การปลูกเลี้ยงเฟินสาย

Page 1

การปลูกเลีย้ งเฟิ นสาย ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับเฟิ นสาย เฟิ นสายเป็ นกลุ่มพีชคล้ายเฟิ นแบบอิงอาศัย จัดอยูใ่ น Family Lycopodiaceae ซึ งเฟิ นในกลุ่มนี้ สามารถจาแนกออกได้ 2 Genus คือ Lycopodium ช้องนางคลี่, ระย้า – ยมโดย และ Huperzia สร้อยนาง กรอง, หางสิ งห์กลุ่มเฟิ นสายจัดเป็ นเฟิ นที่เจริ ญเติบโตแบบอิงอาศัยโดยการเกาะอาศัยกับไม้ยนื ต้นชนิดอื่น เพื่อการพยุงลาต้นเท่านั้นไม่ได้ดูดกินน้ าเลี้ยงจากพืชที่มนั อาศัยอยูซ่ ่ ึ งสวนใหญ่จะพบการกระจายพันธุ อยูใ่ น เขตร้อยชื้น ที่ระดับความสู งจากน้ าทะเลตั้งแต่ 10 เมตรจนถึง 1800 เมตร เช่น ไทย ลาว เขมร พม่า มาเลเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซี ย เฟิ นเหล่านี้ได้กาเนิดมานับร้อยปี แล้วแต่เริ่ มรู ้จกั การนามาปลูกเลี้ยงกันเมื่อ 10 ปี ที่ผา่ น มาซึ่ งจะนิยมการเลี้ยงของกลุ่มคนในเมืองโดยเฉพาะในกรุ งเทพฯ

การจาแนกกลุ่มเฟิ นสาย เฟิ นสายจัดอยูใ่ นพืชคล้ายเฟิ นแบบอิงอาศัยซึ่ งเป็ นการเจริ ญเติบโตแบบห้อยลง เป็ นระย้าโดยระบบรากจะอยูส่ ู งกว่าลาต้นสี เขียวอายุยนื ยาวเป็ นพืชไม่มีดอกซึ่ งจะมีสปอร์ ทาหน้าที่ในการ ขยายพันธุ สามารถจาแนกได้ดงั นี้ 1 กลุ่มเกล็ดหอย ( Lycopodium nummularifolium ) เป็ นเฟิ นสายที่พบการกระจายพันธุใน ประเทศไทยตั้งแต่ชุมพรไปถึงจังหวัดชายแดนภาคใต้ มาเลเซี ย อินโดนีเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ มีลกั ษณะใบแบน จนถึงกาง สี เขียวเข้ม ใบเรี ยงสลับซ้อนกัน ความยาวสายตั้งแต่ 30-170 ซม.แล้วแต่สายพันธุ และถิ่นกาเนิดซึ่ ง จะมี 2 ชนิดที่เป็ นที่รู้จกั กันคือ ระย้าเกล็ดหอย และ เกล็ดหอยไฮบริ ด


เกล็ดหอยทัว่ ไป

เกล็ดหอยไฮบริ ด

2 กลุ่มช้ องนางคลี ( Lycopodium phlegmaria ) เฟิ นสายในกลุ่มนี้จะมีความหลากหลายมากๆ มี เหล่งกาเนิดที่กว้างและหลากหลายสายพันธุ พบการกระจ่ายพันธุ ต้ งั แต่ เขมร ไทย ลาว พม่า มาเลเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ ออสเตเรี ย หมู่เกาะมาดากัสก้า ลักษณะประจาพันธุ ที่หลากหลายส่ วนใหญ่จะแตกต่างที่รูปแบบ การเรี ยงตัวของใบเช่นใบกางๆ ใบส่ วนโคนลู่ ( ช้องไฮบริ ด )ใบสี ฟ้า (ช้องบลู ) เส้นมีต้ งั แต่ขนาดเล็กจนถึง ขนาดใหญ่ มีสีดา สี น้ าตาลจนถึงสี ขาว

ช้องนางคลีทวั่ ไป

ช้องนางคลีสีบลู


3 กลุ่มกลุ่มนางกรอง (Huperzia carinata ) เฟิ นสายในกลุ่มนี้มีความหลากหลายไม่มากนัก ที่พบ อยูม่ ีการเรี ยงตัวของใบตั้งแต่เป็ นรู ปสามเหลี่ยม เส้นกลมใบกางออกจนถึงใบลู่ติดก้าน มีถิ่นกาเนิดในเขมร ไทย พม่า มาเลเซี ย ในประเทศไทยที่พบมากทางภาคตะวันออกของไทยเช่นเกาะช้างจะมีลกั ษณะใบกางออก แต่ถา้ พบทางภาคใต้ของไทยใบจะลู่ติดก้านและสี บลูอ่อนๆ ส่ วนอีกชนิดที่พบเป็ นนางกรองสี่ เหลี่ยมตัวนี้จะ พบทางภาคใต้ของไทย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์

นางกรองจากเกาะช้าง

นางกรองสี เหลี่ยม

4 กลุ่มหางสิ งห์ (Huperzia squarrosa ) เฟิ นสายกลุ่มนี้ก็มีความหลายหลายอีกกลุ่มหนึ่ง มีการ กระจายพันธุ ที่กว้าง พบตั้งแต่ จีน เวียดนาม แม็คซิ โก ลาว เขมร พม่า มาเลเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซี ย เป็ น กลุ่มเฟิ นสายที่มีขนาดเส้นตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ และใหญ่สุดในบรรดากลุ่มเฟิ นสายทั้งหลายใบมี สี เขียว จนถึงสี ฟ้า ใบออกแนวกางๆจนถึงลู่และยาวได้สูงสุ ดถึง 4 เมตร

หางสิ งห์ไทย

หางสิ งห์บลู


ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเจริญเติมโตเฟิ นสาย เฟิ นสายจัดเป็ นกลุ่มพืชไม่มีดอกเป็ นพืชอิงอาศัยอยูใ่ น Family Lycopodiaceae ซื่ งสามารถแบ่ง ออกได้ 2 Genus คือ Lycopodium และ Huperzia ในบางประเทศมีการแบ่งเพียง Genus เดียวคือ Huperzia เท่านั้น ซึ่ งสวนใหญ่จะมีการกระจายพันธุ ในเขตร้อนชื้น ( tropical zone ) นัน่ หมายความว่าจะมี ภูมิอาการแบบร้อนและภูมิอาการแบบชุ่มชื้นในเขตเดียวกัน ซึ่ งจะพบเฟิ นสายส่ วนมากกระจายพันธุ อยูใ่ น เขตนี้ เช่นประเทศไทย ลาว เขมร พม่า มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซีย ฯลฯ เฟิ นสายจัดเป็ นกลุ่มเฟิ นที่ เจริ ญเติบโตในที่ร่มราไร (indoor plant ) ต้องมีวสั ดุในการพลางแสง ในธรรมชาติเฟิ นสายจะอาศัยร่ มเงาจาก กลุ่มไม้ใหญ่ที่อาศัยอยูซ่ ่ ึ งจะมีปัจจัย ด้านสภาพแวดล้อมที่เหมาะแต่เมื่อมนุษย์นาเฟิ นมาเลี้ยงในบริ เวณบ้าน ปัจจัย ต่างๆที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตจะไม่ค่อยเหมาะสมเราจาเป็ นต้องมีการสร้างปั จจัยต่างๆให้เหมาะการ เจริ ญเติบโตต่อ 1 แสงสว่าง ( light ) แสงสว่างเป็ นปั จจัยที่ชว้ ยในการสังเคราะห์แสงของเฟิ นหรื อการสร้างอาหาร สาหรับการดารงของเฟิ น และบางสวนก็มีหน้าที่ในการฆ่าเชื่อโรคลอดความซื้ นภายในโรงเรื อนไม่ไห้ช้ืน เกินไป แสงสว่างสาหรับการเลี้ยงเฟิ นสายอาจได้มา 2 ทางคือ 1 แสงจากดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็ นแหละพลังงานที่ สาคัญที่สุดสาหรับการปลูกเลี้ยงเฟิ นสายมีท้ งั ประโยชน์และโทษสาหรับการปลูกเฟิ น 2 แสงจากมนุษย์ สร้างขึ้นเกิดจากพลังงานไฟฟ้ าต่างๆซึ่ งปั จจุบนั มีการผลิตหลอดยู วี ที่ใช้แทนแสงจากดวงอาทิตย์กรณี แสง จากธรรมชาติไม่พอหรื อมีการปลูกเลี้ยงเฟิ น สายภายในอาคารที่ทึบแสงหรื อมีการนาเฟิ นไปจัดนิทศั การ ภายในอาคาร ส่ วนใหญ่จะยังไม่ค่อยนามาใช้กบั เฟิ นมากนักแสงสว่างมีบทบาทต่อการปลูกเลี้ยง เฟิ น 3 ลักษณะด้วยกันคือ 1 ความเข้มของแสง แสงที่สองมายังพื้นโลกมีความเข้ม 800-10000 แรงเทียนแต่เฟิ นต้องการแสงแค่ 5060 %เท่านั้นเราจึงจาเป็ นต้องมีการพรางแสงให้กบั เฟิ นที่เราเลี้ยงหากเฟิ นที่เรา เลี้ยงไดรับแสงมากใบอาจ เหลืองซีดและใบไหม้หากแสงน้อยต้นชะลูดยาวเส้นกรอบหัก ง่ายหากแสงพอดีใบจะเขียงเป็ นมันวาวและ เส้นกางออก 2 ช่วงเวลาที่ได้รับแสงในแต่ละวัน ปริ มาณแสงที่ได้รับแต่ละวันมีผลต่อการเติบโตของเฟิ น เช่นสิ งห์ สร้อยควรได้รับแสง 6-8 ชัว่ โมง ช้องบลู หางสิ งห์ เกล็ดหอยควรได้รับแสง 8-10 ชัว่ โมง 3 คุณภาพของแสง เป็ นความยาวของคลื่นแสงมีผลต่อการสังเคราะห์แสงและการหายใจ


