เป็นการพัฒนามาจากการเป็น สมาคมปร ะชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Association of South East Asian Nations : ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศผู้ก่อตั้งแรกเริ่ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมาในปี 2527 บรูไน ก็ได้เข้าเป็นสมาชิก ตามด้วย 2538 เวียดนาม ก็เข้าร่วมเป็นสมาชิก ต่อมา 2540 ลาวและพม่า เข้าร่วม และปี 2542 กัมพูชา ก็ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกลำดับที่ 10 ทำให้ปัจจุบันอาเซียนเป็นกลุ่มเศรษฐกิจภูมิ ภาคขนาดใหญ่ มีประชากร รวมกันเกือบ 500 ล้านคน จากนั้นในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้ง ที่ 9 ที่อินโดนีเซีย เมื่อ 7 ต.ค. 2546 ผู้ นำประเทศสมาชิกอาเซียนได้ตกลงกันที่จะ จัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบด้วย3 เสาหลัก คือ 1.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community:AEC) 2.ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Socio-Cultural Pillar) 3.ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (Political and Security Pillar)
คำขวัญของอาเซียน คือ “ One Vision, One Identity, One Community.” หนึง่ วิสยั ทัศน์ หนึง่ อัตลักษณ์ หนึง่ ประชาคม เดิมกำหนดเป้าหมายทีจ่ ะตัง้ ขึน้ ในปี 2563 แต่ตอ่ มาได้ต กลงกันเลือ่ นกำหนดให้เร็วขึน้ เป็นปี 2558 และก้าวสำคั ญต่อมาคือการจัดทำปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Charter) ซึง่ มีผลใช้บงั คับแล้วตัง้ แต่เดือนธันวาคม ปี 2552 นั บเป็นการยกระดับความร่วมมือของอาเซียนเข้าสูม่ ติ ใิ หม่ ในการสร้างประชาคม โดยมีพน้ ื ฐานทีแ่ ข็งแกร่งทางกฎ หมายและมีองค์กรรองรับการดำเนินการเข้าสูเ่ ป้าหมาย ดังกล่าวภายในปี 2558 ปัจจุบนั ประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 ประเทศได้แก่ ไทย พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม ลาว กัมพูชา บรูไน สำหรับเสาหลักการจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC )ภายในปี 2558 เพือ่ ให้อาเซียนมีการเคลือ่ นย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมอื อย่างเสรี และเงินทุนทีเ่ สรีขน้ ึ ต่อมาในปี 2550 อาเซียนได้จดั ทำพิมพ์เขียวเพือ่ จัดตัง้ ประชาคมเ ศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เป็นแผนบูรณาการ งานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุง่ ไปสู่ AEC ซึ่ งประกอบด้วยแผนงานเศรษฐกิจในด้าน ต่าง ๆ พร้อม กรอบระยะเวลาทีช่ ดั เจนในการดำเนินมาตรการต่าง ๆ จนบรรลุเป้าหมายในปี 2558 รวมทัง้ การให้ความยืดห ยุน่ ตามทีป่ ระเทศสมาชิกได้ตกลงกันล่วงหน้า ในอนาคต AEC จะเป็นอาเซียน+3 โดยจะเพิม่ ประเทศ จีน เกาหลีใต้ และญีป่ น่ ุ เข้ามาอยูด่ ว้ ย และต่อไปก็จะมีการเจรจา อาเซียน+6 จะมีประเทศ จีน เกาหลีใต้ ญีป่ น่ ุ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และ อินเดียต่อไป
ASEAN Asia
Ecomomic communication
AEC BLUEPRINT สำหรับเสาหลักการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอา เซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC ) ภายในปี 2558 เพือ่ ให้อาเซียนมีการเคลือ่ นย้าย สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมอื อย่างเสรี และเงินทุนทีเ่ สรีขน้ึ ต่อมาในปี 2550 อาเซียนได้จดั ทำพิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซีย น (AEC Blueprint) เป็นแผนบูรณาการงานด้านเศร ษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุง่ ไปสู่ AEC ซึง่ ประกอ บด้วยแผนงานเศรษฐกิจในด้าน ต่าง ๆ พร้อมกรอ บระยะเวลาทีช่ ดั เจนในการดำเนินมาตรการต่าง ๆ จนบรรลุเป้าหมายในปี 2558 รวมทัง้ การให้ความ ยืดหยุ่นตามที่ประเทศสมาชิกได้ตกลงกันล่วงหน้าเ พือ่ สร้างพันธสัญญาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซีย น อาเซียนได้กำหนดยุทธศาสตร์การก้าวไปสูป่ ระชาค มเศรษฐกิจอาเซียน ทีส่ าคัญดังนี้ 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน 2.