ประวัติดนตรีไทย

Page 1

ประวัติดนตรีไทย ประวัติและวิวฒั นาการของดนตรี ไทย เริ่ มมาตั้งแต่สมัยใด ? ตอบ ไม่มีหลกัฐานยนืยนัแน่ชดั เพียงแต่มีผสู้ สันนิ ษฐาน และเสนอแนวทัศนะไว้เป็ น 2 ประ การดงันี้ ทัศนะที่หนึ่ง สันนิษฐานว่า ดนตรี ไทยได้แบบอย่างมาจากอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็ น แหล่งอารยะธรรมโบราณที่ส าคัญ และได้ใหลบ่าเข้ามามีอิทธิพลต่อประเทศต่างๆในแถบ เอเซียอยา่​่ งมากมาย ท้งทั างดา่้นศาสนาประเพณี ความเชื่อและศิบปแขนงต่างๆ โดยเฉพาะใน ดา่้นดนตรี นีน้ การจ าแนกเครื่ องดนตรี ของไทย ได้จ าแนกออกเป็ น เครื่ องดีด เครื่ องสี เครื่ อง ตีและเครื่ องเป่ า ซ่ึงใกลเ่้คียงกบัลกัษณะของเครื่ องดนตรี ของอินเดีย ที่กล่าวไวใ่้น “คัมภีร์ สังคีตรัตนากร” ซึ่ งจ าแนกออกเป็ น 4 ประเภทเช่นกนั คือ ตะตะคือเครื่ องดนตรี ประเภทมีสาย สษิระ คือเครื่ องดนตรี ประเภทเคื่องเป่ า อะวะนัทธะ หรื ออาตตะคือเครื่ องหุม้ หนงั หรื อกลอง ต่างๆ ฆะนะคือเครื่ องตีหรื อเครื่ อ่งกระทบ บุคคลสา คญั ที่เป็ นผเู่ ่้สนอแนวทศันะน้คืี อ ิ สมเด็จพระเจา่้บรมวงศเ่์ธอ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ พระบิดาแห่งวงการประวตัศาสตร์ ของไทย ทัศนะที่สอง สันนิษฐานวา่​่ ดนตรี เกิดจากความคิดสติปัญญาของคนไทยเอง เนื่องจากดนตรี เป็ นมรดกของมนุษย์ชาติทุกชาติทุกภาษาก็มีดนตรี เป็ นของตนเองดว้ยกนั ท้งนั นี้ จะสังเกตุวา่​่ เครื่ องดนตรี ดง้ เั ดิมของไทย มีชื่อเรี ยกเป็ นคา ไทยแทๆ่้ ท้งนั น้ ั เช่น เกราะโกร่ งกรับ ฉาบ ฉิ่ ง ปี่ ขลุ่ย ฆอ้งและกลอง เป็ นต้น เมื่อไทยเราได้อพยพลงมาทางตอนใต้ เข้ามาในแหลมอินโดจีน จึง ี นิสยั รัก ได้รับเอาวัฒนธรรมของอินเดีย มอญ เขมร เข้ามาผสมได้ทนั ทีเพราะชนชาติไทยน้นมี การดนตรี อยูแ่ ลว้ จึงไดเ่้กิดเครื่ องดนตรี เพิ่มข้นึ เช่น พิณ สังข์ปี่”ฉน บัณเฑาะว์ กระจับปี่ และ จะเข้ เป็ นต้นต่อมาเมื่อไทยไดโ่้ยกยา่้ยถิ่นฐาน เขา่้มาในแหลมอินโดจีน จึงไดร้ับเครื่ อง ี มาใชเ่้ช่นในวงดนตรี ไทยดว้ยเช่น กลองแขก ปี่ ชวาของ ดนตรี บางอยา่​่ งของประเทศน้นๆ ชวา (อินโดนีเซี ย)กลองมลายูของมลายู เปิ งมาง นะโพนมอญ ปี่ มอญ ฆอ้งมอญ ของมอญ กลองยาวของพม่าและขิมของจีนกลองมริ กนั กลองของชาวอเมริ กนั เปี ยโน ออร์ แกน และ ไวโอลินของประเทศตะวันตก เป็ นต้น วิวฒั นาการของดนตรี ไทย นับเนื่องมาได้จนถึงสมัยกรุ ง


