Chinnawat2

Page 1

กฎบัต รอาเซี ย น (ASEAN CHARTER) หรื อ ธรรมนู ญอาเซี ย น กฎบั ต รอาเซี ยน เปรี ยบเสมื อ นรั ฐ ธรรมนู ญของอาเซี ยนที ่ จะทำให้อ าเซี ยนมี ส ถานะเป็ นนิ ติ บุ คคล เป็ นการวางกรอบ ทางกฎหมายและโครงสร้ า งองค์ ก รให้ก ั บ อาเซี ยน โดยนอ กจากจะประมวลสิ ่ งที ่ ถื อ เป็ นค่ านิ ยม หลั ก การ และแนวป ฏิ บั ติ ในอดี ตของอาเซี ยนมาประกอบกั น เป็ นข้ อ ปฏิ บั ติ อย่ างเป็ นทางการของประเทศสมาชิ กแล ้ว ยั ง มี ก ารปรั บ ปรุ งแ ก้ ไ ขและสร้ า งกลไกใหม่ ขึ้ น พร้ อ มกำหนดขอบเขตหน้ า ที ่ ค วามรั บ ผิ ดชอบขององค์ กรที ่ สำคั ญ ในอาเชี ยนตลอดจนคว ามสั ม พั น ธ์ ใ นการดำเนิ นงานขององค์ ก รเหล่ านี้ ให้ส อดค ล ้อ งกั บ ความเปลี ่ ยนแปลงในโลกปั จ จุ บั น เพื ่ อเพิ ่ มประสิ ทธิ ภาพของอาเซี ยนให้ ส ามารถดำเนิ นการบรรลุ ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ และเป้ าหมายโดยเฉพาะอย่ างยิ ่ งการขั บ เคลื ่ อนกา รรวมตั ว ของประชาคมอาเซี ยน ให้ไ ด้ ภ ายในปี พ.ศ.2558 ตามที ่ ผู ้น ำอาเซี ยนได้ ต กลงกั น ไว้ ทั ้ ง นี้ ผู ้ น ำ อ า เ ซี ย น ไ ด้ ล ง น า ม รั บ ร อ ง ก ฎ บั ต ร อ า เ ซี ย น ในการประชุ มสุ ดยอดยอดเซี ยน ครั ้ ง ที ่ 13เมื ่ อวั น ที ่ 20 พฤศจิ กายน 2550 ณ ประเทศสิ งคโปร์ ในโอกาสครบรอบ 40 ของการก่ อตั ้ ง อาเซี ยน แสดงให้เ ห็ นว่ าอาเซี ยนกำลั ง แส ดงให้ ป ระชาคมโลกได้ เ ห็ นถึ งความก้ า วหน้ า ของอาเซี ยนที ่ กำลั ง จะก้ า วเดิ นไปด้ ว ยกั น อย่ างมั ่น ใจระหว่ างประเทศสมา ชิ กต่ าง ๆ ทั ้ ง 10 ประเทศ และถื อ เป็ นเอกสารประวั ติ ศา สตร์ ชิ้ นสำคั ญ ที ่ จะปรั บ เปลี ่ ยนอาเซี ยนให้ เ ป็ นองค์ ก รที ่ มี ส ถานะเป็ นนิ ติ บุ คคลในฐานะที ่ เป็ นองค์ ก รระหว่ างรั ฐ บาล ป ระเทศสมาชิ กได้ ใ ห้ส ั ต ยาบั น กฎบั ต รอาเซี ยน ครบทั ้ ง 10 ประเทศแล ้ว เมื ่ อวั น ที ่ 15 พฤศจิ กายน2551 กฎบั ต รอาเซี ยนจึ งมี ผ ลใช้ บ ั ง คั บ ตั ้ ง แต่ วั น ที ่ 15 ธ.ค. 2551 เป็ นต้ น ไป

