสถาบันการเงิน กลับกลายเป็ นบริ ษัทที่มีความสาคัญน้ อยลงอย่าง ยิ่งในเวทีเศรษฐกิจของโลก และมีแนวโน้ มจะไปในทิศทางนี ้มากขึ ้นเรื่ อยๆ
รูปภาพที่ 2 ขนาดของบริ ษัทที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ ของโลก 5 อันดับแรกจัดเรี ยงตาม Market Cap ที่มา: www.visualcapitalist.com ประเทศไทยรวมถึงอีกหลายประเทศทัว่ โลกได้ ถูก คลุกคลามจากปั ญหาดังกล่าวโดยฝ่ ายรัฐบาลยังไม่มีแนวทาง ในการจัดการกับปั ญหา จึงเป็ นที่มาของการเปิ ดประเด็นปั ญหานี ้ให้ ผ้ ทู ี่เกี่ยวข้ องกับหัวข้ อเรื่ องอธิปไตยทางดิติต อลของ ประเทศไทยที่ถูกบริ ษัทยักษ์ ใหญ่ข้ามชาติทงหลาย ั้ แสวงหาผลประโยชน์โดยไม่เป็ นธรรมจากช่องว่างทางกฏหมายของ ประเทศไทย เพื่อให้ ภาครั ฐได้ ร้ ู เท่าทันและเร่ งหามาตราการที่จะจัดเก็ บภาษี บริ ษัทเหล่านันและรู ้ ้ เท่าทันกลอุบายของ บริ ษัทเหล่านัน้
4
บทที่ 2 สภาพปั จจุบันและความจาเป็ นที่ต้องมีโครงการ 2.1 ข้ อมูลพืน้ ฐาน ปั จ จุ บัน ประชาชนสามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ได้ อ ย่า งรวดเร็ ว ผ่ า นการใช้ งานโทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ หรื อ โทรศัพท์มือถื อ หรื ออุปกรณ์ สื่อสารต่างๆ ดังจะเห็นได้ จากสถิ ติการใช้ งานโทรศัพท์ มือ ถื อ และอินเตอร์ เน็ตมี แนวโน้ ม เติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (ดู ภ าพที่ 1) ประชาชนนิ ย มใช้ โทรศัพ ท์ มื อ ถื อ มากกว่ า การติ ด ต่ อ สื่ อ สารทั่ว ๆไป แต่ ยัง ใช้ โทรศัพ ท์ มื อ ถื อ ในการท าธุ ร กรรมทางการเงิ น และติ ด ตามข่า วสารต่า งๆผ่า น Social Media หรื อ สื่อ ดิ จิ ต อล เช่ น Facebook, Instagram, Line, และ Youtube เป็ นต้ น (ดูภาพที่ 2) ในทางกลับกัน ก็ เป็ นโอกาสของผู้ให้ บริ การ Social Media ที่จะอาศัยความได้ เปรี ยบจากการเข้ าถึงผู้ใช้ งานโทรศัพท์มือถือ ในการดาเนินธุรกิจสือ่ โฆษณา จนกระทัง่ สามารถ เอาชนะสือ่ โทรทัศน์แบบเดิมได้ (ดูภาพที่ 3)
รูปภาพที่ 3 ร้ อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึ ้นไปที่ใช้ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์ เน็ต โทรศัพท์มือถือทุกประเภท และ โทรศัพท์มือถือแบบ Smart Phone พ.ศ. 2555-2559
5
รูปภาพที่ 4 ร้ อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึ ้นไปที่ใช้ อินเทอร์ เน็ตตามเพศ พ.ศ. 2555 – 2559
รูปภาพที่ 5 เปรี ยบเทียบสัดส่วนการโฆษณา
6
จากข้ อมูลการศึกษาของสมาคมโฆษณาดิจิ ตอล (ประเทศไทย) แสดงให้ เห็นว่าในปี 2560 การใช้ จ่ายเพื่อการ โฆษณาผ่านสือ่ ดิจิตอล เติบโตขึ ้น 29% เมื่อเทียบกับปี 2559 และเติบโต 17% เมื่อเทียบกับปี 2558 ตามลาดับ คิดเป็ น มูลค่ากว่า 6,000 ล้ านบาท (ดูรูปที่ 4) โดยเฉพาะ Facebook และ Youtube (ดูรูปที่ 5) ข้ อมูลดังกล่าวสะท้ อนให้ เห็นการ เติบโตของตลาดโฆษณาในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ข้ อมูลนี ้กลับขัดแย้ งกับข้ อมูลผลประกอบการ และการเสียภาษี ที่ ผู้ประกอบการ Social Media รายงานต่อภาครัฐ จากข้ อมูลกรมพัฒนาธุ รกิจ การค้ า ในปี 2558 พบว่า ผู้ประกอบการ Social Media ในประเทศไทยส่วนใหญ่ไม่ได้ เสียภาษี เนื่องจากผลประกอบการขาดทุน เกิดเป็ นปั ญหาที่ควรพิจารณาว่า ภาครัฐ ดาเนินการจัดเก็บภาษี จากผู้ประกอบการดังกล่าวต่าเกินไป และขาดความตระหนัก ถึงความสาคัญของปั ญหา ดังกล่าวหรื อไม่ (ดูรูปที่ 6)
รูปภาพที่ 6 แสดงการเติบโตของการโฆษณาผ่านสือ่ Social Media
รูปภาพที่ 7 แสดงส่วนแบ่งการตลาด การโฆษณา ผ่านสือ่ Social Medi
7
รูปภาพที่ 8 แสดงส่วนแบ่งการตลาด การโฆษณาผ่านสือ่ Social Media จากการศึกษาข้ อมูลเพิ่มเติม ยังพบว่า ปั ญหาการจัดเก็บภาษีจากผู้ประกอบการ Social Media ไม่ได้ เกิดขึ ้นเฉพาะ ในประเทศไทยเพียงเท่านัน้ ปั ญหาการจัดเก็บภาษี จ ากผู้ให้ บริ การ Social Media เหล่านี ้เกิ ดขึ ้นและเป็ นที่วิพากษ์ ใน นานาประเทศ เช่น 1. รั ฐ บาลออสเตรเลีย เดิ น หน้ า จัด เก็ บ ภาษี ย้ อ นหลัง มูล ค่ า กว่า 2พัน ล้ า นเหรี ย ญดอลล่า ห์ อ อสเตรเลีย จาก Facebook และ Google (BBC March 21, 2017) 2. รัฐ มนตรี ว่าการกระทรวงการคลังของประเทศตุรกี แถลงการณ์ ต่อ ที่ประชุม G20 เกี่ยวกับสภาวะปั ญหาการ จัดเก็บภาษีจากผู้ให้ บริ การ Social Media (Daily News May 7,2015) 3. Google India แพ้ คดีและต้ องจ่ายภาษี เงินได้ ย้อนหลังจากค่าโฆษณามูลค่ากว่า 1,457 ล้ านรู ปี ให้ กับรัฐ บาล เป็ นต้ น (BBC Oct 25,2017) 4. คณะกรรมาธิ การยุโรป ตัดสิน แอปเปิ ล้ เลียงภาษี ในประเทศไอร์ แลนด์ นาน 11 ปี มูลค่ากว่า 13 พันล้ านยูโร (European Commission August ,2016) และกาลังเริ่ มการสืบสวนสอบสวนในประเทศอื่ นๆเช่น อิ นโดนีเซีย ญี่ปนุ่ เป็ นต้ น
8
ดังนัน้ จึงเป็ นที่นา่ สนใจและศึกษาเพิ่มเติม เพื่อทาความเข้ าใจสภาพปั ญหา ดังแสดงในหัวข้ อถัดไป 2.2 สภาพปั ญหา จากข้ อเท็จจริ งที่ปรากฎในส่วนของข้ อมูลพื ้นฐาน สภาพปั ญหาปั จจุบนั ของการจัดเก็ บรายได้ จ ากผู้ให้ บริ การ Social Media เป็ นดังนี ้ การจัดเก็ บภาษี ต่ากว่าที่ควรจะเป็ น สืบเนื่องจากการช่อ งโหว่ทางกฎหมายและข้ อ จ ากัดเชิ ง เทคนิค เมื่อพิจารณาตามหลักกฎหมายแล้ ว มีกฎหมายที่เกี่ยวข้ องอย่างมีนยั สาคัญ 2 ฉบับ ได้ แก่ พ.ร.บ. ขายตรงและ การตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 และ พ.ร.บ. ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 และประกาศกระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2553 ซึง่ ทัง้ สองฉบับกาหนดเนื ้อหาสาระให้ ผ้ ปู ระกอบการ E-Commerce ต้ องขึ ้นทะเบียนกับ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริ โภค และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้ า แต่เนื่องจากบทลงโทษที่กาหนดไว้ เพียงวันละ 10,000 บาทกอปรกับขาดการบังคับใช้ กฎหมาย ทาให้ ข้อปฏิบตั ิดงั กล่าวไม่เปิ ดประสิทธิผล และนาไปสูช่ ่องโหว่ของระบบที่ไม่สามารถตรวจสอบและเรี ยกเก็บเงินภาษีได้ และเนื่องจากผู้ประกอบการ Social Media ในประเทศไทยส่วนใหญ่ จดทะเบียนบริ ษัทที่ทาหน้ าที่ด้านการตลาด และการขาย จึงไม่มีการลงบัญชีรายได้ คา่ โฆษณา จึงเป็ นอีกเหตุผลที่ภาครัฐไม่สามารถเก็บภาษี สว่ นนี ้ได้ การผลักภาระ ค่าภาษี ไปยังเอเจนซี่ ก็เป็ นแนวทางที่ไม่เหมาะสมเนื่องจากท้ ายที่สดุ แล้ ว ค่าภาษีดงั กล่าวจะถูกผลักไปยังผู้ บริ โภค และ เงินที่ควรเก็บภาษี ก็ยงั คงจ่ายออกนอกประเทศเช่นเดิม (บทความ วิเคราะห์มีความเป็ นไปได้ แค่ไหนที่รัฐจะเก็บภาษี ecommerce ในประเทศไทย เว็บไซต์ Brandinside 23 มีนาคม 2561 ) นอกจากประเด็นทางด้ านข้ อกฎหมายแล้ ว ยังมี ปัญหาเชิ งเทคนิคในการจัดเก็ บและประเมิ นภาษี เนื่อ งจาก เว็บไซต์ Social Media จัดตังอยู ้ ต่ า่ งประเทศ จึงเป็ นการยากที่จะประเมินฐานภาษีที่จะต้ องจัดเก็บ หน่วยงานภาครัฐ คือ กรมสรรพากร ได้ เริ่ มดาเนินการแก้ ไขปั ญหาดังกล่าวโดยอยู่ระหว่างการศึกษาและร่ างกฎหมายเพื่อ จัดเก็บภาษี ใน เบื ้องต้ น ได้ กาหนดหลักการไว้ คือ 1. กรณีเว็บไซต์ Social -Media ที่มีข้อความหรื ออักษรเป็ นภาษาไทย ร่างกฎหมายใหม่ จะเปิ ด กว้ างให้ กรมสรรพากรตีความว่า เว็บไซต์ ดังกล่าวมี สถานที่หรื อ สานักงานตังอยู ้ ่ในประเทศไทย และ 2. เมื่ อ ผู้ประกอบการมีสานักงานที่ตงอยู ั ้ ่ในประเทศไทย กรมสรรพากรสามารถประเมินภาษีจากธุร กรรมต่างๆที่เกิดขึ ้นได้ โดย กรมสรรพากรอาจระบุจ านวนเงินที่ชัดเจนในการเสียภาษี ซึ่งกรณี นี ้หากผู้ประกอบการคิดว่าไม่ถูกต้ อ ง สามารถยื่น เอกสารประกอบการชี ้แจงเพื่อประเมินภาษีร่วมกันได้ (หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 17 เมษายน 2560) ในขณะที่ตวั แทนภาคเอกชน เช่น คุณอภิสทิ ธิ์ ตรุงกานนท์ ผู้บริ หารเว็บไซต์ Pantip.com ให้ ความเห็นว่า การจ่าย ค่า โฆษณาออกไปต่ า งประเทศ เช่ น การใช้ บริ ก าร Facebook หรื อ Google ควรถื อ เสมื อ นเป็ น การน าเข้ า สิ น ค้ า ต่างประเทศซึ่งต้ องจ่ายภาษี ศลุ กากร แล้ วจึงนาค่าใช้ จ่ายดังกล่า วไปหักลดหย่อนภาษี และภาครัฐควรกดดันให้ Social
9
Media ดังกล่าวเปิ ดบริ ษัทและรายงานรายได้ ดังกล่าวให้ ครบถ้ ว น แนวทางนี ้ยังสามารถประยุกต์ ใช้ กับ Cloud ของ Amazon หรื อการซื ้อ Application บน App Store ได้ อีกด้ วย (เว็บไซต์ Marketing Opps! วันที่ 27 มกราคม 2560) ผลกระทบที่อาจเกิดขึ ้นต่อภาคส่วนต่างๆ จากมาตรการจัดเก็บภาษี คุณฐากร ตัณสิทธ์ เลขาธิ การ คณะกรรมการกิจ การกระจายเสียง กิ จ การโทรทัศน์ และกิ จ การโทรคมนาคม แห่งชาติ (กสทช.) กล่าวถึงประเด็นปั ญหาช่องโหว่ทางกฎหมาย ว่าเป็ นสิ่งที่หลายประเทศกังวล และเป็ นสิ่งที่ควรตัง้ คาถามว่า Social Media เหล่านีไ้ ด้ สร้ างคุณ ประโยชน์ ต่อ ประเทศเพีย งใด และสมาชิ กอาเซีย นควรร่ วมกันหารื อ ถึ ง แนวทางกากับดูแล เพื่อสร้ างอานาจต่อรองกับผู้ประกอบการเหล่านตัน้ ให้ หนั มาลงทุนในอาเซียน ไม่ใช่แค่ตงส ั ้ านักงาน สาขาเท่านัน้ ในขณะที่คุณ พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงดิจิ ตอลเพื่อเศรษฐกิ จ และสังคม ให้ ความเห็นว่า ประเทศไทย ควรต่อยอดสร้ างมูลค่าเพิ่มจาก Social Media เหล่านี ้ด้ วยการส่งเสริ มให้ เกิด Start up รายใหม่ ซึ่งจะทาให้ รัฐสามารถจัดเก็บภาษี เพิ่มขึ ้นได้ อยูแ่ ล้ ว แทนที่การให้ ความสาคัญในการจัดเก็บภาษี ซงึ่ เป็ นลักษณะการค้ าขายระหว่าง ผู้บริ โภคต่อผู้บริ โภค เนื่องจากเป็ นการยากต่อการตรวจสอบ (หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 17 เมษายน 2560) ส่วนตัวแทนภาคเอกชน คุณบุรินทร์ เกล็ดมณี ประธานเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายปฏิบตั ิการของ ReadyPlanet ผู้ให้ บริ การ แพล็ตฟอร์ มออนไลน์ แสดงความเห็นด้ วยว่า รั ฐควรต้ องจั ดเก็ บภาษี จ ากโฆษณา Social Media เพื่อ นาเงินไปพัฒนา ประเทศ แต่ผ้ ปู ระกอบการที่จะได้ รับผลกระทบส่วนหนึง่ คือ SME ซึง่ เป็ นธุรกิจขนาดเล็กจะต้ องรับภาระนี ้เพิ่มขึ ้น ในขณะที่ คุณศิวัฒน์ เชาวรี ยวงษ์ นักการตลาดออนไลน์ เห็นด้ วยกับการการจัดเก็ บภาษี แต่ต้อ งยอมรั บว่า อุตสาหกรรมจะลาบาก ประเด็นที่นา่ สนใจคือ จะมีวิธีการจัดเก็บภาษีอย่างไร หากมีการเก็บภาษีจากค่าโฆษณา Social Media และไม่ให้ นามาหักเป็ นค่าใช้ จ่าย ผลกระทบคือ Brand จ่ายเงินให้ Agency เพื่อซื ้อโฆษณา และ Brand สามารถ หักเป็ นค่าใช้ จ่ายบริ ษัทได้ ตามปกติ ขณะที่ Agency แม้ จะมีการเก็บค่าบริ หารจัดการ 10-20% แต่การคานวณภาษี ต้ อง ใช้ ทงั ้ 110-120% (เพราะส่วนที่จ่ายให้ Social Media หักไม่ได้ ) ส่วนสื่อคือ Social Media ได้ เงินตามปกติ ในระยะยาว จะส่งผลให้ การใช้ โฆษณาผ่าน Social Media ลดลง เพราะงบประมาณในการโฆษณาของ Brand ต่างๆ ไม่ได้ เพิ่มขึ ้น เพื่อไว้ จ่ายภาษีอยูแ่ ล้ วมองในด้ านดี สื่อไทยอื่นๆ อาจจะได้ เงินจากโฆษณามากขึ ้น ดังนัน้ ทางออก อาจต้ องมีการหารื อ กันระหว่าง รัฐ นักการตลาดออนไลน์ และสือ่ อย่าง Social Media(เว็บไซต์ Marketing Opps! วันที่ 27 มกราคม 2560) จากบทความในนิตยสารเศรษฐกิจระดับโลกอย่าง The Economist ได้ กล่าวถึงแหล่งข้ อมูลที่เกิดจากประชากร ในแต่ละประเทศเปรี ยบได้ ดงั แหล่งทรัพยากรของประเทศนันๆ ้ และเรี ยกแหล่งทรัพยากรชนิดใหม่นี ้ว่า “บ่อน ้ามันแบบ ใหม่ - The New Oil”
10
รูปภาพที่ 9 อธิบายว่า The New Oil หมายถึงข้ อมูลต่างๆ ของชาติเปรี ยบได้ กบั แหล่งทรัพยากรของชาติ ที่มทัา:งนี ้ www.adweek.com/news/technology ้การที่บริ ษัทเทคโนโลยีระดับโลกเหล่านี ้ได้ เข้ าไปแสวงหาผลประโยชน์ในทรัพยากรของประเทศใดๆ ในโลกนี ้ โดยไม่มีการคานึงถึงอธิปไตยของประเทศนันๆ ้ ย่อมเท่ากับการละเมิดอธิปไตยแห่งประเทศนันๆ ้ นัน่ เอง
รูปภาพที่ 10 เปรี ยบเทียบการเจาะข้ อมูลของประชากรในชาติเหมือนการเจาะบ่อน ้ามัน ที่มา: นิตยสาร The Economist เดือนพฤษภาคม 2017
11
บทที่ 3 หลักคิดและทฤษฏีท่ เี กี่ยวข้ อง เช่ น นโยบายภาครั ฐ, Social Enterprise ในการศึกษา CCS ครัง้ นี ้ มุ่งศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเกี่ยวข้ อง และนาเสนอสาระสาคัญ ดังนี ้คือ 1. ความรู้เบือ้ งต้ นเกี่ยวกันอินเทอร์ เน็ต ความหมายของอินเตอร์ เน็ต อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ที่เชื่อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จานวนมากเข้ าด้ วยกัน มีบทบาทสาคัญในยุคข้ อมูลข่าวสารปั จจุบนั เพื่อ อานวยความสะดวกในการให้ บริ การสื่อสาร ข้ อมูล สมใจ บุญศิริ (2538: 3-4) กล่าวว่า อินเทอร์ เน็ต คือ การเชื่อมโยง ระหว่าง ระบบเครื อข่ายจานวนมหาศาลทัว่ โลก เข้ าด้ วยกัน สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้ อมูลถึงกันได้ โดยสะดวก รวดเร็ ว ไม่ว่าข้ อมูลนันจะอยู ้ ่ในรูปแบบใด อาจ เป็ นตัวอักษร หรื อ ข้ อความภาพ เสียง ดังนันระยะทางจึ ้ งไม่เป็ นปั ญหาในการติดต่อสือ่ สารของมนุษยอีกต่อไป คุณวิทยา เรื องพรวิสิทธ์ (2539: 60) กล่าวว่า อินเทอร์ เน็ต คือ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทีมีขนาดใหญที่สดุ ในโลก ด้ วยระบบสื่อสาร แบบ ทีซีพี ไอพี เครื อข่ายทีเป็ นสมาชิกของอินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายซึง่ กระจายอยูใ่ นประเทศต่างๆ เกือบทัว่ โลก โดย การเชื่อมโยงระหว่างเครื อข่ายหรื อ Network จานวนมหาศาลทัว่ โลกเข้ าด้ วยกัน ภายใต้ หลักเกณฑ์มาตราฐานเดียวกัน ซึ่งจะทาให้ ผ้ ูคนสามารถเชื่ อมต่อแลกเปลี่ยนข้ อ มูลถึงกันได้ สะดวก รวดเร็ ว ไม่ วา่ ข้ อมูลเหล่านัน้ จะอยู่ใน รู ปแบบใด อาจจะเป็ นตัว อั ก ษร ข้ อ ความ หรื อ เสีย ง และประโยชน์ เ พื่ อ อ านวยความสะดวกใน การให้ บริ ก ารสื่อ สารข้ อ มู ล นอกจากนัน้ คุณกฎานันท์ มะลิทอง (2543: 321) กล่าวว่า อินเทอร์ เน็ตคือ ระบบของการเชื่ อมโยงเครื อข่ายงานคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ มากครอบคลุมไปทั่วโลก เพื่ ออ านวยความสะดวกในการให้ บริ การการสื่อ สารข้ อ มูล เช่น การบันทึก เข้ า ระยะไกล (Remote Login) การถ่ายโอนแฟ้มไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และกลุม่ อภิปราย อินเทอร์ เน็ต เป็ นวิธีการเชื่อมโยง ข่ายงานคอมพิวเตอร์ ที่มีอยูใ่ ห้ ขยายออกไปอย่างกว้ างขวาง เพือ่ การเข้ าถึงของแต่ละระบบที่มีสว่ นร่วมอยู่ กล่าวโดยสรุป อินเทอร์ เน็ตมีความหมายเกี่ยวข้ องกับระบบการเชื่อมโยงเครื อข่ายงานคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญที่ ครอบคลุมไปทัว่ โลกโดยกฏเกณฑมาตราฐานเดียวกัน เพือ่ สนองความสนใจและความต้ องการของผู้ใช้ ทกุ กลุม่ และ สามารถทาให้ คนจานวนมากสือ่ สารข้ อมูลทังในรู ้ ปแบบตัวอักษร ข้ อความ ภาพและเสียงได้ อย่างสะดวก สามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้ ทกุ สาขาโดยเฉพาะการนามาใช้ ประโยชน์ทางด้ านการศึกษา
12
2.การใช้ บริการอินเทอร์ เน็ต การยกระดับการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรอันเป็ นความจาเป็ นอันเร่ งด่วนของประเทศเห็นได้ จากการจัดสรร งบประมาณแผ่นดินจ านวนมากไปในด้ านการศึกษา เทคโนโลยี่ สารสนเทศ ถื อเป็ นกุญแจสาคัญที่มุ่งไปสูก่ ารพัฒนา ทรัพยากรมนุษยให้ มีคุณภาพตามความต้ องการของประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศคือการเสริ มสร้ างกระบวนการจัดการ ที่รัฐบาลได้ เล็งเห็นความสาคัญกระจายโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนอย่างทัว่ ถึงโดยไม่คานึงถึงวัย เพศ ฐานะ หรื อ ความห่างไกลของสถานที่ หากรั ฐ บาลใช้ เทคโนโลยสารสนเทศอย่ างเหมาะสมการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศอย่า ง เหมาะสม คือ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ช่วยให้ การถ่ายทอดทฤษฎีหลักการหรื อแนวคิดที่ยากเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว เข้ าใจง่าย สนุกสนาน ช่วยให้ การถ่ายทอดความรู้ เป็ นไปอยางมีคุณภาพและมีมาตราฐาน แม้ จะไม่สามารถทดแทน อาจารยได้ แต่ จะช่วยแบ่งเบาภาระของอาจารย์ ทาให้ ผ้ สู อนไม่ต้องเสียเวลาสอนเป็ นระยะเวลานาน จึงมี เวลาช่วยเหลือผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ ด้ ว ยตนเองผ่ า นคอมพิ ว เตอร์ ไ ด้ ม ากขึน้ สามารถเรี ย นรู้ ด้ วยตนเอง ทัง้ ในด้ า นวิ ช าการและเทคนิ ค การสอนผ่ า น คอมพิวเตอร์ ได้ เป็ นเทคนิคการเรี ยนการสอนที่ก้าวหน้ าของโลก การลงทุนเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีสมรรถนะเช่นนี ้ เป็ น การลงทุนที่ต่าและคุ้มค่าในปั จจุบนั นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาได้ เข้ ามามีความสาคัญและบทบาทต่อการ จัดการศึกษาในทุกระดับการศึกษา มีการกล่าวว่านวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาจะเป็ นตัวกาหนดคุณภาพ อย่างหนึง่ ของการศึกษาที่ขาดไม้ ได้ ยิ่งจะเพิม่ ความสาคัญและมีบทบาทมากขึ ้นในอนาคต โดยเฉพาะในการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษา สถาบันอุดมศึกษาได้ ตระหนักความสาคัญของนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อจะ พัฒนา ระบบสือ่ สารเทคโนโลยีสารสนเทศ และมัลติมีเดียจะทาให้ ระบบการศึกษาทันสมัย รวดเร็ ว และมีประสิทธิภาพ (รังสรรค์ สุกัน ทา 2543: 21) บริ ก ารในอิ น เทอร์ เ น็ ตมี อ ยู่ห ลายประเภท สามารถใช้ ประโยชน์ ไ ด้ ต ามความต้ อ งการของผู้ใ ช้ ดังต่อไปนี ้(สมใจ บุญศิริ. 2538: 103-106; ชุน เทียมทินกฤต. 2542: 12-13) 2.1 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Mail: E-mail) เป็ นการบริ การส่งจดหมายหรื อข้ อความที่สง่ ถึงกันผ่าน ทางคอมพิวเตอร์ เป็ นการแลกเปลี่ยนข้ อความสามารถ่อาน เขียน ตอบ ลบ ทิ ้ง รับส่งได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ ว หรื อเก็ บจดหมายไว้ ในรู ปแบบของแฟ้มข้ อมูลโดยมีขนาดตอนคล้ ายจดหมายที่สง่ ทางไปรษณี ย์ด้วยเหตุนี ้จึงมี ส่วนสาคัญมากที่ทาให้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ รับความนิยมอย่างรวดเร็ ว 2.2 เวิ ล ด์ ไ วด์ เ ว็ บ (World Wide Web: www) เป็ นการค้ นหาข้ อมู ล ในรู ป แบบต่ า งๆ ที่ เ ชื่ อ มโยงถึ ง กั น และ ครอบคลุมกันอย่างกว้ างขวาง ซึ่งผู้ใช้ สามารถค้ นหาข้ อมูลที่ให้ บริ การจากเว็บเซอร์ ฟเวอร์ (Web Server) มีทงั ้ การผนวกรู ปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหวที่นาเสนอให้ ผ้ ูที่ต้อ งการเรี ยกดู เรี ยกใช้ ปั จจุบนีเ้ ป็ นบริ การข้ อมูลบน อินเทอร์ เน็ตที่นิยมอย่างมากไม่วา่ จะเป็ นในการค้ นหาธุรกิจการค้ า อุตสาหกรรม องคก์ ภาครัฐและเอกชน นับเป็ น การบริ การที่แพร่หลายและขยายตัวเร็ ว
13
2.3 การสนทนาออนไลน์ (Chat Online) ผู้ใช้ อิ นเตอร์ เ น็ตสามารถใช้ ในการสื่อ สาร ติดต่อ แลกเปลี่ยนข้ อ มูล ข่าวสารในระบบสองทางในเวลาเดียวกันแบบออนไลน์ (Online) เป็ น การสนทนาโดยการพิมพ์ ข้อความจาก แป้นพิมพ์แทนการใช้ เสียง ทังผู ้ ้ รับและผู้สง่ สามารถตอบโต้ กนั ทางตัวอักษรบนจอคอมพิวเตอร์ ปั จจุบนั โปรแกรม ประเภทนี ้ได้ รับการพัฒนาให้ ติดต่อพูดคุยกันด้ วยเสียงผ่านทางไมโครโฟนและลาโพงในเครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยมี คุณภาพใกล้ เคียงกับโทรศัพท์จึงได้ รับความนิยมอย่างสูง รวมทังประหยั ้ ดค่าใช้ จ่าย 2.4 การแลกเปลี่ยนข่าวสาร (Usenet) ในยุคแรกของอินเทอร์ เน็ต มีผ้ ใู ช้ บริ การ USENET อย่างแพร่ หลาย เพราะ เป็ นแหล่งข้ อมูลให้ สบื ค้ นขนาดใหญ่ สามารถส่งคาถามเข้ าไปตอบคาถาม แสดงความคิดเห็น ระหว่างผู้ใช้ ทนั ใจ ในเรื่ องต่างๆ สามารถแลกเปลีย่ นข่าวสาร ปั จจุบนั มีการใช้ งาน Usenet น้ อยลง เพราะผู้ใช้ หนีไปใช้ เว็บบอร์ ดซึ่ง เข้ าถึง ได้ งา่ ยและเป็ นที่แพร่หลาย 2.5 การถ่ายโอนแฟ้มข้ อมลู (File Transfer Protocol: FTP) การคัดลอกไฟล์หรื อ การโอนย้ ายข้ อ มูลจากระบบ หนึ่งมายังระบบหนึ่งผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดยมีมาตรฐานการเชื่ อมโยงเครื อข่ายที่เรี ยกว่า FTP ซึ่งเป็ น ระบบที่ ใ ช้ กัน บนเครื อ ข่า ยที่ เ ชื่ อ มโยงกัน ตามมาตรฐาน TCP/IP ซึ่ง สามารถถ่ า ยโอนแฟ้ม ข้ อ มูล ต่า งๆเช่ น โปรแกรมข้ อความ รูปภาพ เสียง หรื อ แฟ้มข้ อมูล 2.6 การเข้ าใช้ เครื่ องระยะไกล (Telnet) การที่ผ้ ูใช้ สามารถติดต่อกับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่อยู่ห่างไกล เพื่อใช้ บริ การบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ อยู่ในที่ต่างๆทั่วทุกมุมโลกเสมื อ นอยู่หน้ า เครื่ อ งคอมพิวเตอร์ ของตนเอง แล้ ว เรี ยกใช้ คาสัง่ ทีใ่ ช้ ในการติดต่อกับเครื่ องระยะไกล ผ่านทางเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เท่านัน้ 2.7 อาร์ คี (Archie) ข้ อมลูที่อยู่บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เฉพาะเครื่ องที่มีการอนุญาตให้ ถ่ายโอนแฟ้มข้ อมูลได้ โดย อาร์ คีจะหาแฟ้มข้ อมูลที่ต้องการจากฐานข้ อมูลต่างๆทัว่ โลกและให้ รายละเอียดแหล่งที่เก็บข้ อมูลที่ตรงกับความ ต้ องการ 2.8 โกเฟอร์ (Gopher) เป็ นโปรแกรมประยุกต์ ระบบโกเฟอร์ เป็ นระบบซอฟทแวร์ ด้ วยลักษณะเป็ นเมนูผ้ ูใ ช้ สามารถเลือกทรัพยากรจากเมนูโดยไม่ต้องป้อนคาสัง่ ทาให้ งา่ ยต่อการใช้ งานและยังเพิม่ เติมคาอธิ บายย่อยๆ ลง ไปในเมนูรายการแต่ละหัวข้ อ ได้ ด้ว ยระบบฐานข้ อ มูลของโกเฟอร์ จ ะกระจายอยู่ตามเซอร์ ฟเวอร์ ต่างๆ และ เชื่อมต่อถึงกันในหัวข้ อเมนูเพื่อค้ นหาข้ อมูลจึงมีลกั ษณะเป็ นทางลัดเพื่อเรี ยกข้ อมูลขึ ้นมาใช้ ประโยชน์ 2.9 เวส์ (Wais) เป็ นการบริ การค้ นหาข้ อมูลบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเข้ าไวด้ วยกันเป็ นการค้ นหาข้ อมูลอีกวิธีหนึ่ง ที่สามารถเข้ าถึงข้ อมูลจ านวนมาก โดยระบุฐานข้ อมูลที่ต้องการค้ นหา เวส์จ ะค้ นคาทุกคาในทุกบทความจาก ฐานข้ อมูลทังหมดที ้ ่บริ การบนเครื อขายอิ นเทอร์ เน็ตที่ ได้ รับความนิยมเป็ นอย่างมากคือ เวลิดไวด์ เว็บ (World Wide Web : WWW) ทังั้ นี ้เพราะผู้ใช้ สามารถใช้ บริ การของเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ เกือบครบทุกบริ การ ทังยั ้ งเป็ น บริ การที่ใช้ งานง่าย สะดวก รวดเร็ ว เนื่องจากเป็ นข้ อมูลที่เชื่อมโยงกันทังหมดเข้ ้ าไว้ ด้วยกัน
