คำศัพท์ทางธุรกิจ

Page 1

คำศัพททางธุรกิจ

เกวลี ฉัตฑริกา นทีกานต พรนภัส สุพติ ตา สุพัตรา อาริยา

สงศรี กิจผดุง ภูผา เพ็งลำ ชนะจิตวิกุล ตั้งคำ แซดาน

รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทยธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต


ข


คำศัพททางธุรกิจ

เกวลี ฉัตฑริกา นทีกานต พรนภัส สุพติ ตา สุพัตรา อาริยา

สงศรี กิจผดุง ภูผา เพ็งลำ ชนะจิตวิกุล ตั้งคำ แซดาน

รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทยธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็



คำนำ รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทยธุรกิจ มีเนื้อหาเกี่ยวกับคำศัพททางธุรกิจในหมวดหมู ตาง ๆ เชน ดานการเงิน ดานการบริการ เปนตน ทำใหรู และเขาใจความหมายของคำศัพททางธุรกิจมากยิ่งขึ้น รวมทั้งยังสามารถนำไปใชในรายวิชาอื่นที่มีความเกี่ยวของกับธุรกิจไดอีกดวย การศึกษาครั้งนี้ไดรับความอนุเคราะหจาก ผศ.ดร.รุงรัตน ทองสกุล อาจารยประจำสาขาวิชา ภาษาไทย และเปนอาจารยผูสอนรายวิชาภาษาไทยธุรกิจที่ใหคำปรึกษาในการทำรายงานเลมนี้ รวมทั้งผูให ความอนุเคราะหทานอื่น ๆ อีกหลายทาน จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ผูศึกษาหวังเปนอยางยิ่งวา สิ่งที่ศึกษาจะเปนประโยชนตอผูที่สนใจไมมากก็นอย และหากเนื้อหาสาระ ในรายงานเลมนี้มีขอบกพรอง ผิดพลาดประการใด ตองขออภัยมา ณ ที่นี้

คณะผูจัดทำ


ค


สารบัญ เรื่อง

หนา

คำนำ……….…………………………………………………………………………...................................................(ก) สารบัญ……......................................................................................................................................(ข) สารบัญภาพ………............................................................................................................................(ค) ความหมายธุรกิจ……………………………………………………………………………………………………….…………………1 คำศัพททางการบัญชี………………………………………………………………………….…………………………………………1 คำศัพททางการเงิน……………………………………………………………………………………………………………………….4 คำศัพททางการตลาด…………………………………………………………………………………………………………….……16 คำศัพททางการโฆษณา……………………………………………………………………………………………………………….30 คำศัพททางการบริการและการโรงแรม……………………………………………………………………………………….…31 บรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………………………………37


สารบัญภาพ เรื่อง หนา รูปที่ 1 แคชเชียรเช็ค……………………………………………………………………………………………………………….......1 รูปที่ 2 ตั๋วแลกเงินธนาคาร…………………………………………………………………………………………………………….2 รูปที่ 3 ใบแจงสภาพบัญชี............................................................................................................................2 รูปที่ 4 บัญชีกระแสรายวัน..........................................................................................................................3 รูปที่ 5 บริษัทเครดิตฟองซิเอร………………………………………………………………………………………………………..3 รูปที่ 6 เงินฝด……………………………………………………………………………………………………………………………...4 รูปที่ 7 เงินเฟอ…………………………………………………………………………………………………………………………….4 รูปที่ 8 การฟอกเงิน.....................................................................................................................................5 รูปที่ 9 ใบแจงหนี…้ ……………………………………………………………………………………………………………………….6 รูปที่ 10 บัตรเครดิต……………………………………………………………………………………………………………………..7 รูปที่ 11 บัตรเดบิต……………………………………………………………………………………………………………………...7 รูปที่ 12 ตูไปรษณียเชาอิเล็กทรอนิกส…………………………………………………………………………………………...8 รูปที่ 13 เช็คอิเล็กทรอนิกส……………………………………………………………………………………………………………8 รูปที่ 14 เครื่องเอทีเอ็ม……………………………………………………………………………………………………………….10 รูปที่ 15 เช็ค………………………………………………………………………………………………………………………………11 รูปที่ 16 ตูนิรภัย…………………………………………………………………………………………………………………………11 รูปที่ 17 ดุลการคา....................................................................................................................................13 รูปที่ 18 ธนาคารโลก……………………………………………………………………………………………………………..……14 รูปที่ 19 การผูกขาด..................................................................................................................................17 รูปที่ 20 แฟรนไซส……………………………………………………………………………………………………………………..18 รูปที่ 21 รานนสะดวกซื้อ…………………………………………………………………………………………………………….18 รูปที่ 22 รานสรรพสินคา……………………………………………………………………………………………………………..19 รูปที่ 23 ระบบเศรษฐกิจแบบผสม………………………………………………………………………………………………..23 รูปที่ 24 ราคาดุลยภาพ……………………………………………………………………………………………………………….24 รูปที่ 25 บริษัท มหาชน จำกัด……………………………………………………………………………………………………..26 รูปที่ 26 ลิขสิทธิ์…………………………………………………………………………………………………………………………28 รูปที่ 27 เครื่องหมายการคา…………………………………………………………………………………………………………29 รูปที่ 28 ตราผลิตภัณฑ……………………………………………………………………………………………………………….29 รูปที่ 29 โบรชัวร………………………………………………………………………………………………………………………..30 รูปที่ 30 ใบปลิว………………………………………………………………………………………………………………………….30