ค ว า ม ส ำ คั ญ ข อ ง ก ฎ บั ต ร อ า เ ซี ย น ต่ อ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย กฎบั ต รอาเซี ยน ให้ค วามสำคั ญ กั บ การปฏิ บั ติ ตามพั น ธก รณี ต่ างๆ ของประเทศสมาชิ ก ซึ ่ งจะช่ วยสร้ า งเสริ มหลั ก ป ระกั น ให้ก ั บ ไทยว่ า จะสามารถได้ ร ั บ ผลประโยชน์ ต ามที ่ ต กลงกั น ไว้อ ย่ างเต็ มเม็ ดเต็ มหน่ วย นอกจากนี้ การปรั บ ป รุ งการดำเนิ นงานและโครงสร้ า งองค์ กรของอาเซี ยนให้ มี ป ระสิ ทธิ ภาพมากขึ้ น และการเสริ มสร้ า งความร่ วมมื อ ในทั ้ ง 3 เสาหลั ก ของประชาคมอาเซี ยนจะเป็ นฐานสำคั ญ ที ่ จะท ำให้ อ าเซี ยนสามารถตอบสนองต่ อความต้ อ งการและผลปร ะโยชน์ ข องรั ฐ สมาชิ ก รวมทั ้ ง ยกสถานะและอำนาจต่ อรอง และภาพลั ก ษณ์ ของประเทศสมาชิ กในเวที ระหว่ างประเท ศได้ ดี ยิ ่ งขึ้ น ซึ ่ งจะเอื้ อให้ไ ทยสามารถผลั ก ดั น และได้ ร ั บผลประโยชน์ ด ้ า นต่ างๆ เพิ ่ มมากขึ้ นด้ ว ย ตั ว อย่ างเช่ น - อาเซี ยนขยายตลาดให้ก ั บ สิ นค้ า ไทยจากประชาชนไทย 60 ล ้า นคน เป็ นประชาชนอาเซี ยนกว่ า 550 ล ้า นคน ประกอบ กั บ การขยายความร่ วมมื อเพื ่ อเชื ่ อมโยงโครงสร้ า งพื้ นฐาน เช่ น เส้น ทางคมนาคม ระบบไฟฟ้ า โครงข่ ายอิ นเตอร์ เ น็ ต ฯลฯ จะช่ วยเพิ ่ มโอกาสทางการค้ า และการลงทุ นให้ก ั บ ไทย นอกจากนี้ อาเซี ยนยั ง เป็ นทั ้ ง แหล่ งเงิ น ทุ นและเป้ าหมาย การลงทุ นของไทย และไทยได้ เ ปรี ยบประเทศสมาชิ กอื ่ นๆ ที ่ มี ที ่ ตั ้ ง อยู ่ ใจกลางอาเซี ยน สามารถเป็ นศู นย์ ก ลางทางการ คมนาคมและขนส่ งของประชาคม ซึ ่ งมี ก ารเคลื ่ อนย้ า ยสิ นค้ า บริ การ และบุ คคล ระหว่ างประเทศสมาชิ กที ่ สะดวกขึ้ น - อาเซี ยนช่ วยส่ งเสริ มความร่ วมมื อ ในภู มิ ภ าคเพื ่ อเผชิ ญกั บภั ย คุ กคามที ่ ส่ งผลกระทบต่ อประชาชนโดยตรง เช่ น SARs ไข้ห วั ด นก การค้ า มนุ ษย์ ภั ย พิ บ ั ติ ทางธรรมชาติ หมอกควั น ยาเสพติ ดปั ญ หาโลกร้ อ น และปั ญ หาความยากจน เป็ นต้ น - อาเซี ยนจะช่ วยเพิ ่ มอำนาจต่ อรองของไทยในเวที โลก และเ ป็ นเวที ที ่ ไทยสามารถใช้ ใ นการผลั ก ดั น ให้ มี ก ารแก้ ไ ขปั ญ หา ของเพื ่ อนบ้า นที ่ กระทบมาถึ ง ไทยด้ ว ย เช่ น ปั ญ หาพม่ า ในข ณะเดี ยวกั น ความสั ม พั น ธ์ พ หุ ภาคี ในกรอบอาเซี ยนจะเกื้ อห นุ นความสั ม พั น ธ์ ข องไทยในกรอบทวิ ภ าคี เช่ น ความร่ วมมื อกั บ มาเลเซี ยในการแก้ ไ ขปั ญ หา 3 จั ง หวั ด ชายแดนใต้ ด ้ ว ย