14
3. อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย อิ น เทอร์ เ น็ ตในประเทศไทยเริ่ ม ต้ นโดยการติ ดตัง้ เครื่ อ งคอมพิว เตอร์ เพื่ อ เชื่ อ มต่อ รั บ ส่ง ข้ อ มูลกับ เครื อ ข่ า ย อินเทอร์ เน็ตในการศึกษาของมหาวิทยาลัยโดยเริ่ มตังแต่ ้ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และสถาบนัเทค โนโลยีแห่งเอเชีย (Asian Institute of Technology ในปี พ.ศ. 2530 ออสเตรเลียเป็ นผู้ออกค่าใช้ จ่ายการโทรทางไกลเข้ า มารับส่งข้ อมูลกับมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ และสถาบันเทคโนโลยแห่งเอเชีย วันละ ความเร็ ว 2,400 คาพูด ในปี ถัด มา กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงานเห็นความสาคัญของการพัฒนาอินเทอร์ เน็ตจึงได้ มีการมอบหมาย ให้ ศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละคอมพิ ว เตอร์ แห่ ง ชาติ (Nation Electronics and Technology Center หรื อ NECTEC) ให้ ทุนสนับสนุนการวิ จัย โครงการเครื อ ข่ายคอมพิวเตอร์ แก่ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหาร ลาดกระบังเพื่อการเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลัยด้ านวิทยาศาสตร์ เชื่อมต่อกับมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยและสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย และสถาบนัเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าวิทยาเขต เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ระยะที่ 2 เชื่อมต่อเพิ่มกับ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าวิทยาเขตธนบุรีสถาบันเทคโนโลยพระจอมเกล้ าวิทยาเขตพระ นครเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่ (NECTEC E-Mail Group) ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของแต่ละสถาบัน ทาให้ นกั วิจยั และอาจารย์สามารถติดต่อแลกเปลีย่ นความ คิดเห็น โดยอาศัยสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียเป็ น ทางออกไปสู่อินเทอร์ เน็ตทัวโลกโดยผ่านประเทศออสเตรเลีย(ประชิต อินทกนก. 2538: 90-91) ในปี พ.ศ. 2535 มีการใช้ อินเทอร์ เน็ตเต็มรูปแบบตลอด 24 ชัว่ โมงในประเทศไทย เกิดขึ ้นเป็ นครัง้ แรก เดือน กรกฏาคม ปี พ.ศ.2536 วงจรสือ่ สารความเร็ ว 9,600 บิตต่อนาที จาก การสือ่ สารแห่งประเทศไทยเพือ่ เชื่อมเขา สู้อินเทอร์ เน็ตที่บริ ษทัทในสหรัฐอเมริ กา ในปี พ.ศ. 2536 ยังมีการก่อตังเครื ้ อข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย โดยหน่วยงานที่ใชง้ านแบบออนไลน์ 6 หน่วยงาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย ศูนย์เทคโนลียี อิเล็กทรอนิกส์ สถาบันเทคโนโลยแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และใช้ งาน เฉพาะไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์อีกหลายหน่วยงาน เชื่อมเครื อข่ายไทยสาระสนเทศ (Thai Social Scientific Academic and Research Network) ภายใต้ การดาเนินการของคณะทางานไทยสาระสนเทศ ประกอบด้ วยผู้แทนซึ่งแต่งตัง้ โดย อธิ ก ารบดีข องทุก หน่ว ยงานที่ เ ข้ า ร่ วมเครื อ ข่า ยสวนศูน ย์ เ ทคโนโลยี อี เล็ก ทรอนิก ส์ และคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ งชาติ เพื่ อ ตอบสนองความต้ องการของสถาบันอุดมศึกษาที่เข้ าร่ วม เครื อข่ายทุกแห่ง ทุกสถาบันอุดมศึกษา ของภาครัฐและเอกชน (ประชิต อินทกนก. 2538: 92) ในปี พ.ศ. 2537 ประเทศไทยมีเครื อข่ายทังสิ ้ ้น 35 เครื อข่าย ซึง้ จัดได้ ว่าประเทศไทยเป็ นเครื อ ข่ายที่มีเครื อข่าย ใหญ่เป็ นอันดับที่ 6 ในย่านเอเชียแปซิฟิก รองจากออสเตรเลีย ญี่ปนุ่ ไต้ หวัน เกาหลี นิวซีแลนด์ สิงโปรค์ เป็ นการขยายตัว ที่เ ร็ ว มาก ทาให้ ป ระเทศไทยได้ รั บ การยอมรั บ ว่าเป็ นประเทศที่ มีก ารเปิ ดบริ การเครื อ ข่ ายอิ นเทอร์ เ น็ต และประสบ
15
ความสาเร็ จอย่างมาก ซึง่ รัฐบาลได้ อนุญาตให้ องค์กรเอกชนจัดตังศู ้ นย์บริ การอินเทอร์ เน็ตเชิงพาณิชย์ (Internet Service Provider)ในปั จจุบนั พบว่า การติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ ในระบบเครื อขายอินเทอร์ เน็ตควบคู่กบั Broadband ความเร็ วสูงกลายเป็ นพืน้ ฐานของสังคมยุคใหม่ในหลายๆ ประเทศมีโปรแกรมใหม่ๆ เกิดขึ ้นทุกวันและบางโปรแกรมได้ กลายเป็ นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตซึง่ มีการใช้ งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต่างๆ อย่างแพร่ หลายในทุกระดับ จากการใช้ งานระหว่าง ประเทศ การใช้ งานในระดับประเทศ ระดับเครื อข่ายการศึกษา รวมถึงเครื อข่ายสาหรับธุรกิจและ ส่วนบุคคลนอกจากนี ้อิ นเทอร์ เน็ตยังสามารถใช้ งานเคลื่อนที่ด้วยเทคโนโลยี ที่ทนั สมัยมีแนวโนม้ ว่าจะสามารถพัฒนา ศักยภาพของระบบเครื อข่ายใหม่ๆให้ ผ้ ใู ช้ งานเพิม่ อีกหลายพันล้ านคนทัว่ โลก
4. แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ ายสังคมออนไลน์ (Social Networking Online) ในยุคที่เทคโนโลยี การสื่อสารผ่านอิ นเตอร์ เน็ตกาลังเป็ นที่นิยมและมี ผลกระทบในทุกๆด้ านในปั จ จุบันทาให้ มนุษย์ ต้อ งมี การปรั บตัวและพัฒนาให้ ทัน่ตอการเปลี่ยนแปลงในโลกของการสื่อ สารและการพัฒนาของเวิลด์ ไวด์ เว็บ (World Wide Web ; WWW) จากยุคแรก คือ Web 1.0 ซึง่ มี ลักษณะเป็ น Static Web คือมีการนาเสนอข้ อมูลทางเดียว (One-Way Communication) ด้ วยการ แปลงข้ อ มูล ข่าวสาร ที่ มี อ ยู่รอบตัวเราให้ อ ยู่ในรู ป ของดิ จิตอล (Digital) เช่ น หนังสือพิมพ์ นิตยสารหรื อการโฆษณาตามหน้ าเว็บไซต์โดยผู้ใช้ บริ การสามารถอ่านได้ แต่ไม่สามารถเข้ าร่วมในการสร้ าง ข้ อมูลได้ แต่เมื่อก้ าวเข้ าสูย่ ุคที่ 2 ของเทคโนโลยีคือ Web 2.0 เป็ นยุคที่ทาให้ อินเทอร์ เน็ตมีศกั ยภาพในการใช้ งานมากขึ ้น เน้ นให้ ผ้ ใู ช้ มีสว่ นร่วมในการสร้ างสรรค์ (Co-Creation) ลงบนเว็บไซต์ร่วมกันและสามารถโต้ ตอบกับข้ อมูลที่อยูบ่ นเว็บไซต์ (Interactivity) มี ลกั ษณะเป็ น Dynamic Web ที่ผ้ ูใช้ สามารถสร้ างเนื อ้ หา (Content) แลกเปลี่ยน และกระจาย ข้ อ มูล ข่าวสารเพื่อแบ่งปั นถึงกันได้ ทงในระดั ั้ บบุคคล กลุม่ และองค์กร จะเห็นได้ ว่า Web 2.0 เป็ นยุคของการสื่อสารสองทาง (Two-Way Communication) ซึงไม่ใช่แค่เพียงการรับส่งอีเมล รู ปภาพ หรื อการดาวน์ โหลดข้ อมูลผ่าน Search Engine หรื อใช้ เว็บบอร์ ด (Web Board) ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเท่านัน้ Web 2.0 ยังช่วยสร้ างความสัมพันธ์ ระหว่าง ผู้ใช้ ในกลุม่ ต่างๆ จนเกิดเป็ นเครื อข่ายทางสังคม(Social Network) บนโลกออนไลน์ที่สามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ อ่ยางไม่มี ที่สิ ้นสุด กลายเป็ นสังคมเสมือนจริ ง (Virtual Communities) ซึ่งเป็ นสังคมหนึงในโลกของอินเทอร์ เน็ต ที่ ปัจ จุบนั ยังคง ผูก พัน และซับ ซ้ อ นกับ การด าเนิ น ชี วิ ต ของผู้ คนในโลกของความเป็ น จริ ง (เศรษฐพงศ์ มะลิ สุว รรณ,2552) Social Networking มี จุ ดเริ่ ม ต้ น จากเว็ บไซต์ Classmates.com (1995) และเว็ บไซต์ SixDegrees.com(1997) ซึ่งเป็ น เว็ บ ที่ จากัดการใช้ งานเฉพาะนักเรี ยนที่เรี ยนในโรงเรี ยนเดียวกันเพือ่ สร้ างประวัตขิ ้ อมูลติดต่อสื่อสารส่งข้ อความและแลกเปลีย่ น ข้ อมูลที่สนใจร่ วมกันระหว่างเพื่อนในลิสต์ เท่านัน้ ต่อมาเว็บไซต์ Epinions.com (1999) ซึ่งเกิดขึ ้นจากการพัฒนาของ Jonathan Bishop โดยได้ เพิ่มในส่วนของการที่ผ้ ูใช้ สามารถควบคุมเนื ้อหาและติดต่อ ถึงกันได้ ไม่เพียงแต่เพื่อนในลิสต์
16
เท่านัน้ นับได้ ว่าเป็ น จุดเริ่ มต้ นของ Social Networking เครื อ ข่ายสังคมออนไลนในปั จ จุบันนีเ้ ป็ น ช่อ งทางหนึ่งในการ สือ่ สารที่ได้ รับความนิยมเป็ นอย่างมาก เนื่องจากว่าการที่เป็ นผู้ใช้ บริ การของเครื อข่ายสังคมออนไลน์ นี ้เป็ นการที่เข้ าไปมี ส่วนร่ วมอย่างไร้ ขีดจากัดบนระบบอินเตอร์ เน็ต ด้ วยความที่เครื อข่ายทางสังคมออนไลนในปั จจุบนั ที่เข้ ามามีบทบาทต่อ กลุม่ วัยรุ่นนันมี ้ หลากหลายเว็บไซต์มีบริ การผ่านเว็บไซต์ที่เป็ นจุดเชื่อมโยงระหว่างบุคคลแต่ละคนที่มีเครื อข่ายสังคมของ ตัวเองผ่านเน็ตเวริ ค์อินเทอร์ เน็ต รวมทังเชื ้ ่อมโยงบริ การต่างๆ อย่างอีเมลล์เว็บบอร์ ด บล็อก และอื่นๆ เข้ าด้ วยกันตังแต่ ้ Hi5, MySpace, Facebook, Bebo, LinkedIn, Multiply, Ning และอื่นๆ อีกมากมาย (เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ, 2552) กล่าวไว้ ว่าเนื่องจากเครื อข่ายสังคมออนไลน์มีมากมายจึงได้ ทาการจัดประเภทเว็บไซต์ในลักษณะ Social Networking แบ่งเป็ น 7 ประเภทดังนี ้ 1. ประเภทแหล่งข้ อมูลหรื อความรู้ (Data/Knowledge) ที่เห็นได้ ชัดเจนเป็ นเว็บที่รวบรวมข้ อมูล ความรู้ ในเรื่ อง ต่างๆ ในลักษณะเนื ้อหาอิสระ ทังวิ ้ ชาการ ภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ สินค้ า หรื อบริ การ โดยมุ่งเน้ นให้ บุคคลที่มีความรู้ใน เรื่ องต่างๆ เหล่านันเป็ ้ นผู้เข้ ามาเขียนหรื อแนะนาไว้ ส่วนใหญ่มักเป็ นนักวิช าการ นักวิชาชี พ หรื อผู้เชี่ ยวชาญ ที่เห็นได้ ชัดเจน เช่น Wikipedia ที่เป็ นสารานุกรมออนไลน์ห ลายภาษา Google earth เว็บดูแผนที่ ได้ ทุกมุมโลกให้ ความรู้ ทาง ภูมิศาสตร์ การท่องเทียวเดินทาง การจราจร ห่รือ ทีพกั เช่น wikipedia, googleearth, dig ฯลฯ เป็ นต้ น 2. ประเภทเกมส์ออนไลน์ (Online Games) เป็ นเว็บที่นิยมมากเพราะเป็ นแหล่งรวบรวมเกมส์ไว้ มากมาย จะมี ลักษณะเป็ นวิดีโอเกมส์ที่เล่นบนเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะบนอินเทอร์ เน็ต ซึ่งเกมส์ออนไลน์นี ้ผู้เล่นสามารถที่จะ สนทนา เล่นแลกเปลียน items ในเกมส์มีบุคคลอื่นๆ ในเกมส์ได้ และสาเหตุที่มีผ้ นู ิยมมากกว่าเนื่องจากผู้เล่นได้ เข้ าสังคม จึงรู้สกึ สนุกที่จะมีเพื่อนเล่นเกมส์ไปด้ วยกันมากกว่าการเล่นเกมส์คนเดียว อีกทัง้ มีกราฟฟิ คที่สวยงามมากและมีกิจกรรม ต่างๆ เพิ่ม เช่น อาวุธ เครื่ องแต่งตัวใหม่ๆ ที่ สาคัญสามารถที่จ ะเล่นกับเพื่อ นๆ แบบออนไลน์ ได้ ทนั ที ทีนิยมมาก เช่ น SecondLife, Audition, Ragnarok, Pangya ฯลฯ เป็ นต้ น 3. ประเภทสร้ างเครื อข่ายทางสังคม (Community) เป็ นเว็บที่เน้ นการหาเพื่อนใหม่ หรื อการตามหาเพื่อนเก่าที่ ไม่ได้ เจอกันนาน การสร้ าง Profile ของตนเอง โดยการใส่รูปภาพ กราฟฟิ คที่แสดงถึงความเป็ นตัวตนของเรา (Identity) ให้ เพือ่ นที่อยู่ในเครื อข่ายได้ ร้ ู จักเรามากยิ่งขึ ้น และยังมีลกั ษณะของการแลกเปลี่ยนเรื่ องราว ถ่ายทอดประสบการณ์ตา่ งๆ ร่วมกันเช่น Hi5, Facebook, Myspace ฯลฯ เป็ นต้ น 4. ประเภทฝากภาพ (Photo Management) สามารถฝากภาพออนไลนได้ โดยไม่เปลืองฮาร์ ดดิสส่วนตัว อีกทังยั ้ ง สามารถแบ่งปั นภาพหรื อซื ้อขายภาพกันได้ อย่างง่ายดาย เช่น Flickr, Photoshop Express, Photobucket ฯลฯ เป็ นต้ น
17
5. ประเภทสือ่ (Media) ไม่วา่ จะเป็ นฝาก โพสท์หรื อแบ่งปั นภาพ คลิปวิดีโอ ภาพยนตร์ เพลง ฯลฯ เช่น YouTube, imeem, Bebo, Yahoo Video, Ustream.tv ฯลฯ เป็ นต้ น 6. ประเภทซื ้อ-ขาย (Business/Commerce) เป็ นการทาธุรกิจทางออนไลนท์ได้ รับความนิยมมากเช่น Amazon, eBay, Tarad, Pramool แต่เว็บไซตป์ ระเภทนี ้ยังไม่ถือว่าเป็ น Social Network ที่แท้ จริ งเนื่องจากมิได้ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูใช บริ การแบ่งปั นข้ อมูลกันได้ หลากหลายนอกจากการสัง่ ซื ้อและติชมสินค้ าเป็ นส่วนใหญ 7. ประเภทอื่น ๆ เว็บไซต์ที่ให้ บริ การนอกเหนือจากนี ้ซึ ้งไม่สามารถจัดเข้ าใน 6 ประเภทได้ นนเอง ั้ จุดกาเนิดของ Web 2.0 และการพัฒนาก้ าวผ่านเข้ าสูย่ คุ Web 3.0 หรื อ Semantic Web ทาให้ กระแสความนิยม ของ Social Network มีการเติบโตอย่างไม่หยุดยังเป็ ้ นไปตามผลการสารวจของประเทศสหรัฐอเมริ กาที่พบว่า มีผ้ ูเข้ าใช้ บริ การ Social Network เพิ่มสูงขึน้ อย่างต่อเนื่อ งทุก ปี และมี แนวโน้ ม ของผู้ใช้ บริ การทั่ว โลกมากกว่า 1,200 ล้ านคน ปั จจุบนั Social Network Website ต่างๆก็มีการพัฒนาและเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ใู ช้ ได้ เข้ าไปมีสว่ นร่ วมในการใช้ ประโยชน์ เชิง สังคมมากขึ ้น ทังเว็ ้ บไซต์ในตระกลูของ Wiki, YouTube, Hi5, Facebook Myspace และอีกมากมาย ซึง่ ในแต่ละเว็บไซต์ จะมีลกั ษณะเฉพาะสาหรับการใช้ งานแตกต่างกันออกไป สาหรับกระแสความนิยมของ Social Network ในประเทศไทย นัน้ ศูน ย์ เ ทคโนโลยี อิ เ ลก็ ท รอนิ ก ส์ แ ละคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ หรื อ เนดเท๊ ค (NECTEC) ได้ ท าการส ารวจกลุ่ม ผู้ใ ช้ อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทยผ่านออนไลน์จานวน 14,809 คน ในช่วงเดือนสิงหาคม -กันยายน พ.ศ. 2551พบว่า Hi5 เป็ น เว็บทีได้ รับความนิยมมากที่สดุ มีผ้ ูใช้ งานสูงถึงร้ อยละ 47.5 เฉลีย 3-5 ครัง้ ต่อสัปดาห์และร้ อยละ69.7 มีบล็อก (Blog) เป็ นของตัวเอง สวนวิกิพีเดีย (Wikipedia) เป็ นเว็บไซต์ที่มีการใช้ งานรองลงมาคือ ร้ อยละ 14.4 You Tube ร้ อยละ 12.6 และ Myspace ร้ อยละ 3.8 ตามลาดับ สรุปแนวความคิดสาคัญ 3 ประการ 1. แนวความคิดแห่ งองค์ ประกอบของรัฐ รัฐ คือ กลไกทางการเมืองโดยมี อ านาจอธิ ปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ ที่มีอ าณาเขตและมีประชากร แน่นอน โดยอ านาจดังกล่าวเบ็ดเสร็ จทังภายในและภายนอกรั ้ ฐ ไม่ขึ ้นกับรั ฐอื่นหรื ออ านาจอื่นจากภายนอก และอาจ กล่าวได้ วา่ รัฐสามารถคงอยูไ่ ด้ แม้ จะไม่ได้ รับการรับรองจากรัฐอื่น เพียงแต่รัฐที่ไม่ได้ รับการรับรองเหล่านี ้ มักจะพบว่าตน ประสบอุปสรรคในการเจรจาสนธิ สญ ั ญากับต่างประเทศและดาเนินกิจการทางการทูตกับรัฐอื่น องค์ประกอบสาคัญของ รัฐ มี 4 ประการ คือ 1. ประชากร รัฐทุกรัฐจะต้ องมีประชากรจานวนหนึง่ ซึง่ เป็ นกลุม่ คนที่มีจุดมุ่งหมายและมีประโยชน์ร่วมกัน จานวน ประชากรของแต่ละรัฐอาจมีมากน้ อยแตกต่างกันไป ที่สาคัญคือ จะต้ องมีประชากรดารงชีพอยูภ่ ายในขอบเขตของรัฐนัน้
18
2. ดินแดน รัฐต้ องมีดินแดนอันแน่นอนของรัฐนัน้ กล่าวคือ มีเส้ นเขตแดนเป็ นที่ยอมรับของนานาประเทศทังโดย ้ ข้ อเท็จจริ งและโดยสนธิสญ ั ญา ทังนี ้ ้รวมถึงพื ้นดิน พื ้นน ้าและพื ้นอากาศ 3. อ านาจอธิ ปไตย อ านาจอธิ ปไตย คือ อ านาจรั ฐ หมายถึง อ านาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ทาให้ รัฐ สามารถดาเนินการทังในส่ ้ วนที่เกี่ยวกับการปกครองภายในและภายนอก 4. รัฐบาล รัฐบาลคือ องค์กรหรื อหน่วยงานที่ดาเนินงานของรัฐในการปกครองประเทศ รัฐบาลเป็ นผู้ทาหน้ าที่ สาธารณะสนองเจตนารมย์ของสาธารณชนในรัฐ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของประชาชนและป้องกันการรุกรานจากรัฐอื่น รัฐบาลเป็ นองค์กรทางการเมืองที่ขาดไม่ได้ ของ
รูปภาพที่ 11 องค์ประกอบแห่งรัฐตามนิยามของนักปราชญ์ ทางด้ านรัฐศาสตร์ ที่มา: ภาพประกอบการบรรยายโดย Mukhtar Abdalla Nor ( Raakici ) ในเวป slideshare.net 2. แนวความคิดแบบทางเลือกที่สาม Third Way หรือ ปฏิบัตินิยม Pragmatism ปฏิบตั ินิยมเชื่อว่าความรู้เป็ นสิง่ จาเป็ นสาหรับชีวิต ความคิดเป็ นเครื่ องมือของการกระทา ความคิดที่เอาไปใช้ ไม่ได้ ก็ ตยสาร The Economist เดือนพฤษภาคม เป็ นทีสิ่ม่งไร้า:คนิวามหมายการรู ้ การจ า และจิ ตนาการก็ ค2017 ือ การปรั บตัวให้ เหมาะสมกับสิ่งแวดล้ อ มของสิ่งที่มีชีวิตนันเอง ้ ความคิ ด มิ ใ ช่ เ ป็ น เพี ย งสิ่ง ที่ มี ใ นจิ ต หรื อเป็ น เพี ย งการถ่ า ยแบบความจริ ง เท่า นัน้ แต่เ ป็ น สิ่ง ที่ มี พัฒ นาการไปตาม พัฒนาการของชีวิต และเป็ นสิ่งที่ขึ ้นอยูก่ ับความเกี่ยวข้ องกันของอินทรี ย์กับสิ่งแวดล้ อม สติปัญญาหรื อความรู้ เป็ นสิ่งที่ ช่วยให้ มนุษย์บรรลุเป้าหมายของชีวิต ปฏิบตั ินิยมเห็นว่าในขณะที่เรายังไม่ร้ ู โครงสร้ างของมนัส (ความคิด) จึงควรยึด ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิไปก่อน
19
นักปรัชญาปฏิบตั ินิยมที่สาคัญมี 3 ท่าน และทัง้ 3 ท่าน เป็ นชาวอเมริ กนั ซึง่ ได้ แก่ 1. ชาเลส แซนเดอร์ เพิ ร์ ส (Charles Sanders Peirce) เป็ นนัก ปรั ช ญาปฏิ บัติ นิ ย มที่ เ ชื่ อ ว่า ประสิท ธิ ภ าพเป็ น ตัวกาหนดความจิรง เพิร์สได้ กาหนดวิธีร้ ู ก่อนแล้ วจึงจะรู้ ว่าอะไรจริ ง ซึ่งก็คือวิธีวิทยาศาสตร์ นนเอง ั ้ นอกจากนี ้ เพิร์สได้ เสนอทฤษฎีความหาย (theory of sign) และถือว่าทฤษฎีนี ้เป็ นทฤษฎีตรรกวิทยา (logic theory) ทฤษฎี นี ้ถือว่าพฤติกรรมเป็ นเพียงส่วนเสริ มของความหมาย คุณสมบัติตา่ ง ๆ อันเป็ นวัตถุเป็ นแก่นของความหมาย และ เห็นว่าควรมีภาษาที่เป็ นมาตรฐานสาหรับมนุษย์ทกุ คน 2. วิลเลียม เจมส์ (William James) เป็ นนักปฎิบตั ินิยมที่แท้ จริ งเจมส์ ถือว่ามนุษย์ควรยึดความคิดของตนเองในแง่ ที่เห็นว่าจะมีประสิทธิภาพในทางปฏิบตั ิมากที่สดุ เขาจึงเป็ นนักปฏิวตั ินิยมที่แท้ จริ งในแง่นี ้ 3. จอห์ น ดิ ว อี ้ (John Dewey) เป็ นนัก ปฏิ บัติ นิ ย มแบบอุ ป กรณ์ นิ ย ม (Instrumentalist) เพราะสอนว่ า มนั ส (ความคิด) ของมนุษย์ฉลาดขึ ้นโดยการปฏิบตั ิ จึงสรุปเป็ นวิธีสอนว่าเรี ยนโดยการปฏิบัติ (learning by doing) ดิว อี ้ถือว่าความจริ งอยูท่ ี่ประสิทธิภาพของการให้ ปัญหาเป็ นเครื่ องมือเพื่อประโยชน์ในการดารงชีพดังนันต้ ้ องฝึ ก นักปรั ช ญาปฏิบัตินิยมทัง้ สามท่านก่อนมี ทัศนะแตกต่างกันบ้ าง แต่หลักการใหญ่ ๆ นันไม่ ้ แตกต่างกัน กล่าวคือ ปฏิบัตินิยมมีทศั นะว่าโลกและสิ่งต่าง ๆ ในโลกเป็ นสิ่งที่มีอ ยู่จริ ง ความรู้ ได้ มาจากประสบการณ์ ไม่ใช่สิ่งที่ไหลเข้ ามา ในทางจิตหรื อเป็ นสิง่ ที่ธรรมชาติให้ แก่จิต แต่จิตของเราเป็ นตัวดาเนินการในการรับรู้ การเข้ าใจ และการเชื่อ ฯลฯ เป็ นต้ น
20
รูปภาพที่ 12 แนวความคิดแบบ Third Way หรื อแนวคิดแบบปฏิบตั ินิยม Pragmatism
ที่มา: www.policyhub.gov.uk/modgov
3. แนวคิดในการสร้ างชาติของสถาบันสร้ างชาติ เป็ นหลักคิดที่ให้ ความสาคัญในการสร้ างชาติที่มีมิติที่แตกต่างไปจากการสร้ างรั ฐ จึงมีการให้ ความสาคัญกับ ส่วนประกอบหลักๆ 3 ส่วนคือ คน ระบบ และบริ ษัท โดยคานึงถึงทังการริ ้ เริ่ มสิ่งใหม่ให้ เกิดขึ ้นและการพัฒนาสิ่งที่มีอ ยู่ แล้ วให้ ดีขึ ้นของทัง้ 3 ส่วนที่กล่าวถึงนันทั ้ งหมด ้
รูปภาพที่ 13 แนวคิดของการสร้ างชาติตามแบบของถาบันสร้ างชาติ Nation Building Institute ประเทศไทย ที่มา: ภาพประกอบการบรรยายเรื่ องปรัชญาการสร้ างชาติสคู่ วามเป็ นอารยะ ศ. ดร. เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์
21