สารบัญภาพ (ตอ) เรื่อง หนา รูปที่ 31 ปายโฆษณากลางแจง……………………………………………………………………………………………………..31 รูปที่ 32 การบริการ...................................................................................................................................32 รูปที่ 33 ธุรกิจโรงแรม…………………………………………………………………………………………………………………32 รูปที่ 34 โมเต็ล..........................................................................................................................................33 รูปที่ 35 ใบเสร็จรับเงิน……………………………………………………………………………………………………………….34 รูปที่ 36 เช็คเดินทาง…………………………………………………………………………………………………………………..


1

คำศัพททางธุรกิจ ความหมายของธุรกิจ พรพรหม พรหมเพศ (2551, หนา 3) กลาวถึงธุรกิจไววา ธุรกิจ (business) หมายถึง “บุคคลหรือองคกรที่ พยายามสรางกำไร โดยการจัดหาผลิตภัณฑซึ่งสามารถสรางความพึงพอใจใหลูกคาได” รุจิจันทร วิชิวานิเวศน (2560, หนา 1) อางถึง Albright and Ingram (2004, p. 3) ไดนิยามถึงธุรกิจไววา ธุรกิจ (Business Entity) คือ องคการ (Organization) หนึ่ง ซึ่งเสนอขายสินคาหรือบริการตอลูกคาเปาหมายของธุรกิจ นั้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแสวงหากำไรทางธุรกิจหรือการทำรายไดใหกับองคกร เรไร ไพรวรรณ (2542, หนา25) อางถึง ณรงคศักดิ์ ธนวิบูลยชัย, 2532 : 50) ไดใหความหมายของธุรกิจไววา “ธุรกิจ (Business) หมายถึง บุคคลหรือกลุมบุคคลที่ทําหนาที่นําเอาปจจัย ลิตตาง ๆ มาผลิตเปนสินคาสําเร็จรูปและบริการ แลวนําไปขายใหแกผูบริโภคที่อยูในหนวยอื่น” การทำธุรกิจก็มีการใชคำศัพทที่หลากหลาย และไดมีการรวบรวมคำศัพท โดยการแยกเปนหมวดหมูด วยกันจำนวน 5 หมวดหมูด ังนี้

คำศัพททางการบัญชี แคชเชียรเช็ค (cashier's cheque) หมายถึง เช็คที่ธนาคารเปนผูส ั่งจายใหกับผูรับ

