1
2
3
Colonial
Architecture and Fine Arts Colonial Buildings in Lampang
สถาปัตยกรรมอาณานิคม
4
Colonial Architecture
Architecture and Fine Arts Colonial Buildings in Lampnag
Memmoth Hostel
Colonial = colony architecture “สถาปัตยกรรมที่มาจากการเข้ายึดครองของฝรั่งเกิดเป็นการสร้างบ้านแบบฝรั่งท้องถิ่นที่เป็นอาณานิคม”
สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมอาคารโคโลเนียลในเมืงลำ�ปาง
5
บ้านหลุยส์ อาคารเยียนซีไท้ลีกี อาคารหม่องโง่ยซิ่น อาคารกาญจนวงศ์ อาคารฟองหลี บ้านบริบูรณ์ พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย สถานีรถไฟนครล�ำปาง
6
สถาปัตยกรรมและศิลปกรรม อาคารโคโลเนียลในประเทศไทย the apothecary venue
ประเทศไทยนับตั้งแต่อดีตนั้นเป็นหล่งรวมของศิลป วัฒนธรรมของหลายชาติเนือ่ งจากเป็นแหล่งส�ำคัญทางการ ค้าท�ำให้ต่างชาติเข้ามาอยู่ในไทยแล้วน�ำเอาวัฒนธรรม ประเพณีเข้ามาด้วยโดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านสถาปัตยกรรม เห็นได้ชัดว่าประเทศไทยรับรูปแบบและอิทธิพลจากทั้ง ของ ลังกา พม่า อินเดีย จีน และแม้กระทั่งฝรั่งที่เป็นเช่น นีก้ เ็ พราะว่าประเทศไทยอยูใ่ กล้หรือได้มคี วามสัมพันธไมตรี กับชาติตา่ งๆเมือ่ เห็นศิลปวัฒนธรรมของต่างชาติคนไทย ก็จะรับเพียงหลักการความคิดศึกษาแบบอย่างของชาติ นั้นๆและคัดเลือกอย่างละเอียดถี่ถ้วนสิ่งใดเหมาะผสม กลมกลืนพอทีจ่ ะดัดแปลงและปรับปรุงให้เข้ากับประเพณี นิ ย มสภาพแวดล้ อ มของคนไทยก็ จ ะน� ำ มาเสริ ม แต่ ง ประกอบเข้ากับศิลปกรรมของตนผู้คนจึงเรียกอาคารที่ ผสมศิลปะแบบตะวันตกกับไทยว่าอาคารโคโลเนียลตกแต่ง
7
ตกแต่งสถาปัตยกรรมทีท่ ำ� ด้วยไม้มลี กั ษณะลวดลาย หงิกงออ่อนหวานกระจุม๋ กระจิม๋ แบบลายผ้าลูกไมทีเ่ ป็น ที่นิยมกันมากในยุคสมัยของสมเด็จพระราชินีวิคตอเรีย ได้กล่าวกันว่าสมเด็จพระราชินวี คิ ตอเรียของอังกฤษทรง โปรดการเสด็จประทับแรมในป่าเขตชนบทสถาปนิกจึง ได้มกี ารออกแบบพระราชวังฤดูรอ้ นแบบไม้ให้กลมกลืน กับบรรยากาศของป่าและอารมณ์ความรู้สึกแบบผ่อน คลายร่าเริงมีลักษณะอ่อนหวานและเน้นการประดับ ตกแต่งในแบบผู้หญิงทั้งยังเชื่อกันว่าการตกแต่งประดับ อาคารด้วยลวดลายแบบลายดอกจิกลายกากบาทลาย เปลวไฟเป็นต้นแต่ทงั้ นีล้ วดลายแบบอาคารโคโลเนียลที่ ได้รบั อิทธิพลทางศิลปะแบบกอธิคก็ได้มกี ารพัฒนาออก ไปมากมายจากต้นแบบทีส่ ำ� คัญคือลวดลายทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ ของลวดลายแบบอาคารโคโลเนียลคือลายดอกทิวลิป