สุโขทัย ที่ดนตรี ไทยมีลกั ษณะเป็ นการขับลา นา และร้องเล่น ที่ปรากฎหลกัฐานไวใ่้นหนงัสือ ไตรภูมิพระร่ วงไดก้ล่าวถึงเครื่ องดนตรี ไดแ่้ก่ แตร สังข์มโหระทึก ฆอ้งกลอง ฉิ่ งแฉ่ง(ฉาบ) บัณเฑาะว์ พิณ ซอพุงตอ ปี่ ไฉน ระฆัง และกงัสะดาล ตามหลกัฐานในศิลาจารึ กและหนงัสือ ไตรภูมิพระร่ วง มีเครื่ องดนตรี ไทย ดงันคืี้ อวงบรรเลง พิณ มีผบู้ รรเลง 1 คน ท าหน้าที่บรรเลง พิณ และขับร้อง เป็ นลักษณะขับล าน า วงขับไม้ ประกอบด้วยผูบ้ รรเลง 3 คน คือ คนขับล าน า คนสี ซอสามสายและคนไกวบัณเฑาะ วงปี่ พาทย์ เป็ นลักษณะวงปี่ พาทย์เครื่ อง 5 มี 2 ชนิดคือ วงปี่ พาทย์เครื่ อง 5 ที่ประกอบด้วยเครื่ องดนตรี 5 ชิ้นคือ ิ ่และฉิ่ ง ใชบ้ รรเลงประกอบละครชาตรี วงมโหรี เป็ นลักษณะของวง กลองชาตรี ทับ(โทน) ฆอ้งคู ดนตรี ที่นา เอาวงบรรเลงพิณ กบัวงขบัไมม้าผสมกนั เป็ นลักษณะของวงมโหรี เครื่ องสี่ เพราะ ประกอบด้วยผูบ้ รรเลฃง 4 คนคือคนขับล าน าและตีกรับพวง 1 คน คนสี ซอสามสายคลอร้อง คนดีดพิณ และคนตีทบั คุมจังหวะ จนถึงสมยักรุ งศรี อยธุ ยาลกัษณะของวงดนตรี ไทยในสมยันี้ ี ึ นคืี้ อ สา หรับวงปี่ พาทย์ยงัคงรู ปแบบปี่ พาทยเ่์ครื่ องหา่้เมือนกบั สมยัก ไดม้การพฒั นาข้นดงั ึ ก1 เครื่ องมือ เครื่ องดนตรี ไทนวงปี่ พาทย์จึงประกอบด้วย รุ งสุโขทยั แต่ได้เพิ่มระนาดเอกข้นอี ระนาดเอก ปี่ ใน ฆ้อง วงใหญ่กลองทดั ตะโพน ฉิ่ ง ส่วนวงมโหรี ได้พฒั นาจากวงมโหรี เครื่ องสี่ ในสมัยสุโขทัย เป็ ี ่ องดนตรี ดงันคืี้ อ ซอสามสายกระจบั นมโหรี เครื่ องหกคือไดเ่้พิ่มขลุ่ย และร ามะนา ทา ใหม้เครื ปี่ ทบั(โทน)ระมะนาขลุ่ยและกรับพวง สมยักรุ งธนบุรีไม่มีรูปแบบการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากกา ลงัมีขา้ ศึกและป้ องกนั ประเทศอยมู่ าก มาถึงสมยัรัตนโกสิ นทร์ จึงไดแ่้บ่งความเจริ ญเป็ นลา ดบัดงันรัี้ ชกาลที่ 1 รู ปแบบของวงดนตรี ยงัคงรู ปเหมือนกบั สมยักรุ งศรี อยธุ ยา แต่ไดพ้ ฒั นา ึ้ ี ลูก ท าให้วงปี่ พาทย์มีกลองทัด 2 ลูก ตัวผูเ้ สี ยงสูวง และ และเพิ่มกลองทดัขนในวงปี ่ พาทยอ์ก1 ตัวเมียเสี ยงต ่​่ารัชกาลที่ 2 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล่านภาลยั ทรงพระปรี ชา สามารถในดา่้นการดนตรี คือทรงซอสามสายและมีซอคู่พระหตัถท์ ่​่ี ่ ชื่อวา่​่ “ซอสายฟ้ าฟาด” และทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทยที่ชื่อวา่​่ “บุหลันลอยเลื่อน” นนั่ เอง พร้อมท้งใั น ี ้ กิดกลองสองหนา่้ขนซึ ึ้ ่ งได้พฒั นามาจาก”เปิ งมาง” ของมอญ และพฒั สมยัรัชกาลที่2 น้ไดเ่ นามาเป็ นเครื่ องกา กบัจงัหวะหนา่้ทบัของวงปี่ พาทย์ไมแ่้ขง็ในในปัจจุบนั น้รัี ฃชกาลที่ 3 ไดพ้ ฒั นามาเป็ นวงปี่ พาทยเ่์ครื่ องคู่ เพร้อมกบั มีการประดิษฐร์ ะนาดทุม้ คู่กบัระนาดเอกและ