(รูปที่ 1 แคชเชียรเช็คที่มา www.checkraka.com) งบการเงิน (Financial statement) หมายถึง เอกสารทางการเงินซึ่งแสดงฐานะการเงินของ องคกรธุรกิจหรือ สวนบุคคล เชน งบดุล งบกําไรขาดทุน เปนตน งบกําไรขาดทุน (Income statement) หมายถึง รายการแสดงกําไร-ขาดทุน งบดุล (Balance) หมายถึง จํานวนเงินในบัญชีที่ทําใหเกิดดุลระหวางรายรับและรายจาย ดุลการชําระเงิน (Balance of payment) หมายถึง ดุลการชําระเงินระหวางประเทศซึ่งเปน บัญชีบันทึกการรับ และการจายเงินตราตางประเทศอันเนื่องจากการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจระหวางผูที่ มีภูมลิ ําเนาในประเทศหนึ่งกับผูที่มี


2 ภูมิลําเนาในประเทศอื่น ๆ ในชวงระยะเวลาหนึ่ง ดุลการชําระเงิน ประกอบดวยบัญชียอย ๔ บัญชี คือ บัญชีเดินสะพัด (Current account) บัญชีบริจาคและเงินโอน (Unrequited transfers account) บัญชีทุนเคลื่อนยาย (Capital movements account) และบัญชีการ เคลื่อนยายทางการเงิน (Monetary movements) ตั๋วแลกเงินธนาคาร (Bank draft) หมายถึง ตั๋วซึ่งทําหนาที่เชนเดียวกับเช็คธนาคาร โดยผูถือ ตั๋วสามารถไปขึ้นเงิน จากธนาคารที่ไดรับการสั่งจายจากธนาคารที่ออกตัว

(รูปที่ 2 ตั๋วแลกเงินธนาคาร ที่มา https://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net) ทรัพยสิน (Asset) หมายถึง สิ่งทีส่ ามารถเปลีย่ นมูลคาเปนเงินสดได ทุนเรือนหุน (Capital stock) หมายถึง จํานวนทุนจดทะเบียนและแบงเปนเรือนหุนทั้งหมด ของธุรกิจ ใบแจงสภาพบัญชี (Bank statement) หมายถึง รายละเอียดเกีย่ วกับการฝากเงิน การถอนเงิน ทุกรายการ และ ยอดคงเหลือ

(รูปที่ 3 ใบแจงสภาพบัญชี ที่มา https://templates.office.com/th-th) บัญชีกระแสรายวัน (Cheque account) หมายถึง บัญชีธนาคารซึ่งเจาของบัญชีสามารถใชเช็ค เบิกจายได


3

(รูปที่ 4 บัญชีกระแสรายวัน ที่มา https://jamshop.jamsai.com) บริษัทเครดิตฟองซิเอร (Credit foncier) หมายถึง สถาบันการเงินซึ่งระดมทุนโดยออกตัว สัญญาใชเงิน ใหกูเงิน สรางหรือซื้อที่อยูอาศัย โดยมีที่ดินและอาคารเปนหลักประกันรับจํานอง เชา หรือขายฝากอสังหาริมทรัพย และใหธรุ กิจกู

(รูปที่ 5 บริษัทเครดิตฟองซิเอร ทีม่ า http://worldcreditfoncier.co.th) ภาษีมูลคาเพิ่ม (Value added tak-VAT) หมายถึง ภาษีซึ่งคิดจากมูลคาของผลิตภัณฑทุก ขั้นตอนของการผลิต และจําหนาย ภาษีนี้จะบวกรวมอยูในราคาผลิตภัณฑแตละขั้นตอนจนถึงมือ ผูบริโภค สภาพคลอง (Liquidity) หมายถึง ความสามารถในการเปลี่ยนทรัพยสินใหเปนเงินสด จํานวน เงินคงเหลือใน ธนาคารสําหรับการใหกูยืม

คำศัพททางการเงิน


4 เงินปนผล (Dividend) หมายถึง สวนกําไรที่บริษทั จํากัด เปนตน จายใหแกผูถือหุน เงินฝด (Deflation) หมายถึง ภาวะทางเศรษฐกิจที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมากเกินไป ทําใหราคาสินคา แพง และเงินเสื่อมคา

(รูปที่ 6 เงินฝด ที่มา https://encrypted-tbn0.gstatic.com) เงินเฟอ (Inflation) หมายถึง ภาวะทางเศรษฐกิจที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมาก เกินไป ทําใหราคาสินคา แพง และเงินเสื่อมคา