8
ชุมชนท่ามะโอ เป็นชุมชนที่ยังคงมีอาคารและบ้านเก่าที่ยังคงสภาพสวยงาม จึงเป็นชุมชนที่เป็นที่หนึ่งแหล่ง
ชุมชน ท่ามะโอ ต�ำบล เวียงเหนือ อ�ำเภอเมืองล�ำปาง
9
ชุมชนท่ามะโอถือว่าเป็นชุมชนเก่าแก่ ของล�ำปางนับตัง้ แต่กอ่ ตัง้ เมืองเขลางค์นคร และเป็นจุดศูนย์กลางในการค้าไม้สักของ ภาคเหนือทีม่ี ผี คู้ นหลากหลายเชือ้ ชาติมาอยู่ รวมกันทั้งไทยอังกฤษพม่าและจีนท�ำให้มี การผสมผสานวัฒนธรรมไว้อย่างลงตัวโดย จุดเริ่มต้นของการเดินทางมายังท่ามะโอ จังหวัดล�ำปางในมุมทีแ่ ปลกใหม่และดึงเสน่ห์ ของโบราณสถานออกมาได้อย่างสวยงาม และยังคงความเป็นเอกลักษณ์
10
บ้านหลุยส์
ถนนป่าไม้ ชุมชนท่ามะโอ ต�ำบล เวียงเหนือ อ�ำเภอเมืองล�ำปาง บ้ า นหลุ ย ส์ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี 2448มี อ ายุ ราว114เจ้าของอาคารคือหลุยส์ทเี ลียวโนเวนส์ เข้ามาท�ำการค้าไม้ในช่วงรัชกาลที5่ โดยขณะนัน้ นายหลุยส์ มีอายุเพียง29ปีแต่ก็ได้ถูกแต่งตั้ง เป็น ผู้ที่ได้ดูแลและผู้ที่เข้ามาบุกเบิกกิจการป่า ไม้สกั ในเขตภาคเหนือนายหลุยส์ ที เลียวโนเวน ส์เป็นลูกชายของแหม่มแอนนาเลียวโนเวนส์หา้ ง
ป่าไม้จะมีส�ำนักงานและบ้านพักของนายห้าง และผูช้ ว่ ยปลูกไว้ใหญ่โตในบริเวณพืน้ ทีข่ องห้าง อันกว้างใหญ่บ้านพักของฝรั่งปลูกเป็นเรือนไม้ หลังใหญ่ใต้ถนุ สูงบางแห่งกัน้ ใต้ถนุ เป็นส�ำนักงาน ส่วนชัน้ บนเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยมีเครือ่ งเรือนแบบฝรัง่ นั้นท�ำด้วยหวายหรือไม้สักอย่างดีตกแต่งปัก แจกันดอกไม้ตามที่ต่างๆภายในบ้านน�ำเอา
11
ลวดลายที่น�ำมาประดับบ้านหลุยส์ส่วน ใหญ่ประดับบริเวณเหนือประตูและบริเวณ เหนือหน้าต่างฉลุลวดลายด้วยไม้ลวดลาย ส่วนใหญ่เป็นลวดลายพรรณพฤกษาและ ลายเรขาคณิต
โครงสร้างแบบฝรัง่ ผสมผสานกับของล้านนา อีกทัง้ ยังเป็น ช่างจากฝรั่งท�ำงานร่วมกับคนไทยท�ำให้เกิดการก่อสร้าง แบบบ้านโคโลเนียลมีลักษณะที่เหมือนกันทั้งโครงสร้างที่ แตกต่างจากคนไทยเห็นได้จากประตูทางเข้าบ้านหลุยส์ ท�ำเป็นซุม้ โค้งแบบฝรัง่ หรือหน้าต่างทีม่ กี ารประดับตกแต่ง ลวดลายเฉพาะไม่วา่ จะน�ำอารูปทรงเรขาคณิตลายดอกไม้