2 อุณหภูมิ เฟิ น สายในเขตร้อนชื้นสามารถเจริ ญเติบโตได้ในช่วงอุณหะภูม 25-35 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็ นอุณหะภูมโดยเฉลี่ยของประเทศไทย ซึ่ งไม่มีผลต่อการปลูกเลี้ยงเฟิ นสายมากนักจะมีผลกระทบบ้าง กับการเลี้ยงใน เมืองที่อุณหภูมิอาจสู งบ้างและความชื้นต่า แต่ความแตกต่างระหว่างกลางคืนและกลางวันไม่ มากนัก แต่ถา้ ในเขตที่อุณหภูมิต่ากว่า 15 องศาเซลเซี ยสเฟิ นสายจะงักการเจริ ญเติบโตได้ในทางกลับกันถ้า สู งถึง 40 องศาเซนเซียสอาจทาให้เฟิ นสายใบและเส้นไหม้ได้เราต้องจัดสภาพแวดล้อมให้เห เหมาะกับการ ปลูกเลี้ยงเฟิ นให้มากที่สุด 3 ความชื้น เฟิ นสายจะเจริ ญเติบโตได้ดีที่มีความซื้ นอยูใ่ นช่วง 60-80 % หากสู งกว่า 80% อาจทาให้ เฟิ นที่เราเลี้ยงเน่าตายได้ส่วนใหญ่จะพบในเขตที่มีฝนรกชุกมากๆ เช่นจังหวัดทางจันทบุรี หรื อทางภาคใต้ โดยส่ วนใหญ่หากความชื้นในอากาศสู งไม่ค่อยมีปัญหามากนักแต่อย่า ให้วสั ดุปลูกเฟิ นแฉะมากมิฉะนั้นแล้ว อาจทาให้ส่วนโคนเน่าได้แต่ในทางกลับกัน ถ้าความชื้นต่าการเจริ ญเติบโตของเฟิ นก็จะช้าลงใบอาจแห้ง กรอบได้เราสามารถ เพิ่มความชื้นนภายในโรงเรื อนได้เช่น การใช้ซาแรนกั้นรอบๆโรงเรื อน ปูพ้นื โรงเรื อน ช่วยดูดซับน้ าไว้ได้เช่นอิฐ หรื อพื้นดิน การมีระบบพ่นหมอก การรดน้ าบนพื้นดินเพื่อเพิ่มความชื้นและลด อุณหภูมิในโรงเรื อน 4 การระบายอากาศ เฟิ นสายจะเจริ ญเติมโตได้ดีหากโรงเรื อนมีการระบายอากาศที่ดี มีลมพัดผ่าน ตลอดเพราะจะช้วยลดความร้อยและมีการถ่ายเทของคาร์ บอนไดออกไชด์ ซื่ งจาเป็ นต่อการสังเคระห์แสง ของเฟิ นการระบายอากาศจะเป็ นตัวกาหนดที่ต้ งั ของ โรงเรื อนทีไม่มีสิ่งปลูกสร้างมาบดบัง ความสู งของ โรงเรื อนไม่ควรต่าเกินไปแนะนาอย่างน้อย 2.50 เมตร โรงสู งการระบายอากาศได้ดีกว่า ความถี่ห่างของการ แขวนเฟิ นควรจะแขวน1กระถางเว้นอีก 1 กระถางรวมถึงการเลือกภาชนะปลูกและวัสดุปลูกด้วยหากการ ระบายอากาศในโรงเรื อน ที่ดีจะมีผลต่อการลดการระบาดของโรคและแมลงในโรงเรื อน


5 ศัตรู เป็ นปั จจัยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตและความสวยงามของเฟิ นสายโดนแมลงทาลาย เฟิ นก็จะ ชะงักการเติบโตโดยเฉเพาะเพลี้ยทาให้เฟิ นมีสีเหลืองขาดความงามหรื อ แมลงที่เข้ากัดกินยอด ใบหรื อรากทา ให้ยอดที่ถูกกินเมื่อเฟิ นเติบโตขึ้นฟอร์ มก็จะไม่สวยงามหรื อพวก วัชพืชต่างๆที่ข้ ึนบนกระถางแย่งปุ๋ ยแย่งน้ า ต่างๆบางครั้งทาไห้เฟิ นผิดรู ปทรง ได้เช่น ต้นไทรที่เกิดจากนกมาถ่ายมูลไว้แล้วเกิดงอกเป็ นต้นขึ้นมา 6 สารเคมีต่างๆ เช่น ปุ๋ ย ยาฆ่าแมลง ยารักษาโรคมีผลต่อการเลี้ยงเฟิ นหากเราใช้ผดิ วิธีหรื อใช้เกินปริ มาณที่ กาหนด อาจทาให้ใบไหม้หรื อรากเน่าได้ควรใช้ให้นอ้ ยกว่าปริ มาณที่ระบุไว้เพราะไม่มี สารเคมีตวั ใหนที่ ระบุที่ฉลากระบุถึงการใช้ยาชนิดนั้นกับเฟิ นสายเลย

โรงเรือนสาหรับเลีย้ งเฟิ นสาย โรงเรื อนเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับการเลี้ยงเป็ นอย่างมากเพราะเป็ นเหมือนบ้านหรื อ ที่อยูอ่ าศัยหากที่อยู่ ดีเฟิ นที่เราเลี้ยงไว้ก็สุขภาพดีเจริ ญเติบโตสวยงาม ให้เจ้าของได้เชยชมเพราะฉะนั้นหากการจัดการหรื อภาพ แวดล้อมในโรงเรื อนไม่ดี แล้วสุ ขภาพเฟิ นก็แย่ไปด้วยเพราะการสร้างโรงเรื อนที่ดีจะต้องกรองแสงได้อย่าง น้อย 50 % และมีแสงส่ องเข้ามาในโรงเรื อนไม่นอ้ ยกว่า 8 ชัง่ โมงและสามารถเก็บความชื้นภายในโงเรื อนได้ อย่างน้อย 50-60 % หากให้เฟิ นเติบโตดีความชื้นควรอยูร่ ะหว่าง 60-80 % โรงเรื อนที่ยงั ไม่ได้นาเฟิ นเข้ามา เลี้ยงเราอาจเห็นว่ามันไม่ค่อยชื้นแต่ เมื่อเรานาเฟิ นเข้ามาแขวนจนเต็มตัวเฟิ นเองจะช้วยกันในการรักษา ความชื้นได้ หากความชื้นไม่พอก็สามารถรดน้ าบนพื้นดินได้หรื อการนาเอาอ่างน้ ามาวางไต้โรง เรื อนก็ พอช้วยได้บา้ ง บางครับนักเลี้ยงเมื่อใหม่อาจยังไม่มีโรงเรื อนอาจ แขวนไว้ชายคาบ้าน ริ มหน้าต่าง แต่ตอ้ ง คานึงถึงการรับแสงการระบายอากาศ และคอบจับหมุนกระถางทุกๆเดือนเพื่อให้เฟิ นได้รับแสงทุกด้าน ฟอร์ มไม่เสี ยวิธี การให้นาปุ๋ ย ยาฆ่าแมลง 2 ใต้ร่มไม้บริ เวณบ้านอาจ จะนาไปเกาะเลยกับต้นไม้หรื อการ ปลูกไว้ในกระถางแล้วแขวนไว้กบั กิ่งไม้ แต่ตอ้ งคานึงถึงชนิดและขนาดของไม้ดว้ ย เช่น ต้นมะมวงจะมียาง


ใหลออกมาแล้วไปโดนใบหรื อยอดทาให้เฟิ นไม่สวยหรื อโรคเข้าทาลาย ได้ง่าย ต้นขนุนอาจมีราที่เกิดจากลูก ที่เน่าได้อะไรเหล่านี้ การปลูกเลีย้ งเฟิ นภายในโรงเรือน สถานที่ที่เหมาะสมกับการเลี้ยงเฟิ นสาย 1 ควรรับแสงได้ ตลอดทั้งวันไม่มีตน้ ไม้หรื ออาคารมาบดบังหากหลีกไม่ได้ควรสร้างโรงเรื อนให้รั บ แสงแดดในช่วงเข้า ดีกว่าบ่าย 2 มีอากาศถ่ายเทได้ดี 3 น้ าไม่ท่วม 3 พื้นที่ราบ มีแหล่งน้ า ขนาดโรงเรือน ไม่มีกาหนดตายตัวแต่ส่วนใหญ่จะยืดตามขนาดของเหล็กที่นามาก่อสร้าง เช่น 6x6 เมตร 6x12 เมตร 12x12 เมตร หรื อ 24x24 เมตรหรื อแล้วแต่ขนาดแปลงที่ดินด้วยแต่หากยืดตามความยาวของเหล็กเส้นแล้วการก่อสร้างจะทาได้ง่าย กว่าส่ วนความสู งอย่างน้อย 2.5- 3.00เมตรจะเหมะที่สุดเพราะเมื่อเฟิ นกอใหญ่ข้ ึนปลายเส้นควรอยูส่ ู งกว่าพื้น ดินไม้นอ้ ยกว่า 60 ซม. เพราะหากต่ามากเชื้อโรคอาจ

กระเด็นมาติดที่ปลายยอดได้โรงสู งจะระบายอากาศได้ดี

โครงสร้ างโรงเรือน อาจมีหลายรู ปแบบ ถ้าโรงชัว่ คราวอาจทาด้วยไม้ไผ่ ไม้เนื้อแข็ง ปูนซี เมนต์ หรื อเหล็กแป็ บอยูท่ ี่จุดประส่ งของคนเลี้ยงหากมือใหม่อาจทาด้วยไม้ชวั่ คราว ก่อนแต่อยูไ่ ด้ไม่เกิน 8-10 เดือนก็ตอ้ งเปลี่ยนใหม่หากเลี้ยงระยะยาวก็ตอ้ งใช้เหล็กไปเลย เสาโรงเรื อนทาด้วยปูนซิ มนต์อดั แรง ขนาด 4x4 นิ้วยาว 3 เมตรฝังลงดิน 0.50 เมตรเทคอนครี ตกันโยกเหลือเหนือพื้นดิน 2.50 เมตรขนาดเสาห่างกัน 3 เมตร หากต้องการสร้างโรงเรื อนขนาด 12x12 เมตรจะต้องใช้เสาคอนกรี ตจานวน 25 ต้น ใช้เหล็กเส้นหลัก พาดหัวเสาขนาด 1.5 นิ้วคาดเหลืองจานวน 10 เส้นพร้อมข้อต่ออีก 5 ตัวแล้วเชื่อมติดกับเหล็กเสาคอนกรี ต ใช้เหล็กขนาด 6 หุนพาดบนเหล็ก2.5 นิ้วอีกที่แล้วเชื่อมติดระยะห่างเส้นละ 0.60 เมตรจานวน40 เส้นข้อต่อ 20 ตัว และใช้ซาแรน (saran)เป็ นวัสดุมุงหลังคากรองแสงประมาณ 50-60 % แนะนาให้ใช้สีดาจะเก็บความ ร้อนไว้ได้มากกว่าเย็บและมัดด้วยเชือกชนิดกัน ยูวี จะมีอายุใช้ได้นานความร้อนในโรงเรื อนจะสู งใน ช่วงเวลา 14.00น.หลังจากนั้นจะค่อยๆลดลงและต่าสุ ดก่อน 9.00น.ควรใช้ซาแรนกันด้านข้างด้วยเพื่อช้วยกัน เก็บความชื้น