(รูปที่ 7 เงินเฟอ ที่มา https://encrypted-tbn0.gstatic.com) ตะกราเงิน (Basket of currencies) หมายถึง กลุมของเงินตราตางประเทศซึ่งนํามาเปน บรรทัดฐานในการ กําหนดคาของเงินตราสกุลหนึ่ง เชน เงินตราตลาดสวนยุโรปนั้นมีมูลคาที่กําหนด จากตะกราเงินตราสกุลตาง ๆ ของประเทศ ในยุโรป โควตา (Guota) หมายถึง การจํากัดจํานวน โดยวางกฎเกณฑไว เช็ก (Cheque) หมายถึง ตัวเงินชนิดหนึ่งซึ่งผู ฝากเงินสั่งธนาคารใหจายเงินแกอกี บุคคลหนึ่ง


5 โบนัส (Bomus) หมายถึง เงินพิเศษที่จายใหเปนบําเหน็จรางวัลแกพนักงาน การปนตลาดหุน (Bull campaign) หมายถึง การรวมกันรณรงคซื้อหุนบางตัวจนราคาสูงขึ้น ทําใหผูอื่นซื้อตาม จากนั้นก็จะนําหุนมาขายไดในราคาสูง เพราะมีผตู องการ การพยุงราคา (Price Support) หมายถึง เงินชวยเหลือราคาผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งรัฐชวย เกษตรกรเมื่อราคา ผลิตผลนั่นต่ำกวาราคาขั้นต่ำ การฟอกเงิน (Money laundering) หมายถึง การนําเงินที่ไดมาอยางผิดกฎหมายไปฝากบัญชี ธนาคารใน ตางประเทศอยางลับ ๆ

(รูปที่ 8 การฟอกเงิน ที่มา https://dhammakayafacts.wordpress.com) ดัชนี (Index) หมายถึง ตัวเลขชี้สภาพตัวแปรทางเศรษฐกิจขณะใดขณะหนึ่ง เชน ดัชนีราคา ผูบริโภค เปนการชี้ สภาพการเปลีย่ นแปลงของสินคาอุปโภคบริโภค นายหนา (Broker) หมายถึง ตัวแทนซึ่งทําหนาที่เปนนายหนาซื้อขายหุน บริษัทเงินทุน (trust) หมายถึง กลุม ธุรกิจซึ่งรวมตัวเพื่อผลประโยชนรว มกัน หุนชีสภาพตลาด (Barometer stock) หมายถึง ระดับราคาหุนจะเปนตัวชี้สภาพตลาดหุนใน ชวงเวลานั้นใน สายตาของนักลงทุน หุนทุน (Equity share) หมายถึง หุนสามัญในบริษัท หุนสามัญ (Gommon stock) หมายถึง หุนซึ่งออกโดยบริษัทเพื่อเปนทุนในการดําเนินการของ บริษัทจํากัด ภาษี (Government Tax) หมายถึง เงินที่รัฐ หรือทองถิ่นบังคับเก็บจากราษฎรเพื่อใชจายในการบริหารประเทศ หรือทองถิ่นใหเกิดประโยชนแกสวนรวม เงินมัดจํา (Deposit) หมายถึง เงินหรือทรัพยสินอยางอื่นอันมีคาในตัวซึ่งใหไวเพื่อเปนพยานหลักฐานวาไดมีการทำ สัญญากันขึ้นแลว และเพื่อเปนประกันการปฏิบตั ิตามสัญญานั้น ชําระเปนเงินสด (In Cash) หมายถึง ตัวเงินที่มีอยูซึ่งใชไดทันที เงินที่ชําระใหทันทีเมื่อซื้อหรือขายกัน


6 สวนลด (Discount) หมายถึง จำนวนเงินที่ผูขายยอมลดใหกับผูซอื้ ซึ่งถือเปนกลยุทธทางการตลาดของผูขาย ใน การจูงใจใหลูกคาตัดสินใจซื้อสินคา ใบแจงหนี้ (Statement) หมายถึง เปนเอกสารที่ผูประกอบการออกเพื่อใหลูกคาทราบถึงจำนวนเงินที่ตองชำระ และใชเปนเอกสารสำหรับการชำระเงิน