บทที่ 4 การประยุกต์ หลักคิดและทฤษฎี การปฏิวตั ิแบบดิจิตอลที่เกิดขึ ้น มีความท้ าทายในแนวคิดของเราในการสร้ างมูลค่า เศรษฐกิจดิจิ ตอลขึ ้นอยู่กับ การผลิตสินค้ าและบริ การตามแบบแผน แต่ส่วนมากเริ่ มต้ นขึ ้นและบริ ษัทระดั บโลกให้ บริ การผู้ใช้ นับล้ านคนที่กาลัง เปลี่ยนกฎและนาการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงไปสูท่ ุกภาคส่วน ของเศรษฐกิ จ ผ่านความเชื่อ มั่นอย่างมากต่อเทคโนโลยี ดิจิตอล ผ่านนวัตกรรมของบริ ษัท แบบจาลองทางธุรกิจ แม้ วา่ การจัดหาเงินทุนจานวนมากสามารถเข้ าถึงได้ โดยเฉพาะ เงินร่วมลงทุน ผ่านการปรับปรุ งอย่างต่อเนื่องในการออกแบบอินเตอร์ เฟซของพวกเขาและประสบการณ์ ที่พวกเขา เสนอ ผ่านโปรแกรมประยุกต์ของตน ผ่านความสัมพันธ์ พิเศษที่พวกเขาหลอมกับผู้ใช้ ของโปรแกรมประยุกต์เหล่านี ้ และผ่านการ ใช้ ที่พวกเขาทาจากข้ อมูลที่ได้ มาจากผู้ใช้ ผา่ นทางบริ ษัทเหล่านี ้ เศรษฐกิจดิจิตอลได้ เข้ าบัญชีสาหรับส่วนแบ่งการเติบโตมูลค่าเพิ่มในเศรษฐกิจของประเทศที่ใหญ่ที่สดุ เศรษฐกิจ ดิจิตอลได้ กลายเป็ นส่วนที่ใกล้ ชิดของชีวิตผู้คนนับล้ าน แต่มูลค่าเพิ่มของมันได้ ซมึ ซับผ่านความเข้ าใจ เศรษฐกิจดิจิตอล เป็ นองค์กรอานาจของผลเครื อข่ายและขนาดของภายนอกที่เกิดขึ ้น โดยโมเดลทางธุรกิจของบริ ษัทได้ สร้ างกฎสาหรับการ เพิ่มยังมีจานวนเทอร์ มินลั และเชื่อมต่อ อุปกรณ์ มีการเติบโตค่าการวัดค่าชี ้แจง เวลาที่ใช้ ในการใช้ อุ ปกรณ์ เหล่านี ้กาลัง แสดงอยู่ การเติ บโตที่ ยั่งยื น ความบัน เทิ งในการช็ อ ปปิ ง้ และการผลิต กาลัง เกิ ดขึน้ ในยุคดิ จิ ตอล เป็ นส่วนหนึ่งของ ชีวิตประจาวันและแม้ แต่สว่ นที่ใกล้ ชิ ดของมันสาหรับพันล้ านคนรวมทัง้ ผู้บริ โภค ผู้สร้ าง พนักงานบัญชี เงินเดือนและ คนทางานอิสระ เศรษฐกิจดิจิตอลคือทุกที่ แต่เรายังไม่สามารถวัดได้ อย่างถูกต้ องก็คือส่วนแบ่งที่สาคัญของ มูลค่าเพิ่มได้ ถูกเปลี่ยนออกจากประเทศขนาดใหญ่ไปยังบัญชีของบริ ษัทที่จัดตังขึ ้ ้นในภาษี การเปลี่ยนแปลงครัง้ นี ้มีผลกระทบทาง เศรษฐกิจ และที่สาคัญกว่าคือผลกระทบทางภาษีแม้ จะมีการทาจานวนมากก็ ตาม บริ ษัทเศรษฐกิจรายใหญ่ที่สาคัญต้ อง จ่ายภาษี แทบไม่มี ในประเทศเหล่านัน้ ซึ่งหมายความว่าการเพิ่มประสิทธิ ภาพการผลิตที่ได้ จากเศรษฐกิจดิจิ ตอล ไม่ได้ นาไปสูก่ ารเพิ่มรายได้ จากภาษีสาหรับประเทศใหญ่ ๆ ไม่มีสถานการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่สาคัญ ลักษณะพลวัตของเศรษฐกิจดิจิ ตอลที่มีความแตกต่างอย่างสิ ้นเชิงกับทศวรรษที่เกิดขึ ้นหลังสงคราม30ปี เศรษฐกิจ ดิจิตอลใช้ เวลาน้ อยกว่าสามครัง้ สาหรับครอบครัวชาวฝรั่งเศสส่วนใหญ่ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์ เน็ต มากกว่าที่จะทาเพื่อ ครอบครัวส่วนใหญ่ที่เชื่อมต่อกเครื อข่ายโทรศัพท์พื ้นฐาน Facebook ได้ รับผู้ใช้ กว่าพันล้ านคนเป็ นเวลากว่าแปดปี - เงินทุนหมุนเวียนที่มีเงินทุนสนับสนุนทางการเงินอย่างรวดเร็ วทาให้ เมืองหลวงนี ้มีขนาดใหญ่ มาพร้ อมกับความ ต้ อ งการที่แข็งแกร่ งสาหรั บผลตอบแทนจากการลงทุนจากกาไรของธุ รกิ จ ที่ประสบความสาเร็ จ และบรรลุการ เติบโตในระดับสูง
22
- เศรษฐกิจนี ้ไม่ใช่การแข่งขัน ระหว่าง บริ ษัท ในการตลาด แต่ระหว่างระบบนิเวศทังที ้ ่ครอบคลุมแตกต่างกัน - รู ปแบบที่เศรษฐกิจดิจิ ตอลสร้ างขึ ้นจากการเรี ยกร้ องให้ มีการลงทุนใหม่แทนที่จะกระจายเป็ นเงินปั นผลและ เพื่อให้ ได้ ผลตอบแทนจากการลงทุนเพื่อให้ ผ้ ถู ือหุ้นตอบแทน ในระบบเศรษฐกิจดิจิ ตอลการไม่จ่ายเงินปั นผลถือ เป็ นสัญญาณของความพยายามในการสร้ างสรรค์นวัตกรรมที่ - เศรษฐกิจดิจิตอลมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วในทุกภาค ซึ่งทาให้ ยากต่อการระบุพื ้นที่ที่มีเสถียรภาพรวมถึง สิ่งที่สามารถนามาใช้ ประเมิ นภาษี ไม่มีอ ะไรที่คงทนเกี่ ยวกับเทคโนโลยีหรื อ รู ปแบบธุ รกิจ ที่ใช้ หรื อแม้ กระทั่ง บริ การที่ได้ รับ - สถานที่บริ โภคจะเพิ่มขึ ้นเป็ นจานวนมาก ดังนันจึ ้ งเป็ นเรื่ องยากมากที่จะแก้ ไขตาแหน่งของมูลค่าที่สร้ างขึ ้น โดย กฎของกฎหมายภาษี ที่มีอยู่ในขณะนี ้ได้ สร้ างมูลค่าไว้ แล้ ว บริ ษัทเศรษฐกิจขนาดใหญ่ในระบบดิจิตอลคือการใช้ ข้ อมูลที่ได้ จากการตรวจสอบกิจกรรมของผู้ใช้ เป็ นประจา - ระบบข้ อมูลเหล่านี ้ ช่วยให้ บริ ษัทที่รวบรวมในการวัดและปรับปรุ งประสิทธิ ภาพของแอปพลิเคชั่นไปปรับแต่ง บริ การเพื่อแนะนาผลิตภัณฑ์ให้ กับลูกค้ าเพื่อสนับสนุนความพยายามด้ านนวัตกรรม ที่ก่อให้ เกิดการใช้ งานอื่น ๆ และตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ การใช้ ข้อมูลอาจเป็ นได้ เช่นกัน อนุญาตให้ บุคคลที่สามภายใต้ รูปแบบธุรกิจแพลตฟอร์ ม ซอฟต์ แวร์ เช่น ตามกฎทัว่ ไปข้ อมูลเป็ นส่วนสาคัญที่บริ ษัทดิจิตอลขนาดใหญ่ ใช้ ในการขยายธุ รกิ จ และบรรลุ เป้าหมายการทากาไรในระดับสูง - การตรวจสอบออนไลน์ แ บบปกติ แ ละเป็ นระบบ กิ จ กรรมหมายความว่า ข้ อ มู ล ที่ เ ก็ บ รวบรวมโดยผู้ ใ ช้ แอพพลิเคชัน่ โดยไม่ได้ รับการพิจารณาเป็ นลายลักษณ์อักษร ผู้ใช้ กลายเป็ นอาสาสมัครเสมือนจริ งสาหรับบริ ษัท ที่ให้ บริ การที่พวกเขาใช้ ข้ อมูลจากแรงงานฟรี ของผู้ใช้ จะถูกเก็บรวบรวมจัดเก็บและประมวลผลเพื่อนามารวมไว้ ในห่วงโซ่การผลิตแบบเรี ยลไทม์ ทาให้ เส้ นแบ่งระหว่า งการผลิตและการบริ โภคลดลง ผู้ใช้ ถูกดึงดูดโดยคุณภาพ ของอินเทอร์ เฟซและผลกระทบของเครื อข่าย ข้ อมูลที่พวกเขาให้ ทา พวกเขาผลิต auxiliaries และพวกเขาสร้ าง มูลค่าที่ก่อให้ เกิดผลกาไรในด้ านต่างๆ ของแบบจาลองทางธุรกิจ ดัง นั น้ เศรษฐกิ จ ดิ จิ ต อลจึ ง ก้ าวออกนอกทฤษฎี ข องบริ ษั ท เป็ นไปได้ ที่ จ ะท างานกั บ ผู้ ใช้ แอพพลิ เ คชั่ น เช่นเดียวกับซัพพลายเออร์ และ พนักงานถูก "ทางาน" ในอดีต ข้ อ เท็จ จริ งที่ว่าผู้ใช้ ไม่ได้ รับการพิจ ารณาเป็ นราย ๆ กิจกรรมของพวกเขาอธิบายถึงการเพิ่มผลผลิตอันน่าทึ่งของเศรษฐกิจดิจิตอล ข้ อเท็จจริ ง ว่าแรงงานของผู้ใช้ ในประเทศ หนึ่งก่อให้ เกิดผลกาไรที่ประกาศในอีกประเทศหนึ่ง ประเทศมีการคัดค้ านเรื่ องของหลักการ: มันเป็ นปั ญหาที่ บริ ษัท ที่ เกี่ยวข้ องไม่ได้ มีสว่ นร่วมในรายได้ จากภาษีไปยังประเทศที่ผ้ ใู ช้ อาศัยอยูแ่ ละ "ทางานให้ กับพวกเขาฟรี กิจกรรมของผู้ใช้ แอปพลิเ คชั่นเป็ น ไปได้ แ ละได้ รับ การปรั บ ปรุ ง อย่างมากโดยสาธารณะ โดยเฉพาะค่าใช้ จ่ า ยด้ า นการศึกษาการ
23
ประกันสังคมและการขยายเครื อข่าย เพื่อให้ ครอบคลุมอาณาเขตของประเทศคู่สมรสทังหมด ้ การพัฒนาเศรษฐกิ จ ดิจิตอลต่อครัง้ นี ้เรี ยกร้ องให้ นโยบายอุตสาหกรรมก้ าวร้ าวซึ่งต้ องใช้ มาตรการเพิ่มเติม บริ ษัทที่ใช้ ประโยชน์จากกิ จกรรม ของผู้ใช้ เว็บควรมีสว่ นร่วมในการใช้ จ่ายนี ้ หนึง่ ในคุณสมบัติทวั่ ไปของบริ ษัทเศรษฐกิจโลกแบบดิจิตอลคือระดับภาษีต่าสาหรับผลกาไรของพวกเขา แม้ วา่ จะไม่ได้ เป็ นธุรกิจเดียวที่ประกอบธุรกิจด้ านภาษีอากรเป็ นสิง่ ที่ทกุ กลุม่ ข้ ามชาติทา มันเป็ นเรื่ องง่ายสาหรับบริ ษัทธุรกิจดิจิตอล เพือ่ ใช้ ประโยชน์จากการแข่งขันด้ านภาษีระหว่างประเทศ: - มันเป็ นเรื่ องง่ายสาหรับพวกเขาในการโอนกาไรจากภาษี โดยการชาระเงินสาหรับทรัพย์สินที่ไม่มีตวั ตน มูลค่าของ สินทรัพย์เหล่านี ้จะเพิ่มขึ ้นตามผลตอบแทนที่ได้ รับตามขนาด เนื่องจากผลกาไรเหล่านี ้ไม่ได้ รับการจ่ายเงินปั นผลจะ สามารถเก็บไว้ และนากลับมาลงทุนใหม่ได้ โดยไม่ต้องเสียภาษีเป็ นรายได้ - แบบจาลองทางธุรกิจแบบหลายด้ านของ บริ ษัท ธุรกิจดิจิ ตอล หมายความว่า พวกเขาสามารถขยายธุรกิจของตน ไปทัว่ โลกเพื่อ "ทางาน" กับลูกค้ าของเขา แต่ม่งุ เน้ นธุรกิจที่สร้ างรายได้ ในประเทศที่สามารถโอนผลกาไรไปยังสถานที่ ปลอดภาษีได้ งา่ ยขึ ้น - แตกต่างจากบริ ษัทสมัยก่อน ซึง่ ต้ องดาเนินการปรับโครงสร้ างเพื่อการวางแผนภาษี , บริ ษัทด้ านธุรกิจระบบดิจิตอล ได้ รับการออกแบบตังแต่ ้ เริ่ มแรกเพื่อให้ เกิดความแตกต่างระหว่างระบบภาษีของแต่ละประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเลือกทาเลของสานักงานใหญ่ กฎหมายภาษี ของประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศมีปัญหาในการรักษาผลกระทบจากการปฏิวตั ิระบบ ดิจิตอล ผลกระทบที่เกิดขึ ้นในแง่ของภาษี โดยตรงเป็ นจริ งอย่างมาก (ภาษี นิติบุคคล ภาษี ธุรกิจท้ องถิ่น) และผลกระทบ ทางอ้ อมต่อภาษี (ภาษีมลู ค่าเพิ่ม): - กฎหมายระหว่างประเทศให้ อานาจในการจัดเก็บภาษีกับประเทศที่มีสานักงานใหญ่ตงอยู ั ้ ่ แต่ไม่ใช่ประเทศที่ซึ่ง บริ ษั ท ท าธุ ร กิ จ อยู่ หลัก การนี เ้ ป็ น เกณฑ์ ส าหรั บ สนธิ ส ัญ ญาภาษี แ บบทวิ ภ าคี ซึ่ง จัดตัง้ ขึน้ โดย OECD เพื่ อ วัตถุประสงค์ในการป้องกันการเสียภาษีซ ้าซ้ อนของผลกาไรที่เกิดขึ ้น - ยกเว้ นกรณีนี ้คือในกรณีของสถานประกอบการถาวรในประเทศอื่นนอกเหนือจากสานักงานใหญ่ อย่างไรก็ตาม คานิยามของสถานประกอบการถาวรซึ่งขึ ้นอยูก่ บั สถานที่และบุคลากรที่ได้ มาจากแนวคิดเศรษฐกิจหลังสงคราม ซึง่ ไม่เหมาะกับเศรษฐกิจดิจิตอล
24
- การพูดคุยเกี่ ยวกับฐานภาษี รวมทั่วไปสาหรับภาษี เงินได้ นิติบุคคลเพื่อที่จะกาจัดการแข่งขันด้ านภาษี ภายใน สหภาพยุโรปได้ จนตรอก และไม่ได้ พิจารณาถึงลักษณะเฉพาะของเศรษฐกิจดิจิ ตอล สิ่งเดียวกันนี ้อาจกล่าวได้ จากการอภิปรายที่นาโดย OECD จนถึงขณะนี ้ซึง่ แทบจะไม่สามารถตอบสนองต่อเศรษฐกิจดิจิตอลต่อได้ - มีความคืบหน้ าเล็กน้ อยเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มที่กฎอาณาเขตได้ รับการแก้ ไขเพื่อประโยชน์ของประเทศผู้บริ โภค, แม้ จะมีปัญหาในการบรรลุข้อตกลงที่เป็ นเอกฉันท์ แต่ข้อตกลงนี ้จะเริ่ มดาเนินการในช่วงระหว่างปี พ. ศ. 2562 และปั ญหาทางเทคนิคบางอย่างยังต้ องได้ รับการแก้ ไข - สุดท้ าย ความพยายามครั ง้ แรกในการสร้ างระบบภาษี เฉพาะสาหรับเศรษฐกิ จดิจิ ตอลในระดับประเทศอย่าง เคร่งครัดไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ การตอบสนองเป็ นสิง่ จาเป็ นเร่งด่วนที่จะทาลายเกลียวที่เป็ นอันตรายต่อเศรษฐกิจของประเทศอุตสาหกรรมได้ มากกว่า การสูญเสียรายได้ จากภาษีที่ตกอยูใ่ นความเสีย่ ง; การเติบโตของเศรษฐกิจดิจิตอลทาให้ รายได้ ทางภาษีที่ตงอยู ั ้ ใ่ น ประเทศอุตสาหกรรมที่ผา่ นผลรวมของสองปรากฏการณ์หดตัวลง: - ปรากฏการณ์ แรก คือ รู ปแบบธุรกิจที่สาคัญคือการเป็ นตัวกลาง ซึ่งหมายความว่า บริ ษัท ที่ไม่เสียภาษี รายได้ ท้ องถิ่นของพวกเขาในประเทศดูได้ จากส่วนแบ่งผลกาไรที่เพิ่มขึ ้น ซึง่ จะช่วยลดส่วนแบ่งที่ได้ รับจากผู้เล่นอื่นๆใน ห่วงโซ่คณ ุ ค่า - ปรากฏการณ์ ที่สอง ราคาจะถูกบีบให้ ต่าลงโดยอานาจทางการตลาดของตัวกลางเหล่านี ,้ ซึง่ ใช้ ข้อมูลที่รวบรวม มาจากผู้ใช้ งานของแอพพลิเคชัน่ ของพวกเขาที่ใช้ ในการทาธุรกิจ การดาเนินการเร่งด่วนเป็ นสิง่ ที่จาเป็ นมากขึ ้นเนื่องจากการปฏิวตั ิระบบดิจิตอลไม่ได้ จากัดเพียงไม่กี่อุตสาหกรรมและเป็ น เรื่ อง "การกิน" ทุกภาคส่วนของเศรษฐกิจอย่างแท้ จริ ง บริ ษัทเศรษฐกิจดิจิตอลกาลังแทรกเข้ าสูท่ กุ ๆส่วนของธุรกิจ เริ่ มต้ น ด้ วยการท่องเที่ยว การธนาคาร และการสื่อสารโทรคมนาคมในวันนี ้ตามด้ วยรถยนต์ การบริ การในเมือง และการดูแล สุขภาพในอนาคตอันใกล้ บริ ษัทต่างๆพยายามเหล่านี ้มุ่ งเน้ นความเชื่อมโยงในห่วงโซ่ “การทางาน” กับผู้ใช้ บริ การของ พวกเขาและจับส่วนแบ่งที่เพิ่มขึ ้นของผลกาไรของบริ ษัทท้ องถิ่นภายใต้ อานาจตลาดของพวกเขา การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ดิจิตอลที่กระจายไปทัว่ ทังระบบเศรษฐกิ ้ จ กาไรจากภาคต่างๆจะถูกส่งออกไปต่างประเทศ หายไปจากรายได้ ประชาชาติ ของกลุม่ ประเทศขนาดใหญ่ และตัดการเจริ ญเติบโตเหล่านัน้ นอกจากนี ้ยังจะทาให้ รัฐบาลเพิ่มรายได้ จากภาษี ที่อาจ ได้ รับจากการผลิตที่เพิ่มขึ ้นของเศรษฐกิจดิจิตอล การเคลือ่ นไหวนี ้ได้ รับการดาเนินการเป็ นเวลาสิบถึงสิบห้ าปี และได้ รับ การหยิบขึ ้นมาอย่างรวดเร็ ว เศรษฐกิจดิจิตอลจะเติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่มันจะไม่เพิ่มการจ้ างงานใหม่ในกลุม่ ประเทศขนาดใหญ่เว้ นแต่พวกเขาจะ ออกนโยบายทางอุตสาหรรมที่ม่งุ เป้าไปที่สองวัตถุประสงค์เสริ ม ส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตด้ วยตนเองของเศรษฐกิจดิจิ ตอล
25
ในประเทศและการจัดการการกระจายของการเพิ่มผลผลิตที่ประสบความสาเร็ จกับส่วนที่เหลือของเศรษฐกิจ นโยบาย ด้ านภาษี เป็ นอี กเครื่ องมื อหนึ่งของนโยบายอุตสาหกรรม มันอาจถูกใช้ ในการโปรโมทความเท่าเที ยมในการแข่งขัน ระหว่างบริ ษัทธุรกิจดิจิตอล, การวิจยั และพัฒนาของพวกเขาและสร้ างรายได้ จากภาษีที่รัฐบาลต้ องการเพื่อสนับสนุนการ เปลีย่ นแปลงนี ้ กลุ่มงานได้ จัดทาข้ อเสนอ 3 ข้ อบนพืน้ ฐานของการวินิจฉัยนี ้ 1. การได้ คืนอานาจในการเก็บภาษีจากกาไรที่ได้ รับในประเทศโดยบริ ษัทเศรษฐกิจดิจิตอล: - ภาษี รายได้ นิติบุคคลเป็ นเครื่ องมือที่เหมาะสมที่สดุ ในท้ ายที่สดุ สาหรับการแสวงหาผลงานที่เป็ นสัดส่วนกับการ สร้ างมูลค่าภายในประเทศ รายได้ สทุ ธิ หรื อกาไรเป็ นข้ อสรุ ปว่าเป็ นการวัดความมั่งคัง่ ของธุรกิจของบริ ษัทอย่าง แท้ จริ ง เพราะฉะนันควรมี ้ การแก้ ไขกฎหมายด้ านภาษีให้ สามารถจัดเก็บภาษีกบั ธุรกิจดิจิตอลได้ - ประเทศไม่สามารถบรรลุผลลัพธ์ นีไ้ ด้ ด้วยตัวเองข้ อ จากัดเฉพาะของการจัดเก็ บภาษี ระหว่างประเทศเป็ นสิ่ง สาคัญที่จะต้ องเริ่ มต้ นการเจรจาในประชาคมยุโรปและ OECD เพื่อยกเลิกกฎระเบียบเกี่ยวกับการแบ่งอานาจ ภาษี นี่เป็ นการเรี ยกร้ องให้ มีการกาหนดสถานประกอบการถาวรที่เฉพาะเจาะจงสาหรับเศรษฐกิจดิจิตอล - คาจากัดความนีต้ ้ องอยู่บนพื ้นฐานของบทบาทที่สาคัญของข้ อมูลและ "แรงงานอิสระ" ที่ให้ โดยผู้ใช้ งาน ซึ่งยัง ไม่ได้ พิจารณาสาหรับการเสียภาษี ถึงแม้ วา่ พวกเขาจะเป็ นหัวใจของการสร้ างมูลค่า กาหนดให้ กบั ประเทศต่างๆ ได้ อย่างง่ายดาย และ ร่วมกับทุกรูปแบบธุรกิจที่โดดเด่นของเศรษฐกิจดิจิ ตอลในปั จจุบนั - วัตถุประสงค์ของการเจรจา คือ การระบุสถานประกอบการถาวรเมื่อบริ ษัทดาเนินธุรกิจในประเทศโดยใช้ ข้อมูลที่ ได้ จากการตรวจสอบการใช้ งานเว็บของผู้ใช้ ตามปกติและเป็ นระบบ ส่วนแบ่งผลกาไรจากการใช้ ข้ อมูลเหล่านี ้จะ หักออกจากการรับโอนเป็ นรายการหักจากค่าสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนซึง่ ตังอยู ้ ใ่ นต่างประเทศ 2. ในระหว่างนี ้ ให้ สร้ างภาษีเกี่ยวกับการใช้ ข้อมูลที่ได้ จากการตรวจสอบกิจกรรมของผู้ใช้ ในประเทศอย่างสม่าเสมอ และเป็ นระบบ การเก็บรวบรวมข้ อมูลที่ได้ ผ่านการตรวจสอบอย่างสม่าเสมอและเป็ นระบบของผู้ใช้ เป็ นเหตุการณ์ ที่ต้องเสียภาษี เพียงอย่างเดียวซึ่งจะทาให้ มั่นใจได้ ถึงความเป็ นกลางของภาษี ต่อรู ปแบบธุรกิจเทคโนโลยีและกลยุทธ์ ทางธุรกิจ การ เชื่อมโยงภาษีกับการรวบรวมและการใช้ ข้อมูลเป็ นวิธีการที่เป็ นกลางและยัง่ ยืน เป็ นแนวทางในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจ ดิจิตอลเข้ ากับประเทศและเป็ นยุทธศาสตร์ ที่ได้ รับการสนับสนุนจากข้ อคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าของข้ อมูลในการสร้ างทุน ทางการเมืองสาหรับการเจรจาระหว่างประเทศเกี่ยวกับการแบ่งอานาจในการจัดเก็บภาษีกบั บริ ษัทดิจิตอลรายใหญ่
26
ข้ อเสนอของกลุม่ ทางานไม่ได้ ประกอบไปด้ วยการเก็บรวบรวมข้ อมูลภาษีซะทีเดียว แต่เป้าหมายก็คือการสร้ าง แรงจู ง ภาษี ส าหรั บ ธุ ร กิ จ ต่า งๆ ให้ น าไปใช้ เกี่ ย วกับ การเก็ บ รวบรวมและการใช้ ข้ อ มูล ที่ ไ ด้ รั บ มาโดยผ่า นทางผู้ใ ช้ อินเตอร์ เน็ต โดยปรกติและโดยเป็ นระบบซึง่ ตรงกับเป้าหมายประโยชน์สาธารณะสีป่ ระการ - เพิ่มการป้องกันอิสรภาพของบุคคล - ส่งเสริ มนวัตกรรมในตลาดความเชื่อมัน่ ระบบดิจิตอล - สร้ างการเกิดขึ ้นมาใหม่ของการบริ การใหม่ๆ สาหรับผู้ใช้ - สร้ างการเพิ่มขึ ้นของความสามารถการผลิตและการเติบโต เป้าหมายก็คือใช้ หลักการที่คล้ ายกับหลักการ "ผู้สร้ างมลภาวะจ่าย" ซึ่งกาหนดภาษี สิ่งแวดล้ อมต่อบริ ษัทซึง่ เข้ า ร่วมในการเฝ้าตรวจสอบกิจกรรมของผู้ใช้ ทงแบบทั ั้ ว่ ไปและแบบเป็ นระบบ นี่ไม่ได้ หมายความว่าบริ ษัทเหล่านี ้จะยกเว้ น จากหน้ าที่เกี่ ยวกับสิทธิ พื ้นฐานที่เกี่ ยวกับการป้องกันข้ อ มูลส่วนบุคคลแต่อ ย่างใด หลักการ "ผู้ลา่ จ่าย" นี ้โดยหลักแล้ ว หมายถึงภาษี จะใช้ กับบริ ษัทซึ่งปฏิบตั ิตามกฎหมายที่ใช้ บงั คับและดาเนินการโดยมีการเก็ บรวบรวมข้ อมูลแบบเฉพาะ โดยการสร้ างอุปสรรคต่อการเคลือ่ นย้ ายข้ อมูลได้ และการใช้ ซ ้าส่วนบุคคลของข้ อมูลโดยคนใช้ เองนัน้ 3. สร้ างสภาพแวดล้ อมภาษีซงึ่ สนับสนุนการเกิดขึ ้นของบริ ษัทใหม่ๆโดยการปฏิรูปการจัดเก็บภาษีของ R&D และการให้ เงินช่วยทางการตลาด กล่าวโดยเฉพาะก็คือ โดย - ประยุกต์ใช้ คาจากัดความของ R&D ต่อลักษณะของเศรษฐกิจดิจิตอล - ปฏิรูปและสร้ างความง่ายให้ กบั มาตรการหลัก (ค้ นคว้ าเครดิตภาษีและสถานภาพภาษีธุรกิจที่เริ่ มต้ นใหม่) - สร้ างแรงจูงใจสาหรับการเติบโตของการให้ ทนุ ตลาดสาหรับเศรษฐกิจดิจิตอล การเติบโตของเศรษฐกิจดิจิ ตอลได้ สร้ างความก้ าวหน้ า แต่มันก็มีผลที่แย่ในเศรษฐกิจของประเทศอุตสาหกรรมขนาด ใหญ่ นโยบายอุตสาหกรรมนันมี ้ ความจาเป็ นในการสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านนี ้และเพื่อที่จะให้ มนั่ ใจว่าการเพิ่มขึ ้นของ ความสามารถการผลิตจะนาไปสูก่ ารเติบโตที่แท้ จริ งของธุรกิจใหม่ๆ ซึง่ สร้ างงานภายในประเทศ บริ ษัทเศรษฐกิจดิจิตอล จะต้ องมีสว่ นร่ วมต่อความพยายามนี ้โดยผ่านทางภาษี ข้ อเสนอในรายงานนี ้มุ่งไปที่การได้ รับอานาจกลับคืนมาในการ เก็ บภาษี จ ากผลกาไรที่ได้ รับจาก "แรงงานฟรี ๆ" จากคนใช้ อินเตอร์ เน็ต โดยการเริ่ มให้ มีการเจรจาในกฎหมายภาษี ระหว่างประเทศ โดยการใช้ ระบบภาษีภายในประเทศซึ่งสอดรับกับเหตุผลทางเศรษฐกิจที่เสนอในการเจรจาเหล่านี ้และ เป็ นประโยชน์ตอ่ การเติบโตของเศรษฐกิจดิจิตอลในประเทศ
27
บทที่ 5 กลุ่มตัวอย่ างพืน้ ที่และวิธีการ เนื่องด้ วยข้ อจากัดทางด้ านเวลาของการเก็บข้ อมูล ทางกลุม่ ได้ นาแนวคิดและบทสรุปจากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพ ด้ วยการวิ เคราะห์ ข้อ มูล ที่เ ป็ น เอกสาร ที่มี ผลการศึก ษาและวิ จัย จากประเทศต่างๆที่ มีก ารตีพิ มพ์ มาพินิ จ วิเคราะห์ พร้ อมกลัน่ กรองร่วมกันจนออกมาเป็ นบทสรุปของผลสาเร็ จตามตัวชี ้วัดที่คาดว่าจะเกิดขึ ้นให้ คณะกรรมการได้ เห็นผลกระทบที่จะเกิดขึ ้น พร้ อมทังข้ ้ อแนะไปยังผู้บริ หารระดับสูงของประเทศ รวมไปถึง ทุกภาคส่วนที่ได้ รับผลกระทบทัง้ ทางตรงและทางอ้ อม การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิ งคุณภาพ นับเป็ นขันตอนที ้ ่สาคัญในกระบวนการวิจัย วิธีการหลักที่ใช้ ในการ วิเคราะห์ ข้ อมูลเชิงคุณภาพ เป็ นวิธีการสร้ างข้ อสรุปจากการศึกษาจากข้ อมูลจานวนหนึง่ ซึง่ มักไม่ใช้ สถิติใน การวิเคราะห์หรื อถ้ าใช้ สถิติก็ไม่ได้ ถือว่าสถิติเป็ นวิธีการวิเคราะห์หลัก แต่จะถือเป็ นข้ อมูลเสริ มในการวิเคราะห์ ข้ อมูลเชิงคุณภาพนัน้ ผู้วิเคราะห์ ข้ อ มูลนับเป็ นผู้ที่มีบทบาทสาาคัญยิ่ ง และควรมี ค วามรอบรู้ ในเรื่ อ งแนวคิด ทฤษฎี อ ย่างกว้ างขวาง มี ความเป็ นสห วิทยากรอยู่ในตัวเอง มี ความสามารถทางภาษาสามารถเชื่ อ มโยงข้ อ ความ และสร้ างข้ อ สรุ ปเป็ นกรอบแนวคิดและ ตีความหมายของข้ อมูลได้ หลาย ๆ แบบ
รูปภาพที่ 14 แหล่งข้ อมูลต่างๆ ที่ใช้ ประกอบการวิจยั เชิงคุณภาพแบบ Focus Group ที่มา: หนังสือ บทความวิชาการ วารสาร ข้ อมูลจากเวปไซต์ตา่ งๆ ที่มีเนื ้อหาเกี่ยวข้ องกับโครงการ ในการวิเคราะห์ข้อมูลเอกสารนัน้ สามารถทาได้ โดยวิธีการเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพ วิธีเชิง ปริ มาณ คือ การ ทาให้ ข้อมูลของเอกสารนัน้ ได้ แก่ ถ้ อยคาประโยค หรื อใจความที่ปรากฏในเอกสารเป็ นจานวน ที่วดั ได้ แล้ วแจงนับจานวน
28
ของถ้ อยคา ประโยค หรื อใจความเหล่านัน้ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลแบบนี ้ที่ร้ ู จักกันดี คื อ การวิเคราะห์เนื ้อหา (Content analysis) ซึง่ โดยปกติการวิเคราะห์เนื ้อหาจะทาาตามเนื ้อหาที่ปรากฏ(Manifest content) ในเอกสาร มากกว่ากระทากับ เนื ้อหาที่ซอ่ นอยู่ (Latent content) การวัดความถี่ของคา หรื อข้ อความในเอกสารก็หมายถึงคาหรื อข้ อความที่มีอยู่ ไม่ใช่ คาหรื อข้ อความที่ผ้ วู ิจัยตีความได้ การตีความจะ กระทาในอีกขันตอนหนึ ้ ่งภายหลังเมื่อผู้วิจัยจะสรุปข้ อมูล ส่วนวิธีการ ทางคุณภาพ คือ การตีความสร้ างข้ อสรุป แบบอุปนัย (Induction) จากเอกสารดังกล่าวประกอบกับเอกสารอื่น ๆ โดยอาจ มีการแบ่งประเภทตามเนื ้อหา ของเอกสาร แล้ วเปรี ยบเทียบเนื ้อหาประเภทต่าง ๆ เข้ าด้ วยกัน ทังนี ้ ้ในการวิจยั เชิงคุณภาพ นัน้ การวิ เ คราะห์ ข้ อ มูล เอกสารนัน้ มิ ไ ด้ ส นใจเพี ย งแค่ข้ อ ความที่ ป รากฏในเอกสาร หากทว่า พยายามค้ น หาและ ตีความหมายที่แฝงอยู่ใน ข้ อความเหล่านันอี ้ กด้ วย โดยอาศัยข้ อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ ด้วยวิธีการอื่นหรื อ ข้ อมูลภูมิหลัง สภาพแวดล้ อ มอื่น ๆ มาประกอบการวิเคราะห์และตีความหมายข้ อมูลในเอกสาร สาาหรับขันตอนในการวิ ้ เคราะห์ เนื ้อหา โดยทัว่ ไป มีการดาเนินการดังนี ้ ขัน้ ตอนที่ 1 กาหนดเกณฑ์คดั เลือกเอกสาร เป็ นการกาหนดให้ ชดั เจนว่าผู้วิจยั คัดเลือกเอกสารอะไร ประเภทใด มาทาการวิเคราะห์ ซึ่งผู้วิจัยจะต้ องตังกฎเกณฑ์ ้ ขึ ้น สาาหรั บการคัดเลือกเอกสารและหัวข้ อที่จะทา การวิเคราะห์ ให้ ชัดเจน โดยอาจใช้ ช่วงระยะเวลาปี ที่พิมพ์หรื อบันทึก แหล่งเผยแพร่ และลักษณะการเผยแพร่ เป็ นต้ น การกาหนดเกณฑ์ คัดเลือกเอกสารที่ชดั เจนจะมีประโยชน์มากในกรณีที่มีบุคคลอื่นมาทาการวิเคราะห์ จะทาให้ เลือกเอกสารได้ ตรงกัน ขัน้ ตอนที่ 2 วางเค้ าโครงการวิเคราะห์เป็ นการจัดระบบการจาแนกคาหรื อข้ อความในเนื ้อหาสาระ ของเอกสาร ซึง่ ผู้วิเคราะห์ควรจัดระบบการจาแนกให้ ชัดเจนว่าจะจาแนกโดยใช้ คาหรื อข้ อความใดบ้ างระบบ การจาแนกที่ชดั เจนนี ้จะ ช่วยให้ ผ้ วู ิเคราะห์สามารถที่จะนาเนื ้อหาใดมาวิเคราะห์และจะตัดเนื ้อหาใดออกไป ทังนี ้ ้การกาหนดระบบการจาแนกควร จาแนกโดยการพิจารณาถึงหลักเกณฑ์ตอ่ ไปนี ้ คือ 1) การจาแนกควรสอดคล้ องกับปั ญหา วัตถุประสงค์ของตัวแปรในการวิจยั 2) การจ าแนกควรมี ความครอบคลุม คาหรื อ ข้ อ ความที่ผ้ ูวิจัยนามาใช้ เ ป็ นระบบในการจาแนกควร มี ความ ครอบคลุมคาหรื อข้ อความอื่ น ๆ ที่มีอยู่ในเอกสารเพื่อให้ สามารถนามาลงรหัส แจงนับได้ ถูกต้ องภายใต้ คาหลักในการ จาแนก 3) การจาแนกควรใช้ หลักเกณฑ์เดียวกัน เช่น การจาแนกโดยใช้ ฐานะทางเศรษฐกิจ อาชีพ เวลา และสถานภาพ เป็ นต้ น ซึง่ การใช้ หลักเกณฑ์เดียวกันในการจาแนกจะมีประโยชน์ปอ้ งกันการซ ้าซ้ อนกันของคา หรื อข้ อความที่จะปรากฏ เมื่อทาการแจงนับ
