ท่ องเที่ยวเชียงราย
เหนือสุ ดในสยาม ชายแดนสามแผ่ นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้ านนา ลา้ ค่ าพระธาตุดอยตุง
2
Amazing Chiang Rai
อนุสาวรีย์พญามังราย
Amazing Chiang Rai
3
4
Amazing Chiang Rai
อนุสาวรี ยพ์ อ่ ขุนเม็งรายมหาราช ตั้งอยูท่ ี่ถนนห้าแยกพ่อขุนเม็งราย ถนนเชียงราย-แม่จนั (ติดถนนซุปเปอร์ไฮเวย์) ในเขตเทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย ตามประวัติน้ นั พ่อขุนเม็งรายเป็ นกษัตริ ยอ์ งค์ที่ 25 แห่งราชวงศ์ลวะ เป็ นโอรสของพญาลาวเม็งและพระนางเทพคาขยาย หรื อ พระนางอั้วมิ่งจอมเมืองประสูติเมื่อวันอาทิตย์ แรม 9 ค่า เดือน 3 ปี จอ พุทธศักราช 1782 และเสด็จสวรรคตที่เมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ. 1854 รวมพระชนมายุได้ 72 พรรษา สถูป (กู่) บรรจุพระอัฐิหรื อ กู่พญามังรายมหาราช ตั้งอยูท่ ี่วดั งาเมือง การสร้างบ้านแปลงเมืองของท่าน
พ่อขุนเม็งรายได้สร้าง
เมืองเชียงรายขึ้นบนดอยทอง จากรากฐานเดิมที่เคยเป็ นเมือง มาก่อน เมื่อปี พ.ศ. 1805 ทรงเป็ นปฐมกษัตริ ย ์ แห่ง ราชวงศ์มงั รายและรวบรวมบ้านเล็กเมืองน้อยเข้าเป็ น อาณาจักรล้านนาไทยจนเจริ ญรุ่ งเรื องจวบจนปัจจุบนั อนุสาวรี ยพ์ อ่ ขุนเม็งราย มีลกั ษณะเป็ นพระรู ปของพระองค์ หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ขนาดหนึ่งเท่าครึ่ ง ทรงฉลองพระองค์ ด้วยเครื่ องทรงพระมหากษัตริ ยแ์ บบล้านนาโบราณ ประทับ ยืนบนฐานสูงประมาณ 3 เมตร ทรงถือดาบด้วยพระหัตถ์ซา้ ย แนบกับพระเพลา
ทรงสวมมาลัยพระกรและสวมพระ
ธามรงค์ที่พระหัตถ์ขวาตรงนิ้วนางและนิ้วก้อย และตรงนิ้วชี้ ที่พระหัตถ์ขา้ งซ้าย และทรงฉลองพระบาท ปัจจุบนั มีตุง หลวงเฉลิมพระเกียรติสีทองอร่ ามขนาดใหญ่ประดับอยูท่ าง ด้านหลังอนุสาวรี ยด์ ว้ ย สาหรับฐานใต้พระบรมรู ปมีคาจารึ ก ว่า "พ่อขุนเม็งรายมหาราช พ.ศ.1782 - 1860 ทรงสร้างเมือง เชียงรายขึ้นเป็ นเมืองแรกเมื่อ พ.ศ. 1805 ทรงสถาปนา อาณาจักรล้านนาไทยให้เป็ นปึ กแผ่น
และทรงสร้างความ
สามัคคีระหว่างชนชาติไทย" อนุสาวรี ยพ์ อ่ ขุนเม็งราย
แห่งนี้เป็ นที่เคารพสักการะของชาวเชียงรายและคนล้านนาเป็ นอย่างมาก
มีผคู ้ นมาสักการะทั้งกลางวันและ
กลางคืนอย่างไม่ขาดสาย หากใครได้ไปเที่ยวที่จงั หวัดเชียงราย ก็ควรเดินทางไปสักการะพ่อขุนเม็งรายเป็ นที่แรก เหมือนเป็ นสัญลักษณ์วา่
Amazing Chiang Rai
5
6
Amazing Chiang Rai
ศาลา
Amazing Chiang Rai
ารอยพระบาทรัชกาลที่ ๙
7
8
Amazing Chiang Rai
ประวัติความเป็ นมาของรอยพระบาท ปี พ.ศ.๒๔๙๗ เริ่ ม สถานการณ์การก่อการร้ายในจังหวัดเชียงราย คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.)
