แผ่นพับอาเซียน

Page 1

3. การเป็ นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน มี 2 องค์ประกอบ คือ (1) การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SME) (2) ความ ริ เริ่ มในการรวมกลุ่มของอาเซียน (Initiatives for ASEAN Integration: IAI) ความริ เริ่ มดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดช่องว่าง การพัฒนา ทั้งในระดับ SME และเสริ มสร้างการรวมกลุ่มของ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม ให้สามารถดาเนินการตามพัน ธกรณี และเสริ มสร้ างความสามารถในการแข่งขันของอาเซี ยน รวมทั้ง เพื่ อ ให้ ป ระเทศสมาชิ ก อาเซี ย นทุ ก ประเทศได้รั บ ประ โยชน์จากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ 4.การเป็ นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก อาเซี ยนอยูใ่ นท่ามกลำงสภาพแวดล้อมที่มีการเชื่อมต่อระหว่าง กันและมีเครื อข่ายกับโลกสู ง โดยมีตลาดที่พ่ ึงพากันและอุตส หกรรมระดับโลก ดังนั้น เพื่อให้ภาคธุรกิจของอาเซียนสามารถ แข่ ง ขัน ได้ใ นตลาดระหว่ า งประเทศทำให้อ าเซี ย นมี พ ลวัต ร เพิ่ ม ขึ้ น และเป็ นผูผ้ ลิ ต ของโลกรวมทั้ง ทำให้ต ลาดภายในยัง คงรั กษาความน่ าดึ งดู ดการลงทุ นจากต่ างประเทศอาเซี ยนจึ ง ต้องมองออกไปนอกภูมิภาคอาเซี ยนบูรณาการเข้ากับเศรษฐ กิ จ โลกโดยดำเนิ น 2มาตรการคื อ (1การจั ด ทำเขตการค้ า เสรี ( FTA)และความเป็ นหุ ้น ส่ ว นทำงเศรษฐกิ จ อย่า งใกล้ชิ ด (CEP)กับประเทศนอกอาเซี ยน (2การมีส่วนร่ วมในเครื อข่าย ห่วงโซ่อุปทานโลก

C E A

AEC Asean Economic

community

คำขวัญของอาเซียน “ One Vision, One Identity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม


AEC BLUEPRINT

เดิมกำหนดเป้ าหมายที่จะตั้งขึ้นในปี 2563

แต่ต่อมาได้ตกล งกันเลื่อนกำหนดให้เร็วขึ้นเป็ นปี 2558และก้าวสำคัญต่อมาคือการจัดทำ ปฏิญญาอาเซี ยน(ASEANCharter)ซึ่ งมีผลใช้บงั คับแล้วตั้งแต่เดือนธันวา คม ปี 2552 นับเป็ นการยกระดับความร่ วมมือของอาเซียนเข้าสู่มิติ ใหม่ในการสร้าง ประชาคม โดยมีพ้นื ฐานที่แข็งแกร่ งทางกฎหมาย และมีองค์กรรองรับการ ดำเนินการเข้าสู่เป้ าหมายดังกล่าวภายในปี 2558 ปัจจุบนั ประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 ประเทศได้แก่ ไทย พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ เวียดนาม ลาว กัมพูชา บรู ไน สำหรับเสาหลักการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรื อ AEC )ภายในปี 2558 เพื่อให้อาเซีย นมีการเคลื่อนย้ายสิ นค้า บริ การ การลงทุน แรงงานฝี มือ อย่างเสรี และเงินทุนที่เสรี ข้ ึนต่อมาในปี 2550อาเซียนได้จดั ทำพิมพ์เขียวเพื่อ จัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เป็ นแผนบูรณา การงานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภ าพรวมใน การมุ่งไปสู่ AEC ซึ่งประ กอบด้วยแผนงานเศรษฐกิจในด้าน ต่าง ๆ พร้อม กรอบระยะเวลา ที่ชดั เจนในการดำเนินมาตรการต่าง ๆ จนบรรลุเป้ าหมายในปี 2558 รวมทั้งการให้ความยืดหยุน่ ตามที่ประเทศ สมาชิกได้ตกลงกันล่วงหน้า ในอนาคต AEC จะเป็ นอาเซียน+3 โดยจะเพิ่มประเทศ จีน เกาหลีใต้ และญี่ป่ ุน เข้ามาอยูด่ ว้ ย และต่อไปก็จะมีการเจรจา อาเซียน+6 จะมีประเทศ