29
4) การจาแนกควรมีระบบที่เด่นชัด ไม่ควรมีคาซ ้าซ้ อนกันระหว่างข้ อความที่จะนาไปแจงนับภายใต้ ระบบการ จาแนกแต่ละครัง้ ขัน้ ตอนที่ 3 พิจารณาเงื่อนไขแวดล้ อม (Context) ของข้ อมูลเอกสารเป็ นการพิจารณาเกี่ยวกับลักษณะ ต่าง ๆ ของข้ อมูลเอกสารที่จะนามาวิเคราะห์เพื่อให้ การวิเคราะห์ข้อมูลเป็ นไปอย่างถูกต้ อง มีความครอบคลุมมากที่สดุ โดย ลักษณะของข้ อ มูลที่จะพิจารณาได้ แก่ แหล่งที่มาของข้ อมูล ช่วงเวลาของ การบันทึกข้ อมูล ผู้รับข้ อมูลหรื อ บุคคลที่ผ้ ู บันทึกข้ อ มูลประสงค์ จะส่งข้ อมูลถึง และแหล่งเผยแพร่ ข้อมูล ลักษณะเหล่านี ้ของข้ อ มูลจะช่วยให้ ผ้ ูวิเคราะห์ ข้อ มูล สามารถมาวิเคราะห์เชื่อมโยงอธิบายข้ อมูลในเอกสารได้ ดีขึ ้น ขัน้ ตอนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล เป็ นการนับความถี่ของคาหรื อข้ อความที่จาแนกไว้ ภายใต้ ระบบ การจาแนกที่ กาหนดไว้ หลังจากนัน้ ก็ทาการวิเคราะห์เชื่อมโยง สรุปบรรยายข้ อมูลที่จาแนกได้ อ้ างอิงไปสูข่ ้ อมูล ทังหมดในเอกสารนั ้ น้ ๆ สาาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพทัว่ ๆ ไป เทคนิคการวิเคราะห์เนื ้อหา นับเป็ นเทคนิคที่สาาคัญ เทคนิคหนึ่งที่ สามารถนามาใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิ งคุณภาพโดยทั่วไปได้ เช่น การวิเคราะห์ เนื ้อหาจากบันทึก การสัมภาษณ์ บันทึกการสังเกต ดังตัวอย่างการวิเคราะห์เนื ้อหาจากแบบบันทึกการสัมภาษณ์ ปัจจัยเชิงสาเหตุ ของคะแนนโอเน็ตต่า (เอื ้อมพร หลินเจริ ญและคณะ, 2552)
30
บทที่ 6 แผนการดาเนินการ วิธีการศึกษา การศึกษานี ้เป็ นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซึง่ มีวตั ถุประสงค์เพื่อทาความเข้ าใจปั ญหา ถอด บทเรี ยน และนาเสนอแนวคิด ในการแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึ ้น วิธีการวิจัยดาเนินการโดยการรวบรวมข้ อมูลเชิงสถิติ ข้ อมูลเชิง วิชาการ และบทความที่สมั ภาษณ์ ผ้ เู ชี่ยวชาญ จากแหล่งผลงานทังในและต่ ้ างประเทศ แล้ วนามาวิเคราะห์ สรุ ปอุปนัย (Analytic Induction) การถอดบทเรี ยน (Lesson Learns) และนาผลที่ได้ มาอภิปรายกลุม่ (Focus Group Discussion) เพื่อหาข้ อสรุปและแนวทางแก้ ไขปั ญหาร่วมกัน ตัว อย่า งของบทวิ จัย บทความ ที่ น ามาใช้ ป ระกอบการวิ เ คราะห์ และอภิ ป รายกลุ่ม เช่ น หนัง สือ Digital Sovereignty ของ Farid Gueham, 2017 วารสาร Secuview ประจาเดือนมกราคม 2016 ในหัวข้ อ Digital Sovereignty ; as the Basis of a Society’s Digital Self-Determination รวมถึงบทความ Digital Sovereignty A model that needs inventing ของ website Watch America ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2016 นอกจากนี ้ ทีมงานยังดาเนินการสอบถามไปยัง หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้ องบางส่วน เช่น กรมสรรพากรเกี่ยวกับความคืบหน้ าในการดาเนินการแก้ ไขปั ญหาด้ านการ เก็บภาษีดิจิตอล และนาข้ อมูลดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาด้ วย
ในส่วนของการอภิปรายกลุม่ ทางทีมได้ จัดสรรเวลาในการอภิปราย โดยเป็ นการอภิปรายจากสมาชิกในทีม ซึ่ง ประกอบไปด้ วยผู้ทรงคุณวุฒิ เช่น คุณสมมาศเสถียร ผู้เชี่ยวชาญธุรกิจโทรคมนาคมและเทคโนโลยี คุณสุระพร สิมะกุลธร
31
ตัวแทนของบริ ษัทเอกชนขนาดใหญ่ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ แห่งประเทศไทย และสมาชิ กท่านอื่ นๆ ซึ่งเป็ น ผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อดาเนินการหารื อและหาข้ อสรุปร่วมกัน ดังอธิบายในหัวข้ อถัดไป ตารางเวลาของแผนการดาเนินงาน ตารางที่ 1 แผนการดาเนินงานของเป็ นดังต่อไปนี ้ กุมภาพันธ์ 61 ขันตอน ้ กาหนดวัตถุประสงค์และขอบเขต การศึกษาและวิจยั รวบรวมข้ อมูล วิเคราะห์และสรุปข้ อมูล อภิปรายกลุม่ และสรุปผล นาเสนอ
มีนาคม 61
เมษายน 61 พฤษภาคม 61
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง เนื่องจากเป็ นการศึกษาเชิงคุณภาพจากบทความวิจัยและข้ อมูลจากต่างประเทศเป็ นสาคัญ จึงไม่มีหน่วยงาน โดยตรงให้ ทีมงานได้ ติดต่อ ยกเว้ น ข้ อมูลร่างกฎหมายเก็บภาษีดิจิตอลที่จดั ทาโดยกรมสรรพากรเท่านัน้
32
บทที่ 7 สถานการณ์ การดาเนินการ จากการศึกษาบทวิจัย หรื อบทความจากสถาบันชันน ้ าในต่างประเทศ ต่างสรุ ปข้ อแนะนาแนวทางแก้ ไขปั ญหา ภายใต้ แนวความคิดการสร้ างชาติของสถาบันการสร้ างชาติได้ ดงั ต่อไปนี ้ 1. คน สรุปความเป็ นไปได้ ในการแก้ ปัญหา โดยพิจารณาเพิ่มเติมดังนี ้ แนวทางที่ภาครัฐควรตระหนักและนาข้ อเสนอแนะดังกล่าวไปปรับใช้ อย่างเหมาะสม เพือ่ กาหนดมาตรการ ป้องกันแก้ ไขในระยะสันและระยะยาวสื ้ บไป 1. การแก้ ไขปั ญหาด้ านอธิ ปไตยเชิงดิจิตอล เป็ นปั ญหาระดับชาติ จาเป็ นที่จะต้ อ งอาศั ยการบูรณาการ ระหว่างหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้ อง เช่น กระทรวง ICT กรมสรรพากร กระทรวงการต่างประเทศ และอื่นๆ ซึง่ อาจเป็ นประเด็นปั ญหาในทางปฏิบตั ิ ทางออกในการแก้ ไขอุปสรรคนี ้ เช่น การจัดตังองค์ ้ กรกลาง เพื่อ ทาหน้ าที่ขบั เคลื่อนนโยบายการธารงรั กษาไว้ ซึ่งอธิ ปไตยเชิ งดิจิตอล และกาหนดกรอบอธิ ปไตยเชิ ง ดิจิ ตอลของประเทศอย่างแท้ จ ริ ง ตลอดจนประสานงานกับประเทศเพื่อ นบ้ านและประเทศต่างๆใน ภูมิภาค เพื่อแสวงหาความร่วมมือกัน
รูปภาพที่ 15 คนไทย 4.0 คือวุฒิภาวะหรื อการอ่านออกเขียนได้ ทางดิจิตอลที่คนไทยต้ องมี ที่มา: หนังสือ Strategy to Cybersecurity 4.0 ดร. ปริ ญญา หอมเอนก. พศ. 2561 2. การแก้ ไขปั ญหาในแบบฉบับทางสายกลาง โดยไม่ม่งุ เน้ นไปที่การออกกฎหมายซึ่งอาจประสบปั ญหา การบังคับใช้ ในทางปฏิบตั ิ และไม่ปล่อยปละละเลยจนเกิดภาวะที่ขาดการกากับดูแล แต่เน้ นการสร้ าง นโยบายความร่ ว มมื อ จากภาคเอกชนที่ มี ส่ว นเกี่ ย วข้ อ ง เช่ น การสัม ปทานการจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ภายในประเทศ หรื อ การกาหนดข้ อยกเว้ นทางภาษี หรื อ ผลประโยชน์ ทางภาษี ต่อหน่วยงานเอกชนที่
33
ประกอบธุ รกิ จดิจิ ตอลในต่างประเทศ ที่ยอมจดทะเบียนและภาษี ในไทยสาหรั บรายการที่เกิ ดขึ ้นใน ประเทศไทย 3. การส่งเสริ มให้ ความรู้ แก่ประชาชน เพื่อให้ ประชาชนได้ ตระหนักถึงความสาคัญของปั ญหา หลีกเลี่ยง สถานการณ์ที่อาจทาให้ เกิดความเข้ าใจผิด และเพื่ออธิบายผลกระทบของปั ญหาให้ ทราบ บทบาทของ NBI ต่อการแก้ ปัญหา ดังที่กล่าวข้ างต้ น ว่า การดาเนินการในเรื่ องอธิปไตยเชิงดิจิตอล จาเป็ นต้ องได้ รับความร่วมมือจากหลายภาค ส่วน และใช้ ทรัพยากรจานวนมาก โดยมีความจาเป็ นต้ องมีทิศทางการแก้ ไขปั ญหาที่ชัดเจน คณะทางาน NBI กลุม่ โปรตุเกส จึงได้ ศกึ ษาแนวทางแก้ ไขปั ญหา และสรุปเป็ นข้ อเสนอแนะ เพื่อนาเสนอต่อคณะกรรมการวิชาการของ NBI โดยได้ นาเสนอต่อคณะกรรมการวิชาการ ณ วันที่ 16 พฤษภาคม 2562 เพื่อเปิ ดโอกาสให้ เกิดการสื่อสารต่อเนื่องไป ยังคณะทางานภาครัฐ ที่สามารถนาไปศึกษาเชิงลึก หรื อประยุกต์ใช้ ตอ่ ไปได้ 2. ระบบ สามารถสรุปหลักการและหลักปฏิบัติได้ 4 ประการหลักดังนี ้ 1. การสร้ างกรอบอธิ ปไตยเชิงดิจิตอล (Digital Sovereignty Framework) เพื่อกาหนดมาตรการในการ กากับดูแลการดาเนินการ และการดาเนินธุรกิจขององค์กรทังภาครั ้ ฐและเอกชน ที่คานึงถึงการให้ ความ เคารพต่ออานาจอธิ ปไตยของรัฐเป็ นสาคัญ กรอบดังกล่าวครอบคลุมตังแต่ ้ ระดับนโยบาย โครงสร้ าง และกฎหมายที่บงั คับใช้ เพื่อป้องกันอธิปไตยของประเทศให้ ดารงอยู่ ซึ่งปั จจุบนั ภาครัฐได้ ทยอยศึกษา และอยู่ระหว่างพิจารณาร่ างกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง เช่น กรมสรรพากรอยู่ระหว่างร่ างประมวลรัษฎากร เพื่อรองรับการจัดเก็บภาษีจากผู้ประกอบการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business) ในส่วนที่เกี่ยวข้ อง กับการจัดเก็บภาษี มูลค่าเพิ่มจากการให้ บริ การในต่างประเทศ เป็ นต้ น อย่างไรก็ ตาม ประเด็นเรื่ อ ง การบูรณาการและสร้ างความร่ วมมือ ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องยังเป็ นเรื่ อ งที่ต้อ งให้ ความสาคัญ และติดตามอย่างใกล้ ชิด 2. การสร้ างความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เนื่องจากการดาเนินการด้ านการรักษาความ ปลอดภัยทางดิจิตอล เป็ นมาตรการที่ต้องใช้ เงินลงทุนจานวนมาก และในทางปฏิบตั ิ รายการธุรกรรม ต่างๆหรื อการติดต่อสือ่ สารที่เกิดขึ ้นจานวนมากเป็ นการสือ่ สารระหว่างประเทศ การดาเนินการดังกล่าว จึงมีความเสี่ยงที่จะเกิดความซ ้าซ้ อน หรื อ หากไม่ได้ รับความร่ วมมือจากประเทศที่บริ ษัทเหล่านันจด ้ ทะเบียนอยู่ ก็เป็ นการยากที่จะดาเนินการให้ เกิดผลสาเร็ จได้ การสร้ างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่ กากับดูแลของประเทศไทย และประเทศในภูมิภาค ตลอดจนประเทศคู่ค้าที่ องค์กรผู้ให้ บริ การ Social media หรื อบริ การ อิเล็คทรอนิกส์ จึงเป็ นทางออกหนึ่งที่ทาให้ การสร้ างอธิ ปไตยทางดิจิตอลเกิดความ สัมฤทธิ์ผล และช่วยประหยัดการลงทุนในประเทศได้
34
3. ภาคเอกชน ควรได้ รับการสนับสนุน และกระตุ้นตนเองในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ต่อลูกค้ า หรื อผู้ใช้ บริ การ และต่อประเทศ เช่น การร่วมมือกันเพื่อประกาศเจตนารมณ์ในการให้ ความร่วมมือ และ ปฏิบตั ิตามกฎหมายเพื่อธารงไว้ ซงึ่ อธิปไตยเชิงดิจิตอล การสร้ างมาตรการในการรักษาความปลอดภัย ที่ได้ มาตรฐาน เพื่อป้องกันข้ อมูลของผู้ใช้ บริ การ ป้องกันการรุกรานในลักษณะของการโจมตีทาง Cyber (Cyber attack) และสร้ างความเชื่อมัน่ ต่อผู้ใช้ บริ การ 4. ด้ านเทคโนโลยี ภาครัฐควรให้ ความสาคัญกับการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ เพื่อกากับดูแลและรักษา ความปลอดภัยของข้ อมูลในระบบสารสนเทศที่อ ยู่ในประเทศ เช่น การนา Blockchain มาใช้ เป็ น ประโยชน์ในการตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูล การรักษาความลับ และการตรวจสอบติดตามความ ผิดปรกติตา่ งๆ
รูปภาพที่ 16 สรุปภาพรวมของระบบ 4 ด้ านเพื่อสร้ างอธิปไตยดิจิตอลของชาติ ที่มา: ภาพประกอบการบรรยายเรื่ อง Digital Science Match สถาบัน Internet and Society 2017
35
3. บริบท ของนานาประเทศในโลกที่มีต่อบริษัทดิจิตอลยักษ์ ใหญ่ ข้ามชาติ จากหลายบทความก่อนหน้ านี ้ และ จากบทความของ คุณภาวุธ พงษ์ วิทยภานุที่ได้ กล่าวถึงธุรกิจข้ ามชาติในยุค ดิจิตอล ไม่ว่าจะเป็ นธุรกิจสือ่ โซเชียลมีเดีย หรื ออีคอมเมิร์ซ ที่สามารถให้ บริ การจากต่างประเทศเข้ ามาในประเทศไทย และได้ ฉกฉวยโอกาสจากความเหลื่อมล ้ากับธุรกิจภายในประเทศ ส่งผลให้ มลู ค่าทางเศรษฐกิจของไทย ต้ องรั่วไหลออก จากประเทศ จนเป็ นผลลบต่อห่วงโซ่อุปทาน หรื อกระทัง่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมของไทย จนเกิดเป็ นแนวคิดที่ว่า “เศรษฐกิจ ไทยจะหดตัวเพราะธุรกิจดิจิตอล” เพราะธุรกิจสือ่ โซเชียลมีเดีย หรื ออีคอมเมิร์ซ ที่ประชาชนของชาติใช้ เกือบทังหมด ้ เป็ น การให้ บริ การมาจากต่างประเทศทังสิ ้ ้น ไม่ กี่ ส ัป ดาห์ ที่ ผ่ า นมาผู้ เ ขี ย นได้ มี โ อกาสสนทนากับ ที่ ป รึ ก ษาท่า นหนึ่ง ของ International Telecom Union (ITU)หน่ ว ยงานสากลระดั บ โลก ที่ ไ ด้ มอบรางวั ล ITU Global Sustainable Digital Development Award ให้ กั บ นายกรัฐมนตรี ของประเทศไทย ไม่กี่เดือนก่อน ทาให้ ได้ ข้อสรุปว่า ปั ญหามูลค่าทางเศรษฐกิจในยุคดิจิ ตอลเกิดการรั่วไหล ออกนอกประเทศในยุคดิจิตอล ไม่ใช่เป็ นปั ญหาที่เกิดเฉพาะกับประเทศไทยเท่านัน้ แต่เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ ้นในหลาย ประเทศทัว่ โลก ซึ่งเป็ นผลมาจากการเข้ ามาตักตวงผลประโยชน์ของธุรกิจข้ ามชาติ ความเป็ นอภิสทิ ธิของธุรกิจข้ ามชาติ ที่ มีเหนือกว่าธุรกิจท้ องถิ่นภายในประเทศ คือ ความสามารถในการเคลื่อนย้ ายรายได้ ต้ นทุน และกาไร ระหว่างประเทศ เพื่อเลือกเสียภาษีในประเทศที่อตั ราภาษีต่าสุด ตัวอย่างที่เกิดขึ ้นในออสเตรเลีย คือกรณีที่ แอ๊ ปเปิ ล้ ได้ สร้ างรายได้ จากการขายสินค้ าและบริ การในออสเตรเลีย เป็ นมูลค่ากว่า 1.5 แสนล้ านบาทในปี ที่ผ่านมา แต่กลับเสียภาษี ให้ กบั ออสเตรเลียเพียง 2,000 ล้ านบาท จากการสืบค้ น ความจริ งได้ พบว่าด้ วยความสามารถในการจัดโครงสร้ างธุรกิจของตัวเองที่มีอยูท่ วั่ โลก ทาให้ แอ๊ ปเปิ ล้ สามารถทาให้ กาไร ส่วนใหญ่ไปปรากฏอยูใ่ นบัญชีของแอ๊ ปเปิ ล้ ที่ประเทศไอร์ แลนด์ที่มีอตั ราภาษีนิติบุคคลเพียง 12.5% และเป็ นประเทศที่มี อัตราภาษีต่าสุดต่าที่สดุ ในโลก ไม่ใช่แค่ไ อร์ แลนด์ ที่เป็ นปลายทางของธุรกิจข้ ามชาติในการโยกกาไร ประเทศสิงค์โปร์ ที่มีภาษี นิติบุคคลอยู่ที่ 17% ก็เป็ นสวรรค์อีกแห่งหนึง่ ที่ธุรกิจข้ ามชาติในออสเตรเลีย นิยมใช้ เป็ นที่บนั ทึกกาไรและจ่ายภาษี ทังนี ้ ้ มีการประเมินว่าธุรกิจข้ ามชาติ 10 บริ ษัท ได้ โยกย้ ายรายได้ ที่คิดเป็ นมูลค่าเกือบ 8 แสนล้ านบาท ออกจาก ระบบเศรษฐกิจของออสเตรเลีย ไปยังสิงคโปร์ ในปี ที่ผ่านมา ทังที ้ ่เป็ นรายได้ จากการซื ้อขายสินค้ าและบริ การในประเทศ ออสเตรเลีย ในมูลค่าเกือบ 8 แสนล้ านบาทนี ้ มีการประเมินว่า กว่า 50,000 ล้ านบาท เป็ นรายได้ ของ Google จากการขาย สือ่ โฆษณาให้ กบั ประชาชนและธุรกิจในออสเตรเลีย แต่รายได้ สว่ นนี ้ ถูกบันทึกเป็ นรายได้ ของ Google ในสิงคโปร์ เช่นกัน
36
รูปภาพที่ 17 บริ บทที่เกี่ยวกับการสร้ างอธิปไตยดิจิตอลที่ประสบความสาเร็ จในประเทศอังกฤษ ที่มา: www.dailymail.co.uk อังกฤษ ก็มีปัญหาเช่นเดียวกับ ออสเตรเลีย เมื่อปี ที่ผ่านมาได้ มีการค้ นพบว่า Facebook จ่ายภาษีเพียง 2 แสน บาท Amazon จ่ายเพียง 500 ล้ านบาท Apple จ่ายเพียง 600 ล้ านบาท และ Google จ่ายเพียง 625 ล้ านบาท ในขณะที่ ทังสี ้ บ่ ริ ษัท ได้ สร้ างรายได้ รวมเกือบ 1 ล้ านล้ านบาท จากการขายสินค้ าและบริ การในประเทศอังกฤษ จึงเป็ นที่มาของ กฎหมายที่ถกู ขนานนามว่า Google Tax ที่อังกฤษกาลังยกร่างขึ ้นมาเพื่อการาบธุรกิจยักษ์ ใหญ่ ข้ ามชาติโดยเฉพาะเจาะจง เพื่อบังคับให้ ธุรกิจเหล่านี ้ ต้ อ งเสียภาษี ในประเทศอังกฤษ ในอัตรา 25% และป้องกันการ โยกย้ ายรายได้ และกาไรออกจากประเทศ โดยจะมีข้อยกเว้ นกับธุรกิจขนาดกลางและเล็ก นอกจาก Google Tax ของอังกฤษ ประเทศออสเตรเลีย ก็กาลังนาเสนอ Netflix Tax เพื่อ บังคับการชาระภาษี การขายทัว่ ไปในอัตรา 10% กับธุรกิจอีคอมเมิร์ซข้ ามชาติ ที่ขายสินค้ าดิจิตอล เข้ ามาในออสเตรเลีย เช่น การดาวน์โหลด ภาพยนตร์ เพลง หนังสือ เกมส์ และการให้ บริ การทางดิจิ ตอลอื่ นๆ ไม่เพียงเท่านี ้ กลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปและ นิวซีแลนด์ ญี่ ปุ่น เกาหลีใต้ แอฟริ กาใต้ และอี กหลายประเทศในโลก ก็ กาลังมี แนวทางที่จ ะนาเสนอภาษี ในรู ปแบบ เดียวกับ Google Tax และ Netflix Tax โดยเน้ นหลักความสาคัญว่า สินค้ าและบริ การนันได้ ้ ถูกบริ โภคในที่ใด แทนที่จะ มุ่งเน้ นว่าสินค้ าและบริ การนันได้ ้ ถกู ให้ บริ การมาจากที่ใด Google Tax และ Netflix Tax และกฎหมายของประเทศอื่นๆ ที่กาลังจะตามมา กาลังสร้ างแรงกดดันให้ กบั ธุรกิจ ยักษ์ ใหญ่ข้ามชาติในยุคดิจิตอล โดยไม่ได้ หวังผลเพียงแค่การปกป้องมูลค่าทางเศรษฐกิจ ที่รั่วไหลออกไปต่างประเทศ แต่ ยังเป็ นการลดความเหลื่อมล ้า ที่สร้ างโอกาสให้ ธุรกิจดิจิ ตอลภายในประเทศ สามารถแข่งขันได้ โดยลดความได้ เปรี ยบ ของธุรกิจข้ ามชาติ
37
หวนกลับมามองประเทศไทย เศรษฐกิจดิจิ ตอลของชาติ มีความเสียเปรี ยบยิ่งกว่าอังกฤษ ออสเตรเลีย หรื ออีก หลายประเทศ ที่เริ่ มออกมาตอบโต้ การเอาเปรี ยบของธุรกิจข้ ามชาติ แต่เมื่อไหร่ เราจึงจะมีมาตราการออกมาตอบโต้ หรื อ มียทุ ธศาสตร์ ทางเทคโนโลยีดิจิตอล ที่คานึงถึงบริ บทของการแข่งขันระหว่างประเทศ กูเกิลจ่ายภาษีย้อนหลังมูลค่า 130 ล้ านปอนด์ให้ กบั อังกฤษ กูเกิลได้ ตกลงยินยอมจ่ายภาษี ย้อนหลังเป็ นเงิน 130 ล้ านปอนด์ โดยมีผลย้ อ นหลังไปตังแต่ ้ ปี 2005 จากการ ตรวจสอบบัญชีอย่างยาวนานโดนหน่วยงานด้ านภาษีของรัฐบาลอังกฤษ ตัวเลขดังกล่าวเป็ นจานวนรวมภาษีย้อนหลังรวมดอกเบี ้ยตังแต่ ้ ปี 2005 โดยกูเกิลจะต้ องจ่ายภาษีจากรายได้ จาก การโฆษณาในอังกฤษ ในอดีตมักจะมี บริ ษัทข้ ามชาติขนาดใหญ่ หลีกเลี่ยงการจ่ายภาษี โดยย้ ายรายได้ ของบริ ษัทไป ลงบัญชี ในประเทศที่มี ภาษี ที่ต ากว่า เช่น แอปเปิ ล้ และ อะเมซอนก็ ถูก ตังข้ ้ อ สงสัยในการกระทาเช่ นเดียวกันนี ้เพื่ อ หลีกเลี่ยงภาษี โดยการกระทานี ้ทาให้ กูเกิ ลสามารถลดการจากภาษี ลงเหลือ เพียง 3.8 ล้ านปอนด์ จากรายได้ รวมใน อังกฤษที่ 20.5 พันล้ านปอนด์ กระทรวงการคลังของอังกฤษได้ ระบุวา่ เป็ นชัยชนะจากการรณรงค์ เพื่อให้ บริ ษัททังหลายจ่ ้ ายภาษีตามที่ควรจะเป็ นตาม กาไรที่ได้ ในอังกฤษ "the first important victory in the campaign ... to ensure companies pay their fair share of tax on profits made in the UK" อย่างไรก็ตาม ทางฝั่งที่ไม่เห็นด้ วย นายจอห์น แมคดอนเนล (John McDonnell) รัฐมนตรี เงาของ รัฐมนตรี วา่ การ กระทรวงการคลังของอังกฤษ กล่าวว่า ข้ อตกลงนี ้ดูเหมือนจะราบรื่ นไปด้ วยดี ไม่มีอะไรจะสาคัญไปกว่าจานวนเงินที่ จะต้ องจ่ายจริ ง ในกรณี ของกูเกิล การตรวจสอบไม่พบการโกงภาษี แต่อ ย่างใด และอังกฤษ ยังไม่สามารถใช้ กฎหมายภาษี สาหรับกูเกิล "Google Tax" ซึ่งหมายความว่า กูเกิ ้ลจะไม่ต้องจ่ายค่าปรับสาหรับกาไรที่เลี่ยงภาษี นอกจากนัน้ กูเกิลยัง สามารถใช้ นโยบายสองบัญชี "Double Irish" สาหรับการดาเนินธุรกิจในอังกฤษและไอร์ แลนด์ อย่างน้ อยก็จนกว่าจะมี การปิ ดช่องว่างทางกฏหมายนี ้ในอนาคต
38
รูปภาพที่ 18 ชัยชนะจากการรณรงค์ เพือ่ ให้ บริ ษัททังหลายจ่ ้ ายภาษีตามที่ควรจะเป็ นตามกาไรที่ได้ ในอังกฤษ ที่มา: www.dailymail.co.uk
39
บทที่ 8 ผลกระทบต่ อกลุ่มเป้ าหมาย ภัยคุกคามทางไซเบอร์ ที่มกั จะอยูภ่ ายใต้ เรดาร์ ของการกากับดูแลภายในประเทศไทย อันได้ แก่ 1. การลักลอบเข้ าถึงระบบข้ อมูลสารสนเทศหรื อระบบการสือ่ สาร เพื่อโจรกรรมหรื อเปลีย่ นแปลงข้ อมูล อันมีความสาคัญ ต่อความสงบเรี ยบร้ อยภายในประเทศ ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ หรื อของชาติ 2. การแผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ที่มีผลกระทบต่อความมัน่ คง และหรื อ 3. การทาลายระบบข้ อมูลสารสนเทศหรื อระบบการสือ่ สาร ยังได้ กล่าวถึงภัยคุกคามทางไซเบอร์ ที่อยู่นอกเหนือเรดาร์ ของการกากับดูแลในประเทศ กล่าวคือ การที่อุปกรณ์ทาง ดิจิตอล เช่น สมาร์ ทโฟน หุ่นยนต์ดูดฝุ่น หรื อโดรน ลักลอบส่งข้ อมูลอันมีความสาคัญ กลับไปยังผู้ผลิตอุปกรณ์ในประเทศ อื่น ที่เรี ยกกันว่า “Phone Home” หรื อที่แปลเป็ นไทยว่า “โทรกลับบ้ าน” อย่างไรก็ดี แม้ แต่ภยั 3 ประการแรก ที่การกากับดูแลของไทย ให้ ความสาคัญ ก็ยงั คงมีการเข้ าใจผิด ถึงแนวทางการ ปฏิบตั ิ ที่จะทาให้ ประเทศและสังคมไทย สามารถมีความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภัยในข้ อ 2.การ แผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ที่มีผลกระทบต่อความมัน่ คง
รูปภาพที่ 19 ผลกระทบต่อกลุม่ เป้าหมายที่เกี่ยวเนื่องกับการสร้ างอธิปไตยดิจิตอลของชาติ ที่มา: https://emmatomkinson.com/tag/social-impact-bonds-2/ สาหรับผู้ที่อยู่ในวงการดิจิตอลและมีประสบการณ์มาช้ านาน ย่อมต้ องทราบดีวา่ ปั ญหาที่สาคัญของความมัน่ คง ปลอดภั ย ทางไซเบอร์ ของไทย มี ต้ นเหตุ ม าจากการสู ญ เสี ย อธิ ป ไตยทางดิ จิ ตอล หรื อ ที่ เ รี ย กกั น ว่ า “Digital Sovereignty” เมื่อข้ อมูลข่าวสารส่วนใหญ่ ที่ประชาชนคนไทยบริ โภคในโลกดิจิ ตอล ได้ รับการเผยแพร่ มาจากดาต้ าเซ็น
40