ได้ส่งผูป้ ฏิบตั ิงาน
จานวนหนึ่งเข้ามาทางภาคเหนือของประเทศไทย แสวงหาแนวร่ วมพื้นฐาน
พรรค เพื่อ
เป็ นชาวไทยภูเขาที่อาศัยอยูต่ าม
แนวชายแดน จว.เชียงราย ,ชายแดน จว.พะเยา ในปัจจุบนั หลังจากได้ปลุกระดมชาวไทยภูเขาบางพื้นที่ประสบ ผลสาเร็ จ ปี พ.ศ.๒๕๐๗ ได้คดั เลือกแนวร่ วมบางส่วนเพื่อ ส่งไปอบรมวิชาการเมืองและการทหารรุ่ นแรกที่
เมืองฮัว
มินห์ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนาม เพื่อกลับมา เตรี ยมปฏิบตั ิงานในพื้นที่ไว้รอรับสมาชิก พคท. ซึ่งได้เดิน ทางเข้าสู่พ้นื ที่ชายแดน จว.เชียงราย ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ เป็ นการ ปฏิบตั ิหน้าที่ในการชี้นา ด้านการเมืองและการทหาร
เมื่อ
สามารถขยายผลงานได้อย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง พคท.จึง เปิ ดฉากการต่อสูด้ ว้ ยอาวุธกับเจ้าหน้าที่ในภาคเหนือขึ้นเป็ น ครั้งแรก ที่บา้ นน้ าปาน ตาบลนาไร่ หลวง อ.ทุ่งช้าง จว.น่าน เมื่อ วันที่ ๒๖ ก.พ.๒๕๑๐ ซึ่งถือว่าเป็ นวัน "เสี ยงปื นแตก" ของ พคท.ในเขตภาคเหนือ ต่อจากนั้นได้มีการต่อสูเ้ รื่ อยมา โดยในวันที่ ๑๐ พ.ค.๒๕๑๐ ได้มีการต่อสูก้ บั หน้าที่ ฝ่ ายรัฐบาล ที่บา้ นห้วยชมภู ต.ยางฮอม อ.เทิง จว.เชียงราย (เป็ นครั้งแรกในเขตพื้นที่ดอยยาว-ดอยผาหม่น) เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ พคท. สามารถจัดตั้งฐานที่มนั่ ในภาคเหนือได้ถึง ๙ แห่ง และฐานที่มนั่ ที่สาคัญแห่งหนึ่งคือ "ฐานที่มนั่ ดอยยาว-ดอยผา หม่น" จว.เชียงราย พคท.ได้จดั ตั้งคณะทางานขึ้นโดยใช้ชื่อว่า "คณะกรรมการจังหวัดเชียงราย" แบ่งพื้นที่ออกเป็ น ๔ เขตงาน คือ เขตงาน ๕๒ , เขตงาน ๙ , เขตงาน ๗ และ เขตงาน ๘ สาหรับพื้นที่ดอยยาว-ดอยผาหม่น เป็ นพื้นที่ควบคุมของ เขตงาน ๘ ในเขต อ.เทิง และ อ.เชียงของ จว.เชียงราย รวมพื้นที่ อ.เวียงแก่น และ อ.ขุนตาล ในปัจจุบนั ด้วย กองกาลังติดอาวุธของ พคท.ในขณะนั้นมีประมาณ ๖๐๐ คน
มีมวลชนซึ่งส่วนใหญ่ชาวเขาเผ่าม้ง ประมาณ
๒,๓๐๐ คน ความเคลื่อนไหวที่สาคัญ คือ ขัดขวางการปฏิบตั ิของเจ้าหน้าที่ในการสร้างทาง และ การพัฒนาพื้นที่เพื่อความมัน่ คง การสู ้ รบ ณ สมรภูมิแห่งนี้เกิดขึ้นหลายครั้ง เช่น ยุทธการอิทธิพลชัย (วีรกรรมดอยม่อนเคอ) , ยุทธการขุนน้ าโป่ ง และยุทธการเกรี ยงไกร(วีรกรรม ณ เนิน ๑๑๘๘ ดอยพญาพิภกั ดิ์) โดยใช้กาลังทหารในพื้นที่ จว.เชียงราย เข้าปฏิบตั ิการกวาดล้าง และปราบปราม พคท. ตามคาสัง่ กองทัพภาค ที่ ๓ และ กองอานวยการรักษาความมัน่ คงภายในภาค ๓ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๑ จนถึงปี พ.ศ.๒๕๒๕ จึงสามารถกาชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือ พคท.
Amazing Chiang Rai
9
เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ กองพันทหารราบที่ ๔๗๓ ซึ่งมี พ.ท.