โครงสร้างโรงเรื อน วัสดุโรงเรื อนขนาด 12x 12 เมตร ต้นทุกการก่อสร้างไม่รวมค่าแรงและระบบน้ าประมาณ 35000 บาท 1 ใช้เสาพริ กไทย 25 ต้น 2 เหล็กประปาคาดเหลืองขนาด 1.5 นิ้วจานวน 10 ท่อน 3 เหล็กประปาดาดเหลืองขนาด 6 หุนจานวน 40 ท่อน 4 ข้อต่อเหล็ก 1.5 นิ้วจานวน 5 ตัว ขนาด 6 หุน 20 ตัว 5 ซาแรนสี ดา 50 % จานวน 2 ม้วน 6 เชือกมัด 1 ม้วน

โรงเรื อนพลาสติก

โต๊ะอนุบาลลูกไม้

โต๊ ะเพาะและอนุบาลเฟิ นสาย เป็ นโต๊ะสาหรับใช้วางตะกร้าเพาะหรื อลูกๆที่อนุบาลไว้ทาไห้ลูกไม้ มีความ ปลอดภัยจากศัตรู ต่างๆ เช่นหมา หนุ หอยทาก ฯลฯ ขนาดที่ก่อสร้าง 1X6 เมตรต่อชุด ราคาการ


ก่อสร้างอยูท่ ี่ 2500 บาท วัสดุมี 1 เหล็กประปา 4 หุนคาดเหลือง 4 เส้น 2 เสาโต๊ะขนาด 2X2นิ้ว ยาว 1.00 เมตร จานวน 8 ต้น 3 คานคอนกรี ต 2x2 นิ้ว ยาว 1.20 เมตรใช้วางพาดหัวเสามัดด้วยลวด 3 มม. 4 ตะกราง พลาสติก 32 ชิ้น 5 ลวด 1 กก. การก่อสร้างโดยการเจาะหลุมเสาฝังลึก 20 ซม ระยะเสา 1x2 เมตรใช้ระดับ น้ าถ่ายระดับเพื่อให้ดูเป็ นระดับเดียวกันวางคานบนหัวเสามัดด้วย ลวดให้แน่นทุกเสาแล้วนาเหล็กเส้น4 เส้น มาวางบนคานแล้วใช้ตะแกรงวางให้พอดีกบั ระยะรอยหยักของตะแกรงจุดหัว กลาง ท้าย แล้วมัดเหล็กให้ติด กับคานทุกจุด นาตะแกรงมาวางให้เต็มพื้นที่เป็ นอันเสร็ จ การขยายพันธุเฟิ นสาย

เฟิ น สายจัดเป็ นไม้ในกลุ่มพืชคล้ายเฟิ นแบบอิงอาศัยซึ่ งเป็ นพืชชั้นต่าไม่มีดอกแต่

จะมีสปอร์ ทาหน้าที่ในการขยายพันธุ ซ่ ึ งสปอร์ จะอยูท่ ี่ปลายสุ ดของต้นเฟิ นที่ เราเรี ยก สตอบิลสั (strobilus ) ภายในของสตอบิลสั จะมีเม็ดสปอร์ อยูเ่ มื่อแก่เต็มที่ก็จะแตกออกปลิวกระจายไป ตกในพื้นที่ที่สภาพแวดล้อม เหมาะสมก็จะเกิดเป็ นชีวติ ใหม่ซ่ ึ งการขยายพันธุ แบบนี้อาจได้เฟิ นสายสายพันธุ ใหม่ๆออกมากได้ อีกแบบ จะเป็ นการขยายพันธุ โดยการใช้ส่วนต่างๆของต้นเฟิ นเอง เช่น หน่อ ลาต้น ยอด ปลายสตอบิลสั ซึ่งการขยาย พันธุ แบบนี้รุ่นลูกที่ออกมาจะเหมือนต้นแม่ทุกประการ

การอนุบาลลูกเฟิ นสาย

การขยยายพันธุโดยสปอร์

ชนิดและวิธีการขยายพันธุเฟิ นสาย 1 การขายพันธุโดยการใช้ สปอร์ ( spores ) สปอร์ ถือว่าเป็ นส่ วนที่สาคัญของเฟิ นสายซึ่ งทาหน้าที่ในการขยาย พันธุเพื่อ ดารงเผ่าพันธุ ตามธรรมชาติของเฟิ นโดยสปอร์ ของเฟิ นสายจะอยุส่ ่ วนปลายสุ ดเส้น ของเฟิ นเมื่อ เฟิ นสายเจริ ญเติบโตจนแก่เต็มที่ก็จะออกสตอบิลสั ภายในสตอบิลสั จะ มีเม็ดสปออยูเ่ มื่ออายุแก่เต็มที่ก็จะ แตกออกเป็ นผงละเอียดสี ขาวขุ่นส่ วนใหญ่ ที่พบจะแตกในช่วงเช้าและปลิวกระจายไปตามลมเมื่อไปตกตาม


คาคบไม้ซ่ ึงมีความ ชื้นและมีซากพืชเน่าเปื่ อยสระสมอยูม่ นั ก็จะเกิดเป็ นชีวติ ใหม่ข้ ึนมาซึ่ งมี นักวิชาการบาง ท่านกล่าวไว้วา่ สปอร์ จะใช้เวลาในการพักตัวประมาณ 20 ปี และต้องอาศัยเชื้อไมโดรไรซา ช่วยในการย่อย สลายเศษซากพืชต่างเป็ นอาหารแต่จากประสบการณ์ที่พบการงอกของ สปอร์ จะใช้เวลาไม่เกิน 1 ปี เท่านั้นซึ่ ง มีขอ้ มูลอ้างอิงชัดเจนจากรู ปที่เห็นเพียงแต่เฟิ นสายที่เกิด จากสปอร์การเจริ ญเติบโตจะช้าการขยายพันธุโดย วิธีอื่นๆค่อนข้างมาก 2 การขายพันธุโดยการแยกหน่ อผ่ ากอ เป็ นการขยายพันธุ ที่ง่ายที่สุดและรวดเร็ วเพียงแต่นาเฟิ นที่เลี้ยงอยุม่ า ถอด ออกจากกระถางแล้วใช้มืดที่คมและสะอาดผ่าเอาเส้นที่ตอ้ งการออกหรื อจะผ่าแบ่ง ครึ่ งกอก็ได้แต่เท คนิดการผ่าพยายามดูวา่ เฟิ นกอนั้นมีเหง้าแยกกันไหมถ้ามี เหง้าแยกเป็ น2 ส่ วนจะทาให้การผ่าทาได้ง่ายโดย การผ่าไปตามส่ วนที่เหง้าแยกกันได้สบายโดยไม่ เกิดบาดแผลหรื อการช้ าน้อยกว่าที่เฟิ นมีเหง้าเดียวหลังจาก นั้นก็นามาตัดแต่ง รากและฉี ดน้ าล้างรากให้วสั ดุเก่าที่หมดอายุแล้วออกไปแล้วนามามัดตุม้ ด้วยชาย ผ้าใหม่ เราก็จะได้เฟิ นมา 2 กอที่เล็กลงสามารถนาไปปลูกลงกระถางใหม่ได้เลยหากให้ระบบรากฟิ้ นตัวเร็ วก็หายา กันเชื้อราผสมเร่ งรากรดแทนนาอย่างน้อยสัก 2 อาทิตย์เก็บไว้ในโรงเรื อนทีไม่โดนน้ าฝนระบบรากก็จะฟื้ น ตัวภายในระยะเวลา 1-2 เดือน

การขยายพันธุ โดยการผ่ากอ

การขยายพันธุ แบบปลายยอดกระดก

4 การขยายพันธุโดยการ ใช้ปลายยอดอ่อน ปลายยอดเฟิ นสายที่ยงั อ่อนอยุเ่ ยือ่ เจริ ญที่ตายอดสามารถ เจริ ญเติบโตเป็ นต้น ใหม่ได้กรณี เฟิ นสายเส้นขาดสามารถนามาวางบนขุยมะพร้าวเหมือนการเพาะสตอบิลสั ยอดที่วางก็จะกระดกขึ้นเป็ นต้นใหม่พร้อมออกรากและเจริ ญเติบโตจนสามารถแยกไป อนุบาลได้หรื อ


บางครั้งลาต้นหรื อเส้นที่ไม่มีตายอดเอามาวางนอนบนวัสดุเพาะก็ สามารถเกิดเป็ นต้นอ่อนได้แต่เกิดได้นอ้ ย และไม่แน่นอน 5 การขยายพันธุโดยใช้ ปลายสตอบิลสั (strobilus ) เป็ นการขยายพันธุ โดยการใช้ส่วนของปลายสุ ดของเฟิ น สายที่เราเรี ยกว่าสตอบิลสั ( strobilus ) เมื่อเฟิ นเส้นที่เราเลี้ยงแก่ลงก็จะเกิดเป็ นปลายเมื่ออายุประมาณ 8-12 เดือนก็สามารถตัดเอามาเพาะบนวัสดุเพราะได้สามารถเพราะได้ในปริ มาณมากไม่แพ้ การเพาะในอาหารวุน้ ใช้เวลาเพราะประมาณ 8-10 เดือน โดยเตรี ยมอุปกรณ์ที่ ใช้คือ ตะกร้าพลาสติก กระดาษหนังสื อพิมพ์ ลวด ขุยมะพร้าวสับ ปลายสตอบิลสั