เตอร์ ที่อยูต่ ่างประเทศ โดยอยูน่ อกเหนือเขตอานาจของศาลไทย ซึง่ ก็หมายความว่าผู้ให้ บริ การทางดิจิ ตอลที่คนไทยนิยม ใช้ เหล่านี ้ บางรายอาจไม่มีความจาเป็ นที่จะต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมายไทย ที่ผ่านมา จึงเป็ นการขอความร่วมมือ ระหว่างรัฐบาลไทย กับบริ ษัทชันน ้ าในโลกเทคโนโลยีเหล่านี ้ ซึง่ เป็ นบริ ษัท ข้ ามชาติ เพื่อขอให้ ยุติการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ที่ขดั ต่อกฎหมายภายประเทศ ซึ่งบริ ษัทเหล่านี ้ มีสิทธิ ที่จะปฏิเสธ โดย อ้ างว่ากฎหมายของประเทศเขาไม่เหมือนกับกฎหมายของเรา แต่ในบางครั ง้ บริ ษัทเหล่านี ้ ยินยอมที่ จ ะปฏิ บัติตาม แต่แน่นอน กระบวนการการขอความร่ วมมื อ ระหว่า ง ประเทศ มิได้ มีความรวดเร็ วและมีประสิทธิภาพ เท่ากับการกากับดูแลผู้ให้ บริ การที่อยูใ่ นประเทศไทย อย่างไรก็ตามนอกเหนือจากการขอความร่ วมมือแล้ ว ยังมีกลไกที่สามารถป้องกันเนื ้อหาที่มี ผลกระทบต่อความ มัน่ คง เพื่อมิให้ สามารถถูกเผยแพร่เข้ ามาในประเทศไทยได้ แต่กลไกนี ้มีข้อจากัดในเชิงของเทคโนโลยี กล่าวคือ การบล็อก เนื ้อหาในปั จจุบนั จาเป็ นต้ องบล็อกทังเว็ ้ บไซต์ โดยที่ไม่สามารถบล็อกเพียงหน้ าหนึ่งหน้ าใดอีกต่อไป เพราะในปั จจุบนั บริ ษัทชันน ้ าในโลกเทคโนโลยีล้วนใช้ HTTPS เพื่อเข้ ารหัสการเข้ าถึงเนื ้อหา ดังนัน้ มีเพียงแต่ผ้ ใู ห้ บริ การเช่น เฟซบุ๊ค หรื อ ยูทูป และผู้บริ โภคโดยตรงเท่านัน้ ที่จะรู้ว่าเนื ้อหาใดกาลังถูกรับชม โดยผู้บริ โภคแต่ละคนอยู่ สาหรับบุคคลภายนอก แม้ กระทัง่ ผู้ให้ บริ การอินเทอร์ เน็ต จะเห็นแต่เพียงว่า ผู้บริ โภคกาลังใช้ บริ การเฟซบุ๊ค หรื อ ยูทปู อยู่ แต่จะไม่ร้ ูวา่ กาลังรับชมเนื ้อหาอะไร ด้ วยข้ อจากัดทางเทคโนโลยีนี ้ หากต้ องการบล็อกบางเนื ้อหาบน เฟซบุ๊ค หรื อ ยูทูป เพือ่ ไม่ให้ ถกู เผยแพร่เข้ ามาใน ประเทศไทย จะทาได้ แต่เพียงการบล็อกทังเฟซบุ ้ ๊ คหรื อ ยูทปู และมิสามารถบล็อกบางเนื ้อหาโดยเฉพาะเจาะจงได้ ซึง่ จะมี ผลกระทบที่จะทาให้ คนไทยไม่สามารถเข้ าถึงเนื ้อหาอื่นๆ บนบริ การเหล่านี ้ได้ ปั ญหาของอธิปไตยทางดิจิตอล มิใด้ มีขึ ้นเฉพาะในประเทศไทย แม้ แต่ในนานาอารยะประเทศ ก็มีการต่อสู้ของ กลุม่ ประเทศในทวีปยุโรป เอเซีย หรื อ ออสเตรเลีย เพื่อเรี ยกคืนอธิ ปไตยทางดิจิตอลที่ได้ สญ ู เสียไป ให้ กับบริ ษัทชันน ้ าในโลก เทคโนโลยี ที่มกั จะเป็ นบริ ษัทข้ ามชาติมาจากสหรัฐ โดยการต่อสู้มีตงแต่ ั้ 1. การออกกฎหมายบังคับให้ บริ ษัทข้ ามชาติเหล่านี ้ ต้ องมามีตวั ตนอยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของกฎหมาย เช่น การ ออกข้ อบังคับมิให้ สง่ ข้ อมูลส่วนบุคคลของประชาชนของชาติ ออกไปนอกประเทศ เช่น กรณีของสหภาพยุโรป vs เฟซบุ๊ค 2. มาตรการทางภาษี ที่ลงโทษบริ ษัทข้ ามชาติเหล่านี ้ เพื่อกดดันให้ ต้องมามีตวั ตนอยูภ่ ายใต้ กฎหมาย และเสียภาษี อย่างถูกต้ อง เช่นกรณีของ Google Tax ในรูปแบบของอังกฤษ 3. มาตรการทางภาษี ที่ลงโทษบริ ษัทในชาติที่ลงโฆษณากับบริ ษัทบริ ษัทข้ ามชาติเหล่านี ้ เพื่อให้ บริ ษัทในชาติ เป็ นผู้ กดดันให้ บริ ษัทข้ ามชาติ ต้ องมามีตวั ตนอยูภ่ ายใต้ กฎหมาย เช่นกรณีของ Google Tax ในรูปแบบของอินเดีย
41
ปั ญหาของอธิ ปไตยทางดิจิ ตอล มี ตัวอย่างของประเทศต่างๆ ที่มีการต่อ สู้และได้ ผลได้ ระดับหนึ่งแล้ ว อาจถึงเวลาที่ ประเทศไทย จะเริ่ มมีผลักดันเพื่อให้ เกิดยุทธศาสตร์ ในด้ านนี ้ด้ วย
บทที่ 9 ผลกระทบต่ อภาพรวมประเทศ ประเทศไทยอยูใ่ นท่ามกลางสงครามทางเศรษฐกิจดิจิตลั ระหว่างสหรัฐฯและจีนที่ได้ ทาให้ แทบทุกประเทศในโลก ต้ องหันมาเผชิญหน้ ากับผลกระทบที่การค้ าและการลงทุนจะเกิดขึ ้นในอนาคตอย่างหลีกเลีย่ งมิได้ ปั จจุบนั สงครามการค้ าขึ ้นอยูก่ ับสงครามจิตวิทยาในขณะที่สงครามกับการนาเข้ าระหว่างจีนและสหรัฐอเมริ กา กาลังทวีความรุนแรงขึ ้นประธานโดนัลด์ทรัมพ์ทวีตถึงประธานาธิ บดีแห่งประเทศจีนจินปิ งซึง่ กล่าวขอบคุณปิ งปิ งในสุนทร พจน์ของเขา ลดภาษีนาเข้ ารถยนต์รวมถึงการคุ้มครองทรัพย์สนิ ทางปั ญญา และการถ่ายโอนเทคโนโลยี ซึง่ จะก้ าวหน้ าไป ด้ วยกันเป็ นอย่างดี ปั จจุบนั จีนเรี ยกเก็บภาษี 25% สาหรับรถยนต์นาเข้ าส่วนใหญ่ อัตราภาษี คือ 10 เปอร์ เซ็นต์ และ 15 เปอร์ เซ็นต์ สาหรับรถยนต์ที่มีราคากว่า 1.3 ล้ านหยวนหรื อ 200,000 เหรี ยญ จีนเข้ าสูส่ หรัฐอเมริ กาภาษีเพียง 2.5 เปอร์ เซ็นต์ มีข่าวของ Mark Zachery Facebook Fanboy เขาไปที่คณะกรรมการสอบสวน วุฒิสภาสหรัฐ อเมริ กายอมรั บ ข้ อ ผิ ด พลาด บริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาทางการเมื อ งของอั ง กฤษจะลบผู้ใ ช้ Facebook จ านวน 87 ล้ า นรายซึ่ง ยัง ไม่ ชัด เจน นอกจากนี ้ Facebook กาลังต่อสู้ การเป็ นผู้ประกอบการในรัสเซีย ประโยชน์ของ Facebook ก่อนหน้ านี ้คณะกรรมาธิการ พิเศษของสหรัฐอเมริ กาได้ ตรวจสอบการเรี ยกเก็บเงินแล้ ว รัสเซียแทรกแซงการเลือกตังประธานาธิ ้ บดีสหรั ฐและได้ เรี ยก เก็บเงิน 13 รัสเซียที่ยุ่งเกี่ยวกับการเลือกตังประธานาธิ ้ บดีสหรั ฐ มันเป็ นเหตุให้ เกิ ดความบาดหมางระหว่าง สหรั ฐกับ รัสเซีย และยังมีการเรี ยกร้ องจากแจ็คมะประธานอาลีบาบา ในศูนย์การค้ า Mark Zuckerberg แก้ ปัญหาเครื อข่ายสังคม ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ความมั่นคงและสังคม Facebook ไม่สามารถควบคุมได้ แนะนารู ปแบบของสงครามดิจิตอล หลังจากที่สญ ู ญากาศมหาเศรษฐศาสตร์ ทางเศรษฐกิจเมื่อเศรษฐกิจโตขึ ้นจีนสหรัฐอเมริ กาหรื อรัสเซียสถานที่ยทุ ธศาสตร์ ของประเทศก็มีความสาคัญ การเสริ มสร้ างความแข็งแกร่งทางการเมืองและอธิ ปไตยของประเทศจะเป็ นยุทธศาสตร์ หลัก กลับไปดูตวั อย่างในดินแดนของกษัตริ ย์นารายณ์ ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ร่ ารวยที่สดุ มีหลายศาสนาที่มาก่อน ในฐานะ คูค่ ้ าความมัง่ คัง่ ความสัมพันธ์ ทางธุรกิจ ประเทศไทยเป็ นโรงงานข้ าวอุดมสมบูรณ์ที่สดุ ในยุคนัน้ งานประชุมอินเทอร์ เน็ตจีน: ผู้นาจีนประกาศปกป้องอธิปไตยอินเทอร์ เน็ต, ในงานแจกโค้ ดปลดบล็อคเว็บ งาน World Internet Conference ที่ จี นเป็ น งานประชุ มอิ น เทอร์ เน็ต ที่ผ้ ูนาเข้ า ร่ ว มมากมาย รวมถึ ง สี จิ น้ ผิ ง ประธานาธิ บดีจีน ที่ประกาศอธิ ปไตยในการกากับดูแลอินเทอร์ เน็ตในแบบที่แต่ละประเทศเลือกเอง หลั งจากที่จี นถูก วิจารณ์วา่ จากัดสิทธิ์ผ้ ใู ช้ งานด้ วยการกาหนดโทษจากการโพสข้ อความและบล็อคการใช้ งานเว็บต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
42
ประกาศครั ง้ นีถ้ ูกเผยแพร่ ด้วยสื่อของรั ฐอย่างสานักข่าวซินหัวผ่านทังทางทวิ ้ ตเตอร์ และเฟซบุ๊ก โดยที่ทงสอง ั้ บริ การไม่สามารถใช้ งานได้ ในจีน ในงานประชุมครัง้ นี ้ผู้ร่วมงานชาวต่างชาติยงั ได้ รับโทรศัพท์ Mi Note LTE พร้ อมซิมพิเศษที่ทาให้ เข้ าถึงเว็บที่ปกติ ถูกบล็อคในจีนได้ ผู้ร่วมงานที่เป็ นสือ่ ต่างชาติยงั ได้ รับบัญชี Wi-Fi พิเศษที่เข้ าถึงทวิตเตอร์ , เฟซบุ๊ก, และกูเกิลได้ ที่มา - South China Morning Post 1, 2
รูปภาพที่ 20 นายสี จิ ้นผิง ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนในการประชุมอินเทอร์ เน็ตโลก ที่มา http://www.cim.chinesecio.com การประชุมอินเทอร์ เน็ตโลกครัง้ ที่ 2 Chinese-Thai No.3 2016 ลู่ อวิ๋นเขียน2016-11-23 การประชุมอินเทอร์ เน็ตโลก (World Internet Conference)ริ เริ่ มและจัดขึ ้นที่ประเทศจีน วัตถุประสงค์หลักของการ ประชุมคือการสร้ างเวทีนานาชาติที่เชื่อมโยงโครงข่ายอินเทอร์ เน็ตระหว่างจีนกับทัว่ โลก และสร้ างเวทีด้านอินเทอร์ เน็ตที่ ทัว่ โลกสามารถเข้ ามามีสว่ นร่วมสร้ างและร่วมแบ่งปั นกันได้ เพื่อผลักดันการพัฒนาอินเทอร์ เน็ตให้ ยงั่ ยืน
43
การประชุมอินเทอร์ เน็ตโลกครัง้ ที่ 1 จัดขึ ้นเมื่อวันที่ 19-21 พ.ย. ปี ค.ศ.2014 ที่ตาบลอูเจิ ้น เมืองถงเซียง มณฑลเจ้ อเจียง ประเด็นหลักของการประชุมในครัง้ แรกคือ “เชื่อมโยงเครื อข่าย ร่ วมสร้ างร่ วมแบ่งปั น ” ในขณะนันมี ้ สดุ ยอดนัก อินเทอร์ เน็ตมากกว่า 1,000 คนจากเกือบ 100 ประเทศและเขตปกครองทัว่ โลกเดินทางมาเข้ าร่วมการประชุม ตาบลอูเจิ ้น จึงถูกกาหนดให้ เป็ นสถานที่จดั งานถาวรของการประชุมอินเทอร์ เน็ตโลก การประชุมอินเทอร์ เน็ตโลกครั ง้ ที่ 2 จัดขึ ้นเมื่ อวันที่ 16-18 ธ.ค. ปี ค.ศ.2015 ที่ตาบลอูเจิ ้น การประชุมในครัง้ นี ้มี ขนาดใหญ่ กว่าเมื่อเทียบกับครั ง้ ที่แล้ ว มี นายสี จิ น้ ผิง ประธานาธิ บดีแห่งสาธารณรั ฐประชาชนจี นและแขกผู้มีเกียรติ มากกว่า 2,000 คนมาเข้ าร่ วมประชุมในครัง้ นี ้ โดยเป็ นแขกผู้มีเกียรติจากในประเทศจีนและต่างประเทศอย่างละครึ่ งหนึ่ง ในจานวนนี ้มีผ้ นู าชาวต่างชาติ 8 ท่าน และข้ าราชการชาวต่างชาติระดับรัฐมนตรี กว่า 50 ท่าน เช่น นายดมิทรี เมดเวเดฟ นายกรัฐมนตรี แห่งสหพันธรัฐรัสเซีย นายนาวาซ ชารี ฟ นายกรัฐมนตรี แห่งประเทศปากีสถาน และนายคาริ ม มาสสิมอฟ นายกรัฐมนตรี แห่งสาธารณรัฐคาซัคสถาน เป็ นต้ น แขกผู้มีเกียรติในงานครัง้ นี ้มาจาก 120 กว่าประเทศและเขตปกครอง ทัว่ โลก มีผ้ บู ริ หารจากองค์กรนานาชาติ 20 กว่าองค์กร นักธุรกิจชันน ้ า บุคคลและนักวิชาการที่มีชื่อเสียง 600 กว่าท่านใน ทุกสาขาของวงการอินเทอร์ เน็ตในการประชุมตลอด 3 วัน ผู้เข้ าร่วมประชุมได้ ร่วมอภิปรายและแลกเปลีย่ นความคิดเห็นที่ เกี่ยวกับประเด็นหลักของการประชุม อันได้ แก่ “เชื่อมโยงเครื อข่าย ร่ วมสร้ างร่ วมแบ่งปั น เพื่อสร้ างประชาคมเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต” ซึง่ ครอบคลุมเนื ้อหาที่เกี่ยวกับธรรมาภิบาลด้ านอินเทอร์ เน็ต ความปลอดภัยด้ านอินเทอร์ เน็ต อินเทอร์ เน็ต กับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การคุ้มครองทรัพย์สินทางปั ญญาด้ านอินเทอร์ เน็ต นวัตกรรมด้ านเทคโนโลยี และปรัชญา อินเทอร์ เน็ต ฯลฯ อันที่จริ งแล้ ว อินเทอร์ เน็ตเพิ่งเข้ าสูป่ ระเทศจีนได้ ไม่นานแต่นบั ตังแต่ ้ ที่อินเทอร์ เน็ตเข้ าสูป่ ระเทศจีน ก็พฒ ั นาก้ าวหน้ า อย่างรวดเร็ วและต่อเนื่อง จนกระทัง่ ถึ งปั จจุบนั อินเทอร์ เน็ตเข้ าไปเป็ นส่วนหนึ่งของชีวิตชาวจีนจานวนมาก จากรายงาน ผลสารวจครั ง้ ที่ 37 ของศูนย์ ข้อมูลอิ นเทอร์ เน็ตแห่งประเทศจี น (CNNIC) ที่เพิ่งเผยแพร่ เมื่ อ เดือ น ม.ค. ปี ค.ศ.2016 (ข้ อมูลสถิติจนถึงเดือน ธ.ค. ปี ค.ศ.2015) พบว่า ประเทศจีนมีชาวเน็ตจานวน 688 ล้ านคน มีอัตราการใช้ อินเทอร์ เน็ต 50.3% เมื่อเทียบกับปี ค.ศ.2014 แล้ วสูงขึ ้น 2.4% การเรี ยนการสอนออนไลน์ การรักษาพยาบาลออนไลน์ และการเรี ยก แท็กซี่ออนไลน์ซงึ่ ต้ องอาศัยอินเทอร์ เน็ตนัน้ ก็กาลังเปลีย่ นแปลงวิถีชีวิตของชาวจีนโดยไม่ร้ ูตวั ในขณะเดียวกัน ผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตผ่านมือถื อของจีนก็มีจานวนเพิ่มสูงขึ ้นอย่างมาก โดยขณะนี ้มี มากถึง 620 ล้ าน คน ปั จจุบนั ผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตผ่านมือถือถือเป็ นจานวนคนส่วนใหญ่ที่ใช้ อินเทอร์ เน็ตในประเทศจีน โดยมีสดั ส่วนมากถึง 90.1% จากชาวเน็ตทังหมด ้ เนื่องจากความต้ องการในการใช้ อินเทอร์ เน็ตเคลือ่ นที่ที่เพิ่มสูงขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ การ พัฒนาแอปพลิเคชั่นส่วนตัว เช่น ธุรกิจออนไลน์ การเงินออนไลน์ ความบันเทิงออนไลน์ และบริ การสาธารณะต่างๆ มี ความหลากหลายมากยิ่งขึ ้น ในจานวนนี ้ การชาระเงินออนไลน์ผ่านมือถือมีอัตราการเติบโตที่รวดเร็ วมาก ข้ อมูลจนถึง เดือน ธ.ค. ปี ค.ศ.2015 ประเทศจีนมีผ้ ทู ี่ชาระเงินออนไลน์ผา่ นมือถือสูงถึง 358 ล้ านคน คิดเป็ น 57.7% ของชาวเน็ต เพิ่ม สูงขึ ้นจากเมื่อปลายปี ค.ศ.2014 ซึง่ มีอตั ราส่วนเพียงแค่ 39% และอัตราการใช้ มือถือซื ้อสินค้ าออนไลน์ก็เพิ่มจาก 42.4% เป็ น 54.8%
44
อิ น เทอร์ เ น็ต เคลื่อนที่ไ ด้ สร้ างวิ ถีชี วิต แบบใหม่ ให้ กับ สังคม ในปี ค.ศ.2015 ประเทศจี น มี ก ารซื อ้ ขายสินค้ าทาง อินเทอร์ เน็ตสูงถึง 18 ล้ านล้ านหยวน ทาให้ ประเทศจีนกลายเป็ นตลาดการค้ าปลีกทางอินเทอร์ เน็ตที่ใหญ่ที่สดุ ของโลก อินเทอร์ เน็ตนับวันยิ่งกลายเป็ นพลังสาคัญในการส่งเสริ มนวัตกรรมทางเศรษฐกิจของจีน ซึง่ เปลีย่ นแปลงวิถีชีวิตของ ผู้คนอย่างสิ ้นเชิง และช่วยส่งเสริ มการพัฒนาสังคมอย่างมาก การเติบโตขึ ้นอย่างรวดเร็ วของอินเทอร์ เน็ตในประเทศจีน เป็ น เพี ย งแค่ ตัว อย่า งหนึ่ง ของพัฒ นาการด้ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต ของโลกความจริ ง แล้ ว อิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ น ผลส าคัญ ของ ความก้ าวหน้ าของอารยธรรมมนุษย์ และกลายเป็ นพลังสาคัญในการส่งเสริ มการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และยกระดับ คุณภาพชี วิตของมนุษย์ กล่าวได้ ว่า โลกของเรามีสีสนั มากขึ ้นเพราะอิ นเทอร์ เน็ต ชี วิตของเราก็มีความหลากหลายได้ เพราะอินเทอร์ เน็ตเช่นกัน อินเทอร์ เน็ตเปลี่ยนโลกใบนี ้ให้ กลายเป็ น “หมู่บ้านโลก” ทาให้ สงั คมโลกกลายเป็ นประชาคมที่มี เป้าหมายเดียวกันและพึง่ พาอาศัยกัน แต่วา่ การพัฒนาอินเทอร์ เน็ตในประเทศจีนหรื อในประเทศต่างๆ ทัว่ โลกนันยั ้ งคงประสบปั ญหามากมาย เช่น ปั ญหา การพัฒนาอินเทอร์ เน็ตของประเทศต่างๆ ทัว่ โลกที่ยงั ขาดความสมดุล กฎข้ อบังคับยังไม่สมบู รณ์ และกฎระเบียบต่างๆ ที่ ยังไม่เหมาะสม ซึ่งนับวันจะยิ่งทวีความรุ นแรงมากขึ ้น การพัฒนาอย่างรวดเร็ วของอิ นเทอร์ เน็ตได้ สร้ างความท้ าทาย รูปแบบใหม่ให้ กบั อธิปไตย ความปลอดภัย และการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของประเทศชาติ หลักการของระบบธรรมาภิบาล ด้ านอินเทอร์ เน็ตที่มีอยู่ในปั จจุบนั นี ้ยากที่จะสะท้ อนความปรารถนาและผลประโยชน์ของประเทศส่วนใหญ่ได้ ปั ญหาการ คุ้มครองความเป็ นส่วนตัว การป้องกันอาชญากรรมทางอินเทอร์ เน็ต การเกิดขึ ้นของลัทธิ การก่อการร้ ายทางอินเทอร์ เน็ต และการโจมตีทางอินเทอร์ เน็ต ฯลฯ ถือเป็ นปั ญหาที่ต้องเร่งแก้ ไขทังสิ ้ ้น การรับมือกับปั ญหาและความท้ าทายเหล่านี ้ด้ วยวิธีที่เหมาะสมนันถื ้ อเป็ นภาระหน้ าที่ร่วมกันของประชาคมโลก ใน พิธีเปิ ดการประชุมอินเทอร์ เน็ตโลกครัง้ ที่ 2 นายสี จิ ้นผิง ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ เสนอว่า “สังคม โลกควรเพิ่มการสื่อสารและร่ วมมือกันให้ มากขึ ้น ส่งเสริ มการปฏิรูประบบธรรมาภิบาลด้ านอินเทอร์ เน็ตของโลก ร่วมกัน สร้ างเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตที่สนั ติ ปลอดภัย เปิ ดกว้ างและร่ วมมือกัน และสร้ างระบบธรรมาภิบาลด้ านอินเทอร์ เน็ตของ โลกที่มี ความหลากหลาย เป็ นประชาธิ ปไตย และโปร่ งใส ภายใต้ พื ้นฐานของการให้ เกี ย รติและไว้ วางใจ ซึ่ง กันและ กัน” นอกจากนี ้ นายสี จิน้ ผิงยังเน้ นย ้าว่า การผลักดันการปฏิรูประบบธรรมาภิบาลด้ านอินเทอร์ เน็ตของโลกจะต้ องยึด หลักการ 4 ข้ อต่อไปนี ้ หลั ก การที่ 1 เคารพในอธิ ป ไตยอิ น เทอร์ เน็ ต หลัก แห่ง ความเสมอภาคในอธิ ป ไตยที่ ร ะบุ ใ น “กฎบัต ร สหประชาชาติ” นันถื ้ อเป็ นหลักการพื ้นฐานของความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศในปั จจุบนั โดยจิตวิญญาณและหลักการ ใน “กฎบัตร” ก็ควรจะเหมาะแก่การนามาใช้ กบั เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต หลั ก การที่ 2 รั ก ษาสั น ติ ภ าพและความปลอดภั ย การรั ก ษาสัน ติ ภ าพและความปลอดภัย ในเครื อ ข่า ย อินเตอร์ เน็ตถือเป็ นภาระความรับผิดชอบร่วมกันของประชาคมโลก
45
หลักการที่ 3 ส่ งเสริ มความร่ วมมือที่เปิ ดกว้ าง นานาประเทศควรจะผลักดันความร่ วมมือด้ านอินเทอร์ เน็ตที่เปิ ด กว้ าง การพัฒนาร่ วมกัน เพื่อให้ ประชาชนของทุกประเทศได้ ก้าวสู่ยุคข้ อ มูลข่าวสารที่พฒ ั นาอย่างรวดเร็ ว และได้ รับ ประโยชน์จากการพัฒนาอินเทอร์ เน็ตร่วมกัน หลักการที่ 4 ร่ วมกันสร้ างกฎระเบียบที่ดี เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตก็เปรี ยบเสมือนสังคมหนึ่งๆ ต้ องส่งเสริ มอิสรเสรี แต่ก็ต้องคงไว้ ซงึ่ กฎระเบียบ แม้ ว่าเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตจะเป็ นเพียงสิง่ ที่ถูกสมมุติขึ ้น แต่ก็ต้องถูกควบคุมโดยกฎหมาย และข้ อบังคับเช่นกัน นอกจากนี ้ ประธานาธิบดีสี จิน้ ผิงยังได้ กล่าวถึงแนวคิดการสร้ าง “ประชาคมเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต” เป็ นครัง้ แรกในที่ ประชุมอีกด้ วย กล่าวคือ “เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตดังกล่าวเป็ นพื ้นที่ที่มนุษย์ทวั่ โลกสามารถมาใช้ ร่วมกันได้ และอนาคต ของเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตก็ควรจะอยูใ่ นความควบคุมของประเทศต่างๆ ทัว่ โลก ทุกประเทศควรจะสื่อสารกันให้ มากขึ ้น สร้ างความเข้ าใจที่ตรงกัน และร่วมมือกันอย่างลึกซึ ้ง เพื่อสร้ างประชาคมเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตของโลก” ในการประชุมอินเทอร์ เน็ตโลกครัง้ ที่ 2 หลังจากผู้เข้ าร่ วมประชุมได้ ร่วมกันอภิปรายประเด็นต่างๆ บนพื น้ ฐานของ หลักการและแนวคิดข้ างต้ นครัง้ แล้ วครัง้ เล่า จึงได้ ประกาศ “ข้ อเสนออูเจิ ้น” อย่างเป็ นทางการในวันที่ 18 ธ.ค. ปี ค.ศ. 2015 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ 1. เร่ งพัฒนาอินเทอร์ เน็ตให้ ท่ วั ถึง เร่งพัฒนาอุปกรณ์พื ้นฐานด้ านอินเทอร์ เน็ต ส่งเสริ มการแลกเปลีย่ นเทคโนโลยี และนวัตกรรมด้ านการใช้ อินเทอร์ เน็ต ส่งเสริ มการวิจัยและพัฒนาการประมวลผลแบบกลุม่ เมฆ (เป็ นรู ปแบบการใช้ ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ ร่วมกันกับผู้อื่นผ่านเครื อข่ายมากน้ อยตามความต้ องการของผู้ใช้ ) การบริ หารจัดการข้ อมูลขนาด ใหญ่ และเทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ตที่เชื่อมต่ออุปกรณ์ และเครื่ องมือต่างๆ เพื่อรับประกันว่าเทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ตจะเป็ นที่ แพร่หลายมากขึ ้นในประเทศต่างๆ โดยเฉพาะประเทศกาลังพัฒนาหรื อพื ้นที่หา่ งไกลความเจริ ญ 2. ส่ งเสริ มการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมอินเทอร์ เน็ต ส่งเสริ มให้ มีการรักษา สืบทอด และเผยแพร่วฒ ั นธรรมอัน ทรงคุณค่าของมนุษย์ในรูปแบบดิจิตอล ส่งเสริ มการแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ส่งเสริ มการพัฒนาและ ความหลากหลายของวัฒนธรรมมนุษย์ และสร้ างเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตให้ เป็ นศูนย์รวมที่พงึ่ ทางจิตใจของมนุษย์ 3. แบ่ ง ปั น ผลประโยชน์ จากการพั ฒ นาอิ น เทอร์ เน็ ต เร่ ง พัฒนาเศรษฐกิ จ ดิ จิ ต อล ส่ง เสริ ม การเชื่ อ มโยง อินเทอร์ เน็ตกับธุรกิจต่างๆ เพื่อให้ กลายเป็ นตลาดอินเทอร์ เน็ตที่เชื่อมโยงโลกทังใบเข้ ้ าด้ วยกันในเร็ ววัน และสร้ างโอกาส การทางานในประเทศต่างๆ ทัว่ โลกให้ มากขึ ้น เพื่อส่งเสริ มการพัฒนาเศรษฐกิจโลกอย่างมัน่ คงและต่อเนื่อง 4. รักษาสันติภาพและความปลอดภัยในอินเทอร์ เน็ต เคารพอธิปไตยอินเทอร์ เน็ตของประเทศ ปกป้องเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ตและอุปกรณ์พื ้นฐานที่มีข้อมูลสาคัญไม่ให้ ถกู คุกคาม แทรกแซง โจมตี หรื อทาลาย คุ้มครองความเป็ นส่วนตัว และทรัพย์สนิ ทางปั ญญา และร่วมกันต่อต้ านการกระทาผิดและการก่อการร้ ายทางอินเทอร์ เน็ต
46
5. ผลั กดันธรรมาภิบาลสากลด้ านอินเทอร์ เน็ต ประชาคมโลกควรจะร่ วมกันผลักดันการบัญญัติกฎข้ อบังคับ ทางด้ านอินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศ ร่ วมกันสร้ างเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตที่สนั ติ ปลอดภัย เปิ ดกว้ าง และร่ วมมือกันสร้ าง ระบบธรรมาภิบาลด้ านอินเทอร์ เน็ตของโลกที่มีความหลากหลาย เป็ นประชาธิ ปไตย มีความโปร่ งใส และร่ วมกันสร้ าง ประชาคมเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต การประชุ มอิ น เทอร์ เ น็ต โลกครั ง้ ที่ 2 ช่ วยให้ เราตระหนักได้ ว่า แม้ อิ น เทอร์ เ น็ต จะไม่ มี ตัว ตน แต่ป ระชากรผู้ใ ช้ อินเทอร์ เน็ตนันมี ้ ตวั ตน อิ นเทอร์ เน็ตเปรี ยบเสมือนบ้ านที่มนุษย์ ทุกคนอาศัยอยู่รวมกัน ดังนัน้ การจะทาให้ บ้านหลังนี ้ สวยงามขึน้ สะอาดขึน้ และปลอดภัยขึ ้นเป็ นหน้ าที่ร่วมกันของประชาคมโลก การเสนอแนวคิด “ประชาคมเครื อ ข่าย อินเทอร์ เน็ต” และ “ข้ อเสนออูเจิน้ ” ถื อเป็ นการสร้ าง “แบบแผนประเทศจีน ” ให้ กับการปฏิรูประบบธรรมาภิบาลด้ าน อินเทอร์ เน็ตของโลก
รูปภาพที่ 21 ความคิดเห็นของชนชันน ้ าในประเทศเยอรมันเกี่ยวกับของอธิปไตยดิจิตอลในประเทศ ที่มา: http://lancomwire.com/end-crypto-wars-now/ แม้ ในประเทศที่เป็ นผู้นาในกลุม่ ประเทศยุโรปอย่างประเทศเยอรมันเอง ความคิดเห็นของชนชันน ้ าในประเทศก็ยงั แสดงถึงความตระหนักในความสาคัญของอธิ ปไตยดิจิตอลในประเทศของตนเป็ นอย่างมากเช่นกัน ซึ่งแสดงให้ เห็นถึง ความกังวลในด้ านต่างๆ เช่น การพึง่ พาตนเองได้ ในเชิงโครงสร้ าง, ความพร้ อมของรัฐในการบริ หารจัดการ, มาตรการตอบ โต้ ตา่ งๆ รวมไปถึงขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชนในประเทศอีกด้ วย Digital Transformation : โอกาส ความท้ าทาย ความพร้ อม และการปรับตัวของไทย
47