AEC

Asean Economic

COMMUNITY


เป็ นการพั ฒ นามาจากการเป็ นสมาคมประชาชาติ แห่ งเอเชี ยตะวั น ออกเฉี ยงใต้ ( TheAssociation of South East Asian Nations : ASEAN) ก่ อตั ้ ง ขึ้ นตามปฏิ ญญากรุ งเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื ่ อ 8 สิ งหาคม 2510 โดยมี ป ระเทศผู ้ก่ อตั ้ ง แรกเริ ่ ม 5 ประเทศ คื อ อิ นโดนี เซี ย มาเลเซี ย ฟิ ลิ ป ปิ นส์ สิ งคโปร์ แ ละไทยต่ อมาในปี 2527 บรู ไนก็ ได้ เ ข้า เป็ นสมาชิ กตามด้ ว ย 2538 เวี ย ดนาม ก็ เข้า ร่ วมเป็ นสมาชิ ก ต่ อมา 2540 ลาวและพม่ า เข้า ร่ วม และปี 2542 กั ม พู ชา ก็ ได้ เ ข้า ร่ วมเป็ นสมาชิ กลำดั บ ที ่ 10 ทำให้ ป ั จ จุ บั น อาเซี ยนเป็ นกลุ ่ มเศรษฐกิ จภู มิ ภ าคขนาดใหญ่ มี ป ระชากร รวมกั น เกื อบ 500 ล ้า นคน จากนั ้ น ในการประชุ มสุ ดยอดอาเซี ยนครั ้ ง ที ่ 9 ที ่ อิ นโดนี เซี ย เมื ่ อ 7 ต.ค. 2546 ผู ้น ำประเทศสมาชิ กอาเซี ยนได้ ต กลงกั นที ่ จะจั ด ตั ้ ง ประชาคมอาเซี ยน (ASEAN Community) ซึ ่ งประกอบด้ ว ย3 เสาหลั ก คื อ 1.ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน (Asean EconomicCommunity:AEC) 2.ประชาคมสั ง คมและวั ฒ นธรรมอาเซี ยน (Socio-Cultural Pillar) 3.ประชาคมความมั ่น คงอาเซี ยน (Political and Security Pillar)