การขยายพันธุโดยปลายยอด

การขายพันธุโดยสตอบิลสั

ขั้นตอนการเพาะเฟิ นสายโดยสตอบิลสั 1 การเตรี ยมอุปกรณ์โดยนาตะกร้าพลาสติกมายืดติดกับลวดขนาด 3 มม.โดยการงอเกี่ยวกับขอบมุม ของตะกร้าไขว้เป็ นรู ปกากบาทแล้วใช้กระดาษหนังสื อ พิมพ์รองข้างล่าง 2 นาขูยมะพร้าวมาใส่ ในตะกร้าประมาณ 2 ใน 3 ของความสู งของตะกร้าปรับผิวหน้าให้เรี ยบ


เตรี ยมตะกร้า

หุม้ ด้วยถุงพลาสติก

ใส่ ขยุ มะพร้าววางปลายสตอบิลสั

ลูกจากการเพาะ 10 เดือน

การแยกลูกไม้ เพือ่ การอนุบาล ไม้ที่เราเพาะไว้เมื่อโตพอที่จะแยกได้หรื อผ่านการเพาะมาแล้วอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไปแต่ถา้ เหมาะสมก็ผา่ น การเพาะมา 8 เดือนหรื อยาวไม่นอ้ ยกว่า 3 ซม.เราก็นามาแยกปลูกในกระถาง 1 นิ้วหรื อถาดรวมขนาด 1-1.5 นิ้วแล้วแต่หาได้หากยังอยูใ่ นตะกร้าเพาะแล้วยังไม่ได้แยกมาอนุบาลจะเจริ ญ เติมโตช้าการเตรี ยมลูกไม้ที่ เพาะไว้เพื่อการอนุบาลต้องมีการปรับสภาพก่อน เพราะไม้ที่เพาะไว้จะอยูใ่ นตะกร้าที่มีถุงพลาสติกคลุม ตลอดอายุการเพาะไม่โดน ลมหรื อสภาพแวดล้อมภายนอกหากมีการถอดถุงทันทีจะทาให้ใบไหม้ได้ โดยเฉพาะในหน้า ร้อน โดยการค่อยๆเปิ ดถุงครั้งละนิดๆสัก1 อาทิตย์จนกว่าลูกไม้ที่เพาะปรับตัวได้แล้วค่อย


นามาหนีบหรื อหากเป็ นช่วงที่ฝน ตกติดต่อกันต่อเนื่องหลายวันก็จะไม่ค่อยมีปัญหาสามารถเปิ ดได้เลยหรื อ หากลูก ไม้ที่เปิ ดไว้ยงั ไม่พร้อมที่จะหนีบก็สามารถอนุบาลในตะกร้าที่เพาะได้ระยะ หนึ่งไม่เกิน 3 เดือนโดย การหว่านปุ๋ ยละลายช้าในตะกร้าและอนุบาลไว้ใต้หลังคาพลาสติกไม่เช่น นั้นแล้วหากโดนฝนจะทาให้วสั ดุ ที่เพาะไหลออกได้ ขั้นตอนการหนีบ การแยกลูกไม้เพื่อการอนุบาลต้องมีการเตรี ยมอุปกรณ์ต่างเช่น ถ้วยนิ้ว หรื อถาดนิ้ว ซาก ชายผ้าสี ดา มีด นาน้ าล้างรากผสมยาเร่ งรากโดยการถอนลูกไม้ที่เพราะไว้แล้วดึงเอาขุยมะพร้าวออก ให้มาก ที่สุดนาไปล้างในน้ ายาเร่ งรากอีกที่แล้วค่อยนามาหนีบ

แยกลูกจากตะกร้า

หนีบด้วยซากชายผ้า

นาไปปลูกในถาดได้เลยการใช้ถาดรวมสามารถยกตะแคงได้พร้อมที่จะนาไปอนุบาลต่อให้ระบบรากเข็งแรง แตกหน่อแตกยอดใหม่อย่างน้อย 4-6 เดือนหรื อยาวไม่นอ้ ยกว่า 15 ซมก็นามาจับห้อยได้เลยเพราะฉะนั้นการ เพราะและอนุบาลลูกไม้ใช้ระยะเวลาอย่าง น้อย 12 เดือน


วัสดุปลูกหรือเครื่องปลูกเฟิ นสาย เป็ นสิ่ งห่อหุ ม้ และให้รากของเฟิ นเกาะยืดไว้และยังมีหน้าทีในการเก็บความชื้น แร่ ติต่างๆเพื่อใช้ใน การเจริ ญเติบโตต่อไปเพราะหากคุณภาพเครื่ องปลูกไม่ดี อาจทาให้เฟิ นสายที่เราเลี้ยงไม่เจริ ญเติบโต เท่าที่ควรหรื ออาจเป็ นแหล่งของ การสระสมเชื้อโรคแมลงต่างๆได้ คุณสมบัติของวัสดุที่ดีควรมีลกั ษณะ ดังนี้ 1ช่วยให้รากเดินดีเจริ ญเติมโตสวยงาม 2 หาง่าย 3 ราคาไม่แพงมากเกินไป 4 ไม่ยอ่ ยสลายเร็ ว จนเกินไป 5 ไม่เป็ นแหล่งสระสมของเชื้ อโรคและแมลง 6 ดูดซับน้ าได้แต่ไม่อุม้ น้ ามากจนเกินไป 1 ซากชายผ้าสั บ เป็ นวัสดุที่ได้จากเนื้อของชายผ้าสี ดาที่ตายแล้วนามาสับให้มีขนาด 2*3 ซม.ควร เป็ นชายผ้าที่ยงั สดใหม่ไม่ผเุ ปื่ อยสังเกตง่ายสี ตอ้ งเป็ นสี เหลืองซึ่ ง จะเหมาะกับการปลูกเลี้ยงเฟิ นสายมากๆ คุณสมบัติเด่นของซากกระเช้าสี ดาคือ อายุการใช้งานยาวนาน อย่างน้อย 3 ปี การอุม้ น้ าค่อนข้างมากในช่วง หน้าฝนแต่ก็สามารถแก้ได้โดยการสับไม่ละเอียด เกินไป การเลือกกระถางที่ระบายน้ าดีก็สามารถแก้จุดด้วย นี้ได้ เนื้อละเอียดพอเหมาะกับการยืดเกาะของรากไม่หยาบหรื อละเอียดเกินไปรากสามารถ ยืดเกาะได้ง่าย และกักเก็บปุ๋ ยไว้ในวัสดุได้ดีเฟิ นสามารถดึงดูดไปใช้ได้ง่าย ไม่เป็ นพิษต่อเฟิ นที่เลี้ยง แต่ปัจจุบนั นี้ กระเช้าสี ดาตามธรรมชาติเริ่ มหายากทาให้ราคาค่อนข้างแพงพอ สมควร

ซากชายผ้าสี ดา

กาบมะพร้าวสับ


2 กาบมะพร้ าวสั บ จัดว่าเป็ นวัสดุที่หาได้ง่าย ราคาถูกมีขายตามร้านขายต้นไม้ทวั่ ไป เหมาะกัยการปลูกเลี้ยง เฟิ นสายสับละเอียด1*2 ซม.ก่อนนามาใช้ควรนาไปแช่น้ าเสี ยก่อนเพื่อละลายเอาสารแทนนินออกไปซึ่ งน้ าสี น้ าตาลที่ละลายออกมากับน้ าเพาะสารนี้จะทาให้ระบบรากเฟิ นไม่เจริ ญเติบโตมีผล ต่อการเติบโตของเส้น สายด้วย เป็ นไปได้ควรแช่และเปลี่ยนน้ าอย่างน้อย 3 รอบจนกว่าสี น้ าจะใสขึ้นกาบมะพร้าวสับเหมาะกับการ เลี้ยงเฟิ นได้ทุกรุ่ นทุก ชนิด ดูดซับน้ าได้ปานกลางอายุใช้งานน้อยประมาณ 15-20 เดือนก็เริ่ มเปื่ อยแล้ว (ขึ้นอยูก่ บั การรดน้ าบ่อยหรื อใสปุ๋ ยบ่อยหรื อป่ าว )หากกาบมะพร้าวเปื่ อยแล้วจะอุม้ น้ ามากระบบรากไม่เดิน ต่อทาให้เฟิ นทรุ ด ตัวอย่างรวดเร็ วหากเจอแบบนี้ตอ้ งรี บเปลี่ยนวัสดุปลูกให้เร็ วที่สุด 3 รากข้ าหลวง เป็ นวัสดุที่ได้จากส่ วนรากของข้าหลวงหลังลายที่กอใหญ่ๆจะมีรากออกมาเป้ นก่อน ใหญ่จะ พบมากตามต้นปาล์มน้ ามันทางภาคใต้ หาได้ไม่ง่ายนักราคายังไม่แพงมาก ลักษณะเนื้อจะละเอียดมาก การ อุม้ น้ าเกิดได้มากควรสับให้หยาบสามารถทดแทนวัสดุอย่างอื่นได้แต่อายุจะ เปื่ อยแร็ วอาจใช้ได้แค่ 18 เดือน ต้องเปลี่ยนใหม่ 4 สแฟกนั่มมอส เป็ นวัสดุที่ได้จากส่ วนของลาต้นมอส นามาตากแห้งและอบฆ่าเชื้อมีความสามารถอมน้ า ได้มาก น้ าหนักเบา มีความโปร่ งแต่หายากและราคาค่อนข้างแพงการเกาะของรากเฟิ นไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่งจะมี ผลต่อการเจริ ญเติบโตของเฟิ นด้วย

รากข้าหลวง กระถางปลูกเฟิ นสาย (port) กระถาง ถือว่าเป็ นภาชนะที่สาคัญในการปลูกเลี้ยงเฟิ นสายเฟิ นสายจะเจริ ญเติบโตสวยงาม ให้เรา ชื่นชมตลอดการเลือกภาชะนะปลูกถือว่ามีความสาคัญปั จจุบนั นี้ภาชนะปลูก ที่ผลิตขายกันตามท้องตลาดมี มากมายหลายชนิดทั้งภาชนะที่ทาด้วยดินเผา ทาด้วยไม่สัก ทาด้วยพลาสติก ทาด้วยเหล็ก หรื อการเลือกปลูก จากต่อไม้จากธรรมชาติที่หาได้ทวั่ ไปการที่ผเู ้ ลี้ยงเฟิ นสาย จะเลือกแบบใหน หรื อจากวัสดุชนิดใดก็อยูท่ ี่ ความเหมาะสมของเฟิ นชนิดนั้นๆไป