12
ชุมชนท่าจีน หรือ กาดกองต้า
ต�ำบล สวนดอก อ�ำเภอเมือง
ส�ำคัญของประวัตศิ าสตร์เป็นท่าล่องซุง ไม้สกั ของคนต่างชาติทไี่ ด้รบั สัมมปทาน ท�ำกิจการป่าไม้ทำ� รายได้มากมายเป็น แหล่งสะสมทุนหลักของพ่อค้าในล�ำปาง อดีตการคมนาคมไม่สะดวก การท�ำมา หากินของคนชาวล�ำปางอยู่ในระบบ เศรษฐกิจเพือ่ ยังชีพมีการผลิตเพือ่ เลีย้ ง ตัวเองผลผลิตส่วนใหญ่เป้นพืชไร่ผลผลิต จากป่าการค้าระหว่างเมืองในเขตภาค เหนือด้วยกันเป็นการค้าโดยพ่อค้าวัว ต่า งซึ่ ง เป็ นชาวไร่ ช าวนาในหมู ่ บ ้ าน รวบรวมผลผลิตเช่นเมี่ยงยาเส้น ครั่ง ของป่า ฯลฯ
ตลาดจีนอดีตเคยเป็นศูนย์กลางการ ต้าทางน�้ำที่รุ่งเรืองเป็นเมืองท่าที่ส�ำคัญ เชื่อมต่อศูนย์กลางการค้าเมืองปากน�้ำ โพ(นครสวรรค์)กับภาคเหนือตอนบน เป็นแหล่งกระจายสินค้าเข้าออกแหล่ง ชุมชนเศรษฐกิจทีร่ งุ่ เรืองว่าตลาดจีนหรือ ตลาดเก่าแม่น�้ำวังเป็นเส้นแม่น�้ำสาย
13
อาคารเยียนซีไท้ลีกี ต�ำบล สวนดอก อ�ำเภอเมืองล�ำปาง
อาคารเยียนซีไท้ลีกี สร้างเมื่อปี พ.ศ.2456 มีอายุราว106 ปี เป็นของนายห้างใหญ่ชาวจีนชื่อนายจิ้นเหยี่ยน(อารีย์ทิวารี)ตันตระ กูลทิวารีเอเยนต์นำ�้ มะเน็ดอดีตอาคารเยียนซีไท้ลกี เี คยเป็นห้างสรรพ
ลวดลายประดับบริเวณเหนือประตู
สินค้าใหญ่ที่สุดในย่าน ตลาดจีนหรือกาดกองต้า ทัง้ ยังมีตเู้ ชฟโบราณเจาะ ฝังเข้าไปในก�ำแพงคล้าย ห้องลับขนาดเล็กโดยฝา ตู ้ เ ชฟใบนี้ น� ำ เข้ า จาก เยอรมนีโดยบรรทุกมากับ เรือปัจจุบันฝาตู้เชฟก็ยัง มีอยู่ในอตีดมีเหตุการณ์ ลักขโมยเกิดขึ้นในชุมชน เจ้าของห้างและทั้งชาว บ้ า นคนอื่ น ๆ จึ ง น� ำ ทรัพย์สนิ มาฝากไว้ทอี่ าคาร เยียนซีไท้ลีกี
14
อาคารหม่องโง่ยซิ่น ชุมชนท่าจีน ต�ำบล สวนดอก อ�ำเภอเมืองล�ำปาง
อาคารหม่องโง่ยซิน่ ถูกสร้างขึน้ ในปีพ.ศ. 2451 มีอายุ ราว111ปีโดยมีเจ้าของเป็นคหบดีพม่าชือ่ หม่องโง่ยซิน่ เป็น อาคารที่สร้างโดยช่างชาวพม่าซึ่งเป็นบุตรชายของหม่อง ส่วยอัตถ์สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่พักอาศัยของตนถัดมาตก เป็นของรุน่ หลานจึงได้บรู ณะอาคารใหม่ทำ� ทีแ่ ห่งนีใ้ ห้เป็น แหล่งเรียนรู้จัดว่าเป็นอาคารที่ โดนเด่นที่สุดในชุมชนกา ดกองต้ามีความสวยงามจนกระทั่งศิลปินแห่งชาติสาขา ทัศนศิลป์อย่าง น. ณ ปากน�ำ้ ยกย่องว่าเป็นอาคารขนมปัง ขิงริมถนนที่งดงามที่สุดในประเทศไทย ทั้งยังได้รับรางวัล สถาปัตยกรรมดีเด่นประจ�ำปี2550เป็นเรื่อนขนมปังขิง หลังคาทรงมะนิลาสูงสามชั้นลักษณะครึ่งปูนครึ่งไม้ห้อง บนสุดคือห้องพระประดับด้วยกระจกสี ขึ้นไปถึงได้โดยใช้