ฆ้องวงเล็กใหคูก้่ บั ฉอ้งวงใหญ่รัชกาลที่ 4วงปี่ พาทยไ่์ดพ้ ฒั นามาเป็ นวงปี่ พาทยเ่์ครื่ องใหญ่ ี ึ้ ก 2 ชนิดคือ ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุม้ เหล็ก เพราะไดม้การประดิ าฐเ่์ครื่ องดนตรี ขนอี โดยใช้โลหะทาท าลูกระนาดและท ารางระนาดใหแ่้ ตกต่างไปจากรางระนาดเอกและระนาด ี ิ้ งขยายเพลง 2 ช้นขั องเดิม ทุม้ นอกจากน้ในสมยั รัชกาลที่4 น้ก็ี มีการนิ ยมร้องส่งทา ให้มีผคูดแต่ เป็ น 3 ช้นั และตดัลงเป็ นช้นั เดียว ทา ใหเ่้กิดเป็ นเพลงเถาข้นึ เป็ นคร้ังแรกในสมยั รัชกาลที่4 น้ี ี้ ดวงปี่ พาทยด์กดา ึ บรรพข์ึ้น โดย สมเด็จกรมพระยานริ ศรานุวตั ิวงศ์ ได้ รัชกาลที่ 5 ในสมยันเกิ คิดค้นเพื่อน าไปประกอบการแสดงละครดึกด าบรรพ์มีการปรับปรุ งวงดนตรี ปี่ พาทย์ โดยการ ึ บรรพ์จึง ตัดเครื่ องดนตรี ชนิดเสี ยงเล็กแหลม หรื อดงัเกินไปออกเครื่ องปี่ พาทยด์กดา ประกอบดว้ยระนาดเอก ฆอ้งวงใหญ่ระนาดทุม้ ระนาดทุม้ เหล็กขลุ่ย ซออูฆ้ อ้งหุย ้ (ฆ้อง 7 ใบ) ี้ การปรั ี นะโพน กลองและเครื่ อบงกา กบัจงัหวะรัชกาลที่ 6 ในสมยันไดม้ บปรุ งวงปี่ พาทยข์ึ้นมา อีกชนิดหน่ึงโดยไดน้ า วงดนตรี ของมอญเขา่้มาผสมกบัวงปี่ พาทยข์องไทยเรี ยกวา่​่ “วงปี่ พาทย์มอญ” ซึ่ งคิดค้นปรับปรุ งโดย หลวงประดิษฐไพเราะ(ศร ศิลปบรรเลง) มีการนา องักะลุง เขา่้มาเผยแพร่ เป็ นคร้ังแรก และนา เครื่ องดนตรี ต่างชาติเช่น ขิม ออร์ แกน ของฝรั่งมาผสมใน ึ วงเครื่ องสาย ทา ใหว้งเครื่ องสายไดพ้ ฒั นาข้นจนกลายเป็ นวงเครื่ องสายผสม

รัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา่้เจา่้อยหู่ วั ได้สนพระทัยในเรื่ องดนตรี ไทยเป็ นอัน มาก ด้วยได้ทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทยไว้ถึง 3 เพลงคือเพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง 3 ช้นั เพลงเขมรลออองค์ (เถา)และเพลงราตรี ประดับดาว (เถา) เป็ นตน้ ในสมยันมี​ี้ ผทูนิี่้ ยมดนตรี ไทย


