หลักการสอนดนตรี มต้น

Page 1

หลักการและแนวคิดการสอน วิชาดนตรีระดับมัธยมศึกษาต้น


แนวคิด Backward Design โดย วิกกินส์และแมกไท

Grant Wiggins

Jay McTighe

การออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ผลลัพธ์ ปลายทางเป็ นหลัก ซึ่ งคิดผลลัพธ์จากการสอนนักเรี ย นจบแล้วมี 3 ขั้นตอน 1.1กำหนดตอนจบของการสอน จะกำหนดได้ดีแค่ไ หนก็ตอ้ งตอบคำถามเหล่านี้ให้ได้วา่ ... - นักเรี ยนจะมีความรู ้เรื่ องใด ทำสิ่ งใดได้บา้ ง - เนื้อหาที่จะให้นกั เรี ยนมีความรู ้ดงั กล่าวได้แก่อะ ไรบ้าง ต้องคำนึงถึงเนื้อหาที่จะทำให้นกั เรี ยน เกิดความรู ้ที่คงทน (Enduring Understandings) หรื อสาระสำคัญของการเรี ยน ตัวอย่างเช่น จะสอนให้นกั เรี ยนรู ้จกั ดนตรี ไทย ก็ตอ้ งให้เขาได้รู้วา่ ดนตรี ไทยมี 4 ประเภท ได้แก่ ดีด สี ตี เป่ า และแต่ละประเภท เป็ นต้น 1.2กำหนดงานและประเมินผล เพื่อเป็ นหลักฐานว่า นักเรี ยนสามารถทำได้จริ ง จะกำหนดได้ดีแค่ไหนก็ ต้องตอบคำถามเหล่านี้ให้ได้วา่ ... - นักเรี ยนมีพฤติกรรมหรื อการแสดงออกในลักษณะใดจึงจะรู ้วา่ เรี ยนรู ้ได้สำเร็ จ - ครู มีหลักฐานอะไรมายืนยันว่านักเรี ยนทำได้ ตัวอย่างเช่น ผลงาน แบบทดสอบ ผลการสัมภาษณ์ ผลการปฏิบตั ิ ฯลฯ 1.3วางแผนจัดการเรี ยนรู ้


การสอนดนตรี ของโคดาย (Kodaly Approach)

โซลตาน โคดาย (Zoltan Kodaly , 1882-1967) นักการศึกษาดนตรี และผูป้ ระ พันธ์เพลงคนสำคัญของฮังการี ซึ่งมีหลักก ารสอนดนตรี โดยการจัดลำดับเนื้อหาและ กิจกรรมดนตรี ให้สอดคล้องกับพัฒนากา รของเด็ก โดยมีข้ นั ตอนจากง่ายไปหายาก เน้นการสอนร้องเพลงเป็ นหลัก การร้องเพล งเป็ นการใช้เสี ยงที่มีอยูแ่ ล้วตามธรรมชาติซ่ ึง เด็กคุน้ เคยอยูแ่ ล้ว ฝึ กควบคู่กบั การอ่านโน้ต จนสามารถอ่านและเขียนโน้ตดนตรี ได้ โคดายคิดว่า ดนตรี สำหรับเด็กมีความสำคัญ และต้องพัฒนาเช่นเดียวกับภาษา เด็กควรฟัง ดนตรี ก่อนแสดงออกทางการร้องหรื อการเล่ น และเมื่อเขามีประสบการณ์เพียงพอก็สาม ารถฝึ กการอ่านและเขียนภาษาดนตรี ได้ โคด ายมีวธิ ีการใช้สญ ั ลักษณ์มือในกิจกรรมการส อน และใช้การอ่านโน้ตด้วยระบบซอล –ฟา ซึ่งมีข้ นั ตอนจากง่ายไปหายาก ซึ่งสามารถฝึ กโ สตประสาททางดนตรี ผเู ้ รี ยนได้ท้ งั เรื่ องจังหวะ ระดับเสี ยง ทำนอง และการประสานเสี ยง โดยก ารร้องเพลงตามแบบฝึ กหัดของโคดายซึ่งมีการ แบ่งเป็ นระดับขั้นต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน

(Zoltan Kodaly , 1882-1967)


การสอนดนตรี ของดาลโครซ (Dalcroze Approach )

เอมิล ชาคส์ ดาลโครซ (Emile Jaques Dalcroze , 1865 – 1950) ผูป้ ระพันธ์เพลงและนักดนตรี ศึกษาชาวสวิ ส ดาลโครซมีหลักการสอนดนตรี โดยใช้การเคลื่อนไหว จังหวะเพื่อตอบสนองต่อเสี ยงดนตรี ใช้ชื่อว่า “ยูริธึมมิก” (Eurhythmics) ซึ่ งเกี่ยวข้องกับการตั้งใจฟังเสี ยงอย่างมี สมาธิและตอบสนองต่อองค์ประกอบของดนตรี ง่าย ๆ ในเรื่ อง จังหวะ ระดับเสี ยง ความดังเบา ความยาวสั้น นอ กจากนั้นดาลโครซยังใช้หลักการสอนโซลเฟจ (Solfege) ซึ่ งเป็ นการฝึ กการอ่านและการฟังเพื่อจดจำระดับเสี ยงต่า ง ๆ บนบรรทัดห้าเส้น รวมถึงกิจกรรมอิมโพร -ไวเซชัน่ (Improvisation) ซึ่ งเป็ นการปฏิบตั ิกิจกรรมทางดนตรี ใน ทันทีทนั ใด โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ของผูเ้ รี ยนเอง ซึ่ งช่วยส่ งเสริ มพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ตามพัฒนาการ ของเด็ก วิธีสอนตามแนวทางของดาลโครซนี้ได้ช้ ีเด่นชั ดว่ามีการให้ความสำคัญของการฝึ กโสตประสาททางด้า นต่าง ๆ เช่น จังหวะ ระดับเสี ยง ความแตกต่างของเสี ยง โดยใช้กิจกรรมการสอนยูริธึมมิก การสอนโซลเฟจ และการอิมโพร -ไวเซชัน่ เป็ นสื่ อ และมีลำดับขั้นตอนจาก ง่ายมาหายากตามพัฒนาการของเด็ก