บันไดลับทีซ่ อ่ นอยูใ่ นตูแ้ บบบิลต์ อินบนชั้นสอง ความพิเศษของ อาคารหม่องโง่ยซิน่ อยูท่ ลี่ ายฉลุ ไม้ ( FRAMEWORK)ทาสี ข าว แบบเรือนขนมปังขิงทั่วไปโดย ส่วนใหญ่เป็นลายพรรณพฤกษา ลายก้านขดลายประดิษฐ์ลายสัตว์ และลายสั ญ ลั ก ษณ์ ที่ ห น้ า จั่ ว ประดับตกแต่งแทบทุกส่วนของ อาคารดูหรูหราพลิว้ ไหวน่าสังเกต อี กอย่ างหนึ่ ง คื อหน้ าจั่ ว มี ก าร ประดับสะระไนอันเป็นลักษณะ เด่ น ของเรื อ นแบบมะนิ ล าฝ้ า เพดานบุด้วยแฟนดีบุกดุนลาย เหมือนอย่างวัดในพม่า อาคาร หม่องโง่ยซิ่นตั้งอยู่บริเวณตลาด กาดหรือกาดกองต้าต�ำบลสวน ดอก
15
ลวดลายประดับอาคารบริเวณหน้าประตู
16
อาคารกาญจนวงศ์ ชุมชนท่าจีน ต�ำบล สวนดอก อ�ำเภอเมืองล�ำปาง
ลวดลายประดับเหนือประตู อาคารกาญจนวงค์
อาคารกาญจนวงศ์ตั้งอยู่ในชุมชน ตลาดจีนหรือกาดกองต้าตั้งอยู่ตรงข้าม กับอาคารหม่องโง่ยซิ่นสร้างเมื่อปีพ.ศ. 2451อายุประมาณ111ปีอาคารกาญจน วงศ์เจ้าของอาคารหลังนี้คือคุณบัว ผัด กาญจนวงศ์สบื ทอดมาจนปัจจุบนั อาคาร หลังนี้เป็นของระวีตรีธรรมพินิจอาคาร หลังนี้ในอดีตเป็นอาคารของพ่อค้าชาว พม่าทีไ่ ด้สร้างขึน้ เพือ่ เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยและ ท�ำเป็นร้านเย็บผ้าเนื่องจากผู้สร้างเรือน นีเ้ ป็นพ่อค้าไม้ชาวพม่าสร้างอาคารกาญ จนวงศ์ข้ึนเพื่ออยู่อาศัยและเป็นร้านเย็บ ผ้า สภาพเรือนได้รับการปรับปรุงเทื่อไม่ นานมานีล้ วดลายปูนปัน้ เหนือประตูเป็น ลวดลายปูนปั้นนูนมีความสวยงามอ่อน ช้อย
17
อาคารฟองหลี
ชุมชนท่าจีน ต�ำบล สวนดอก อ�ำเภอเมืองล�ำปาง
อาคารฟองหลีถูกสร้างขึ้นเมื่อพ.ศ.2434-2444อายุ ประมาณ118ปีเจ้าของคือเจ้าสัวฟองอาคารฟองหลีสร้าง โดยจีนฟองหรือเจ้าสัวฟองเป็นผู้ได้รับสัมปทานป่าไม้อีก ทั้งยังเป็นเจ้าภาษีนายอากรฝิ่นและสุราของเมืองล�ำปาง ในช่วงนัน้ นับเป็นชาวจีนทีม่ ฐี านะดีทสี่ ดุ อาคารฟองหลีได้ ตกทอดสูท่ ายาทและมีการเปลีย่ นผูค้ รอบครองหลายครัง้ จนกระทั่งได้ตกทอดมาถึงทายาทหลังจากเจ้าสัวฟองได้ ถึงแก่กรรมได้มีการน�ำศพบรรทุกเรือส�ำเภากลับไปฝั่งยัง ประเทศจีนทายาทขุนจ�ำนงจินารักษา
18