ปั จจุบนั รอยพระบาท ได้ถูกอัญเชิญมาประดิษฐานอยู่ ณ ศาลารอย
วิโรจน์ ทองมิตร เป็ นผูบ้ งั คับหน่วย (ตาแหน่ง ปกติ ผูบ้ งั คับ
พระบาท บริ เวณด้านหน้า กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๑๗
กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๑๗) ได้นากาลังทหาร
ในพระองค์สมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนี
เข้าปฏิบตั ิการพื้นที่ดอยยาว-ดอยผาหม่น
สักการะของกาลังพลคู่กบั อนุสาวรี ยผ์ เู ้ สี ยสละและให้สาธารณชน
ตามแผนการต่อสู ้
เพื่อเป็ นที่เคารพ
เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ จนเกิดยุทธการยึด เนิน ๑๑๘๘ บน
เยาวชนคนรุ่ นปั จจุบนั รวมถึงนักท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ได้เข้ามา
ดอยพญาพิภกั ดิ์ ได้
เยีย่ มชมสื บต่อไปและ ปั จจุบนั ได้มีการสร้างศาลาเพื่อประดิษฐาน รอย
เมื่อ วันที่ ๒๗ ก.พ.๒๕๒๕ ด้วยพระบารมีปกเกล้าฯ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช องค์จอมทัพไทย
,
สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์
พระบรมราชินีนาถ , สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรม
พระบาท ไว้บนดอยโหยด ค่ายเม็งรายมหาราชเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว จะมี พิธีการสมโภช และได้มีพิธีอญั เชิญรอยพระบาท ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ไป ประดิษฐาน ณ ที่แห่งใหม่ เมื่อ วันอังคารที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อเฉลิมฉลองในวันฉัตรมงคล สาเร็ จ เป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว
ราชกุมารี และพระเจ้าวรวงค์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวร ราชาธินดั ดามาตุ ได้เสด็จฯ เพื่อเยีย่ มเยือนทหารหาญและ ราษฎร ณ ฐานปฏิบตั ิการ ดอยพญาพิภกั ดิ์ บนดอยยาว เขต อ. เทิง จว.เชียงราย (ปัจจุบนั เป็ นเขต อ.ขุนตาล) วโรกาสอันเป็ นมิ่งมหามงคลนั้น เจ้าอยูห่ วั ฯ
และใน
พระบาทสมเด็จพระ
ได้ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯพระราชทาน
ประทับรอยพระบาทของพระองค์ ลงบนแผ่นปูนปลาสเตอร์ที่ จัดเตรี ยมไว้ เพื่อเป็ นมิ่งขวัญแก่ทหารกล้าทั้งปวง ตั้งแต่บดั นั้น เป็ นต้นมา
หากนักเที่ยวต้องการเข้าไปเยีย่ มชมและสักการะ สามารถเดินทางเข้า ไปยังค่ายเม็งรายมหาราช ได้ท้ งั ด้านหน้า ช่องทาง ๑ และด้านหลังค่าย ช่องทาง ๕ ( มีซุม้ ประตู ชื่อ ศาลารอยพระบาท ) ผ่าน สนามกอล์ฟ แม่กก คลับเฮาส์ อาคารที่พกั รับรองริ มแม่น้ ากก และ ผ่าน สนาม กอล์ฟ (กาลังก่อสร้าง ๙ หลุม) เพื่อขึ้นไปสักการะ และสัมผัส บรรยากาศ ชมวิวทิวทัศน์ ตัวเมืองเชียงราย ได้โดยรอบ ณ ศาลารอย พระบาท บนดอยโหยด
แห่งนี้ได้โดยสะดวก ทั้งนี้มีป้ายบอก
เส้นทางเรี ยบร้อยแล้ว แต่หากสงสัย ให้หยุดสอบถามเส้นทาง จาก เจ้าหน้าที่สารวัตรทหารทั้งสองช่องทาง ได้ทุกวันในเวลาราชการ ทั้งนี้ ค่ายเม็งรายมหาราช ยินดีตอ้ นรับทุกท่านด้วยความยินดียงิ่
10
Amazing Chiang Rai
วัดพระแก้ ว
Amazing Chiang Rai
11
12
Amazing Chiang Rai