กระนัน้ ความพร้ อมและความสามารถในการปรับตัวย่อมไม่ใช่การเติมเลข ‘4.0’ หลังคาว่า ‘ไทยแลนด์’ แล้ วประกาศว่า จะสร้ างเศรษฐกิจดิจิตอล ในขณะที่วิธีคิด นโยบาย และกลไกรัฐยังเป็ นอนาล็อกอยูเ่ หมือนเคย การทาความเข้ าใจสถานการณ์ ดิจิ ตอลในประเทศไทยอย่างรอบด้ าน กาหนดนโยบายบนฐานความรู้ และเลือก ด าเนิ น นโยบายอย่า งชาญฉลาดน่า จะเป็ น ค าตอบที่ ‘เหมาะสม’ มากกว่ า หากต้ อ งการเตรี ย มความพร้ อมและ ความสามารถในการปรับตัว ในสถานการณ์หวั เลี ้ยวหัวต่อเช่นนี ้ กล่าวให้ ถึงที่สดุ การเปลีย่ นเทคโนโลยีดิจิตอลให้ เป็ น ‘โอกาส’ ของประเทศจาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องตอบคาถาม ให้ ได้ วา่ เทคโนโลยีดิจิตอลส่งผลอย่างไรต่อเศรษฐกิจและสังคมไทย ใครคือผู้ได้ ประโยชน์ ใครคือผู้มีโอกาสถูกทิ ้ง และถึง ที่สุดแล้ ว รั ฐ ควรมี บทบาทอย่างไรเพื่ อสนับสนุน ให้ การเปลี่ยนผ่านไปสู่ดิจิ ต อลเกิ ดประโยชน์ แ ก่ผ้ ูคนอย่า งถ้ วนหน้ า 12 ภาคการผลิตกาลังถูก ‘เขย่า’ ดร.สมเกี ย รติ ตัง้ กิ จ วานิ ช ย์ ประธานสถาบัน วิ จัย เพื่ อ การพัฒ นาประเทศไทย (ที ดี อ าร์ ไ อ) เสนอว่า มี 12 อุตสาหกรรมที่คาดว่า จะถูก ‘เขย่า ’ (disrupted) จากการปฏิวัติ ดิจิ ต อลอย่างรุ นแรง ได้ แก่ อุตสาหกรรมเทคโนโลยี อุตสาหกรรมสื่อและบันเทิ ง อุตสาหกรรมค้ าปลีก อุตสาหกรรมการเงิน อุ ตสาหกรรมโทรคมนาคม ภาคการศึกษา อุ ต สาหกรรมการท่อ งเที่ ย ว อุ ต สาหกรรมการผลิต อุ ต สาหกรรมสุข ภาพ อุ ต สาหกรรมน า้ มัน และก๊ า ซธรรมชาติ อุตสาหกรรมการขนส่ง และการให้ บริ การของภาครัฐ อย่างไรก็ตาม การถูกเขย่าในแต่ละอุตสาหกรรมจะมีลกั ษณะไม่เหมือนกัน เช่น อุตสาหกรรมสือ่ และบันเทิงถูก เขย่าค่อนข้ างมากและผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิ ตอลเริ่ มปรากฏให้ เห็นชัดเจนแล้ ว ในขณะที่อุตสาหกรรมการผลิตยัง ได้ รับผลกระทบไม่มากนัก แต่ก็มีการคาดการณ์ว่า อุตสาหกกรรมนี ้จะได้ รับผลกระทบอย่างรุนแรงภายใน 5 ปี และจะ ส่งผลต่อเศรษฐกิจไทยอย่างมาก เพราะที่ผา่ นมาโมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจไทยพึง่ พิงอุตสาหกรรมการผลิตสูง เมื่อ วิเคราะห์ ลงไปในระดับอุตสาหกรรมพบว่า ผลกระทบที่เกิดขึ ้นกับผู้เล่นในอุตสาหกรรมก็ มีความแตกต่าง หลากหลาย เช่น ในอุตสาหกรรมสื่อและบันเทิง แม้ ในภาพรวมจะได้ รับผลกระทบค่อนอย่างรุนแรง แต่วา่ สื่อโทรทัศน์เป็ น สือ่ ที่ได้ รับผลกระทบมากที่สดุ ในขณะที่การผลิตสือ่ โฆษณานอกบ้ าน (out of home) อย่างป้ายโฆษณายังมีกาไรเติบโต “ในปี 2556 บริ ษัทสือ่ ทีจ่ ดทะเบี ยนในตลาดหลักทรัพย์มีกาไรสุทธิ ประมาณปี ละ 10,000 ล้านบาท แต่ในปี 2559 กลับกลายเป็ นขาดทุนราว 2,000 ล้านบาท … แม้ธุรกิ จโฆษณานอกบ้านจะกาไรเป็ นเรื ่องเป็ นราว แต่เม็ดเงิ นที ่ป้อนเข้า มาไม่เพียงพอกับเม็ดเงิ นทีห่ ายไปกับเฟซบุ๊ก กูเกิ ล หรื อยูทูป” สมเกียรติเล่าถึงสถานการณ์ ในอุตสาหกรรมสือ่ ที่เกิดการ เปลีย่ นแปลงอย่างรุนแรง “บทเรี ยนจากอุตสาหกรรมสือ่ สะท้อนว่า คนยังบริ โภคสือ่ อยู่ แต่เม็ ดเงิ นจะหายไป ในอนาคตบริ การต่างๆ ก็ จะ เกิ ดปรากฏการณ์ ในลักษณะคล้ายกัน เช่น ในกรณี ฟินเทคที ่คนอาจจะหันไปใช้บริ การทางการเงิ นของอาลี เพย์ วี แชท
48
หรื อบริ การของบริ ษัทตะวันตก จะเห็นว่า ผูบ้ ริ โภคยังคงต้องทาธุรกรรมทางการเงิ นอยู่ แต่เม็ ดเงิ นไม่ได้ตกอยู่กบั บริ ษัท ไทยอี กต่อไป” นอกจากนี ้ สมเกี ยรติยังเห็นว่า มี บางอุตสาหกรรมที่ถูกเขย่าน้ อ ยเกิ นไป โดยเฉพาะภาคการศึกษาและการ ให้ บริ การของภาครัฐ ซึ่งเป็ นจุดอ่อนของประเทศไทย ทังนี ้ ้ การปฏิรูปการศึกษาและการบริ การของภาครัฐจะเป็ นฐาน สาคัญที่ช่วยให้ อุตสาหกรรมอื่นๆ สามารถปรับตัวได้ ดีขึ ้นด้ วย ไม่เพียงแต่ภาคธุรกิจเท่านันที ้ ่ถูกเขย่า ความท้ าทายสาคัญอี กประการหนึ่งของการเปลี่ยนผ่านไปสูด่ ิจิ ตอลคือ งานกาลังหดหายไป เมื่อหุ่นยนต์และปั ญญาประดิษฐ์ จะเข้ ามาทดแทนงานของมนุษย์อย่างที่ไม่เคยเป็ นมาก่อน มีการ คาดการณ์วา่ ในระยะยาว 70 % ของงานที่มีทงหมดในปั ั้ จจุบนั จะถูกทดแทนโดยเทคโนโลยี แม้ ทุกประเทศจะต้ องเจอกับปั ญหาการถูกเทคโนโลยีแย่งงาน แต่ความสามารถในการปรับตัวในแต่ละประเทศ ไม่เท่ากัน งานวิจยั จากธนาคารโลกชี ้ว่า ไทยเป็ นหนึง่ ในประเทศที่ปรับตัวได้ ยาก เพราะมีปัญหาในเรื่ องคุณภาพการศึกษา อานาจของข้ อมูลในการยกระดับการผลิต ในยุคของเศรษฐกิจฐานความรู้ ข้ อมูลจะมีบทบาทในการเพิ่มผลิตภาพอย่างมาก ซึ่งนี่คือโอกาสสาคัญของทุก ประเทศ รวมถึงไทยด้ วย เช่น ในภาคเกษตร การใช้ ข้อ มูลร่ วมกับที่ดินที่มีอ ยู่สามารถนาไปสู่การทา ‘เกษตรแม่นยา’ (precision agriculture) ในภาคการผลิต การนาข้ อ มูลไปใช้ เ พื่อ ออกแบบการผลิตที่ เฉพาะเจาะจงแบบจ านวนมาก (mass customization) จะช่วยยกระดับการผลิตได้ หรื อแม้ แต่ในภาคการเงิน การนาข้ อมูลไปใช้ จดั การเงินทุนก็ทาให้ ทุน มีผลิตภาพเพิ่มขึ ้นได้ เป็ นต้ น ดร.สมเกียรติ ตังกิ ้ จวานิชย์ ชีว้ ่า การนาเทคโนโลยีและการนาข้ อมูลมาใช้ สร้ างธุรกิจใหม่เกิดขึ ้นค่อนข้ างมากใน ต่างประเทศ แต่ในประเทศไทยคงทาได้ แค่บางส่วน อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์ ที่จะทาให้ ประเทศไทยประสบความสาเร็ จอย่าง รวดเร็ ว (quick win strategy) คือการนาเทคโนโลยีไปช่วยให้ เกิดการลดความสูญเปล่าในการผลิต หรื อที่เรี ยกว่า ‘การ ผลิตแบบลีน’ (lean manufacturing) รวมถึงการใช้ ข้อมูลเพื่อบริ หารจัดการคลังสินค้ าให้ มีประสิทธิภาพมากขึ ้น “ในการส่งเสริ มเศรษฐกิ จดิ จิ ตอล ภาครัฐจะมี บทบาทอย่างมากในการสร้างความตืน่ ตัวให้กบั ธุรกิ จขนาดกลาง และขนาดย่อม นอกจากนี ้ ภาครัฐควรเปิ ดเผยข้อมูลให้เอกชนนาไปใช้ดว้ ย เพราะเอกชนสามารถใช้ขอ้ มูลเพือ่ สร้างธุรกิ จ ใหม่ได้” สมเกียรติกล่าวถึงนโยบายรูปธรรมที่จะช่วยให้ เศรษฐกิจไทยเปลีย่ นผ่านไปสูด่ ิจิตอลได้ สาเร็ จ โจทย์ด้านความสมดุล 3 โจทย์
49
เพื่อให้ เศรษฐกิจไทยอยูร่ อดได้ ในโลกดิจิตอล ซึง่ ต้ องแข่งขันด้ วยความเร็ วและความยืดหยุ่น ดร.สมเกียรติ ตังกิ ้ จ วานิชย์ ชี ้ว่า มีโจทย์ด้านความสมดุลอย่างน้ อย 3 เรื่ องที่เราต้ องขบคิดร่วมกัน สมดุล ที่หนึ่ ง สมดุลระหว่างการเปิ ดเสรี และความเป็ น ธรรม เช่ น ในกรณี ข องบริ การแอร์ บี เอ็ น บี ด้ า นหนึ่ง ผู้บริ โภคได้ ประโยชน์ แต่ในอีกด้ านหนึ่งก็มีคาถามว่าผู้ให้ บริ การโรงแรมเผชิญกับการแข่งขันที่เป็ นธรรมหรื อ ไม่ เพราะ ผู้ประกอบการโรงแรมต้ องจดทะเบียน ต้ องขอใบอนุญาต เสียค่าธรรมเนียมต่างๆ แต่ในขณะที่ผ้ ใู ห้ บริ การแอร์ บีเอ็นบีไม่ ต้ องบริ หารจัดการสิง่ เหล่านี ้เลย ดังนัน้ ต้ นทุนของทังสองฝั ้ ่งย่อมแตกต่างกัน สมดุลที่สอง ความปลอดภัยและนวัตกรรม ถ้ ารัฐห่วงเรื่ องความปลอดภัยและเน้ นการจากัดควบคุม นวัตกรรม ใหม่ยอ่ มเกิดได้ ยาก เช่น ถ้ ารัฐควบคุมการใช้ โดรน เพราะเกรงว่าคนจะนาโดรนไปใช้ เป็ นอาวุธ ธุรกิจที่ต้องการทดลองใช้ โดรนส่งของย่อมหายไป สมดุลที่สาม ความเป็ นส่วนตัวและการใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยี ตัวอย่างรู ปธรรมในกรณีนี ้ คือ การให้ บริ การ ของกูเกิลที่อานวยความสะดวกให้ กบั ผู้บริ โภคเป็ นอย่างยิ่ง ซึง่ เกิดขึ ้นได้ เพราะกูเกิลรู้จักผู้บริ โภคเป็ นอย่างดีจากการเก็บ ข้ อมูลเป็ นจานวนมาก แต่ก็มีความเสีย่ งว่าข้ อมูลส่วนตัวอาจถูกเก็บ นาไปใช้ ด้วย “นีค่ ื อโจทย์ เรื ่องความสมดุลที ่เราต้องขบคิ ดกันให้แตก ซึ่ งเราไม่ควรมองประเด็นเหล่านีอ้ ย่างตายตัว หรื อมี แค่ สูตรเดี ยว แต่ควรเปิ ดให้มีการทดลองเพือ่ หาแนวทางใหม่ โดยหนึ่งในวิ ธีที่สามารถรักษาสมดุลได้ คือ การ ‘สร้างสนาม ทราย’ (Regulatory Sandbox) เช่น การทดลองให้มีการใช้รถไร้คนขับในบางพืน้ ทีข่ องสหรัฐอเมริ กา หรื อการกาหนดเขต ใช้โดรนได้อ ย่างเสรี ในจัง หวัดชิ บะ ประเทศญี ่ปนุ่ วิ ธี การนี ้จ ะช่ วยให้เ กิ ดการทดลองสิ่ งใหม่ ๆ แต่ เมื ่อ เกิ ด อันตรายก็ สามารถจัดการควบคุมได้ในระดับหนึ่ง” สมเกียรติอธิบายถึงแนวนโยบายที่ควรจะเป็ น สมเกียรติทิง้ ท้ ายว่า การปฏิรูปภาครัฐ เป็ นหัวใจสาคัญที่จะช่วยให้ ภาคธุรกิจ สามารถปรับตัวจากการถูกเขย่า จากเทคโนโลยีได้ นอกจากนี ้ ยังต้ องมี การปรับปรุ งกฎระเบียบ (regulatory guillotine) ที่เป็ นอุปสรรคขัดขวางการใช้ เทคโนโลยีใหม่ของเอกชน ในส่วนของความท้ าทายด้ านแรงงาน การปฏิรูปการศึกษาขันพื ้ ้นฐานให้ มีคุณภาพ และการพัฒนาทักษะอย่าง ต่อเนื่อง คือเงื่อนไขที่จาเป็ นในการทาให้ แรงงานไทยสามารถปรับตัวเข้ ากับตลาดในอนาคตได้ ความเหลือ่ มล ้าทางอินเทอร์ เน็ต: ปั ญหาที่รออยู่ ดร.สุพจน์ เธียรวุฒิ ผู้อานวยการโครงการความร่วมมือระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ กบั ภาคอุตสาหกรรม และที่ ปรึ กษาอธิ การบดี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ชีใ้ ห้ เห็นว่า การเปลี่ยนผ่านไปสูด่ ิจิ ตอลจะเกิดขึ ้นได้ ก็ต่อเมื่อผู้คนส่วนใหญ่ สามารถเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ต ดังนัน้ เมื่อมองจากมุมโครงสร้ างพื ้นฐาน ความเหลือ่ มล ้าทางอินเทอร์ เน็ตจึงเป็ นปั ญหาสาคัญ
50
ที่ผา่ นมา แม้ การเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตของคนไทยจะมากขึ ้น แต่สว่ นใหญ่มาจากอินเทอร์ เน็ตทางโทรศัพท์เคลือ่ นที่เป็ นหลัก ทว่าอินเทอร์ เน็ตบ้ านที่มีเสถียรภาพและความเร็ วที่ดีกว่ากลับเติบโตไม่มากนัก เมื่อพิจารณาความครอบคลุมของสัญญาณมื อถือพบว่า ในเชิงพื ้นที่ สัญญาณโทรศัพท์ ของผู้ให้ บริ การ 3 ราย ใหญ่ ครอบคลุม พืน้ ที่ 97.59% 75.55% และ 65.57% ของพื น้ ที่ทัง้ ประเทศ ส่ว นในเชิ งประชากรครอบคลุม 98.72% 86.02% และ 81.48% ข้ อ สัง เกตส าคัญ คื อ ความครอบคลุม ของผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารอัน ดับ หนึ่ ง และอัน ดับ สองยัง ต่า งกั น ค่อนข้ างมาก นัน่ หมายความว่า ในบางพื ้นที่ผ้ บู ริ โภคสามารถเข้ าถึงผู้บริ การได้ เพียงเจ้ าเดียว ซึง่ ทาให้ การแข่งขันไม่สงู มากนัก ในมิติด้านราคาพบว่า เมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศอื่นๆ ที่ก้าวหน้ ากว่าไทย เช่น สิงคโปร์ และมาเลเซีย ค่าบริ ก าร โทรศัพท์ (ค่าโทรศัพท์และข้ อความ) ค่าบริ การอินเทอร์ เน็ตบ้ าน และค่าบริ การอินเทอร์ เน็ตของไทยอยูใ่ นอัตราที่ค่อนข้ าง สูง ข้ อมูลข้ างต้ นสะท้ อนว่า ประเทศไทยประสบความสาเร็ จในการทาให้ คนเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตเพียงอย่างเดียว แต่ใน มิติของราคากลับไม่ได้ ก้าวหน้ ามากนัก สุพจน์ ชีใ้ ห้ เห็นว่า ตลอดเวลาที่ผ่านมา กสทช.และรั ฐบาลต่างพยายามดาเนินนโยบายให้ ประชาชนสามารถ เข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตได้ โดยมีมาตรการต่างๆ ออกมาเป็ นระยะ แต่ในความเป็ นจริ งกลับพบว่า มาตรการส่วนใหญ่กลับมี ปั ญหาในทางปฏิบตั ิ ไม่มีความต่อเนื่อง ในขณะที่บางนโยบายก็ถกู ยกเลิกเมื่ อมีการเปลีย่ นรัฐบาล “ล่าสุดมี โครงการเน็ตประชารัฐเป็ นโครงการใหม่ ซึ่ งจะมี การนาสายไฟเบอร์ ลากไปยังหมู่ บ้านต่างๆ จ านวน 24,700 หมู่บ้าน แล้วให้มีจุดบริ การฟรี ไวไฟหนึ่งจุด คาถามคื อ ไวไฟ 1 จุดนัน้ จะให้บริ การไปได้ไกลแค่ไหน ไม่ต้องพูดถึง ว่า ความเร็ วอิ นเทอร์ เน็ตที ่ให้ก็ต่ ากว่าความเร็ วเฉลีย่ ทัว่ ไป” สุพจน์ยกตัวอย่างปั ญหาที่อาจเกิดขึ ้นจากโครงการใหม่ของ รัฐบาล สุพจน์ยังชีใ้ ห้ เห็นด้ วยว่า ยิ่งเทคโนโลยียิ่งก้ าวหน้ าขึ ้นมากเท่าไหร่ ความเหลื่อมล ้าจะยิ่งมากขึ ้นเท่านัน้ เพราะ ข้ อมูลและแอปพลิเคชันใหม่ต้องการอินเทอร์ เน็ตที่มีความเร็ วสูงมากขึ ้น ดังนัน้ การเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตในพื ้นที่ห่างไกล อย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ แต่ต้องมี การยกระดับเทคโนโลยีอ ยู่ตลอดเวลาด้ วย มิ เช่นนัน้ คนในพื ้นที่ห่างไกลจะยิ่งเสีย โอกาสและเสียเปรี ยบคนเมืองที่มีสาธารณูปโภคพื ้นฐานที่ดีกว่า
51
บทที่ 10 ผลกระทบระยะสัน้ ระยะกลาง ระยะยาว รัฐกับบทบาทผู้อานวยความสะดวก ในโลกดิจิตอล รัฐมีบทบาทลดลงอย่างมากในชีวิตประจาวันของผู้คน แม้ ผ้ คู นต้ องการให้ รัฐเข้ ามาปกป้องทาง เศรษฐกิจมากเพียงใด แต่รัฐก็ไม่สามารถตังก ้ าแพงกีดกันต่างชาติได้ เหมือนที่ผ่านมา ในอีกด้ านหนึ่ง บรรษัทเทคโนโลยี ข้ ามชาติกลับมีอิทธิพลมากขึ ้น ที่นา่ สนใจคือ ผู้บริ โภคมีแนวโน้ มที่จ ะไว้ ใจบรรษัทเหล่านี ้แบบที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน ทังที ้ ่ เอาเข้ าจริ งแล้ ว คนส่วนใหญ่ไม่ได้ ร้ ูข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับบรรษัทต่างๆ เลยด้ วยซ ้า สภาวการณ์ เช่นนี ้ชวนให้ ตงั ้ คาถามว่า รัฐต้ องทบทวนบทบาทตัวเองอย่างไรในกระบวนการเปลีย่ นผ่านไปสูด่ ิจิ ตอล แนวทางปรับตัวของรัฐในสังคมดิจิตอล สรุปได้ ดังนี ้ ประการแรก การสร้ างความโปร่ งใส ซึง่ จะช่วยเกิดความไว้ วางใจระหว่างรัฐและประชาชนเพิ่มมากขึ ้น เมื่อรัฐ ได้ รับความไว้ วางใจจากประชาชน รัฐจะสามารถทางานได้ ง่ายและราบรื่ นมากขึ ้น ในทางกลับกัน หากประชาชนได้ รับ ความไว้ วางใจจากรัฐย่อมสามารถแสดงศักยภาพของพลเมืองออกมาได้ มากขึ ้นด้ วย ประการที่สอง รัฐต้ องปรับบทบาทในการให้ บริ การที่เหมาะสมกับเทคโนโลยีที่เปลีย่ นไป รัฐควรต้ องปรับเปลีย่ น บทบาทจากผู้ ให้ บริ ก าร (service provider) มาเป็ นผู้ อ านวยความสะดวก (service facilitator) เนื่ อ งจากรั ฐ มี ความสามารถในการปรับตัวช้ ากว่าเอกชน แต่มีสามารถลงทุนด้ านโครงสร้ างพื ้นฐานได้ มากกว่าเอกชน ในขณะที่เอกชน ปรับตัวได้ เร็ วและเหมาะกับการลงทุนในสิ่งที่เปลี่ยนแปลงเร็ วมากกว่ารั ฐ การเลือ กบทบาทที่เหมาะสมของภาครั ฐไม่ เพียงแต่ช่วยให้ ระบบเศรษฐกิจเดินหน้ าไปอย่างราบรื่ นเท่านัน้ แต่ยงั เป็ นการส่งเสริ มการมีสว่ นร่ วมระหว่างรัฐกับเอกชน ได้ เป็ นอย่างดีด้วย ประการที่สาม รัฐต้ องมีความยืดหยุ่นในการปรับตัวให้ เข้ ากับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว การมีแผน ระยะยาว (road map) และแผนที่ไม่มีแนวทางปฏิบตั ิจริ ง (execution) เหมือนที่เป็ นมาเป็ นสิง่ ใช้ ประโยชน์ไม่ได้ จริ ง ประการสุดท้าย รัฐต้ องปรับวิธีคิดและยอมรับว่า ความผิดพลาดและการลองผิดลองถูกเป็ นเรื่ องปกติธรรมดาที่ เกิดขึ ้นได้ ในบางเรื่ อง รัฐไม่จาเป็ นต้ องรอให้ สถานการณ์นิ่งแล้ วค่อยตัดสินใจ แต่สามารถเรี ยนรู้ไปพร้ อมกับเอกชนได้ เลย นอกจากนี ้ รัฐยังมีบทบาทสาคัญในการการยกระดับเรื่ องความรู้ ด้านดิจิ ตอล (digital literacy) ซึ่งจะมีสว่ นช่วยให้ สงั คม ปรับวิธีคิดให้ เข้ ากับโลกดิจิตอลมากขึ ้นด้ วย
52
ตารางที่ 2 แนวทางปรับตัวของรัฐในสังคมดิจิตอล ผลกระทบ
ระยะสัน้
ภาครัฐ
มีรายรับเพิ่มจากภาษี
รายรับดิจิตอลที่มนั่ คง
สร้ างอธิปไตยดิจิตอล
พัฒนาอธิปไตย ดิจิตอล
ความมัน่ คงทางข้ อมูล
ระยะกลาง
เสริ มสร้ างจุดแข็งอื่นๆ ภาคเอกชน
ประชาชน
ความเป็ นธรรมทางภาษี
เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
มีความมัน่ คงทางธุรกิจ
ธุรกิจมีความยัง่ ยืนขึ ้น
ควบคุมข้ อมูลร่วมกับรัฐ
พันธมิตรหลากหลาย ขึ ้น
วุฒิภาวะทางดิจิตอล
มีทางเลือกที่มากขึ ้น
ได้ ข้อมูลที่เป็ นจริ งขึ ้น
รับบริ การหลากหลาย
ปลอดภัยมากขึ ้น
มาตรฐานชีวิตดีขึ ้น
ระยะยาว
ศักกายภาพแห่ง e-Government ที่มีประสิทธิภาพสูง
ศักกายภาพแห่ง e-Business ที่มีประสิทธิผลสูง
ศักกายภาพแห่ง e-Citizen ที่มีคณ ุ ภาพสูง
53
บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ ปั จจุบนั ผลกระทบจากพลังแห่ง “Digital Disruption” ปรากฎอยูท่ วั่ โลกเป็ นที่ชดั เจนว่า การเปลีย่ นแปลงทางดิจิทลั ของโลกมีผลต่อการดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย์ทุกคนบนโลกใบนี ้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผลกระทบเกิดขึ น้ ในทุก ระดับตัง้ แต่ ระดับบุคคลและครอบครั ว ระดับองค์ กร และระดับประเทศ ไปถึงผลกระทบต่ อความมั่นคงของ ชาติ ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีเอกราชและอธิ ปไตยในดินแดนของประเทศเราในเชิงกายภาพตามความหมายดังเดิ ้ ม แห่งอ านาจอธิ ปไตยก็จริ ง แต่หลังจากระบบอิ นเทอร์ เน็ตได้ เข้ ามามี บทบาทมากขึ ้นในการติดต่อสื่อ สารของคนไทยใน หลายปี ที่ผา่ นมา ตลอดจนความนิยมในการใช้ งานสมาร์ ทโฟน และโปรแกรมเครื อข่ายสังคมออนไลน์ของคนไทย ทาให้ มี การเก็บข้ อมูลคนไทยทังประเทศไว้ ้ ในระบบคลาวด์ โดยส่งผ่านจากทางสมาร์ ทโฟนและโปรแกรมเครื อข่ายสังคมออนไลน์ ดังกล่าว ยกตัวอย่างเช่น Facebook, Youtube และ Line คนไทยใช้ งานสมาร์ ทโฟนมากกว่าหนึง่ ร้ อยล้ านเครื่ อง เฉลี่ยใช้ งานมากกว่าวันละ 6 ชัว่ โมงต่อวัน โดยใช้ ผา่ นโปรแกรมยอดนิยมทังสามบนเครื ้ อข่ายสังคมออนไลน์ดงั ที่กล่าวมาแล้ ว เกิด เป็ นมหกรรมการเก็บข้ อมูลของคนไทยเข้ าสูร่ ะบบคลาวด์ของบริ ษัทผู้ให้ บริ การโปรแกรมเครื อข่ายสังคมออนไลน์ข้ามชาติ ดังกล่าวนัน้ การใช้ งานสมาร์ ทโฟนอย่างแพร่ หลายทาให้ มีการจัดเก็บเกิดการเก็บพฤติกรรมผู้ใช้ งานสมาร์ ทโฟนอย่าง ต่อเนื่องโดยที่ผ้ ใู ช้ ทราบและไม่ทราบมาก่อน ไม่ว่าจะเป็ นการจัดเก็บข้ อมูลตาแหน่งการใช้ งาน, พฤติกรรมความสนใจใน การค้ นหาข้ อมูล, พฤติกรรมในการเข้ าชมภาพและวิดีโอ ตลอดจนพฤติก รรมในการเลือกซื ้อสินค้ าและบริ การ เช่น การ จองโรงแรม การจองตัว๋ เครื่ องบิน ทาให้ ข้อมูลมหาศาลเหล่านี ้ตกอยูใ่ นมือของผู้ให้ บริ การการค้ นหาข้ อมูล และ ผู้ให้ บริ การ โปรแกรมเครื อข่ายสังคมออนไลน์ที่เป็ นบริ ษัทข้ ามชาติทงสิ ั ้ ้นและไม่มีการจดทะเบียนเพื่อเสียภาษีแต่อย่างใด ปั ญหา “Digital Sovereignty” หรื อ “อธิปไตยทางดิจิตอล” ของประเทศกาลังถูกละเมิดอยู่ตลอดเวลา เนื่องจาก ปั ญหาดังกล่าวถูกซ่อนอยู่ในการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตและการใช้ งานสมาร์ ทโฟนในปั จจุบนั ที่อยู่ในชีวิตประจาวันของคน ไทย ทาให้ ผ้ ูให้ บริ การที่เข้ าถึงข้ อมูลเชิ ง ลึก มีความได้ เปรี ยบในการแข่งขันทางธุรกิ จ และ สามารถนาข้ อมูลมาใช้ ใน การตลาดได้ อย่างมีประสิทธิ ผลและประสิทธิ ภาพ ทังนี ้ ้ยังไม่รวมถึงการขาดรายได้ ของรั ฐบาลไทยจากการจัดเก็บภาษี จากยอดเงินในระดับหมื่นล้ านบาท โดยรัฐบาลไทยไม่สามารถจัดเก็บภาษี ผ้ ใู ห้ บริ การได้ อย่างที่ควรจะเป็ น เนื่องจากผู้ ให้ บริ การทาการ Settlement Payment โดยการใช้ Payment Gateway นอกประเทศไทย เป็ นต้ น ปั จ จุ บันคนไทยมี Facebook Account มากกว่ า 42 ล้ าน และ LINE Account มากกว่ า 33 ล้ าน โดยมีการใช้ งานอย่ างต่ อเนื่องใน ทุกวันเป็ น “Digital Platform” ที่คนไทยกาลังใช้ ในการติดต่ อสื่อสารกันแทนการใช้ งานเทคโนโลยีในอดีต ดังนัน้ จึงเป็ นหน้ าที่ของทุกคนที่ต้องคอยหมัน่ ปรับปรุ ง “Digital Literacy” ของผู้ใช้ งานโซเชียลมีเดีย และ สมาร์ ทโฟนต่างๆที่ใช้ กันอยูอ่ ย่างแพร่ หลายในชีวิตประจาวันให้ “รู้เท่าทัน” เทคโนโลยีที่กาลังละเมิดความเป็ นส่วนตัวและอิ ปไตยของรชาติอีก ด้ วยทังในด้ ้ าน “เศรษฐศาสตร์ ” และ ในด้ าน “ความมั่นคงของชาติ” ที่รัฐบาลจึงจาเป็ นต้ องสร้ างความพร้ อมทังสามด้ ้ าน คือ คน, ระบบ และบริ บท ให้ ถึงพร้ อมเพื่อรับมือกับผลแห่ง “Digital Disruption Effect” ให้ ชาติของเราเข้ าสูย่ คุ Thailand 4.0 ได้ อย่างยัง่ ยืนต่อไปได้
54
บรรณานุกรม เอกสารอ้ างอิง: สรรพากรสาส์น หน้ า 57-65 ปี ที่ 61 ฉบับที่ 6 มิถนุ ายน 2557 โดยคุณเฉลิมพงศ์ ตังบริ ้ บูรณ์รัตน์ (นักวิชาการภาษี กรมสรรพากร CPA, Tax Auditor) และคุณสุดคนึง สมบูรณ์วงศ์ (นิติกร กรมสรรพากร) รศ.พิมพ์พรรณ เทพสุเมธานนท์ (และคณะ).ปรัชญาการศึกษา EF 703 (EF 603).กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคาแหง. ศ. ดร. เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์. (2561). คิดเป็ นระบบ. กรุงเทพฯ. สถาบันการสร้ างชาติ ดร. ปริ ญญา หอมเอนก. (2561). Strategy to Cybersecurity 4.0. กรุงเทพฯ: เอซิส โปรเฟสชัน่ นัล. อมริ นทร์ บุ๊ค Jackson Adams, Mohamad Albakajai. (2016). Cyberspace: A New Threat to the Sovereignty of the State. Management Studies. University of Essex, Colchester, UK James Manyika. Michael Chui. Jacques Bughin. Richard Dobbs. Peter Bisson. Alex Marrs. (2013). Disruptive technologies: Advances that will transform life, business, and the global economy. USA. McKinsey Global Institute.nsey Thailand Digital Advertising Spend mid year 2016 – 2017, Kantar TNS, 2560 บทความ “สรรพากรมาแล้ ว เฟซบุ๊ก กูเกิล ไลน์ต้องเสียภาษี ” www.thairath.co.th วันที่ 17 เมษายน 2560 บทความ “ความเห็น 4 กูรูออนไลน์กรณี ภาษีโฆษณา Facebook/Google เรื่ องที่นกั การตลาด ต้ องรู้ ” www. Marketingoops.com วันที่ 27 มกราคม 2558 บทความ “เฟซบุ๊กไม่จ่ายภาษีให้ ไทย” ในเพจ ลงทุนแมน วันที่ 30 มิถนุ ายน 2559 Google and Facebook now paying full tax, Australia says, www.bbc.com , 21 March 2017 Social media companies needs to pay taxes where they earn. Turkish minister,www.hurryyetdailynews.com, 7 May 2015 Google lose 6 year battle, must pay tax on remittances made to Google Ireland, www.theeconomictimes.com 25 October 2017 Digital Sovereignty : A model that needs inventing, www.watchingamerica.com , 20 May 2016 Digital Sovereignty , Secuview magazine ,issue 1/2016 Digital Sovereignty, Gueham,2017
55
ที่มาของข้ อมูล: แปลและเรี ยบเรี ยงจากข้ อมูล online ดังต่อไปนี ้ เรี ย บเรี ย งจากเวที ส าธารณะ “Digital Transformation: โอกาสและความท้ า ทายส าหรั บ ประเทศไทย” จั ด โดย Friedrich Ebert Stiftung Thailand (FES), สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ ไอ), คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และโครงการอิ นเทอร์ เน็ตศึกษา สานักงานกองทุนสนับ สนุนการวิจัย (สกว.) เมื่ อ วันที่ 9 กันยายน 2560 ณ สถาบันเพื่อการวิจัยและพัฒนาแห่งประเทศไทยhttps://www.the101.world สมคิด พุทธศรี เรื่ อ ง Somkid Puttasri | Nov 28, 2017
56