คำขวั ญ ของอาเซี ยน คื อ “ One Vision, One Identity, One Community.” หนึ ่ งวิ ส ั ย ทั ศ น์ หนึ ่ งอั ต ลั ก ษณ์ หนึ ่ งประชาคมเดิ มกำหนดเป้ าหมายที ่ จะตั ้ ง ขึ้ นในปี 2563 แ ต่ ต่ อมาได้ ต กลงกั น เลื ่ อนกำหนดให้เ ร็ วขึ้ นเป็ นปี 2558 แล ะก้ า วสำคั ญ ต่ อมาคื อการจั ด ทำปฏิ ญญาอาเซี ยน (ASEAN Charter) ซึ ่ งมี ผ ลใช้ บ ั ง คั บ แล ้ว ตั ้ ง แต่ เดื อนธั น วาคม ปี 2552 นั บ เป็ นการยกระดั บ ความร่ วมมื อ ของอาเซี ยนเข้า สู ่ มิ ติ ใหม่ ในการสร้ า งประชาคม โดยมี พื้ นฐานที ่ แข็ ง แกร่ งท างกฎหมายและมี องค์ กรรองรั บ การดำเนิ นการเข้ า สู ่ เป้ าหม ายดั ง กล่ าวภายในปี 2558ปั จ จุ บั น ประเทศสมาชิ กอาเซี ยน รวม 10 ประเทศได้ แ ก่ ไทย พม่ า มาเลเซี ย อิ นโดนี เซี ย ฟิ ลิ ป ปิ นส์ สิ งคโปร์ เวี ย ดนาม ลาว กั ม พู ชา บรู ไน ส ำ ห รั บ เ ส า ห ลั ก ก า ร จั ด ตั ้ ง ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น (ASEAN Economic Community หรื อ AEC ) ภายในปี 2558 เพื ่ อให้อ าเซี ยนมี ก ารเคลื ่ อนย้ า ย สิ นค้ า บริ การ การลงทุ น แรงงานฝี มื อ อย่ างเสรี และเงิ น ทุ นที ่ เสรี ขึ้ นต่ อมาในปี 2550 อาเซี ยนได้ จ ั ด ทำพิ ม พ์ เ ขี ย วเพื ่ อจั ด ตั ้ ง ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน (AEC Blueprint) เป็ นแผนบู รณาการงานด้ า นเศรษฐกิ จให้เ ห็ นภาพรว มในการมุ ่ งไปสู ่ AEC ซึ ่ งประกอบด้ ว ยแผนงานเศรษฐกิ จใ นด้ า น ต่ าง ๆ พร้ อ มกรอบระยะเวลาที ่ ชั ด เจนในการดำเนิ น มาตรการต่ าง ๆ จนบรรลุ เป้ าหมายในปี 2558 รวมทั ้ ง การใ ห้ค วามยื ดหยุ ่ นตามที ่ ประเทศสมาชิ กได้ ต กลงกั น ล่ วงหน้ า ในอนาคต AEC จะเป็ นอาเซี ยน+3 โดยจะเพิ ่ มประเทศ จี น เกาหลี ใ ต้ และญี ่ ปุ่ น เข้า มาอยู ่ ด้ ว ย และต่ อไปก็ จะมี ก ารเจรจา อาเซี ยน+6 จะมี ป ระเทศ จี น เกาหลี ใ ต้ ญี ่ ปุ่ น ออสเตรเลี ย นิ วซี แลนด์ และ อิ นเดี ยต่ อไป

AEC BLUEPRINT ส ำ ห รั บ เ ส า ห ลั ก ก า ร จั ด ตั ้ ง ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น (ASEAN Economic Community หรื อ AEC ) ภายในปี 2558 เพื ่ อให้อ าเซี ยนมี ก ารเคลื ่ อนย้ า ย สิ นค้ า บริ การ การลงทุ น แรงงานฝี มื อ อย่ างเสรี และเงิ น ทุ นที ่ เสรี ขึ้ นต่ อมาในปี 2550 อาเซี ยนได้ จ ั ด ทำพิ ม พ์ เ ขี ย วเพื ่ อจั ด ตั ้ ง ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน (AEC Blueprint) เป็ นแผนบู รณาการงานด้ า นเศรษฐกิ จให้เ ห็ นภาพรว มในการมุ ่ งไปสู ่ AEC ซึ ่ งประกอบด้ ว ยแผนงานเศรษฐกิ จใ นด้ า น ต่ าง ๆ พร้ อ มกรอบระยะเวลาที ่ ชั ด เจนในการดำเนิ น มาตรการต่ าง ๆ จนบรรลุ เป้ าหมายในปี 2558 รวมทั ้ ง การใ ห้ ค วามยื ดหยุ ่ นตามที ่ ประเทศสมาชิ กได้ ต กลงกั น ล่ วงหน้ า เ พื ่ อสร้ า งพั น ธสั ญ ญาระหว่ างประเทศสมาชิ กอาเซี ยน อาเซี ยนได้ ก ำหนดยุ ทธศาสตร์ ก ารก้ า วไปสู ่ ประชาคมเศรษฐ กิ จอาเซี ยน ที ่ สาคั ญ ดั ง นี้ 1. การเป็ นตลาดและฐานการผลิ ต เดี ยวกั น 2.การเป็ นภู มิ ภ าคที ่ มี ขี ด ความสามารถในการแข่ งขั น สู ง 3. การเป็ นภู มิ ภ าคที ่ มี ก ารพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จที ่ เท่ าเที ยม กั น และ 4. การเป็ นภู มิ ภ าคที ่ มี ก ารบู รณาการเข้า กั บ เศรษฐกิ จโลก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.