วัดพระแก้ว เป็ นจุดที่คน้ พบพระแก้วมรกต และเป็ นที่ ประดิษฐานพระแก้วมรกตเป็ นเวลา 45 ปี ก่อนที่จะเอิญไป ยังเชียงใหม่ วันนี้แต่เดิมวัดนี้มีชื่อว่าวัดป่ าเยี้ย หลังพระ อุโบสถมีเจดียอ์ ยูอ่ งค์หนึ่งซึ่งได้พงั ลงมาแล้วได้พบ พระพุทธรู ปลงรักปิ ดทององค์หนึ่งตกลงมาจากเจดียจ์ ึงได้ อัญเชิญไปไว้วหิ ารหลวงได้ 2 เดือน ต่อมาปูนกระเทาะออก จึงเห็นเป็ นแก้วสี เขียวทั้งองค์ หลังจากนั้นวัดนี้จึงเรี ยกสื บ ต่อกันมาว่า วัดพระแก้ว ปั จจุบนั เจดียอ์ งค์ดงั กล่าวได้รับ การบูรณะใหม่เป็ นเจดียห์ ุม้ ทองจังโก๋ เหลืองอร่ ามทั้งองค์
พระอุโบสถ์ ในวัดพระแก้วมีความงดงามมาก ในปั จจุบนั เป็ นที่ ประดิษฐานของพระประธาน คนเชียงรายเรี ยกกันว่า "พระเจ้าล้าน ทอง" เป็ นพระศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวเชียงรายเคารพนับถือเป็ นอันมาก แต่เดิมนั้นประดิษฐานอยูท่ ี่วดั พระเจ้าล้านทอง ต่อมามีสภาพเป็ น วัดร้างจึงได้อญั เชิญมาประดิษฐานที่วดั ดอยงาเมือง
และได้
อัญเชิญมาประดิษฐานเป็ นพระประธานที่วดั พระแก้วเมื่อปี 2504
Amazing Chiang Rai
พระแก้วหยก เป็ นพระพุทธรู ปหยกที่คณะสงฆ์ และพุทธศาสนิกชนชาวเชียงรายร่ วมกันสร้างขึ้น เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระศรี นคริ นทราบรม ราชชนนีมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา เมื่อวันที่ 21 ต.ค. 2533 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงประกอบพิธีพทุ ธาภิเษก ณ พระอุโบสถวัด พระศรี รัตนศาสดาราม เมื่อวันที่ 20 ก.ย. พ.ศ. 2534 ชาวเชียงรายได้อญั เชิญมาประดิษฐานหอ พระ ณ วัดพระแก้ว เรี ยกว่า พระหยกเชียงราย ปั จจุบนั วัดพระแก้วมีฐานะเป็ นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ
โดยได้รับพระกรุ ณาโปรด
เกล้าฯ ยกฐานะเป็ นพระอารามหลวงเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2521
13
14
Amazing Chiang Rai
Amazing Chiang Rai
วัดร่ องข่ ุน
15
16
Amazing Chiang Rai
วัดร่ องขุ่น ออกแบบและสร้างโดยอาจารย์เฉลิมชัย
โฆษิตพิพฒั น์ ศิลปิ นที่มีชื่อเสี ยงของไทย สร้างขึ้นด้วยแรงปณิ ธานที่มุ่งมัน่ รังสรรค์งานศิลปะที่
งดงามแปลก ตาผสานวัฒนะธรรมล้านนาอย่างกลมกลืน ทั้งลวดลายปูนปั้ นประดับกระจกและจิตรกรรรมฝาผนังขนาดใหญ่ ลักษณะเด่น ของ วัดคือ พระอุโบสถถูกแต่งด้วยลวดลายกระจกสี เงินแวววาวเป็ นเชิงชั้นลดหลัน่ กันไป หน้าบันประดับด้วยพญานาคมีงวงงาดูแปลกตา น่าสนใจมาก ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถเป็ นฝี มือภาพเขียนของ อาจารย์เอง วัดร่ องขุ่น
เป็ นวัดที่มีความสวยงามโดดเด่นต่างจากวัดอื่นๆ
ด้วยฝี มือการออกแบบ และก่อสร้างของ อ. เฉลิมชัย โฆษิต พิพฒั น์ ศิลปิ นชื่อดัง เพื่อเป็ นวัดประจาบ้านเกิด สร้างโดย จินตนาการของอาจารย์ จัดเป็ นงานพุทธศิลป์ ที่ยงิ่ ใหญ่ และ งดงามน่าแวะชมมากแห่งหนึ่ง
อ.เฉลิมชัย
โฆษิตพิพฒั น์
มีแรงบันดาลใจในการสร้างวัดแห่งนี้อยู่