1 ภาชนะดินเผา เป็ นภาชปลูกเฟิ นที่สามารถหาซื้ อได้ง่ายมีขายตามท้องตลาดภาชนะที่เหมะสมควร เป็ นทรงเตี้ย มีรู้ระบายน้ าและระบายอากาศ รอบๆกระถางที่มีจาหน่ายตามท้องตลาดมีหลายขนาด ตั้งแต่ 8 นิ้ว 10 นิ้ว 12 นิ้ว 14 นิ้ว สามารถเลือกขนาดได้ตามต้องการตามชนิดและขนาดของเฟิ น ข้อดี หาซื้ อได้ง่าย ราคาถูก เก็บความซื้ อและช้วยลดอุณหภูมิภายในวัสดุปลูก การระบายอากาศดี ดูเป็ นธรรมชาติติมาก ข้อเสี ย น้ าหนักมาก แตกง่าย

กระถางดินเผา

ตะกร้าเหล็ก

2 กระเช้ าเหล็ก เป็ นภาชนะปลูกเฟิ นสายที่ทามาโดยเฉพาะสามารถเปิ ดด้ านข้ างได้ กรณีต้องการ เปลี่ยนกระถางโดยไม้ ต้องใส่จากด้ านล่างเพราะบางครัง้ ตุ้มเฟิ นจะใหญ่กว่ารู ด้ านล่างของกระถางทาให้ สะดวกในการใช้ งานเหมาะกับเฟิ นสายทุกชนิด มีหลายขนาดให้ เลือกใช้ ตามขนาดของเฟิ น ตังแต่ ้ 8-10-1214-16 นิ ้ว ข้ อดี เหมาะกับการปลูกเฟิ นสวยที่ต้องการระบายน ้าในภาชนะที่รวดเร็ว น ้าหนักเบา ข้ อเสีย ราคาแพง มีวชั พืชขึ ้นรอบๆกระถางมาก 3 กระถางพลาสติกทรงสีเหลี่ยม เป็ นกระถางที่หาซื ้อได้ ง่ายน ้าหนักเบาราคาถูก เหมาะกับการ ปลูกเลี ้ยงเฟิ นสายที่ต้องการระบายน ้าและอากาศดีเช่นการปลูก เลี ้ยงนางกรองชนิดต่าง หางสิงห์ หรื อสิงห์ สร้ อย


กระถางพลาสติกทรงสี่ เหลี่ยม

กระถางพลาสติกทรงกลม

4 กระถางพลาสติกทรงกลม เหมาะกับการเลี้ยงไม้ที่ตอ้ งการระบายน้ าและอากาศที่ดี หรื อไม้ที่เรื่ ม จับปลูกห้อยลงราคาไม่แพงต้นทุนต่าสามารถขนย้ายได้ง่ายแต่มี ข้อเสี ยในหน้าแล้งต้องรดน้ าบ่อยและมี วัชพืชขึ้นรอบๆกระถางมาก 5 กระถางพลาสติก 8 และ 10 นิว้ เหมาะ สาหรับการเลี้ยงเฟิ นสายที่ผา่ นการปลูกเลี้ยงในกระถาง 5 หรื อ 6 นิ้วมาก่อนเพื่อให้เฟิ นเจริ ญเติมโตเร็ วยึ่งขึ้นก่อนที่จะเปลี่ยนเป็ นกระถาง 12 นิ้วสามารถเลี้ยงอยูใ่ น กระถางขนาดนี้ได้เป็ นเวลา 1-2 ปี เฟิ นก็จะกอใหญ่จาเป็ นต้องเปลี่ยนเป็ นกระถาง 12 นิ้ว

กระถางพลาสติก 6 นิ้ว

กระถางพลาสติก 10 นิ้วทรงเตี้ย

6 กระถางพลาสติก 6 นิว้ เหมาะกันการปลูกเลี้ยงเฟิ นสายที่พ่ งึ เริ่ มจับห้อยครั้งแรกเพราะขนาดกระ ทัด รัดเหมาะกับเฟิ นยังเล็กวัสดุปลูกไม่มากสามารถเลี้ยงอยูใ่ นกระถางรุ่ นนี้ได้ 1.5-2 ปี แล้วจึงเปลี่ยนเป็ น กระถางรุ่ น 10 นิ้ว


7 กระถางไม้ สัก เป็ นกระถางที่ผลิตออกมาเพื่อการปลูกกล้วยไม้แต่สามารถดัดแปลงเพื่อมาเลี้ยงเฟิ น สายได้มีให้เลือก ตั้งแต่ 10 -12-14 นิ้วสามารถเลือกใช้ได้ตามขนาดของเฟิ นเหมาะสาหรับปลูกเฟิ นที่ตอ้ งการ ดูเป็ น ธรรมชาติ การระบายน้ าและอากาศดีแต่ในช่วงหน้าแล้งอาจต้องรดน้ าบ่อยและวัชพืชขึ้นมาก 7 ตอไม้ เป้ นภาชนะปลูกเฟิ นที่หาได้จากธรรมชาติโดยตอไม้ที่นามาปลูกจะมีชอ้ งว่างหรื อ โพรงไม้ เราก็นาเฟิ นสายมาปลูกลงในช้องว่างและติดลวดแขวนเหมาะกับเฟิ นทุกชนิด ปลูกแล้วดูเป็ นธรรมชาติ มากกว่าวัสดุอื่นๆ

กระถางไม้สัก

ตอไม้

ปุ๋ ยสาหรับเฟิ นสาย (Fertilizer ) ปุ๋ ยเป็ นธาตุอาหารที่จาเป็ นในการเจริ ญเติบโตของเฟิ นทุกระยะ การเจริ ญเติบโตใน ธรรมชาติเฟิ นสายจะได้รับธาตุอาหารจากซากพืชซากสัตว์ที่ตกหล่นเน่าเปื่ อยย่อย สลาย โดยจุลินทรรี ยท์ บั ทมกันบริ เวณคาคบไม้ที่รากเฟิ นสายเกาะอยูแ่ ต่เมื่อเรานา มาเลี้ยงภายในภาชนะปลูกธาตุ อาหารเหล่านี้จะไม่ได้รับเหมือนกับเฟิ นที่อยู่ ตามธรรมชาติจาเป็ นต้องมีการใส่ ปุ๋ยเพิม่ ให้กบั เฟิ นเพื่อให้เจริ ญ เติมโตสวย งามตามที่ตอ้ งการ ธาตุอาหารที่จาเป็ นสาหรับเฟิ นสายซึ่ งเป็ นธาตุอาหารหลักมีอยู่ 3 ตัวคือ 1 ธาตุไนโตรเจน (์​์N) ทา หน้าที่ในการเร่ งการเจริ ญเติบโตทุกส่ วนของเฟิ น ตั้งแต่ ใบ ลาต้นรากเฟิ น ต้องการมาก 2 ธาตุฟอสฟอรัส (P) ทาหน้าทีในการเร่ งราก เร่ งความแก่ให้กบั เฟิ นสายหากใส่ มากเฟิ นจะออกสตอบิลสั เร็ ว 3 โปแตสเชี่ยม (K ) ทาหน้าที่ในการในการเคลื่อนย้ายแป้ งและน้ าตาล ทาให้ตน้ และใบแข็งแรงต้านทานต่อโรคและเมลง ชนิดของปุ๋ ยสาหรับเฟิ นสาย 1 ปุ๋ ยเคมี หรื อปุ๋ ยวิทยาศาสตร์ เป็ นปุ๋ ยที่หาซื้ อได้ง่ายได้ปริ มาณเนื้ อปุ๋ ยครบถ้วนตามความต้องการของ เฟิ น ปุ๋ ยเคมีที่เหมาะกับเฟิ นสายมีหลายชนิดเช่น ปุ๋ ยละลายช้า ปุ๋ ยเกล็ดฉี ดทางใบ


1.1 ปุ๋ ยละลายช้ าหรือ ปุ๋ ยควบคุมการปลดปล่อย โดยปุ๋ ยจะเคลือบสารแรซิ่ นไว้ทาให้น้ าค่อยๆซึ มเข้า ไปในเม็ดปุ๋ ยเพื่อละลาย เนื้อปุ๋ ยออกมาทาให้เฟิ นสายได้รับปุ๋ ยสม่าเสมออย่างเหมาะสมตลอดเวลาเฟิ นมี การ เจริ ญเติมโตอย่างต่อเนื่องช่วยลดความเสี่ ยงกับเฟิ นสายได้รับปุ๋ ยมากเกิน ไปซึ่งอาจทาให้เฟิ นชงักหรื อใบ ไหม้ได้ สู ตรที่มีขายตามท้องตลาดทัว่ ไป เช่นสู ตร 1ปี 18-18-18 หาซื้ อยากไม่ค่อยนิยม สู ตร6 เดือน 16-812+2 เหมะกับเฟิ นสายมากแต่ผนุ ้ าเข้าเลิกการนาเข้ามาขายในไทยแล้ว อีกสู ตรเป็ นสู ตร 3 เดือน 13-13-13 หาซื้ อได้ง่ายตามร้านขายปุ๋ ยทัว่ ไป 1.2 ปุ๋ ยเกล็ดละลายนา้ ฉีด เช่นสู ตร 46-0-0 สู ตร 21-21-21 ปุ๋ ยกลุ่มนี้เป็ นปุ๋ ยเกล็ดละลายน้ าฉี ดทางใบ ไม่เหมาะนาให้ใช้เพราะหากเข้มข้น เกินไปจะทาให้เฟิ นใบไหม้ได้หากจาเป็ นต้องใช่ควรละลายน้ าให้เจือ จากกว่าคาแนะ นาอย่างน้อย 2-3 เท่าและควรเลือกเวลาฉี ดตอนที่อากาไม่ร้อนแนะนาช่วงเวลา 7-10 โมงเช้า