(รูปที่ 9 ใบแจงหนี้ ที่มา https://www.thaibusinessplace.com) งบประมาณลงทุน (Capital Budgets) คือ งบประมาณที่เกี่ยวกับการวางแผนการลงทุนระยะยาวในสินทรัพย ถาวร สำหรับโครงการตาง ๆ ของธุรกิจในอนาคต บัตรเครดิต (Credit Care) คือ การใชบัตรอิเล็กทรอนิกสชนิดหนึง่ สำหรับชำระหนี้คาซื้อสินคาและบริการ ซึ่งผูใช จะตองจัดทำบัตรเครดิตกับองคการ หรือสถาบันทางการเงินภายในวงเงินสินเชื่อที่ไดรับอนุมตั ิ และสามารถนำบัตรเครดิตไป ชำระหนี้แทนเงินสดได หากรานคามีการติดตั้งระบบรูดบัตรเครดิตและยินยอมใชบัตรเครดิตชำระหนี้แทนเงินสด โดยรานคา จะตรวจสอบวาเกินวงเงินเครดิตหรือไมดวย

(รูปที่ 10 บัตรเครดิต ที่มา www.Tutorchredicare.blogspot.com)


7 บัตรเดบิต (Debit Card) คือ การใชบัตรอิเล็กทรอนิกสอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งระบบยินยอมใหรานคาโอนเงินจากบัญชี ผูซื้อเขาสูบ ัญชีผูขายทันทีที่เกิดรายการคาขึ้น โดยไมจำเปนตองตรวจสอบวงเงินสินเชื่อ แตระบบจะตรวจสอบยอดคงเหลือของ บัญชีเงินฝากนั้น ๆ วาเพียงพอกับการชำระคาซื้อหรือไม ซึ่งการใชบัตรเดบิตจะเปนหนทางที่ชวยลดความเสี่ยงของการรับชำระ หนี้ไดเปนอยางดี

(รูปที่ 11 บัตรเดบิต ที่มา www.Scb.co.th) ตูไปรษณียเ ชาอิเล็กทรอนิกส (E-locxbox) คือ บริการของธนาคารประเภทหนึ่งที่เริม่ จากใหผูขายเชาตูไปรษณีย อีกทั้งมอบอำนาจใหแกธนาคารเปนผูเปดตูไปรษณียแ ละนำเช็คไปเขาบัญชีของผูขายหากผูซื้อสั่งเช็คจายคาซื้อสินคาไปที่ เรียกวาอารเอ (RA) ธนาคารจะมีหนาที่เปดตูไ ปรษณียและนำเช็คไปเขาบัญชีของผูขายหลังจากนั้นธนารกวาดตรวจเช็คและ เอกสารอารเอ พรอมทั้งสงเมลใหผูขายเพื่อแจงใหผูขายรับทราบการชำระหนี้ของลูกคา และการโอนเงินของธนาคาร

(รูปที่ 12 ตูไปรษณียเชาอิเล็กทรอนิกส ที่มา www.Sadoodta.com) เช็คที่ไดรับอนุมัติลวงหนา (Preauthorized Cheque: PAC) เปนระบบที่อาจนำมาใชแทนตูไปรษณียเชา อิเล็กทรอนิกสเพื่อเรงะยะเวลาเยกเก็บเงินที่รวดเร็วขึ้น เนื่องจากแปลงสภาพเช็คเปนเงินสดไดในทันทีที่เช็คครบกำหนด จายเงิน และไมจำเปนตองมีการลงนามผูสั่งจายเงินเหมือนเช็คทั่วไป


8 เช็คอิเล็กทรอนิกส (E-cheqe) จะมีวิธีการที่คลายคลึงกับเช็คสั่งจายปกติที่ทำดวยกระดาษ แตจะอยูใ นรูปแบบของ การสื่ออิเล็กทรอนิกส อีกทั้งมีการใชระบบลานเซ็นเช็คดิจิทลั (Digital Singnature) และทุกครั้งที่มกี ารรับสงเช็ค อิเล็กทรอนิกสผานระบบเครือขาย จะตองมีการเขารหัสลับ (Cryptography) และสามารถสืบหาผูผา นโอนเงินหรือตัดบัญชี ได