3 ประการ คือ เพื่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริ ย ์ ซึ่งอาจารย์บอกว่า จึงตั้งความปรารถนาที่จะถวายชีวติ ใช้ช่วงเวลาที่ดีที่สุดของตนเอง สร้าง งานพุทธศิลป์ เพื่อเป็ นงานประจารัชกาลของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ให้ได้ และจะถวายชีวติ ไปจนตายคาวัด" (จากเอกสารของวัดร่ องขุ่น) ความ งดงามของวัดแห่งนี้อยูท่ ี่
"โบสถ์"
เพราะอาจารย์อยากจะเนรมิตวัดให้
เหมือนเมืองสวรรค์ เป็ นวิมานบนดินที่มนุษย์สามารถสัมผัสได้ โบสถ์ เปรี ยบเหมือนบ้านของพระพุทธเจ้า
สี ขาว
แทนพระบริ สุทธิคุณของ
พระพุทธเจ้า กระจกขาว หมายถึง พระปั ญญาธิคุณของพระพุทธเจ้าที่เปล่ง ประกายไปทัว่ โลกมนุษย์ และจักรวาล
Amazing Chiang Rai
17
สะพาน หมายถึง การเดินข้ามวัฏสงสารมุ่งสู่พทุ ธภูมิ ก่อนขึ้นสะพานครึ่ งวงกลมเล็ก หมายถึง โลกมนุษย์ วง ใหญ่ที่มีเขี้ยวเป็ นปากของพญามารหรื อพระราหู หมายถึง กิเลสในใจแทนขุมนรกคือทุกข์ ผูท้ ี่จะเข้าเฝ้ า พระพุทธเจ้าในพุทธภูมิตอ้ งตั้งจิตปลดปล่อยกิเลส ตัณหาของตนเองลงไปในปากพญามาร
เพื่อเป็ นการ
ชาระจิตให้ผอ่ งใสก่อนที่จะเดินผ่านขึ้นไปพบกับพระ ราหูอยูเ่ บื้องซ้าย และพญามัจจุราชอยูเ่ บื้องขวา บนสัน ของสะพานจะประกอบไปด้วยอสูรกลืนกัน 16 ตน ข้าง ละ 8 ตน หมายถึง อุปกิเลส 16 จากนั้นก็จะถึงกึ่งกลาง สะพานหมายถึง เขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็ นที่อยูข่ องเทวดา ด้านล่างเป็ นสระน้ าหมายถึง สีทนั ดรมหาสมุทร มี สวรรค์ต้ งั อยูด่ ว้ ยกัน 6 ชั้นด้วยกัน ผ่านสวรรค์ 6 เดินลง ไปสู่พรหม 16 ชั้น แทนด้วยดอกบัวทิพย์ 16 ดอกรอบ พระอุโบสถ ดอกที่ใหญ่สุด 4 ดอก ตรงทางขึ้นด้านข้าง โบสถ์หมายถึง
ซุม้ พระอริ ยเจ้า
ประกอบด้วยพระโสดาบัน
4
พระสกิทาคามี
พระองค์ พระ
อนาคามี และพระอรหันต์ เป็ นสงฆ์สาวกที่ควรกราบ ไหว้บูชา ก่อนขึ้นบันได ครึ่ งวงกลมหมายถึง โลกุตตรปั ญญา บันไดทางขึ้น 3 ขั้นแทน อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา ผ่านแล้วจึ้งขึ้นไปสู่อรู ปพรหม 4 แทนด้วยดอกบัวทิพย์ 4 ดอกและบานประตู 4 บาน บานสุดท้ายเป็ นกระจกสามเหลี่ยมแทนความว่าง ซึ่งหมายถึงความหลุดพ้น แล้วจึงก้าว ข้ามธรณี ประตูเข้าสู่พทุ ธภูมิ ภายในประกอบด้วยภาพเขียนโทนสี ทองทั้งหมด ผนัง 4 ด้าน เพดานและพื้นล้วนเป็ นภาพเขียนที่แสดงถึงการหลุดพ้นจากกิเลสมาร มุ่งเข้า สู่โลกุตตรธรรม ส่วนบนของหลังคาโบสถ์ ได้นาหลักการของการปฏิบตั ิจิต 3 ข้อ คือ ศีล สมาธิ ปั ญญา นาไปสู่ความว่างคือความหลุดพ้น นัน่ เอง นี่เป็ นเพียงรายละเอียดคร่ าวๆ ของโบสถ์ของวัดร่ องขุน่ ส่วนรายละเอียดจริ งๆ นั้น อาจารย์บอกว่าจะสร้างทั้งหมด 9 หลัง แต่ละหลังมี ความหมายเป็ นคติธรรมทุกหลัง ผมหวังจะสร้างงานพุทธศิลป์ ของแผ่นดินให้ยงิ่ ใหญ่อลังการ เพื่อให้คนทั้งโลกยอมรับ และปรารถนาจะ มาชื่นชมให้ได้ จะถวายชีวติ สร้างจนลมหายใจสุดท้าย และได้สร้างลูกศิษย์รอรับช่วงต่ออีก 2 รุ่ น หลังผมตาย คาดว่าจะเสร็ จสมบูรณ์ท้ งั 9 หลัง คงใช้เวลาทั้งหมด 60-70 ปี ครับ" นอกจากจะชมความงดงามของพระอุโบสถแล้ว ยังสามารถเข้าชมผลงานของอาจารย์ และเลือกซื้อของที่ระลึกจากวัดร่ องขุน่ ได้อีกด้วย
18