การเป็นภูมภิ าคทีม่ ขี ดี ความสามารถในการแข่งขั นสูง 3. การเป็นภูมภิ าคทีม่ กี ารพัฒนาทางเศรษฐกิจทีเ่ ท่ าเทียมกัน และ 4. การเป็นภูมภิ าคทีม่ กี ารบูรณาการเข้ากับเศรษฐ กิจโลก โดยมีรายละเอียดแยกตามหัวข้อดังนี้ 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน เป็นยุทธศ าสตร์สำคัญของการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเ ซียน ซึง่ จะทำให้อาเซียนมีความสามารถในการแข่ง ขันสูงขึน้ โดยอาเซียนได้กำหนดกลไกและมาตรการ ใหม่ ๆ ทีจ่ ะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการดำเนินมาตร
การด้านเศรษฐกิจทีม่ อี ยูแ่ ล้ว เร่งรัดการรวมกลุม่ เศรษฐกิจในสาขาทีม่ คี วามสาคัญลำดับแรก อำนว ยความสะดวกการเคลือ่ นย้ายบุคคล แรงงานฝีมอื และผูเ้ ชีย่ วชาญ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของกล ไกสถาบันในอาเซียน การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันของอาเซีย น มี 5 องค์ประกอบหลัก คือ (1) การเคลือ่ นย้ายสินค้าเสรี (2) การเคลือ่ นย้ายบริการเสรี (3) การเคลือ่ นย้ายการลงทุนเสรี (4) การเคลือ่ นย้ายเงินทุนเสรีขน้ึ (5) การเคลือ่ นย้ายแรงงานฝีมอื เสรี ทัง้ นี้ อาเซียนได้กำหนด 12 สาขาอุตสาห กรรมสำคั ญ ลำดั บ แรกอยู่ ภ ายใต้ ต ลาดแล ะฐานการผลิตเดียวกันของอาเซียน ได้แก่ เกษตร ประมง ผลิตภัณฑ์ยาง ผลิตภัณฑ์ไม้ สิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่ม อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ การขนส่งทำงอากาศ สุขภาพ e-ASEAN ท่องเทีย่ ว และโลจิสติกส์ รวมทัง้ ความร่วมมือในสาขาอาหาร เกษตรและป่าไม้ การเป็นตลาดสินค้าและบริการเดียวจะช่วยสนับสนุ นการพัฒนาเครือข่ายการผลิตในภูมภิ าค และเสริม สร้างศักยภาพของอาเซียนในการเป็นศูนย์กลางกา รผลิตของโลก และเป็นส่วนหนึง่ ของห่วงโซ่อปุ ทาน โลก โดยประเทศสมาชิกได้รว่ มกันดำเนินมาตรการ ต่าง ๆ ทีจ่ ะช่วยเพิม่ ขีดความสามารถแข่งขันของอ าเซียน ได้แก่ยกเลิกภาษีศลุ กากรให้หมดไป ทยอยยก เลิกอุปสรรคทางการค้าทีม่ ใิ ช่ภาษี ปรับประส านพิ ธี ก ารด้ า นศุ ล กากรให้ เ ป็ น มาตรฐานเดี ย วกันและง่ายขึน้ ซึง่ จะช่วยลดต้นทุนธุรกรรม
เคลือ่ นย้ายแรงงานฝีมอื เสรี นักลงทุนอาเซียนสามา รถลงทุนได้อย่างเสรีในสาขาอุตสาหกรรมและบริก ารทีป่ ระเทศสมาชิกอาเซียนเปิดให้ เป็นต้น 2. การเป็นภูมภิ าคทีม่ คี วามสามารถในการแข่งขัน เป้ า หมายสำคั ญ ของการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิ จของอาเซียน คือ การสร้างภูมภิ าคทีม่ คี วามส ามารถในการแข่งขันสูง มีความเจริญรุง่ เรือง และมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ภู มิ ภ า ค ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขันมี 6 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ (1) นโยบายการแข่งขัน (2) การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค (3) สิทธิในทรัพย์สนิ ทำงปัญญา (IPR) (4) การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (5) มาตรการด้านภาษี (6) พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ ประเทศสมาชิกอาเซียนมีขอ้ ผูกพันทีจ่ ะนำกฎหมายแ ละนโยบายการแข่งขันมาบังคับใช้ภายในประเทศ เพื่ อทำให้เกิดการแข่งขันทีเ่ ท่าเทียมกันและสร้างวัฒนธ รรมการแข่งขันของภาคธุรกิจทีเ่ ป็นธรรม นำไปสูก่ ารเสริมสร้างการขยายตัวทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคใ นระยะยาว 3. การเป็นภูมภิ าคทีม่ กี ารพัฒนาทางเศรษฐกิจทีเ่ ท่ าเทียมกัน