ปุ๋ ยละลายช้าสู ตรแร่ งสี

ปุ๋ ยสู ตรเสมอทัว่ ไป

2 ปุ๋ ยอินทรีย์ หรือปุ๋ ยชี วภาพ เป็ นปุ๋ ยที่ได้จากสิ่ งมีชีวติ หรื อจากธรรมชาตินามาผ่านขบวนการต่างๆจน สามารถ นามาใช้กบั เฟิ นสายได้สามรถใช้ได้ตามความต้องการโดยไม้เป็ นพิษต่อเฟิ นสายแม้ จะใช้ปริ มาณ เข้มข้นมากก็ตาม 2.1 ปุ๋ ยปลาสกัด เป็ นปุ๋ ยที่ได้จากขบวนการสกัดจากปลาทะเลน้ าลึกอยูใ่ นรู ปน้ าเข้มข้นช่วยสร้าง การ เจริ ญเติบโตซึ่ งมีธาตุอาหารต่างๆครบถ้วยทาให้เฟิ นสายที่เลี้ยงเติมโตเข็ง แรงต้านทานต่อโรคและแมลงเร่ ง การออกราก การแตกหน่อ ทาให้เฟิ นสี เขียวเข้มใบเป็ นมันวาว ที่มีขายตามท้องตลาดทัว่ ไปเช่น ปุ๋ ยปลา ฟิ ช เชอร์ เป็ นน้ าข้นๆสี น้ าตาล สามารถใช้ได้ตามต้องการโดยการละลายน้ าฉี ดที่ใบจะมีกลิ่นปลา


2.2 สาหร่ ายสกัด เป็ นสาหร่ ายทะเลสายพันธุ Ascophyllum nodosum จาก ธรรมชาติ 100% ซึ่ งอยูใ่ น รู ปผงนามาละลายน้ าหรื อบางยีห่ อ้ ก็อยูใ่ นรู ปน้ าเข้มข้นแต่ก็เป็ น สาหร่ ายตัวเดียวกันเพียงแต่นามาละลายน้ า แบบเข้มข้น ตัวสาหร่ ายเป็ นฮอร์ โมนพืชที่ช่วยในการเร่ งการเจริ ญเติบโตเร่ งการออกราก การแตกหน่อทาให้ เฟิ นสายสามารถกินปุ๋ ยที่เราใส่ ให้ได้มากขึ้นช่วยลดการศูนย์ เสี ยปุ๋ ยที่เกิดจากการชะล้างจากน้ าฝนหรื อน้ าที่ รดให้กบั เฟิ นสามารถใช้ได้ตาม ต้องการแม้จะมีความเข้มข้นสู งก็ตาม

ปุ๋ ยปลาสกัด

สาหร่ าย

หลักและวิธีใส่ ปยให้ ุ๋ กบั เฟิ นสาย 1 ไม่ควรใส่ ปุ๋ยเมื่อวัสดุปลูกเฟิ นแห้งจนเกินไปวัสดุควรมีความซื่ นอยุห่ รื อควรรดน้ าตามทันที 2 ควรโรยปุ๋ ยให้กระจายทัว่ กระถางอย่ากองไว้จุดใดจุดหนึ่งบนกระถาง 3 ฤดูการมีผลต่อการให้ปุ๋ยเช่นหน้าฝนควรใสให้นอ้ ยกว่าฤดูอื่นๆเพราะฝนตกตลอดทาให้ปุ๋ยละลายออกมา มาก 4 ควรมัน่ สังเกตุหลัง่ จากเราใส่ ปุ่ยแล้วว่าเฟิ นตอบสนองอย่างไรบ้าง มีอาการอะไรบ้าง 5 การฉี ดปุ๋ ยทางใบควรฉี ดในตอนเช้าตั้งแต่ 6-10 โมงเช้าเพาะปากใบเฟิ นยังเปิ ดอยูแ่ ละฉี ดให้เป้ นฝอยมาก ที่สุดใบเฟิ นต้องไม่ เปี ยกน้ า 6 การใส่ ปุ๋ยต้องยืดหลักว่าใส่ นอ้ ยแต่บ่อยครั้ง ไม่ควรใส่ มากเกินขนาดของเฟิ น 7 การฉี ดปุ๋ ยเกล็ดควรใช้ดว้ ยความระมัดระวังความเข้มข้นน้อยๆและไม่ควรฉี ดในวันที่อากาศร้อนมา เกินไป 8 ช่วงอายุและขนาดของเฟิ นสายมีผลต่อการใส่ ปุ๋ยละลายช้า เช่น กระถาง 1 นิ้วไม้อนุบาลใส่ 1 เม็ด


กระถาง 4-6 นิ้วไม่รุ่นใส่ 10 เม็ด กระถาง 8-10 นิ้วใส่ 18 เม็ด กระถาง 12 นิ้วใส่ 25-30 เม็ด ทั้งนี้ให้ดูขนาดของเฟิ นด้วย( เป็ นค่าประมาณการ )

ระบบการให้ นา้ เฟิ นสาย น้ าเป็ นปั จจัยที่จาเป็ นสาหรับสิ่ งมีชีวติ ทั้งหลายแม้แต่เฟิ นสายที่เราปลูก เลี้ยงจะมีสวนประกอบ ของน้ าประมาณ 90 % เพราะน้ าทาหน้าที่ในขบวนการทางเคมีต่างๆเช่น การลดความร้อนภายในเชลโดย ขบวนการคายน้ า การลาเลียงอาหารจากวัสดุปลูกไปยังส่ วนต่างๆของต้นเฟิ น การปรุ งอาหารใน ขบวนการสังเคราะห์แสง ดัวนั้นในการปลูกเลี้ยงเฟิ นสายจึงจาเป็ นต้องมีการคัดสรรค์น้ าสาหรับการปลูก เลี้ยงเฟิ นสายการรดน้ าเฟิ นสายจะรด 3 วันรดครั้งในเขตต่างจังหวัดแต่สาหรับในเมืองที่อาการร้อนมาก และลมแรงอาจรด วันเว้นวันหากใช้ระบบสปริ งเกอร์ จะเปิ ดน้ าครั้งละ 15-20 นาที่ 1 คุณภาพน้ า ควรเป็ นน้ าที่สะอาดไม่เป้ นกรดหรอด่าง ไม่มีสารพิษที่เป็ นอันตรายต่อเฟิ น คุณภาพ น้ าที่เหมาะกับการปลูกเลี้ยงเฟิ นควรมีลกั ษณะดังนี้ ความเป็ นกรด-ด่างระหว่าง 5.5-6.5 ไม่มีสารโซเดียม คาร์บอเนต ซัลเฟต 2 แหล่งน้ า 2.1 น้ าฝน ใช้ได้ดีกบั เฟิ นสายทุกชนิดในข่วงหน้าฝนเฟิ นสายก็จะได้รับน้ าอยูแ่ ล้วแต่ เมื่อหมด ฤดูฝนก็ตอ้ งมีที่เก็บกักไว้ใช้แต่บางท้องที่ที่อยูใ่ นเมืองหรื อ ย่านอุตสาหกรรมหากเป็ นฝนตกครั้งแรกหรื อ แล้งมานานแล้วมีฝนตกอาจมีสารเคมีปะปน มาควรใช้น้ าจากแหล่งอื่นล้างใบทันทีเพราะอาจจะทาให้ใบ ไหม้ได้ 2.2 น้ าประปา สามารถใช้ได้ถา้ มีครอริ นควรใช้ถงั พักน้ าเสี ยก่อนเพื่อให้ครอริ นระเหยออกไป 2.3 น้ าจากแม่น้ า - ลาคลอง ส่ วนใหญ่จะมีตะกอนรดเฟิ นแล้วอาจทาให้ใบเป็ นคราบได้ควรดูสี น้ าที่ไม่แดงจน เกินไป หรื อในหน้าแล้งปริ มาณน้ าน้อยอาจมีสารพิษเจือปนที่เข้มข้นได้ 2.4 น้ าบาดาล น้ าบ่อ น้ าตก น้ าบาดาลอาจมีเกลือปะปนในบางพื้นที่เช่นทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ หากเป็ นน้ าตกถือว่าเป็ นน้ าที่มีคุณภาพดีที่สุดไม่มีสารพิษเจือปนและอุณหภูมิ น้ า เย็น


โรคของเฟิ นสาย เฟิ นสายเป็ นเฟิ นที่ปลูกเลี้ยงเพื่อการประดับส่ วนต่างๆของต้นไม่วา่ ใบ เส้น ยอด สตอบิลสั หากมีการ เลี้ยงที่ดีไม่มีสิ่งต่างๆมารบกวน เช่นโรคก็จะทาให้เฟิ นสายกระถางนั้นเติบโตแข็งแรงสวยงามให้ชื่นชม ตลอดการปลูก เลี้ยง แต่สิ่งมีชีวติ ทุกชนิดยอมหลีกไม่พน้ กับการเกิดโรครุ กรานแม้แต่เฟิ นสายที่เรา เลี้ยง หากปั จจัยต่างไม่เหมาสมก็ทาให้เชื้อโรคเข้าทาลายได้ โดยเฉพาะปั จจัยด้านการปลูกเลี้ยงไม่เหมาะสม เช่น แสงน้อยเกินไป ความชื้นสู งเกินไป ปุ๋ ยมากไป จะทาให้เชื้อโรคต่างๆเข้าทาลายทาให้เกิดโรคต่างๆ เช่นโรคโคนเน่า รากเน่า ใบไหม้ ปลายยอดเน่า โรคต่างๆเหล่านี้ทาความเสี ยหายให้กบั เฟิ นสายได้ทุก ช่วงอายุและทาความเสี ยหาย ได้มากหากการจัดการการปลูกเลี้ยงไม่ดีพอ 1 โรคเน่ า เน่ าเข้ าไส้ โคนเน่ า หรือปลายยอดเน่ า สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora Butl ลักษณะอาการ เกิดได้ทุกส่ วนของต้นเฟิ น ตั้งแต่ส่วนราก โคน ยอด เกิดได้กบั เฟิ นสายทุกระยะ การเจริ ญเติบโต หากเกิดกับส่ วนรากจะทาให้รากเน่าดาและลุกลามลงมายังส่ วนโคน ทาให้โคนเน่าแบบ ฉ่ าน้ าโดยเชื้อโรคจะเข้าไปทาลายท่อน้ าและท่ออาหารทาให้เซล บวมเปลี่ยนเป็ นสี น้ าตาลและจะ กลายเป็ นสี ดาหากรุ นแรงจะเห็นเส้นใยสี ขาวชัดแจนโดยเฉพาะช่วงเช้าๆเน่ามีกลิ่นเหม็น และหลุดร่ วงใน ที่สุด หากเกิดกับปลายยอดจะทาให้ยอดอ่อนส่ วนตาอ่อนเน่าไม่สามารถแตกยอดได้จะเกิดได้ ง่ายกับเฟิ น สายที่เส้นใหญ่อวบ เข่น นางกรองชนิดต่างๆ หางสิ งห์ ช้องก้านขาวต่างๆ การแพร่ ระบาด สามารถแพรระบาดจากต้นหนึ่งไปอีกต้นหนึ่งได้ง่าย โดยเฉพาะในฤดูฝนที่มี ความชื้นสู งการระบาดจะรุ นแรง สปอร์ ของเชื้อราจะกระเด็นไปกับเม็ดน้ าฝนไปติดกับต้นอื่นๆ