Amazing Chiang Rai
พระ
ะธาตุดอยตุง
Amazing Chiang Rai
19
20
Amazing Chiang Rai
วัดพระธาตุดอยตุง อาเภอแม่จนั เป็ นสถานที่ประดิษฐานพระเจดียบ์ รรจุพระบรมสารี ริกธาตุส่วนพระรากขวัญเบื้องซ้าย หรื อกระดูกไหปลา ร้าซึ่งนามาจากประเทศอินเดีย ดังมีตานานกล่าวไว้วา่ เมื่อ 1,000 กว่าปี ล่วงมาแล้ว ประมาณ พ.ศ. 1454 พระมหากัสสปะเถระพร้อมด้วยพระ เข้าอชุตราช กษัตริ ยผ์ คู ้ รองเมืองโยนกนาคพันธ์ ร่ วมกับข้าราชบริ พารได้อญั เชิญพระบรมสารี ริกธาตุสถิตไว้ ณ ดอยแห่งนี้ และได้ปักตุงหรื อ ธงบูชาพระบรมสารี ริกธาตุ
เป็ นตุงตะขาบมีความยาวถึงพันวาปั กไว้บนยอดดอยปล่อยชายตุงปลิวสะบัดถึงที่ใดให้หมายเป็ นเขตศักดิ์สิทธิ์
ดอยนี้จึงได้ชื่อว่าดอยตุงมาจนถึงปั จจุบนั นี้ พระธาตุดอยตุงเป็ นปฐมเจดียแ์ ห่งล้านนา ตุง คือศรี เมือง ขวัญเมือง และเป็ นเอกลักษณ์ของ ล้านนา สถิตคู่พระธาตุอนั ศักดิ์สิทธิ์ตลอดมา ต่อมาในปี พ.ศ. 2470 ครู บาเจ้าศรี วชิ ยั ได้บูรณะองค์พระธาตุข้ ึนใหม่ ตามศิลปะแบบล้านนา ดั้งเดิมและได้สร้างพระธาตุองค์ใหม่ครอบองค์เดิมไว้ ประวัติความเป็ นมาของวัดพระธาตุดอยตุง วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง) หรื อเรี ยกโดยทัว่ ไปว่า วัดพระธาตุดอยตุง ตั้งอยูบ่ ริ เวณส่วนที่เรี ยกว่าหน้าอกของ ดอยนางนอน ตาบลห้วยไคร้ อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็ นถิ่นที่อยูข่ องชาวเขา ซึ่งดอยตุงมีระยะทางจากอาเภอ เมืองเชียงรายประมาณ 46 กม. และมีพระธาตุดอยตุง ประดิษฐานอยูบ่ นยอดดอย มองเห็นได้ในระยะไกล เนื่อง จากะรธาตุดอยตุงตั้งอยูส่ ูงกว่าระดับน่ าทะเลประมาณสอง พันเมตร ตามตานานเล่าว่า พระธาตุดอยตุงสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอ ชุตราช กษัตริ ยผ์ คู ้ รองนครโยนกพันธุ์ (ปั จจุบนั คืออาเภอแม่ จัน)
พระมหากัสสปะได้อญั เชิญพระบรมสารี ริกธาตุส่วน
พระรากขวัญเบื้องซ้าย (กระดูกไหปลาร้า) แล้วมอบให้แก่ พระเจ้าอชุตราช ได้สร้างเจดียบ์ รรจุพระบรมสารี ริกธาตุน้ นั ไว้บนดอยแห่งนี้ ดังที่พระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์ไว้ แล้วจึงได้ ให้ทาตุง (ธง) มีความยาว 1,000 วา ปั กไว้บนยอดเขา หากตุง ปลิวไปถึงที่ใด ก็กาหนดมห้เป็ นฐานของพระเจดีย ์ ทั้งนี้ พระองค์ได้พระราชทานทองคาให้พวกลาวจกเป็ นค่าที่ดิน และให้พวกปี ลักยู 500 ครอบครัว ดูแลรักษาพระธาตุ ต่อมา ในสมัยพญามังรายแห่งราชวงศ์มงั ราย
พระมหาวชิรโพธฺ
เถระได้นาพระบรมสารี ริกธาตุมาถวาย 50 องค์ พญามังราย จึงให้สร้างพระเจดียอ์ ีกองค์ใกล้กบั เจดียอ์ งค์เดิม นับจากนั้น เป็ นต้นมา พระธาตุดอยตุงจึงได้มีเจดียส์ ององค์มาจนถึงทุก วันนี้
Amazing Chiang Rai
รู ปแบบสถาปั ตยกรรม พระธาตุดอยตุงแต่เดิมมีองค์ เดียว รู ปแบบกสนก่อเป็ นศิลปะเชียงแสนย่อมุมไม้สืบ สอง คล้ายกับพระธาตุดอยสุเทพ เมืองเชียงรายสมัยก่อน เป็ นเมืองร้างอยูห่ ลายครา
พระธาตุดอยตุงจึงขาดการ
บูรณะปฏิสงั ขรณ์ ตัวพระธาตุทรุ ดโทรมและพังทลายลง นับตั้งแต่พญามังรายได้สร้างเจดีน์อีกองค์ใกล้กนั องค์หนี่งจึงทาให้พระธาตุดอยตุงมีสององค์