บ้านบริบูรณ์ ชุมชนท่าจีน ต�ำบล สวนดอก อ�ำเภอเมืองล�ำปาง
บ้านบริบูรณ์เป็นบ้านเก่าที่ตั้งอยู่ในเขตชุมชนกาดกองต้าอ�ำเภอ เมืองจังหวัดล�ำปางสร้างเมือ่ พ.ศ 2461-2471 เจ้าของบ้านบริบรู ณ์ คือ พ่อเลี้ยงหม่องยีนายใหญ่ บริบูรณ์ ประกอบอาชีพเป็นพ่อเลี้ยง ค้าไม้และยังเป็นเฮดแมนของหลุยส์ทีเลียวโนเวนส์คนที่เข้ามาริเริ่ม กิจการป่าไม้พอ่ เลีย้ งหม่องยีหรือนายใหญ่บริบรู ณ์เป็นชาวพม่าทีเ่ ดิน ทางเข้ามาท�ำงานด้านป่าไม้ให้แก่ชาวอังกฤษที่ได้รับสัมปทานท�ำป่า ไม้ในภาคเหนือของไทยพ่อเลีย้ งหม่องยีหรือนายใหญ่บริบรู ณ์เป็นชาว พม่าทีเ่ ดินทางเข้ามาท�ำงานด้านป่าไม้ให้แก่ชาวอังกฤษทีไ่ ด้รบั สัมปทาน ท�ำป่าไม้ในภาคเหนือของไทย ตั้งแต่ล�ำพูนล�ำปาง เชียงใหม่เชียงราย แพร่นา่ นอุตรดิตถ์เป็นต้นหม่องยีตอ่ มาเปลีย่ นชือ่ เป็นนายใหญ่บริบรู ณ์ เป็นคนที่ขยันซื่อสัตย์ ค้าขายเก่งจึงได้รับความไว้วางใจให้เป็นเฮด แมนของหลุยส์ทีเลียวโนเวนส์ผู้จัดการบริษัทบริติชบอร์เนียวจ�ำกัด หนึ่งในบริษัทอังกฤษที่ได้รับสัมปทานป่าไม้จากรัฐบาลไทยในราว ปี2432ในสมัยนั้นคนในบังคับของอังกฤษกสิทธิ์ต่างๆเหนือคนไทย เช่นการไม่ต้องเสียภาษีให้รัฐบาลไทยอยู่เหนือกฎหมายไทย และได้ รับเงินเดือนตามอัตราเงินอังกฤษจนมีรายได้และฐานะร�่ำรวย พ่อ เลี้ยงหม่องยีก็เป็นพ่อเลี้ยงค้าไม้ และเป็นคหบดีคนส�ำคัญคนหนึ่งใน ล�ำปาง มีทรัพย์สนิ และกิจการค้ามากมายใน ล�ำพูน ล�ำปาง เชียงใหม่ มีบริวารทั้งคนงานที่เป็นขมุ และช้าง ม้า วัว ควาย ที่ดิน และอาคาร พาณิชย์มากมายในจังหวัดเหล่านัน้ จัดว่าหม่องยีเป็นพ่อเลีย้ งพม่าที่ มีอทิ ธิพลทางเศรษฐกิจ และมีฐานะทางสังคมเป็นทีย่ อมรับอย่างกว้าง ขวางในล�ำปางสมัยนั้น การท�ำป่าไม้ในยุค 2470 ศูนย์กลางการค้า ของภาคเหนือ เส้นทางคมนาคมหลักในการล�ำเลียง
ชุมชนท่าจีน ตำ�บล สวนดอก อำ�เภอเมืองลำ�ปาง
19
20
ชุมชน สบตุ๋ย ต�ำบล สบตุ๋ย อ�ำเภอเมืองล�ำปาง
21
ชุมชน สบตุ๋ย ต�ำบล สบตุ๋ย อ�ำเภอเมืองล�ำปาง
หลั ง จากที่ ก ารค้ า ทางน�้ ำ ได้ ถู ก ลด บทบาทลงล�ำปางได้เปลีย่ นไปในระยะอา รายธรรมสื่อสารโทรเลขคมนาคมรถไฟ สมัยรัชกาลที่ 5-6แปรสภาพสังคมศักดินา สองฝั่งน�้ำสู่ยุคมีสะพานข้ามแม่น�้ำก่อให้ เกิดการรวมแขวงสองฝั่งแม่น�้ำระบบเลิก ทาสสมัยรัชกาลที5่ ช่วยให้ไพร่เก่าล�ำปาง มีโอกาสพัฒนาฝีมอื ช่างแรงงานแทนเกณฑ์ ยุคคมนาคมรถไฟหลวงและทางหลวงสาย ล�ำปางเชียงรายพ.ศ.2459ท�ำให้ชุมชน เศรษฐกิจเมืองขยายตัวจากแหล่งริมน�ำ้ สู่ แหล่งริมถนนทางรถไฟสายเหนือสร้าง จากกรุงเทพขึน้ มาจนถึงล�ำปางก็ตอ้ งหยุด ชะงักเนื่องจากภูมิประเทศในแถบนี้เป็น ภูเขาสูงและมีเหวลึกเป็นสาเหตุที่ท�ำให้ การสร้างทางรถไฟต่อจากล�ำปางมาถึง เชียงใหม่ต้องล่าช้า