มากมายพระมหากษตัริยเ์ จา่้นาย ตลอดจนขนุ นางก็ไดใ่้หค้วามอุปถมั ภน์ กัดนตรี ไทย ใน วงักจ็ ะมีวงดนตรี ประจา วงั เช่น วงวงับูรพาวงวงับางขนุ พรหม วงวงับางคอแหลม และวงวัง ปลายเนิน เป็ นต้น มีการประกวดประชนักนั ทา ใหว้งการดนตรี ไทย เจริ ญรุ่ งเรื องถึงขีดสุด หลงัการเปลี่ยนแปลงการปกคลองผปู้ กครองประเทศในสมยัน้นั มีนโยบายที่เรี ย กวา่​่ “รัฐนิยม” คือ “ห้ามการบรรเลงดนตรี ไทย” เพราะเห็นวา่​่ ไม่สอดคลอ้งกบัการพฒั นาประเทศให เ่้จริ ญรุ่ งเรื องทัดเทียม นานาอารยประเทศการจะบรรเลงดนตรี ไทย จะต้องขออนุญาติจากทาง ราชการ ท าให้เป็ นเหตุหนึ่งที่การดนตรี ไทย ตกต่า เป็ นอยา่​่ งมาก ทา ใหร้ัฒนธรรมและดนตรี จากต่างชาติไดเ่้ขา่้มา และมีบาทบาทในชีวติประจา วนัของคนไทยเป็ นอนั มากมาจนถึง ี ทุกวนั น้เพลงแขกบรเทศ ท่อน 1 สามช้นั :1: ---ซ -ลลล -ซ-ด -ลลล -ดรม -ซ-ด รมรด -ท-ล :2: ---ร ---ม ---ซ ---ล ซลดร มรดล รดลซ ดลซม :3: ซมรด ซดรม ซลซม ซมรด รมซล ดซลด ซลดร มดรม :4: ซดรม รมซล ดรดล -ซ-ม -ซ-ด -ร-ม ซลซม -ร-ด ท่อน 1 สองช้นั :1: ---ซ -ลลล -ซ-ด -ลลล ซลดซ -ล-ซ ดลซม มมมม :2: ซลซม ซมรด ซลซด มรซม รมซล ดลซม ลซมร ซมรด ท่อน 2 สองช้นั :1: ซดรม ซมรด ซลทด รดทล ดซลซ รมซล รดลด ซลดร :2: ซลซม ซมรด ซลซด มรซม รมซล ดลซม ลซมร ซมรด ท่อน 1 ช้นั เดียว :1: ดลลล ดลลล ดซลซ ดลซม ซมรด ซดรม ซลซม ซมรด


ท่อน 2 ช้นั เดียว :1: รมซร มรดล ซมซล -ด-ร ซลซด -ร-ม ซลซม ซมรด ออกลูกหมด :1: ดลลล ดลลล ดซลซ ดลซม รมซล ดซ-ล ซลดร มด-ร :2: --มร ดลดซ --ดล ซมซร -รมซ -มซล -ซลด -ลดร หนา่้ทบั ปรบไก่สองช้นั หนา่้ทบั ปรบไก่ชน้ ั เดียว ทวั่ ไปเรี ยกท่านวา่​่ ครู มีแขกเกิดวนั เดือนปี อะไรกนั ไม่ปรากฏใหท้ ราบแน่ชดั ทราบเพียงแต่ วา่​่ 1. เป็ นครู ดนตรี มาต้งแั ต่ปลายสมยัรัชกาลที่3 จนถึงรัชกาลที่ 5 2. สมเด็จนกรมพระยาด ารงราชานุภาพทรงเคยเห็นพระประดิษฐ์ไพเราะขณะที่สมเด็จกรมพระ ยาด ารงฯ ทรงไว้พระเมาลี สมเด็จกรมพระยาด ารงฯ ประสูติเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2465 3. ครู มีแขกเป็ นครู ของ ครู สิน ศิลปบรรเลง บิดาของหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง ) หลวงประดิษฐไ่์พเราะเกิดเมื่อวนั ที่6 สิ งหาคม2424ครู มีแขกไดร้ับพระราชทานบรรดาศกัดิ์ เป็ น หลวงประดิษฐไ่์พเราะเมื่อ ึ น พระประดิษฐ์ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2396 และไดร้ับพระราชทานเลื่อนบรรดาศกัดข้ิ์ นเป็ ไพเราะเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2396นกัดนตรี ทุกคนต่างยอมรับนบัถือความเป็ นอจัฉริ ยะในทาง ดนตรี ของครู มีแขกโดยถือวา่​่ ท่านเป็ นบรมครู ผยูง้ ่ิ ใหญ่ของการดนตรี ไทยทีเดียว เพราะ นอกจากท่านมีความสามารถในการเล่นดนตรี ไดแ่้ทบทุกชนิดแลว้ ท่านยงัเป็ นตน้ ตา รับใน ี ่ ดว้ยโดยเฉพาะเพลง การแต่งเพลงประเภทต่าง ๆ ไดด้ยงิ ประเภท ลูกล้อลูกขัดจากการที่ท่านถนดัแต่งเพลงประเภท ลูกลอ้ลูกขดั หรื อเพลงประเภท" ทยอย" ดงัในคา ไหวค้รูปี่พาทยต์อนหลงัวา่​่ ี้ "ทีนจะไหวค้ รูปี่พาทย์