อาการที่เกิดกับส่ วนโคน

อาการที่เกิดกับปลายยอด

การป้องกันกาจัด 1 จัดสภาพโรงเรื อนให้โป่ รง อย่างแขวนเฟิ นแน่นจนเกินไปและบริ เวณรอบโรงเรื อนไม่มีอาคารบอบังการ


ระบายอากาศแสงแดดส่ งถึงทัว่ โรงเรื อน 2 ถ้าเกิดโรคนี้กบั ลูกไม้ให้นาไปทาลายหรื อเผาหากเกิดกับเฟิ นกอใหญ่ให้ตดั เส้นที่ที่เป็ นโรคไปทาลายแยก ไปเลี้ยงต่างหากและฉี ดยากาจัดโรค 3 ไม่ควรให้น้ าเฟิ นหลัง 5 โมงเย็นแล้วเพราะจะทาให้ภายในโรงเรื อนมีความชื้นสู งในช่วงกลางคืนเป็ นปั จจัย ในการแพร่ ระบาดของโรคได้ง่าย 4 ไม่ควรนาเฟิ นสายต้นที่ไม่ทนต่อโรคนี้มาขยายพันธุ เพราะเฟิ นสายบางต้นที่เป็ นโรคง่ายจะติดทาง พันธุกรรมไปยังต้นลูกๆได้ 5 ในฤดูฝนควรทาหลังคาพลาสติกป้ องกันการระบาดของโรค 6 ใช้กระถางและวัสดุปลูกเฟิ นที่โป่ รงระบายน้ าและอากาศได้ดีจะช้วยลดการระบาดของโรคที่อาจทาให้ราก เน่าและโคนเน่าได้ 7 ไม่ควรปล่อยให้วสั ดุปลูกเปื่ อยคากอเฟิ นควรรี บเปลี่ยนใหม่เพราะหากวัสดุหมด อายุไข รากเฟิ นสายก็ จะเรื่ มเน่าทันทีและลุกลามมายังเส้นส่ วนโคน 8 การป้ องกันกาจัดโดยการใช้สารเคมี สารเคมีที่ใช้กาจัดมีอยูห่ ลายตัวเนื่องจากโรคนี้จะแสดงอาการการเน่า แบบฉ่ า น้ าที่เกิดภายในเซลของเฟิ นทาให้บวม น้ าสารเคมีที่ใช้ก็ตอ้ งเป็ นชนิดดูดซึมเข้าไปในเซลของเฟิ นเพื่อทาลายเชื้อโรค ซื่ งมีอยูห่ ลายตัวที่มีขายอยู่ ตามท้องตลาด เช่น 8.1 ฟอสอีทิล-อะลูมีเนียม ( fosetyl aluminium เป็ นชื่อสามัญ ) ซึ่งผูผ้ ลิตที่ขายมีหลายเจ้าที่เป็ น ที่รู้จกั กันเช่น อาลิเอท เอราฟอสทิล แต่ที่รู้จกั กันและมีชื่อเสี ยงก็คือ อาลิเอท ราคาจะแพงกว่ารายอื่นๆ อัตราการใช้สาหรับเฟิ นสาย 25 กรัมต่อน้ า 20 ลิตรฉี ดพ่นทุกๆ 15 วันเน้นการพ่นเพื่อการป้ องกันมากกว่า การรักษาหากเกิดกับเฟิ นต้นใหนแล้ว เส้นนั้นต้องตัดทิ้งเท่านั้นเพียงแต่กนั ไม่ให้ลุกลามไปยังเส้นอื่นหรื อ กระถางอื่นๆเท่านั้น 8.2 ฟอสฟอรัส เอซิด ( phosphorus acid ) หรื อเป็ นที่รู้จกั ในซื้ อการค้าคือ โฟลิ-อาร์ -ฟอส ชาวสวนทางจันทบุรีจะรู้จกั ดีเพราะใช้ป้ องกันรากเน่าของทุเรี ยนได้ดี อัตราการใช้ 30 ซี ซี ต่อน้ า 20 ลิตรพ่น ทุกระยะ 7-15 วันต่อครั้งพื่อการป้ องกันเท่านั้น 8.3 เมทาแลกซิล ( metalaxyl ) อัตราการใช้ 40 กรัมผสมน้ า 20 ลิตรจะใด้ผลดีสาหรับการฉีด ป้ องกัน สาหรับการใช้สารเคมีชนิดดูดซึมกับเฟิ นสายต้องใช้ดว้ ยความระมัดระวังไม่ควร ใช้ยาตัวเดียวซ้ าๆ บ่อยเพราะเชื้อโรคจะดื้อยาแล้วจะไม่ได้ผลจะต้องมีการ เปลี่ยนหมุนเวียนกับยาตัวอื่นๆ


สารเคมีป้องกันกาจัด

เชื้อไทรโดเดอร์ ม่า

9 การป้ องกันกาจัดโดยการใช้เชื้อรากัดกินเชี้ยงรา ซึ่ งจะใช่เชื้อ ไทรโคเดอร์ ม่า (Trichoderma harzianum ) ราด หรื อฉี ดพ่น ที่มีขายตามต้องตลาดมีท้ งั เชื้อสดและเชื้อแห้งแบบสดก็นามาละลายน้ าฉี ดได้ เลยแต่อายุการ เก็บรักษาจะน้อยต้องแช่ตเู ้ ย็น หากแบบแห้งต้องนามาขยายเชื้อก่อนอย่าน้อย6 ชัง่ โมงก่อนนาไปใช้เพื่อขยาย เชื้อให้มีจานวนมากๆ นาไปฉี ดให้กบั เฟิ นสาย โดยเชื้อไทรโคเดอร์ ม่าจะเข้าไปกัดกินและรัดเส้นใยของราที่ ทาไห้เกิดโรคจนมัน ตายหรื อไม่สามรถแบ่งเซลได้อีก แต่การอยูอ่ าศัยของเชื้อ ไทรโคเดอร์ ม่าจะต้องมีปัจจัย ที่เหมาะสมไม่อย่างนั้นมันก็จะตายไปด้วยเน้นการ ฉี ดเพื่อการป้ องกันมากกว่าการรักษา 2 โรคใบใหม้ เกิดกับเฟิ นสายได้ทุกชนิดแต่จะเกิดกับเฟิ นสายที่ใบใหญ่ได้มากกว่า เช่น เกล็ดหอย ช้องนางคลี อาการจะเกิดได้ง่ายที่ปลายใบหรื อครึ่ งใบจะสังเกตุใบมีสีน้ าตาลไม่ฉ่ าน้ า เกิดจากเชื้อรา Curvulana lunata การแพร่ ระบาด จะระบาดรุ นแรงในหน้าฝนที่โรงเรื อนมีความซื้ นสู ง หรื อเฟิ นได้รับแสงแดดมาก เกินไปทาให้เซลอ่อนแอเชื้อราเข้าทาลายได้ง่าย เชื้อราปลิวไปตามลมแพ่รระบาดไปยังต้นอื่นๆหรื อเกิดจาก น้ าฝนกระเด็นไปติดต้น อื่นๆ การป้ องกันกาจัด 1 ตัดเส้นเฟิ นที่เป็ นโรคไปทิ้งหรื อเผาป้ องกันการระบาดของเชื้อรา 2 อย่าให้เฟิ นสายได้รับแสงแดดมากเกินไป จะทาให้เซลอ่อนแอเชื้อโรคเข้าทาลายได้ง่าย 3 พ่นด้วยสารป้ องกันกาจัดเชื้อรา เช่น แคปแทน อัตรา 40 กรัมต่อน้ า 20 ลิตร หรื อ โพรไซมิ


โดน (Procymidone) อัตรา 6 กรัม ต่อน้ า 20 ลิตรพ่นสลับกันยากลุ่มนี้เป็ นยาแบบสัมผัสช้วยเคลือบใบกันเชื้อโรคเข้าทาลาย

อาการของโรคใบไหม้ แมลงศัตรู เฟิ นสาย แมลงถือว่าเป็ นศัตรู ที่ที่ทาลายเฟิ นสายให้เสี ยหายได้อย่างมากทั้งทางตรงและ ทางอ้อมทั้งชนิดแบบ ดูดน้ าเลี้ยงกินเช่น เพลี้ยแป้ งนาสารและชนิดที่กดั กินส่ วนต่างๆของเฟิ นสายโดยเฉพาะส่ วนราก และยอด อ่อนเช่นกัดกินส่ วยยอดอ่อนเช่น หอยทากชนิดต่าง หรื อกัดกินรากเช่น แมลงสาป - กิ้งกือ ทาให้ใบไม่สวยมี การกัดใบและห่อใบ เช่นแมงมุม หรื อพวกหนอนเจาะกินไส้กลางลาต้น ศัตรู เหล่านี้จะทาความเสี ยหายได้ มากบางครั้งเฟิ นสายกอนั้นอาจโดนทาลายจนเสี ย หายหนักถึงตายได้ท้ งั กอ 1. เพลีย้ แป้งนาสาร เป็ น ศัตรุ ที่สาคัญที่สุดสาหรับนักเลี้ยงเฟิ นสายเลยที่เดียวเพราะหากระบาดกับผู ้ เลี้ยงเฟิ นสายรายใดแล้วถ้าหาวิธีการป้ องกันไม่รัดคุมแล้วจะทาความเสี ย หายอย่างมหาสาร แมลงชนิดนี้เป็ น เพลี้ยชนิดหนึ่งระบาดหนักในช่วงเดือน ตุลาคม- กุมภาพันชาวสวนผลไม้ทางจันทบุรีเรี ยกกันว่าเพลี้ยแป้ งนา สารเพราะจะติดมากับ กล้าผลไม้ที่ชาวนาสาร จ.สุ ราษธานีมามาขาย ลักษณะของเพลี้ยตัวนี้คือเป็ นแมลงที่ เกาะกับใบเฟิ นสายโดยเฉพาะส่ วนหลังใบที่ ไม่โดนแดดและลมลาตัวเป็ นเส้นขีดสี ขาวยาวประมาณ 1 มม. มันจะเกาะนิ่งๆและดูดน้ าเลี้ยงจนเฟิ นเกิดอาการใบเหลืองฝ่ อและตายในที่สุด มักจะระบาดหนักกับเฟิ นกลุ่ม สร้อยนางกรองเหลี่ยม นางกรองเกาะช้าง กลุ่มที่ระบาดรองลงมาคือ กลุ่มหางสิ งห์ กลุ่มช้องนางคลี เกล็ดหอย นางกลาย โดยการระบาดบางครั้งจะระบาดบริ เวณส่ วนโคนของเฟิ นสายเพาะเพลี้ยตัวนี้เพลี้ย ตัวนี้ จะพักตัวอยุใ่ นวัสดุปลูก