22
พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย ต�ำบล สบตุ๋ย อ�ำเภอเมืองล�ำปาง
สร้ า งมาแล้ ว อายุ ร าว113ปี ส ร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2449สร้างขึน้ หลังทีช่ าวตะวันตกเข้ามาค้าขายกับ จังหวัดล�ำปางไม่วา่ จะเป็น ฝรัง่ จีนฮ่อ ไทใหญ่ และ พม่าแต่ชว่ งทีส่ ร้างเป็นช่วงทีค่ นจีนเข้ามามีอทิ ธิพล ทางการค้ามีคนจีนจ�ำนวนมากย้ายเข้ามาอยู่ใน ชุมชนสบตุ๋ยเนื่องจากชุมชนสบตุ๋ยใกล้กับสถานี รถไฟเป็นเหมือนสถานีสุดท้ายที่ต้องมาจอดแลก เปลีย่ นสินค้าของคนต่างถิน่ เมือ่ มีคนเข้ามาอยูร่ วม กันหลากหลายเชือ้ ชาติจงึ ท�ำมาต้องแลกเปลีย่ นเงิน ตราค่าเงินของแต่ละประเทศไม้เหมือนยากที่จะ แลกเงินกันจึงท�ำให้เล็งเห็นว่าจังหวัดล�ำปางของ มณฑลพายัพ(ภาคเหนือ)
ลวดลายประดับผนังบริเวณด้านนอก
23
ซึ่งติดกับประเทศพม่านั้น ยังขาดแคลนทั้งเงินบาท และเงินเหรียญของไทยประชาชนต้องใช้เงินรูปีของพม่า เป็นส่วนใหญ่ทำ� ให้เงิน 1บาทแลกเป็นเหรียญได้เพียง15สตางค์ ดังนัน้ การมีสาขาของธนาคารในพืน้ ทีด่ งั กล่าวจึงให้ประโยชน์ โดยตรงแก่รฐั บาลในการช่วยแก้ปญ ั หาเหล่านีท้ งั้ ยังจะช่วย รักษาระดับอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดโดยช่วยลดความ ส�ำคัญของตลาดเงินนอกระบบเช่น การรับจ�ำน�ำตามบ้าน การให้กู้ยืมในอัตราดอกเบี้ยที่สูงประกับเพื่อประโยชน์แก่ บริษทั ท�ำไม้ของชาวนาต่างประเทศทีเ่ ข้ามาด�ำเนินงานใน เขตมณฑลพายั พ ด้ ว ยปั จ จุ บั น ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ จ�ำกัด(มหาชน) เป็น ผู้ดูแลธนาคารแห่งประเทศหลังนี้ เพราะว่าตระหนักถึงความส�ำคัญของการอนุรักษ์สิ่งของ ต่างๆข้อมูลทางประวัติศาสตร์ด้านการเงินการธนาคาร รวมไปถึงอาคารสถานที่ ที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นบริษัทแบงก์ สยามกัมมาจล ทุนจ�ำกัด
24
สถานีรถไฟนครล�ำปาง ต�ำบล สบตุ๋ย อ�ำเภอเมืองล�ำปาง