ภาคผนวก Digital Sovereignty of Nation Building Sommasatien Lertwatanakul NBI: Nation Building Institute, Bangkok, Thailand ABSTRACT The digital economy has been developed extremely in the last decade. Refer to several global economic report, the traditional economy has been seized absolutely. Henceforward ’Digital Sovereignty’ has to be considered as the top priority to a nation state. Thailand is one the largest social network population in the world, facing the risk of losing its digital sovereignty, which requires to be addressed by nation-states to subject national sensitive data flows to and across national borders. In national security perspective, cyberspace is a shared territory which requires a shared responsibility between stakeholders at national and global level. Many powerful countries have taken concrete steps to protect their sensitive data flow in cyberspace against the global player platform, while Thailand still suffers from the lack of a common stance on data protection, cross border rules on e-commerce and a regulatory framework to promote domestic investments in digital infrastructure. This study examines the Thai Government’ s requirements for digital sovereignty and proposes concept of digital sovereignty establishment in three dimension: i) People ii) System and iii) Context. The first dimension ‘People’ concerns about capacity to influence the norms and values of the related people to play the right role in 21st century digital economy. The second dimension ‘System’ concerns about Technology such as an encryption in sensitive government, national digital platform, data center localization, national Internet traffic routing, and national cloud infrastructure. The third dimension ‘Context’ concern about updated status of digital sovereignty around the world and apply some success references into the implementation plan for Thailand. As a result Thailand is lagging behind in the development of both its digital infrastructure and innovative enterprises, not only the advanced economies but even regional countries. A lot of proposals support that unless the right action is taken Thailand will not only loose its current digital sovereignty but alsnext generation. KEYWORDS Disruptive technology, Data economy, New-oil, Nation building, Social enterprise, Concession
57
INTRODUCTION The McKinsey Global Institute (MGI) assesses the potential reach and scope, as well as the potential economic impact and disruption, of major rapidly advancing technology areas. Through extensive research, we sort through the noise to identify 12 technology areas with the potential for massive impact on how people live and work, and on industries and economies. We also attempt to quantify the potential economic impact of each technology across a set of promising applications in 2025. [1] All of the 12 disruptive technology is related to the digital technology. In 2001, oil was about $30/bbl. Only one oil company (Exxon) cracked the top five list by market cap at the time. [2] Fast forward a decade, when oil prices soared to the $100/bbl neighborhood. At this point, three of five of the largest companies by market cap were now in the oil business: Exxon, Petro-China, and Royal Dutch Shell. And today? We are back at $40/bbl and no energy companies crack the top five. Instead, the list has been completely replaced by tech companies, including Apple, Alphabet, Amazon, Facebook, and Microsoft. To reach more people, Walmart had to build more stores, expand complex supply chains, and hire new employees. This takes a lot of capital and manpower, and the stakes are high for each new expansion. Amazon on the other hand, can bring in more revenues with less of the work or risk involved. Scale allows tech companies to get bigger without getting bogged down by many of the problems that companies with millions of employees can run into. The world’s best tech companies are also able to gain competitive advantages that are extremely difficult to supplant. While oil companies are fighting over a limited supply and have a commoditized end product, Google and Facebook have key businesses that are truly unique and the best at what they do. For these reasons, tech is likely to top the leaderboard for the largest companies by market cap for the foreseeable future. In Thailand, [3] Digital Yearbook 2018 reports Thai internet penetration of 82% which is ranking top 20 of the world, Thai ecommerce penetration of 62% which is ranking top 10 of the world, and Thai mobile commerce penetration of 57% which is ranking at number 2 of the world. The statistic numbers obviously represent how the digital platform dominate Thailand economy nowadays. DATA ECONOMY In the latest decade, the world economy is shifting from digital economy to data economy. [ 4] A new commodity spawns a lucrative, fast-growing industry, prompting antitrust regulators to step in to restrain those who control its flow. A century ago, the resource in question was oil. Now similar concerns are being raised by the giants that deal in data, the oil of the digital era. These titans—Alphabet (Google’s parent company),
58
Amazon, Apple, Facebook and Microsoft—look unstoppable. They are the five most valuable listed firms in the world. Their profits are surging: they collectively racked up over $25bn in net profit in the first quarter of 2017. Amazon captures half of all dollars spent online in America. Google and Facebook accounted for almost all the revenue growth in digital advertising in America last year. Such dominance has prompted calls for the tech giants to be broken up, as Standard Oil was in the early 20th century. This newspaper has argued against such drastic action in the past. Size alone is not a crime. The giants’ success has benefited consumers. Few want to live without Google’s search engine, Amazon’s oneday delivery or Facebook’s newsfeed. Nor do these firms raise the alarm when standard antitrust tests are applied. Far from gouging consumers, many of their services are free (users pay, in effect, by handing over yet more data). Take account of offline rivals, and their market shares look less worrying. And the emergence of upstarts like Snapchat suggests that new entrants can still make waves. NATION BUILDING INSTITUE CONCEPT Thailand requires Nation Building concept for the following reasons: [5] 1) To build and support intellectual or high capacity resources - those who have innovative ideas,creativity and strong cognitive ability. The related organizations will act as change agents, and will become a source of explicit knowledge, in depth researches and innovation in developing country. 2) Public, private and people sectors establish a cooperation in critical areas of economic and social development. 3) To be a model, inspire and catalyst to all organizations in Thailand - to have a developed quality management that leads to a higher level than the present. All these 3 reasons are significant in developing Thai social and economic capability competently and raise Thailand from middle-income country to highincome country. The development by Nation Building concept should be carried out under the framework of three coordinated reformation: People, System and Context. • People: developing moral, smart, brave • System: Setting up a support system • Context: Creating one that enables people and systems to function fully Developing Thailand, by Nation Building concept, is viable by planning strategically. It will be an opportunity for Thailand to progress in the development of higher level and to develop country for becoming a nation with high income economies. People
59
People is the most important reformation in Nation Building concept. To be Thailand 4.0, refer the government slogan, the priority is about transform Thai people into digital citizen or Thai people 4.0 first. Digital literacy is necessary to become digital citizens; [6] individuals responsible for how they use technology to interact with the world around them. However, despite facing a fourth industrial revolution that is set to impact all industries and economies, Thai education policy is currently failing to prepare pupils for a new breed of workplace. And a new world. There is a worrying rise in unhappy and anxious children emerging alongside the upward trend of childhood internet use. So, according to a recent report by the House of Lords, teaching students how to thrive and survive in our internet dominated world is now as important as reading and writing. One essential component of digital literacy when it comes to the field of pedagogy is deep learning; of which there are six core skills: • Collaboration. The ability to work collaboratively with others, with strong interpersonal and team-related skills. • Creativity. Being able to weigh up opportunities in an entrepreneurial manner and ask the right questions to generate new ideas. • Critical thinking. Being able to evaluate information and arguments, identify patterns and connections, and construct meaningful knowledge and apply it in the real world. • Citizenship. The ability to consider issues and solve complex problems based on a deep understanding of diverse values and a worldview. • Character. Traits such as grit, tenacity, perseverance, and resilience; alongside a desire to make learning an integral part of living. • Communication. Being able to communicate effectively through a variety of methods and tools to a range of different audiences. However, while the concept of deep learning is not new; over the years, sustained political interference and policy changes have hindered deep learning in our schools; with a focus on helping pupils to pass exams at the expense of all else. So much so that UK schools are now among the worst in the world when it comes to nurturing deep and lasting understanding. System The concept of institutions allows us to develop a multimodal framework to analyze the governance of creative practices and products: [7] It posits that there is (1.) a regulative dimension, addressing the provision and enforcement of formal rules, such as laws, court decisions, contracts, and corporate policies. In short: copyright as usual. But this is only one of many dimensions and not necessarily a privileged one. There is (2.) the normative dimension, describing the prevalent assumptions about legitimate and illegitimate behavior in a
60
specific community or sector (ex. the community norms in the low IP literature). In addition, institutional theory suggests (3.) a cognitive and discursive dimension, addressing the shared (or contested) understandings and framings of issues in certain contexts- An example of the context of copyright relates to the understandings and debates on what constitutes creativity in the first place, the role of originality, or the identification of authorship. While not explicitly present in Scott’s model of institutions, it seems reasonable to add (4.) a material or technological dimension that takes into account the affordances and rules embodied in infrastructures, devices, and algorithms relevant to creative work. Scott already concedes that artifacts are important “carriers” for sustaining institutions. But research in Science and Technology Studies (STS) has shown that technologies and artifacts are more active elements in building and constituting social order. They do more than just to “ embody and represent particular constellations of ideas”. Road bumps, bridges, automatic door closers, or heavy tags on hotel keys51 are the classic examples in this “sociology of things” that illustrate how artifacts have a strong impact on the way we move, talk, and interact. In this sense, technology is an institutionalized form of social interactions or structures that, once institutionalized, has an effect on the social. This model diverges from prevalent thinking about copyright regulation in two ways: Firstly, it integrates different modes of ordering into a coherent framework for an empirical research. Thus, it reflects the findings and arguments stemming from the low IP literature that informal norms and shared beliefs are always involved in creative practices – not only in niche sectors. The relation between these dimensions surrogate. Instead, they operate on equal footing. The relation between laws, norms, and discourses then is an empirical question that is amenable to research. • Regulation: Set-Up the Digital Sovereignty Framework for Thailand To regulate both Public and Private sector Covering Policies, Structure and Legal • Norms: Develop the co-operation among related organizations; domestic, regional and other global digital platform • Discourses: Enhance the legitimation of digital sovereignty and encourage all parties to keep consistence development • Technology: Deploy modern technology to regulate and secure the data flow among Thai people Context Currently, national cyber protection relies on mitigation using passive defense (ex. Information assurance, cybersecurity, and defense-in-depth); yet reliance on a blanket of protection is “unsustainable.” The Cyber Sovereignty Workshop Series xi Retaliation, or “response-in-kind,” appears to be lacking (with few exceptions), mainly because of difficulties in determining attribution to the source of cyberattacks, system infiltration, data manipulation, and malware. The time lag invariably associated with post-event (or post recognition) analysis
61
can make meaningful response awkward or impossible. Also, vague, confusing, and in some cases, nonexistent policies and strategies (as previously mentioned), tend to retard the operational decisionmaking process. [8] In 2016, the Worldwide Threat Assessment of the U.S. Intelligence Community as presented to the Senate Armed Services Committee, listed Russia, China, Iran, and North Korea as the leading state cyber threat actors. Non-state actors were described as “terrorists” and “criminals” with Islamic State of Iraq and the Levant (ISIL) being the only group specifically mentioned. Director Clapper’s description of the activities associated with each entity was brief, but effective for the purpose of notifying the Senate Armed Services committee of the general threat level. The most striking associations made were: • Russia – a “willingness to target critical infrastructure and conduct espionage operations,” as well as “continuing preparation of the cyber environment for future contingencies” • China – “continues to have success in cyber espionage against the U.S. Government, our allies, and U.S. companies” • Iran – “used cyber espionage, propaganda, and attacks in 2015” • North Korea – “capable and willing to launch disruptive or destructive cyberattacks to support its political objectives” • Non-state Actors – “ISIL actors targeted and released sensitive information about U.S. military personnel in 2015 in an effort to spur ‘lone-wolf’ attacks” In Europe, the postal, telephone, and telegraph ( PTT) policies and priorities were set by the state, the communications systems were usually owned and operated by the state, and many of the larger nations had their own technical standards and “national champion” equipment manufacturers. This was the apex of alignment; but largely due to new technologies and the expansion of usage, countries have been moving away from this over the past 40 years. The Internet/digital domain has grown to the point where no one person has a grasp as to what is going on. At any point in time there are hundreds of entities trying to create virtual models. “One thing is clear: virtual states represent the latest in the evolution of society in the connected world and they have created yet another cybersecurity challenge.” What will the impact be? This departure from a historical context of geographical boundaries to political, cultural, and communal entities will call into question models that have been in place for years! The global implications (current and future) of this new paradigm must be carefully considered: • What happens when a virtual state’s, nation’s or country’s sovereignty comes into conflict with the sovereignty of Thailand? • How could Thailand pose sanctions against a Virtual State, Nation or Country?
62
• Other than cyberattacks, what weapons could Thai military leverage to combat a rogue virtual nation? • Given the random structure and the wide distribution of virtual nation supporters / citizens / hackers as well as their use of compromised servers and other computer assets, how could the military retaliate? • Given the wide distribution of virtual state, nation or country supporters, wouldn’t any action taken against them have to be, by default, a conflict between a state and each individual member of the virtual entity? In 2000, Richard Rosecrance a political scientist at UCLA wrote, “We are entering the Age of the Virtual State - when land and its products are no longer the primary source of power, when managing flows is more important than maintaining stockpiles, when service industries are the greatest source of wealth and expertise and creativity are the greatest natural resources.” He went on to define a “virtual state” as one in which territory is no longer the prime focus of national identity. 65 When you look at how far we have come in sociotechnological interactions since Rosecrance made that observation, it is easy to see how a virtual-state, nation, or country is on the horizon. SOCIAL ENTERPRISE The rise of social enterprises and their growing impact in the private sector in recent years is something that has surprised many, capturing the attention of economists, business strategists and the development sector in particular. It seems that starting a business with the aim of simply making a profit is no longer deemed desirable – well, to millennials at least. A flabbergasting 94 percent of them want to use their skills to benefit a cause, while American confidence in the free market system has fallen to roughly 50 percent – down from 80 percent just 15 years ago. [9] The idea has since generated interest all over the world. The concept can be overwhelming for stakeholders, who seek to understand how far away this model might be from their current reality. In Malaysia, Social Impact Bonds have been framed as the logical next step after the recent introduction of other long-term partnerships and privately financed initiatives (PFIs) towards new infrastructure such as buildings and roads. The 2010 New Economic Model for Malaysia from the National Economic Advisory Council called for ‘academia, business, the civil service, and civil society’ to ‘work together in partnership for the greater good of the nation as a whole’. Social Impact Bonds are one vehicle by which these recommendations will be delivered. They are an arrangement where a non-government organization delivers an intervention that is first financed by private investors who stand to be repaid with interest from government funding if a social outcome is achieved. There are incentives for each stakeholder to be involved. [10] Most jurisdictions that have developed a SIB have first scanned their market for investors, intermediaries and proven or promising social delivery organizations. And then they’ve thought about how to run a procurement