อีก
ปั จจุบนั
พระธาตุเป็ นสี กองขนาดเล็กสององค์สูงประมาณ
5
เมตร บนฐานสี่ เหลี่ยมย่อมุม มีซุม้ จระนาสี่ ทิศ อยูบ่ น ดอยสูงแวดล้อมด้วยป่ ารกคลื้ม เรี ยกว่า สวนเทพารักษ์ เชื่อกันว่าเป็ นที่สถิตของเทพารักษ์และสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2470 องค์พระธาตุทรุ ดโทรมมาก ครู บาเจ้าศรี วชิ ยั กับประชาชนเมื่องเชียงรายได้บูรณะขึ้น ใหม่ โดยสร้างเป็ นเจดียอ์ งค์ระฆังขนาดเล็กสององค์บน ฐานแปดเหลื่ยม ตามศิลปะแบบล้านนา การบูรณะครั้ง หลังสุด มีข้ นั เมื่อปี พ.ศ. 2516 โดยกระทรวงมหาดไทย ได้สร้างพระธาตุองค์ใหม่ข้ ึนครอบพระเจดียเ์ ดิมไว้
21
22
Amazing Chiang Rai
Amazing Chiang Rai
วัดพระธาตุดอยเวา
23
24
Amazing Chiang Rai
วัดพระธาตุดอยเวา. ตามประวัติกล่าว พระองค์เวาหรื อเว้า ผูค้ รองนครนาคพันธ์โยนก เป็ นผูส้ ร้างเพื่อบรรจุพระเกศาธาตุองค์หนึ่ง เมื่อ พ.ศ. 364 นับเป็ นพระบรม ธาตุที่เก่าแก่องค์หนึ่งรองมาจากพระบรมธาตุดอยตุง นอกจากนี้ยงั มีหอชมทิวทัศน์ซ่ ึงสามารถชมทิวทัศน์ในตัวเมืองแม่สาย และจังหวัดท่า ขี้เหล็ก ประเทศเมียนม่าร์ ได้อย่างชัดเจน และยังเป็ นที่ประดิษฐานพระบรมราชานุเสาวรี ยส์ มเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ และพระสุพรรณกัลยา
ดอยเวา...ดอยแมงป่ องยักษ์... เดิมทีขนุ ควักเวา หรื อองค์เวา กษัตริ ยอ์ งค์ที่ 10 วงศ์สิงหนวัติ แห่งนครนาคพันธุ์สิงหนวัติ (เชียงแสนโบราณ) สร้างพระเจดียบ์ รรจุพระเกศ ธาตุไว้บนดอยนี้ เมื่อพ.ศ. 296 ดอยนี้เรี ยกว่าดอยเวา ตามพระนามของกษัตริ ยพ์ ระองค์น้ นั เมื่อล่วงเวลามานาน พระเจดียช์ ารุ ดหักพังตามอายุ ไข และมีผบู ้ ูรระขึ้นอีกหลายครั้งหลายหน ครั้งสุดท้าย เหลือซากพระเจดียเ์ พียงฐานชั้นล่าง สูงพ้นดินประมาณ 2 เมตร และถูกขุดเป็ นโพรง ลึก ต่อมานายบุญยืน ศรี สมุทร คฤบดีอาเภอแม่สายนี้ ร่ วมกับพระภิกษุดวงแสง รัตนมณี เชื้อชาติไทลื้อ อยูเ่ มืองลวง เขตสิบสองปั นนา พร้อม ด้วยข้าราชการ พ่อค้า คหบดี ผูม้ ีใจศรัทธา บูรณะขึ้นอีก จัดสร้างขึ้นตามแบบล้านนาไทย ออกแบบโดยกรมศิลปากร ในการขุดแต่งก่อน บูรณะได้พบพระสาริ กธาตุในผะอบหิ นคา 5 องค์ ผะอบใหญ่ขนาดไข่เป็ ด จึงบรรจุใฐานพระเจดียท์ ี่เดิม วางศิลาฤกษ์ ก่อองค์พระเจดีย ์ เมื่อ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2498 มีคณะศรัทธาจากหัววัดในอาเภอแม่สาย เชียงแสน แม่จนั เชียงราย พาน แม่สรวย และฝั่งท่าขี้เหล็ก รวม 58 หัววัด นาเครื่ องไทยธรรมมาถวายเป็ นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
Amazing Chiang Rai
คาว่าเวา แปลว่าแมลงป่ องช้าง ชะรอยองค์เวา เมื่อทรงพระเยาว์จะ ชอบขุดรู แมลงป่ องช้างเล่น จึงมีพระนามอย่างนั้น ปั จจุบนั บนพระธาตุดอยเวาได้จดั ตกแต่งให้มีความร่ มรื่ นเป็ นอัน มาก มีรูปปูนปั้ นแมงป่ องช้าง (แมงเวา) ตัวขนาดใหญ่ต้ งั เด่นเป็ น สง่าอยู่
บริ เวณลานกว้างทางด้านเหนือขององค์พระเจดีย ์
มี
อนุสาวรี ยข์ อง พระนเรศวรมหาราช พระสุพรรณกัลยา และพระ เอกาทศรสประดิษฐานอยูเ่ คียงข้างกัน
โดยอนุสาวรี ยท์ ้ งั
3