การสอนดนตรี ของออร์ฟ (Orff Schuwerk)

คาร์ล ออร์ฟ (Carl Orff, 1895 - 1982) นักประพันธ์เพลงและนักดนตรี ศึกษาชาวเยอรมัน ผูค้ ิดค้นวิธี การสอนดนตรี ผา่ นสื่ อการสอนที่เป็ นเครื่ องดนตรี ระนาด แต่หลักการสำคัญไม่ได้อยูท่ ี่การที่เด็กเล่นดนตรี ร ะนาดเป็ นอย่างเดียว แต่เป็ นการจัดกิจกรรมและเนื้อหาที่สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ออร์ฟมีความเชื่อว่ าดนตรี เบื้องต้นสำหรับเด็กนั้นควรเป็ นดนตรี ที่สามารถแสดงออกได้โดยง่าย การสอนของเขารวมเอาดนตรี การเคลื่อนไหว และการพูดเข้าด้วยกัน ในการปฏิบตั ิเขาได้เน้นเรื่ องจังหวะในการฝึ กเบื้องต้น และกิจกรร มสร้างสรรค์อิสระโดยเป็ นการร้องเพลง การเคลื่อนไหว การเล่นเครื่ องดนตรี ระนาดที่มีระดับเสี ยงต่าง ๆ ซึ่งเด็กจะได้เรี ยนรู ้จงั หวะ ระดับเสี ยง การอ่านโน้ต การประสานเสี ยง รู ปแบบบทเพลง สี สนั เสี ยง ความรู ้ความเข้ าใจเกี่ยวกับสัญลักษณ์ดนตรี ไปพร้อม ๆ กัน ซึ่ งเป็ นการฝึ กโสตประสาททางดนตรี ดา้ นต่าง ๆ ด้วยการฟัง การร้อง และการบรรเลงเครื่ องดนตรี โดยตรง


การสอนดนตรี ของซูซูกิ(Suzuki Method) ชินอิชิ ซูซูกิ (Shinichi Suzuki, 1898 – 1998) นักการศึกษา และครู ไวโอลินชาวญี่ปุ่น เป็ นเวลากว่า 50 ปี มาแล้วที่ซูซูกิพบค วามจริ งเกี่ยวกับการเรี ยนภาษาแม่ของเด็กทัว่ โลกและได้นำมาพั ฒนาให้เข้ากับการเรี ยนดนตรี ซูซูกิได้สงั เกตว่าเด็กสามารถพูดภ าษาของตนเองได้ก่อนที่จะเรี ยนการอ่านและการเขียน เป็ นเพร าะการฟังและการเลียนแบบนัน่ เอง ดังนั้นการฟังดนตรี ตน้ ฉบับ การเลียนแบบครู และการทำซ้ำบ่อยๆ เด็กย่อมสามารถให้บรร เลงเครื่ องดนตรี ได้อย่างดีซูซูกิได้คดั เลือกบทเพลงในระดับต่าง ๆ ตามความยากง่าย ในวิธีการเรี ยนของซูซูกิ เด็กเรี ยนรู ้สาระดนตรี ต่าง ๆ และการปฏิบตั ิดนตรี มากกว่าเทคนิ คต่าง ๆ การคัดเลือกบทเพลงในแบบฝึ กหัดของซูซูกิได้นำเสนออย่างเป็ นขั้นตอนและมีกระบวนการพัฒนา ต้องปฏิบตั ิดว้ ยความสม่ำเสมอ มาตรฐานของบทเพลงฝึ กมีการเตรี ยมความพร้อมในการเรี ยนดนตรี ข้ นั สูงขึ้ น แม้ซูซูกิจะไม่ได้เน้นการฝึ กโสตประสาทในด้านต่าง ๆ เช่นเดียวกับวิธีของโคดาย ออร์ฟ และดาลโครซ แ ต่เมื่อพิจารณาถึงวิธีการของเขาแล้วจะพบว่ามีการเน้นขั้นตอนของการฟังเป็ นพื้นฐานแรก จากนั้นจึงเป็ นขั้น ตอนของการปฏิบตั ิเครื่ องดนตรี ซึ่งนับว่าเป็ นการฝึ กโสตประสาทและนำมาปฏิบตั ิบนเครื่ องดนตรี โดยตรง และสามารถประเมินผลได้จากการเล่นเครื่ องดนตรี นนั่ เอง


จัดทำโดย นาย พิเชษฐ์ ขันเชียง นายมาโนช อรัญญะวงค์ นางสาวภาวนีย์ ศรีมูล นายวินัย คำยันต์ นายณัฐวุฒิ สุริยะ นายชาตรี ติตะปัน

541132007 541132011 541132012 541132026 541132032 541132038

คณะครุศาตร์ เอกดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.