63
process that brings the best of these players together, along with an intervention to achieve a priority outcome for Government. Although procurement approaches have varied, all have rested on the ability of the market to delivery suitable interventions that can be managed by organizations with sufficient capabilities to produce the desired social outcomes. Agensi Inovasi Malaysia has enhanced their opportunity to engage with capable service providers by holding a competition for new ideas in priority areas, and then incubating and collecting evidence on these new initiatives, with the end goal of a Social Service Delivery contract. This is not only a way to provide services that are suitable for the first Social Impact Bonds in Malaysia, but creates a pipeline of evidenced programs for the future. The potential for Islamic finance to become a source of funding for Social Impact Bonds is significant and has not yet been explored. The Islamic religion obliges its followers to give the zakat, a portion of their wealth to ease inequality and suffering. The total given each year is estimated at 15 times that of global humanitarian aid contributions, and in Malaysia the zakat collected by Government is over US $400 million (Irin News). Islamic finance includes Musharakah ( Joint Venture Partnership) , Waqaf ( charitable donations) , Debt Structure, and Sukuk (Islamic Bonds). A Musharakah could be used as the structure that holds the contracts with other parties. Sukuk could be used for investment, although their flexibility in terms of repayments that are dependent on outcomes will need to be determined. Waqaf could be used to fund a specific fixed cost such as legal fees, extra staff for development of a SIB, software, premises, audit, insurance, performance management or evaluation. The way this could fit into a Social Impact Bond structure. In developed countries, starting a social enterprise is an ambitious but increasingly practical lifestyle choice – seen as the perfect way to tackle global issues such a poverty, climate change, inequality and education while also earning a living. No longer are young people satisfied with slaving away at the desks of non-profit organizations for a tuppenny, caught up in meaningless bureaucracy and barely able to impact real change because of it. The idea of being one’s own boss, truly making a difference, respecting one’s personal values and doing so with the freedoms afforded to a freelancer is just too tempting to new age workers. Thus the rise of social enterprise, in the form of fashion companies that give back to impoverished communities for every purchase made, pop-up cafes with a conscience, IT companies that are empowering the developing world through renewably powered devices or microfinance start-ups. And the likelihood of success for them is high, largely because consumer confidence in social enterprise is now greater than that of traditional business or government. Fifty three percent of people trust in businesses that “do what is right” verses just 43 percent who trust in government. But when it comes to the practical matters of setting up a social enterprise, including plans for strategic growth, financial targets and PR/ digital marketing strategies, too few social enterprise founders give sufficient consideration to running the business as a business.
64
Digital marketing, for example, is often seen as a luxury that can only be afforded by conglomerates with millions of dollars in funding for business growth purposes. Social enterprises are often strapped for cash when they are starting out and must employ a “lean” digital marketing strategy in order to get off the ground in a competitive marketplace. But this is precisely the mistake that prevents so many well-meaning companies from truly succeeding – the altruism of social enterprise is overshadowed by the need for startup capital. And you would be surprised to learn that in fact it is not in the tech, lifestyle brand or consumer products scenes where we are seeing the most impact in terms of digital marketing efforts – but in the social sector. It’s important to remember that when starting a social enterprise, you’re not just doing business. You are trying to solve the world’s greatest problems. And to do so you will need a business model and approach as geared toward exposure, profitability and business success as any for-profit business. The success of the venture is tied to the potential impact it might have on the global community. By succeeding in your business, you will naturally make a much larger impact and promote social good to a higher degree than you would if your business were to fail. In order to do so, it is recommended securing the help of a digital marketing agency dedicated to increasing the reach and impact of mission-driven companies and organizations. The social e-commerce vendor TOMS Shoes is perhaps the best example of a social enterprise that has leveraged the power of the digital realm to promote social good. In May 2015, in an effort to further its philanthropic efforts, TOMS donated a pair of shoes to a needy child whenever someone posted an Instagram photo of their bare feet using the hashtag #withoutshoes. Not only did the campaign demonstrate commitment to a cause and provide 296,243 pairs of shoes to children in need, but it proved the power of social media to advocate for a cause. Or, consider the climate change campaign orchestrated by ethical clothing social enterprise Rapanui a few years’ back, which saw a video clip of famous weather man Michael Fish base jumping off a building go viral in a bid to increase social impact. It cost the company a mere £1,000 but brand awareness grew so rapidly that the campaign generated £15,000-£20,000 worth of sales for the business. And, although not a social enterprise, another great example of a charity using social media to spread their message and raise funds is Worldwide Breast Cancer who launched their #KnowYourLemons campaign a few years back. Whether they are a Fortune 500 company, an ambitious start-up or a social enterprise, an investment in digital marketing by hiring an SEO company such as Promotion Step or Boostability is not only advantageous but in fact a prerequisite for survival in today’ s competitive business environment. Don’t let a limited budget prevent you from making the positive impact you and your enterprise could potentially have on the world.
65
DISCUSSION The challenges raised by the data economy, which is developed from digital economy, have started a process of reconfiguring sovereignty of nation/state. Digital sovereignty is the priority of government and all related organizations of state/nation to focus on. This paper gathers some key issues to be considered as a frame work for the Digital Sovereignty of Nation Building. One of the most popular problem against the Digital Sovereignty in many countries is about tax jurisdiction – which requires a more fluid definition of the geographic scope of legal provisions – to adapt tax rules to modern society. In the past, the mere exploitation of the consumer market was considered insufficient to justify the levy of an income tax. On the contrary, only the jurisdiction in which the consumer market was located had the right to impose consumption taxes. However, this concept of tax jurisdiction was connected with the origins of the international tax framework, where brick and mortar businesses dominated the economy. It was long before the current advances in the digital economy. Nowadays, the main proposals for taxing income derived from digital transactions attribute tax jurisdiction to the state where the consumer market is located. Thus, the exploitation of the consumer market has returned to the international agenda to be a proper connecting factor to assert tax jurisdiction related to income tax. On the one hand, from a substantive jurisdiction perspective, the consumer market seems to be a legitimate connecting factor for the taxation of the digital economy. Countries should be entitled to tax income derived from sales made to their residents. Moreover, the concept of corporate residence has become meaningless, while source taxation is based on an elusive criterion since the income does not have a single economic source. On the other hand, from an enforcement jurisdiction perspective, it is extremely difficult to enforce tax liabilities of nonresident companies that do not have any assets within the country. This is the case in spite of the growing trend towards the exchange of information and international assistance in tax collection among countries. In addition, in several countries, in view of constitutional principles such as the due process of law, tax authorities cannot use indirect coercive measures to enforce their tax claims. For this reason, successful taxation of e- commerce transactions depends crucially on securing voluntary taxpayer compliance. Therefore, countries should be very careful in designing tax rules to capture the income derived from e-commerce transactions. Voluntary compliance is essential in the digital economy. This requires well-designed tax rules in compliance with both substantive jurisdiction and enforcement jurisdiction. Refer to the concept in this paper, considering the data of population as “New oil” or a kind of nation’s natural resources. Concession [11] concept have to apply to the right players who serves the most total benefit to the nation. The paper proposes that Social Enterprise (SE) is the most optimum to handle this. The state of nation
66
shall give the right to specific SE’s to manage People, System and Technology accordingly. In the other hand, state/nation can give privileges to SE, which may be partnering with global technology companies to establish many of Nation Digital Platform (ex. Nation Social Network, Nation Chat, Nation Mobility services and etc. REFERENCES [1] James Manyika, Michael Chui, Jacques Bughin, Richard Dobbs, Peter Bisson and Alex Marrs. Disruptive technologies: Advances that will transform life, business, and the global economy. McKinsey Global Institute. May 2013 [2] Chart: The Largest Companies by Market Cap Over 15 Years. Available online at: http://www.visualcapitalist.com/chart-largest-companies-market-cap-15-years/. 2016. Accessed July 11, 2018 [3] Digital in 2018 in Southeast Asia, Essential insights into Internet, Social media, Mobile and Ecommerce use across the region. Available online at: http://wearesocial.com. 2018. Accessed July 14, 2018 [4] The world’s most valuable resource is no longer oil, but data. The data economy demands a new approach to antitrust rules. Available online at: https://www.economist.com/leaders/2017/05/06/the-worlds-most-valuable-resource-is-nolongeroil-but-data. 2017. Accessed July 14, 2018 [5] Professor Kriengsak Chareonwongsak. Innovative Strategy on ICT for Nation-Building. Nation-Building Institute. June 2018 [6] Digital literacy in the classroom. How important is it? Available online at: https://resourced.prometheanworld.com/digital-literacy-classroom-important/. 2017. Accessed July 18, 2018 [7] Christian Katzenbach. Governing Platforms by Algorithms? Digital Sovereignty and the Technological Fix for Hate Speech and Fake News. Alexander Von Humboldt Institute for Internet and Society. May 2017 [8] Cynthia E. Ayers. Rethinking Sovereignty in the Context of Cyberspace. The Cyber Sovereignty workshop series. Center for Strategic Leadership, U.S. Army War College. December 2016 [9] Social enterprise & Digital Marketing: Is it worth the Investment?. Available online at: https://wp.nyu.edu/dispatch/2018/04/05/social-enterprises-digital-marketing-is-it-worth-theinvestment/. 2018. Accessed July 22, 2018 [10] Malaysian Innovation: Building a Social Impact Bond (SIB) Pipeline. Available online at: https://emmatomkinson.com/tag/agensi-inovasi-malaysia/. 2015. Accessed July 19, 2018 [11] Concession: From Wikipedia, the free encyclopedia. Available online at: https://en.wikipedia.org/wiki/Concession. 2018. Accessed July 24, 2018
67
รายชื่อคณะผู้จัดทา นักศึกษากลุ่มโปรตุเกส หลักสูตรนักบริหารระดับสูงเพื่อการสร้ างชาติ รุ่นที่ 4 สถาบันการสร้ างชาติ 1. ดร.สุรพร สมะกุลธร
ประธานบริ ษัท กุลธรเคอร์ บี ้ จากัด (มหาชน )
2. นายสมมาศเสถียร เลิศวัฒนกูล
ประธานบริ ษัท REVOLUTION NETWORK CO,LTD
3. นายทวีศกั ดิ์ สุทิน
ประธานกรรมการบริ หาร บริ ษัทศักดิ์สยาม อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด
4. นายสุธีร์ เพชรโลหะกุล
กรรมการผู้จดั การ บริ ษทั ตังเซี ้ ยะปิ งโลหะกิจ จากัด
5. ศ.ดร. พันธ์ ยศ อัครอมรพงศ์
ประธานกรรมการบริ หาร กลุม่ บริ ษัทไทยเฮลท์
6. นายธนัท เกิดเจริ ญ
ผู้อานวยการ บริษัทกัลย์ดิษฐ แอดไวชอรี่ เซอร์ วิสเซส จากัด
7. นายมงคล ดารงค์สทุ ธิพงศ์
ผู้จดั การ ร้ านมงคล การไฟฟ้า ( แปดริ ว้ )
8. นางกนกวรรณ เอ็กกิมนั น์
กรรมการผู้จดั การ GUDEL KANMann Robot Automation Co.Ltd.
9. นางสาวนิดา ธีรสฤษกุล
ผู้อานวยการฝ่ ายการค้ า Above all Beauty shop
10. นายประภากร สิงหนาท
ผู้จดั การสหกรณ์ร้านค้ าตารวจตะเวนชายแดน
68
แนะนาสถาบันการสร้ างชาติและหลักสูตรนักบริ หารระดับสูงเพื่อการสร้ างชาติ
สถาบั น การสร้ างชาติ (Nation-Building Institute – NBI) จดทะเบี ย นเป็ นมู ล นิ ธิ ภ ายใต้ การก ากั บ ของ กระทรวงมหาดไทยโดยใช้ ชื่อ “มูลนิธิสถาบันการสร้ างชาติ” สถาบันฯ เป็ นองค์กรไม่แสวงกาไรและไม่ยุ่งเกี่ยวกับพรรค การเมือง การทางานของสถาบันฯ มุ่งสร้ างภาคีความร่วมมือระหว่างผู้บริ หารภาครัฐ เอกชน และภาคสังคม โดยจัดการ เรี ยนรู้ ในรูปแบบต่าง ๆ ที่สร้ างความเป็ นผู้นา นักบริ หาร บนฐานคุณธรรม ให้ ผ้ เู รี ยนในหลักสูตรต่างๆ ที่สถาบันฯ จัดขึ ้น และเยาวชนที่เข้ าร่ วมโครงการทังที ้ ่สถาบันฯดาเนินการเองและร่วมสนับสนุน เพื่อให้ เกิดความเป็ นผู้นาการเปลี่ยนแปลง ช่วยสร้ างชาติในบทบาทที่เหมาะสมกับศักยภาพของแต่ละคน เพื่อพร้ อมนาประเทศไทยก้ าวสูก่ ารเป็ นประเทศที่พฒ ั นา แล้ วต่อไป สถาบันการสร้ างชาติมุ่งหวังที่จะเป็ นแหล่งการเรี ยนรู้ ของประเทศ ในเรื่ องการพัฒนาภาวะการนาภาวะการ บริ หาร และภาวะคุณธรรม ของบุคลากรทังภาครั ้ ฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ตลอดจนเยาวชนในระดับมัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ให้ ร่วมกันช่วยทางานสร้ างสรรค์ช าติไทยสูอ่ ารยะประเทศ ที่พฒ ั นาแล้ วทัง้ ด้ านเศรษฐกิจ สังคม และ การเมือง ให้ ประชาชนมีความสุข
วิสัยทัศน์ สถาบันการสร้ างชาติเป็ นสถาบันหลักของชาติเพื่อพัฒนา ภาวะการนา ภาวะการบริ หาร และ ภาวะคุณธรรม เพือ่ นาการสร้ างชาติ พันธกิจ พันธกิจของสถาบันการสร้ างชาติ คือ 1. สร้ างการเรี ยนรู้เพื่อพัฒนาผู้นา นักบริ หาร ที่มีคณ ุ ธรรม 2. สร้ างการเรี ยนรู้ระบบการนาและระบบการบริหารที่เหมาะกับสถานการณ์บริ บทต่างๆ 3. สร้ างเครื อข่ายร่วมมือการสร้ างชาติข้ามภาคส่วน คือ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน 4. ประยุกต์ทฤษฎีหลักหมุด : หลักปรัชญา หลักคิด หลักวิชา หลักการ และหลักปฏิบตั ิ โดยสร้ างการคิดอย่าง เป็ นระบบเพื่อการริ เริ่ มใหม่และการสร้ างนวัตกรรมใหม่ อย่างสร้ างสรรค์ และแนวทางปฏิบตั ิใหม่เพื่อการสร้ างชาติ
69
หลักสูตรนักบริ หารระดับสูงเพื่อการสร้ างชาติ สถาบันการสร้ างชาติได้ จดั หลักสูตร“นักบริ หารระดับสูงเพื่อการสาร้ างชาติ (นสช.)” โดยมุ่งจัดการเรี ยนรู้ ในแบบที่ช่วยเสริ มสร้ างความเป็ นผู้นาและภาวะการนา ภาวะการบริ หาร และภาวะคุณธรรมของผู้เรี ยน สร้ าง ผู้เรี ยนให้ เป็ นผู้นาการเปลีย่ นแปลง ไปช่วยสร้ างชาติในบทบาทที่เหมาะสมกับศักยภาพของแต่ละคน เพื่อพร้ อม นาประเทศไทยก้ าวสูก่ ารเป็ นประเทศที่พฒ ั นาแล้ วและประเทศอารยะต่อไป นักศึกษาในรุ่ นที่ 1-4 มีผ้ บู ริ หารจากหน่วยงานต่าง ๆ มาร่วมเรี ยน เช่น อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีต ประธานวุฒิสภา อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงต่าง ๆ อดีตปลัดกระทรวง อดีตอธิบดี อดีตผู้วา่ ราชการจังหวัด อดีตวุฒิสมาชิก อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองผู้บญ ั ชาการทหารสูงสุด อดีตรอง ผู้บญ ั ชาการทหารบก รองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานกรรมการสภาหอการค้ าแห่งประเทศไทย อธิการบดี มหาวิทยาลัยหลายแห่ง
รองอธิการบดีจากหลายแห่งกระทรวงประธานสภาคณาจารย์ จากหลายมหาวิทยาลัย
ประธานกรรมการบริ หาร ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร ประธานบริ หาร กรรมการผู้จดั การ บริ ษทั มหาชนมากกว่า 50 แห่ง ผู้บริ หารจากสานักงานตารวจแห่งชาติ กองทัพบก สถาบันการเงิน รัฐวิสาหกิจ สือ่ มวลชน องค์การพัฒนา เอกชน ฯลฯ
สนใจข้ อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมของสถาบันหรื อเอกสารวิชาการ Cap-Corner Stone Project โปรดติดต่อ โทร 02-711-7474 หรื อ 091-742-2095 Email: info@nbi.in.th