ท้งคั รู แกว้ครู ฟ้าเป็ นหลกั ชยัครู ทองอินทร์ นนั่ แหละใครไม่เทียบมือตอดหนอดหนกัขยกัขยอ่ ี ครันเป่ าทยอยลอยลนั่ บรรเลงลือ"พระประดิษฐ นตาพนู มอญมิใช่ชวั่ ตวัขยนัมีครู แขกคนน้เบาดี ไ่์พเราะทรงเพลงทยอยนอกโดยแทรกลูกเล่นไวอ้ยา่​่ งพิศดารมีทง้ เั ดี่ยวลูกลอ้ลกู ขดั เบาทีแรง ทีอยา่​่ งบริ บูรณ์และเพลงน้ถืี อเป็ นเพลงต้นต ารับเพลงประเภทลูกล้อลูกขัดพอถึงรัชกาลที่ 5 ครู มีแขกเป็ นครู ปี่พาทยใ่์นพระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกลา่้เจา่้อยหู่ วั และไดร้ับพระราชทาน ิ์ นพระประดิษฐไ่์พเราะในวันที่ 21 ธันวาคม 2396 เนื่องจากแต่งเพลงเชิดจีน บรรดาศกัดเป็ บรรเลงทูลเกลา่้ถวายพระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกลา่้เจา่้อยหู่ วั และทรงโปรดปรานมาก จึง ิ์ เพลงเชิดจีนที่ท่านแต่งข้นน้ ึ ใชว้ ี ธีิอนัแปลกประหลาดกวา่​่ เพลง โปรดเลื่อนบรรดาศกัดให้ ไทยท้งหั ลายที่เคยมีมาก สา นวนทา นองของเพลงมีทง้ เั ชิงลอ้ เชิงชน ทีหนีทีไล่ลอ้หลอกกนัไป มาระหวา่​่ งเครื่ องกบั เครื่ องตามอยา่​่ งสนุกสนานและไพเราะเริ งเร้ากระตุน้ เตือนใจชวนให้ ี งใหเ่้กิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน หรื อจะเอาไปใช้ประกอบการร พังตลอดเวลา เพลงน้จะฟั ี้ า หรื อแสดงละครก็ได้ครู มีแขกเป็ นผมูความสั งเกตและสนใจจดจา สิ่ งต่าง ๆ ที่ได้ประสพพบ เห็นโดยเฉพาะอยา่​่ งยงิ่ ถา่้ไดเ่้ห็นไดย้นิไดฟ้ ่ังเพลงดนตรี แปลก ๆ แลว้ ท่านจะจดจ าน ึ ามาดัดแปลง หรื อมาแต่งเป็ นเพลงข้นใหม่ ตามหลกัดุริยางคไ่์ทยได้อยา่​่ งไพเราะเพราะพริ้ ง เช่น วนั หน่ึงขณะเดินกลบัจากสอนดนตรี ในวงัผา่​่ นมาไดย้นิ พวกจีนเขาเล่นมโหรี กนัอยู่ ิ ่​่ี ่ มาดว้ยกนั 2 คน คือครู ศิลปบรรเรงและครู ลอด ช่วยกนัจา ไว้พอถึงบา่้นก็ไดน้ า ก็ใหศ้ษยท์ ึ้ มาเรี ยบเรี ยงประดิษฐ์ขนมาเป็ นเพลงชุดของเพลงจีน 4 เพลงคือเพลงภิรมย์สุรางค์ เพลงอาเฮีย ี เพลงชมสวน เพลงแป๊ ะ ท้ง ั 4 เพลงน้อยในความนิ ยมของนกัดนตรี ไทยมาจนทุกวันนี้

จัดทาโดย นาย อัมฤทธิ์ ไกลหอม เลขที่ 14 สาขา ดนตรี ไทยศึกษา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.