การป้องกันกาจัด 1 ควรจัดโรงเรื อนให้โปร่ งแดดส่ งเข่าถึงทัว่ โรงเรื อน ลมพัดโกรกเพราะเพลี้ยตัวนี้ไม่ชอบ 2 กาจัดแหล่งเพาะพันธุ เช่นวัชพืชที่ข้ ึนบนกระถาง พวกข้าหลวงต่างๆควรถอนออกให้สะอาด 3 คอยสังเกตอาการผิดปกติของเฟิ น เช่นใบเปลี่ยนเป็ นสี ซีดหรื อปาว เส้นเป็ นสี เหลืองหรื อเปล่า หาก เป็ นไปได้ในเวลา กลางคืนให้ใช้ไฟฉายส่ องดุจะเห็นชัด เพราะมันจะสะท้อนกับแสงไฟเป็ นขีดสี ขาวชัดเจน 4 หากระบาดหนักอาจจาเป็ นต้องใช้สารเคมีในการกาจัด เช่นยากลุ่ม ไนโนทีฟูแรน หรื อทีรู้จกั กันในชื่อ การค้า สตาร์ เกิลจี มีท้ งั ชนิดเป็ นผงโรยบนกระถาง และชนิดฉีด

เพลี้ยแป้ งนาสาร

สารเคมีกาจัดเพลี้ย

อาการที่เกิดกับเฟิ นสาย

แสดงการโรยยา


2. หอยทาก เป็ นศัตรู ทีทาความเสี ยหายให้กบั เฟิ นสายได้มากเช่นกันพบทั้งชนิดหอยทากมี เปลือกและแบบไม่มี เปลือก โดยจะเข้ากัดกินส่ วนยอดอ่อนของเฟิ นสายจะระบาดหนักในช่วงหน้าฝนเวลา6โมงเย็น- สวมทุ่ม ที่ บรรยากาสบริ เวนรอบโรงเรื อนมีความชื้นสู งโดยจะกัดกินส่ วนหน่อและยอดอ่อน ของเฟิ นสายจะเกิดได้มาก กับลูกเฟิ นเล็กๆที่เราอนุบาลไว้บนโต๊ะหรื อชั้นวาง หรื อเฟิ นกอใหญ่ๆที่เราแขวนไว้ใบไปพาดกับเสาหรื อ ต้นไม้อื่นทาไห้ยอดถูกกัด ไม่สามารถแตกยอดใหม่ได้แล้วต้องรอเลี้ยงเอาหน่อใหม่เท่านั้น การป้องกันกาจัด 1 กาจัดแหล่งที่อยูอ่ าศัยโดยทาความสะอาดบริ เวณโรงเรื อนให้โปร่ งไม่รกซึ่ งจะเป็ นแหล่งที่อยูอ่ าศัย ของหอยทากได้ 2 ลูกไม้ที่เราอนุบาลไว้ควรมีพลาสติกคลุมไว้ในช่วงหน้าฝนเพื่อลดความชื้ นในโรงและควรรดน้ าก่อน 4 โมงเย็นเพื่อลดความชื้นนบริ เวนชั้นอนุบาล 3 หากพบมีการระบาดอาจะใช้วธิ ี กาจัดแบบชีวะวิธีโดยการจับไปทาลายในช่วงหกโมงเย็นเป็ นต้นไป หรื อการใช้เหยือ่ ล่อเอามะละกอใส่ ไว้ในถุงพลาสติกเปิ ดปากถุงไว้สัก 1-2 ชัว่ โมงหอยทากก็จะเข้าไปกินเราก็ มัดปากถุงไปทิ้งหรื อเผา 4 หากระบาดหนักอาจต้องใช้เยือ่ พิษในการทาลายกลุ่มยา เมทิลดีไฮด์ โรยบริ เวณที่มีหอยทากอยูเ่ มื่อ มันกินเยือ่ ก็จะตายแต่วธิ ี ไม่ควรใช้บ่อยเพาะการใช้ยาครั้งต่อๆไปหอยจะไม่กินเหยือ่ ควรใช้ ครั้งเดียวให้สิน ซาก และควรระวังสัตรที่เราเลี้ยงไว้

หอยทาก

อาการที่หอยทากกินยอด


3. แมงมุม ถือว่าเป็ นศัตรู ตวั หนึ่งที่ทาลายให้เฟิ นใบไม่สวยโดยจะกัดใบหรื อชักใยเพื่อ ห่อ ใบสร้างเป็ นรังทาให้เฟิ นขาดความสวยงามแต่จะเกิดได้นอ้ ยกว่าศัตรู ตวั อื่นๆ ต้องหมัน่ สังเกตุและ ทาลายเสี ย 4. กิง้ กือ แมลงสาบ กระรอกต่ างๆ หนู จะเข้าไปอยูใ่ นวัสดุปลุกจะกัดกินวัสดุปลูกรากก็จะ ถูกกัดขาดไปด้วย ทาให้เฟิ นชะงักการเติบโตไปด้วย การป้ องกันพวกกิ้งกือ แมลงสาปอาจใช้ยา สตาร์ เกิล จีโรยก็ชว้ ยได้หนู่ ก็ตอ้ งใช้กบั ดักอย่าให้เข้ามาในโรงเรื อน 5. หนอนเจาะลาต้ น เท่าที่พบจะเกิดกับเฟิ นสายที่ลาต้นใหญ่อว้ น เช่นหางสิ งห์ โดยจะกัด กินบริ เวณส่ วนโคนและเจาะส่ วนไส้กลางเพื่อกินเป็ นอาหารและฟักตัวเป็ น ดักแด้จนเป็ นตัวเต็มไว กลายเป็ นหนอนผีเสื้ อกลางคืน เมื่อเส้นที่ถูกเจาะกินไส้กลางก็จะทาให้เส้นนั้นรับน้ าหนักไม่ได้และ มันก็จะ หักในเวลาต่อมา การป้ องกันก็ตอ้ งอาศัยยาในการกาจัดเหมือนเพลี้ย 6 วัชพืช วัชพืชคือพืชชนิดอื่นๆที่เราไม่ตอ้ งการมาขึ้นบนกระถางเฟิ นสายของเราเพราะพืช เหล่านี้จะมาแย่งน้ าแยงอาหารทาให้วสั ดุปลูกหมดอายุเร็ ว บดบังแสงทาให้เฟิ นสายสังเคราะห์แสง ไม่เต็มที่ มีท้ งั วัชพืชที่ข้ ึนบนกระถางและขึ้นตามโต๊ะอนุ บาลและทางเดินเท้าบางครั้ง วัชพืชเหล่านี้ เป็ นแหล่งหลบซ่อนของเพลี้ยแมลงศัตรู อื่นๆด้วยบางครั้งวัชพืช บางชนิดก็เป็ นพิษต่อผูป้ ลูกเลี้ยง เฟิ นด้วย เช่นตาแยทาให้เกิดอาการคัดได้ วัชพืชที่พบขึ้นบนกระถางเฟิ นสาย เช่นผักกระสัง ปี กแมง สาบ หญ้านกสี ชมพู เฟิ นข้าหลวง เชือกผูกรองเท้า เฟิ นใบมะขามต่างๆ มอส ต้นไทร ตาแย แห้วหมู ฯลฯ พืชเหล่านี้หากปล่อยให้เจริ ญเติบโตกิใหญ่แล้วจะแย่งปุ๋ ยน้ าทาให้วสั ดุปลูก เฟิ นเสื่ อมเร็ วการ ถอนทาให้วสั ดุติดมากับรากก้อนใหญ่วชั พืชบางตัวเช่นลูกไทร ระบบรากจะเข็งแรงมากถอนแล้ว กระทบต่อรากเฟิ นมากบางครั้งถอนออกมาทั้งก่อนเลย การป้องกันกาจัด พยายามตัดวงจรชิวติ ของวัชพืชที่ข้ ึนรอบๆโรงเรื อนไม่ให้ออกดอกหรื อ ปล่อยให้ ดอกปลิวไปตกบนกระถางควรหมัน่ ตัดบ่อยๆเพื่อไม่ให้ออกดอก หรื อเฟิ นข้าหลวงควรตัด ใบที่กาลังติดสปอร์ ออก หากวัชพืชขึ้นบนกระถางแล้วควรรี บถอนออกตั้งแต่ตน้ ยังเล็กระบบรากยัง น้อย อยูจ่ ะไม่กระทบต่อระบบรากเฟิ น


การนาเฟิ นสายเพือ่ การจัดภูมิทศั น์ เฟิ นสายเป็ นเฟิ นอิงอาศัยมีการปลูกในกระถางให้หอ้ ยลงมาด้านล่างดังนั้นการประยุกต์เฟิ น สายให้สามารถจัดภูมิทศั น์ได้อาจมีขอ้ จากัดได้โอยส่ วนใหญ่นามาประดับภายในบริ เวณบ้านเป็ น สวนแขวน สวนผนัง สวนน้ าตก สวนภายในอาคาร สวยโชว์ต่างที่อยูภ่ ายใต้ร่มเงา

การนาเฟิ นสายไปจัดภูมิทศั น์

การจัดสวนแขวน อ.ไพรัตน์ อาลอย ผูแ้ ต่ง http://forum.fernsai.com/


\

เอกสารประกอบการฝึ กอบรม การเพาะเลีย้ งเฟิ นสายเพือ่ งานภูมทิ ศั น์

วันที่ 29 กันยายน 2555

โดย อ.ไพรัตน์ อาลอย ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ ศิลปาชีพบางไทร



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.