สถานีรถไฟนครล�ำปางสร้างขึน้ มาแล้ว103 ปี ปีที่สร้างพ.ศ.2458-2459 สถานีรถไฟนคร ล�ำปางตัง้ อยูใ่ นเขตชุมชนสบตุย๋ ช่วงรัชกาลที6่ และ ต่อเติมหลังสงครามโลกครั้งที่1 เนื่องจากเกิด ความเสียหายมากในช่วงหลังสงครามเริ่มเกิด การขนส่งสินค้าหรือทีเ่ รียกวว่าการคมนาคมทาง น�้ำมาตลอดจนเมื่อปี พ.ศ.2450 เกิดการสร้าง ทางรถไฟมาที่จังหวัดล�ำปางในการสร้างสถานี รถไฟนัน้ เป็นไปอย่างล�ำบากเพราะใช้เวลากว่า12ปี
ในการสร้ า งทางรถไฟสายล� ำ ปางจึ ง เสร็ จ ในปี2461 ล�ำปางจึงกลายเป็นชุมทางรถไฟ ทีเ่ ชือ่ มการคมนาคมจากส่วนกลางกรุงเทพไป ยังหัวเมืองภาคเหนือทัง้ หมดการคมนาคมทาง น�ำ้ จึงเปลีย่ นแปลงไปอย่างมากพืน้ ทีท่ รี่ งุ่ เรือง ด้านการค้าจึงกลายมาเป็นการคมนาคมทาง รถไฟท�ำให้ล�ำปางกลายเป็นศูนย์กลางทาง เศรษฐกิจรุง่ เรืองสร้างขึน้ ในประเทศไทยและ ยังคงเหลืออยูภ่ ายหลังสงครามโลกครัง้ ที1่ ได้
25
รับการออกแบบโดยวิศวกรชาวเยอรมันซึ่งได้ รับมอบหมายให้สร้างทางรถไฟสายเหนือนับ ว่าการสร้างสถานีรถไฟแห่งนีไ้ ด้นำ� ความก้าวหน้า มาสูน่ ครล�ำปางก่อนเชียงใหม่หลายปีเนือ่ งจาก การเจาะอุโมงค์ที่ถ�้ำขุนตานยังไม่แล้วเสร็จ สถานีรถไฟล�ำปางเป็นอาคาร 2 ชัน้ ก่ออิฐฉาบ ปูน ผังรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ามีปกี 2ข้างเชือ่ มกับโถง กลาง รูปแบบสถาปัตยกรรมโคโลเนียลมีการ ใช้โค้ง(ARCH)และการประดับตกแต่งด้วยไม้
ฉลุและปูนปัน้ พืน้ ทีข่ องสถานีรถไฟนครล�ำปาง มีประมาณ161ไร่มตี วั อาคารสถานี คลังสินค้า พื้นที่เก็บหัวรถจักรและตัวรถไฟ รวมถึงพื้นที่ บ้านพักพนักงาน
26
27
Colonial Style In Lampang สถานีรถไฟนครล�ำปาง
28
ลวดลายประดับตกแต่งอาคารโคโลเนียล
ลวดลายทีน่ ำ� มาประดับอาคารโคโลเนียลมักจะน�ำ ไม้มาฉลุซงึ่ เป็นการตกแต่งทีท่ ำ� ให้อาคารนัน้ ดูสวยงาม ยิ่งขึ้น และลายที่พบในอาคารโคโลเนียลส่วนใหญ่คือ ลายพันธุพ์ ฤกษาลายดอกไม้ลวดลายดอกไม้ของอาคา รโคโลเนียลแต่ละหลังก็จะมีการแตกแต่งต่างกันไปมีด อกไม้เป็นรูปดาวดอกไม้ที่อยู่ในวงกลมซึ่งแต่ละดอกก็ จะมีความแตกต่างกันไปแต่ก็จะจัดให้อยู่ในวงกลมซึ่ง แต่ละดอกก็จะมีความแตกต่างกันไปแต่ก็จะจัดให้อยู่ ในกลุ่มเดียวกันดอกก๋ากอบดอกบัวดอกไม้จีนลาย ดอกจิกลายกลับบัวลายดอกปาริชาติมีความหมาย