พระองค์สร้างขึ้นตามความตั้งใจของหลวงปู่ โง่น โสรโย แห่งวัด พระพุทธบาทเขารวก จ.พิจิตร รวมทั้งมีปราสาทไพชยนต์ ซึ่ ง สร้างขึ้นเพื่อประกาศถึงคุณงามความดี
และเพื่อสักการะพระ
อินทร์ (องค์อมั ริ นทราธิราช) ซึ่งร่ วมสร้างกันหลายฝ่ าย ทั้งภาครัฐ และเอกชน คหบดีของอาเภอแม่สาย ฯลฯ
25
26
Amazing Chiang Rai
พระธาต
ตุผาเงา
Amazing Chiang Rai
27
28
Amazing Chiang Rai
พระธาตุผาเงา
ตั้งอยูบ่ นฝั่งแม่น้ าโขงทางด้านทิศตะวันตก ตรงกันข้ามกับ
ประเทศลาว อยูใ่ นหมูบ่ า้ นสบคา ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน อยูท่ างทิศใต้ของ ตัวอาเภอเชียงแสนประมาณ 3 กม. หรื ออยูห่ ่างจากสามเหลี่ยมทองคาประมาณ 15 กม. มีพ้นื ที่ท้ งั หมด 743 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นเนินเขาเล็กๆ ทอดยาวลงมา ตั้งแต่บา้ นจาปี ผ่านบ้านดอยจันและ มาสิ้นสุดที่บา้ นสบคา แต่ก่อนเขาเรี ยกดอย ลูกนี้วา่ “ดอยคา” แต่มาภายหลังชาวบ้านเรี ยกว่า “ดอยจัน” ชื่อของวัดนี้มาจากชื่อของพระธาตุผาเงาที่ต้งั อยูบ่ นยอดหินก้อนใหญ่ คาว่าผาเงา ก็คือ เงาของก้อนผา (ก้อนหิ น) หิ นก้อนนี้มีลกั ษณะสูงใหญ่คล้ายรู ปทรงเจดีย ์ และทาให้ร่มเงาได้ดีมาก ชาวบ้านจึงตั้งชื่อว่า “พระธาตุผาเงา” ความจริ งก่อนที่ จะย้ายวัดมาที่นี่ เดิมมีชื่อว่า “วัดสบคา” ซึ่งตั้งอยูบ่ นฝั่งแม่น้ าโขง ฝั่งน้ าได้ พังทลายลง ทาให้บริ เวณ ของวัดพัดพังลงใต้น้ าโขงเกือบหมดวัด คณะศรัทธาจึง ได้ยา้ ยวัดไปอยูท่ ี่ใหม่บนเนินเขา ซึ่งไม่ไกลจากวัดเดิม
Amazing Chiang Rai
29
ประวัติ ในช่วงสมัยของอาณาจักรโยนก วัดร้างแห่งนี้กาลังอยูใ่ นช่วงที่เจริ ญรุ่ งเรื องสุดขีด สันนิษฐานว่าอาจจะเป็ นวัด ที่สาคัญและ ประจา กรุ งเก่าแห่งนี้ก็เป็ นได้ จะเห็นได้ ว่าพระพุทธรู ปหลวงพ่อผาเงาที่ขดุ ค้นพบแห่งนี้ถูกสร้างและฝังอยูใ่ ต้ พระพุทธรู ปองค์ใหญ่ (พระประธาน) จะปิ ดบังซ่อนเร้นกลัวถูกโจรกรรมจากพวกนิยมสะสม ของเก่า ตอนแรกได้สนั นิษฐานว่าบริ เวณเนินเขาเล็กๆ ลูกนี้ที่กาลังแผ้วถางอยูน่ ้ ี จะต้องเป็ นวัดเก่าแน่ เพราะได้พบเห็นซากโบราณวัตถุ ุุ กลาดเกลื่อนไปทัว่ บริ เวณในเดือนกุมภาพันธ์ 2519 จึงได้ลงมือแผ้วถางป่ า แต่เดิมที่ แห่งนี้เคยเป็ นถ้ า เรี ยกว่า ถ้ าผาเงา ปากถ้ าถูกปิ ดไว้นาน ทาให้บริ เวณแห่งนี้เป็ นป่ ารก เต็มไปด้วย ซากโบราณวัตถุกระจัดกระจายอยูก่ ลาด เกลื่อน การค้นพบพระพุทธรู ปหลวงพ่อผาเงา เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2519 เวลา 14.00 น. เมื่อคณะศรัทธาได้ปรับพื้นที่เรี ยบร้อยแล้ว ทุกคน ต่างตื่นเต้นและปี ติยนิ ดีเมื่อ ได้พบว่าใต้ตอไม้น้ นั (หน้าฐานพระประธาน) มีอิฐโบราณก่อเรี ยงไว้ เมื่อยกอิฐออกก็พบหน้ากาก จึงได้พบ พระพุทธรู ป มีลกั ษณะสวยงามมาก ผูเ้ ชี่ยวชาญทางโบราณวัตถุได้วเิ คราะห์วา่ พระพุทธรู ปองค์น้ ีมีอายุระหว่าง 700-1,300 ปี คณะทั้งหมดจึง ได้พร้อมกันตั้งชื่อพระพุทธรู ปองค์น้ ีวา่ “หลวงพ่อผาเงา” และเปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็ น “วัดพระธาตุผาเงา” ตั้งแต่บดั นั้นเป็ นต้นมา