อาเซียน

สำหรับเสาหลักการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (ASEAN Economic Community หรื อ AEC )ภายในปี 2558 เพื่อ ให้อาเซียนมีการเคลื่อนย้ายสิ นค้า บริ การ การลงทุน แรงงานฝี มือ อย่ า งเสรี และเงิ น ทุ น ที่ เ สรี ขึ้ นต่ อ มาในปี 2550อาเซี ยน ได้จ ัด ทำพิ ม พ์เ ขี ย วเพื่ อ จัด ตั้ง ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (AECBlueprint)เป็ นแผนบูรณาการงานด้านเศรษฐกิ จให้เห็ น ภาพรวมนการมุ่ ง ไปสู่ AECซึ่ งประกอบด้ ว ยแผนงาน เศรษฐกิจในด้านต่างๆพร้อมกรอบระยะเวลาที่ชดั เจนในกาดำ เนิ น มาตรการต่ า งๆจนบรรลุ เ ป้ าหมายในปี 2558รวมทั้ ง การให้ค วามยืด หยุ่น ตามที่ ป ระเทศสมาชิ ก ได้ต กลงกัน ล่ ว ง หน้า เพื่ อ สร้ า งพัน ธสั ญ ญาระหว่ า งประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น อาเซี ยนได้กำหนดยุทธศาสตร์ การก้าวไปสู่ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซี ยนที่สาคัญดังนี้ 1.การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน 2.การเป็ นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสู ง 3.การเป็ นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน 4.การเป็ นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก โดยมีรายละเอียดแยกตามหัวข้อดังนี้ 1.การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันเป็ นยุทธศาส ตร์ สำคัญของการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนซึ่งจะทำให้ อาเซียนมีความสามารถในการแข่ งขันสู งขึน้ โดยอาเซียนได้ กำ หนดกลไกและมาตรการใหม่ ๆทีจ่ ะช่ วยเพิม่ ประสิ ทธิภาพการ ดำเนินมาตรการด้ านเศรษฐกิจทีม่ อี ยู่แล้ วเร่ งรัดการรวมกลุ่ม เศรษฐกิจในสาขาทีม่ คี วามสาคัญลำดับแรกอำนวยความสะดวก การเคลือ่ นย้ ายบุคคล แรงงานฝี มือ และผู้เชี่ยวชาญ และเสริม สร้ างความเข้ มแข็งของกลไกสถาบันในอาเซียน การเป็ นตลาดและฐานการผลิ ต เดี ย วกั น ของอาเซี ย นมี 5 องค์ ประกอบหลัก คือ

(1) การเคลื่อนย้ายสิ นค้าเสรี (2) การเคลื่อนย้ายบริ การเสรี (3) การเคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี (4) การเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรี ข้ ึน (5) การเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือเสรี ทั้ง นี้ อาเซี ย นได้ก ำหนด12สาขาอุ ต สาหกรรมสำคัญ ลำดับ แรกอยู่ภ ายใต้ต ลาดและฐานการผลิ ต เดี ย วกัน ของอาเซี ย นได้แ ก่ เ กษตร ประมง ผลิตภัณฑ์ยาง ผลิตภัณฑ์ไม้ สิ่ งทอและเครื่ องนุ่งห่ม อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ การขนส่งทำงอากาศ สุขภาพ e-ASEAN ท่องเที่ยว และโลจิสติกส์ รวมทั้งความร่ วมมือในสาขาอาหาร เกษตรและป่ าไม้ การเป็ นตลาดสิ นค้าและบริ การเดี ยวจะช่ วยสนับสนุ นการพัฒ นา เครื อข่ายการผลิตในภูมิภาค และเสริ มสร้างศักยภาพของอาเซียนในการ เป็ น ศูนย์กลางการผลิตของโลก และเป็ นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานโลก โดย ประเทศสมาชิกได้ร่วมกันดำเนินมาตรการต่าง ๆ ที่จะช่วยเพิ่มขีดความ สามารถแข่งขันของอาเซียน ได้แก่ยกเลิกภาษีศุลกากรให้หมดไป ทยอยยกเลิกอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ ภาษี ปรับประสานพิธีการด้านศุลกากรให้เป็ นมาตรฐานเดียวกันและง่ายขึ้น ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนธุรกรรม เคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือเสรี นักลงทุนอาเซียน สามารถลงทุนได้อย่างเสรี ในสาขาอุตสาหกรรมและบริ การที่ประเทศสมา ชิกอาเซียนเปิ ดให้ เป็ นต้น 2. การเป็ นภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน เป้ าหมายสำคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซี ยนคือการสร้างภูมิ ภาคที่มีความสามารถในการแข่งขันสูงมีความเจริ ญรุ่ งเรื องมีเสถียรภาพทาง เศ รษฐกิจภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขันมี6องค์ประกอบหลักได้แก่ (1) นโยบายการแข่งขัน(2การคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค (3) สิ ทธิในทรัพย์สินทำงปัญญา (IPR) (4) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (5) มาตรการด้านภาษี (6) พาณิ ช ย์อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ป ระเทศสมาชิ ก อาเซี ย นมี ข้อ ผู ก พัน ที่ จ ะนำกฎ หมายและนโยบายการแข่งขันมาบังคับใช้ภายในประเทศ เพื่อทำให้เกิด การแข่งขันที่เท่าเทียมกันและสร้างวัฒนธรรมการแข่งขันของภาคธุรกิจที่เป็ น ธรรม นำไปสู่การเสริ มสร้างการขยายตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาคในระยะยาว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.