เปรียบถึงสวรรค์ทั้งนี้เพราะเป็น 1 ใน 5 ของดอกไม้สวรรค์ทเี่ รียกว่าเทพด�ำรูปลาย ดอกพุดตานดอกพุดตานไม่ใช่ดอกไม้ ดัง้ เดิมของไทยเป็นของจีนซึง่ เรียกว่าฝูห ยงเป็นสัญลักษณ์แห่งความมัง่ คัง่ ร�ำ่ รวย มียศศักดิ์ดอกพุตตานนี้ได้เข้ามาในไทย ราวสมัยรัชกาลที่ 2-6 ราว พ.ศ.23532354โดยคณะทูตนุทูตที่เชิญพระราช สาส์นไปเจริญพระราชไมตรีเพื่อท�ำการ ค้ากับพระเจ้าเกียเข้งแห่งกรุงปักกิง่ และ น�ำกิ่งพุดตานติดเรือกลับมาเพราะเห็น เป็นดอกไม้ประหลาดเปลี่ยนสีดอกได้ ตลอดวันและสวยงาม หรือไม่เห็นหมอ เมืองจีนใช้รากพุดตานแก้โรคประดง หรือ ใช้รากฝนกัสสุราเป็นยาทาแก้ผนื่ คันโรค ผิวหนัง และทาแก้ปวดแสบปวดร้อนตาม ร่างกายพวงรักร้อยเป็นลายที่ใช้เฉพาะ
ลวดลายพรรณพฤกษาประดับอาคารโคโลเนียล
29
30
อาคารโคโลเนียลในเมืองล�ำปางเป็น อาคารที่ควรแก่การรักษาสืบต่อเพื่อให้คนรุ่ง หลังได้ศึกษาประวัติความเป็นมาและได้ชม ความสวยงามของอาคารทีค่ นในอดีตสร้างขึน้ ซึง่ มีวธิ กี ารในการน�ำอาคารเก่ากลับมาใช้งาน ใหม่วัตถุประสงค์เพื่อสร้างคุณค่าทางด้าน สังคมเศรษฐกิจให้กับชุมชนและอาคารช่วย
เพิม่ ศักยภาพทางการท่องเทีย่ วและการใช้พนื้ ที่ ท�ำกิจกรรมในชุมชนและเป็นการรักษาคุณค่า ทางประวั ติ ศ าสตร์ ขณะเดี ย วกั บ การปรั บ ประโยชน์ใช้สอยไม้เพียงค�ำนึกถึงอาคารเท่านัน้ แต่การปรับประโยชน์ใช้สอยที่ดีเพราะอาคาร ยังคงถูกใช้งานรวมทั้งปรับปรุงอาคารให้ยังคง สภาพเดิมเพื่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไปใน อนาคต
31
สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมอาคารโค โลเนียลในเมืองล�ำปางทีพ่ บส่วนมากเป็นเรือน ที่มีทั้งอาคารที่เป็นครึ่งปูนครึ่งไม้และอาคาร เรือนไม้พบเรือนปั้นหยาและเรือนขนมปังขิง ซึง่ มีลกั ษณะเด่นทีไ่ ม่เหมือนกันแต่มเี อกลักษณ์ โดดเด่นท�ำให้จดจ�ำได้งา่ ยคือการประดับตกแต่ง อาคารไม่วา่ จะส่วนของหลังคาประดับด้วยไม้
ฉลุที่รับอิทธิพลจากต่างชาติน�ำเอาความงาม ด้วยลายฉลุไม้ทตี่ รงกับรสนิยมคนไทยประกอบ กับความชอบความละเอียดประณีตอ่อนช้อย อยูแ่ ล้วประกอบกับวัสดุทเี่ ป็นไม้เนือ่ งจากสมัย นัน้ ช่างไม้กม็ ฝี มี อื ในการออกแบบและฉลุลาย บางหลังออกแบบดัดแปลงลวดลายเป็นลาย ไทยแทนลายฝรั่ง ผสมผสานศิลปะตะวันตก กับล้านนาเข้าด้วยกัน
32
พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย
33
อาคารหม่องโง่ยซิ่น
34
สถาปัตยกรรมอาคารโคโลเนียล
35
36