(รูปที่ 13 เช็คอิเล็กทรอนิกส ที่มา www.Networksecurity2017332979442.wordpress.com) เงินสดอิเล็กทรอนิกส (E-cash) เปนอีกบริการหนึ่งของธนาคารหรือสถาบันการเงินที่จะทำใสวงเงินเขาสูกระเปา สตางคอิเล็กทรอนิกส (E-wallet) ของลูกคา เมื่อใดที่มีการใชเงินจะตัดเงินออกจากกระเปาสตางคอิเล็กทรอนิกสนี้ แตกย็ งั มี ความเสีย่ งที่ไมสามารถสืบหาผูส ั่งโอนเงินหรือตัดบัญชีได การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส (Electronic Fund Transfer: EFT) นับเปนวิธีใหบริการโอนเงินแบบตั้งเดิมของ ธนาคารผานสำนักหักบัญชีอัตโนมัติ (Automated Clearing House: ACH) หรือการโอนเงินผานบัญชีธนาคาร โดย ธนาคารของผูซื้อจะทำการโอนเงินเขาสูบัญชีผูขายผานธนาคารผูขายโดยอัตโนมัติ เครื่องมือที่ใชสั่งโอนเงินอาจจะเปน เครื่องโทรศัพทปกติ หรือเครื่องโทรศัพทแบบแตะปุม (Touch Tone Telephone) ก็ได ผลดีของการโอนเงินในรูปแบบนี้ คือ ธุรกิจสามารถปรับปรุงพยากรณทางการเงินและการจัดเงินสดทีด่ ีขึ้นได ระบบธนาคารศูนยกลาง (Concentration Banking) มักใชกับธุรกิจที่มีสำนักงานขายกระจายอยูห ลายแหง ประเทศ และยังมีการจัดตั้งสำนักงานที่เปนศูนยเก็บเงินประจำภูมิภาคเพื่อรับเงินชำระเงินจากลูกคาในพื้นที่ใกลเคียงและ สามารถนำเช็คไปขึ้นกับสาขาของธนาคารในทองถิ่นนั้น ๆ หลังจากนั้นจึงมีการโอนเงินที่เรียกเก็บตามเช็คธนาคารทองถิ่นสู ธนาคารศูนยกลาง ซึ่งธนาคารเดียวกันเขาบัญชีผูขายอยางรวดเร็ว การบัญชี (Accounting) นับเปนภาษาสากลทางธุรกิจอยางหนึ่ง ซึ่งใชสำหรับติดตอธุรกิจการคาทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ ในการดำเนินงานธุรกิจ จึงจำเปนจะตองมีการจัดทำบัญชีควบคูไปดวยเสมอ เพื่อเปนการบันทึกขอมูล รายการคา ณ จุดเริม่ ตนที่เกิดรายการในขั้นแรก และมีการประมวลผลรายการตามหลักการบัญชีที่ถูกตองในขั้นตอไป ตลอดจนมีการออกเอกสารและรายงานตาง ๆ ทางการบัญชี ซึ่งเปนผลลัพทในขั้นสุดทายการทำบัญชี สิ้นทรัพย (Asset) หมายถึงทรัพยากรที่อยูในความควบคุมของธุรกิจและสามารถใชไปในอนาคต สินทรัพยอาจ เกิด การแลกเปลี่ยนทรัพยากร เชน การนำเงินสดไปซื้อสินคา เปนตน การใชทรัพยสินนี้ ธุรกิจอาจจะคาดหวังที่จะไดรับ


9 ผลประโยชนในอนาคต ตัวอยางของหนี้สิน คือ เงินสด สินคา ลูกหนี้ วัสดุและอุปกรณสำนักงาน ที่ดนิ และอาคารสำนักงาน เปนตน หนี้สิ้น (Liabilities) หมายถึงภาระผูกพันในปจจุบันทีส่ งผลมาจากการกูยืมเงินสดในอดีต ซึ่งมีสัญญาวาจะมีการ ชำระหนี้สินหรือภาระผูกพันนั้นในอนาคต ซึ่งตัวอยางของหนี้สินคือ เจาหนี้ คาใชจายคางจาย เงินกูยืมระยะสั้น เงินกูยืมระยะ ยาว หุนกู เปนตน สวนของเจาของ (Owner’s equitl) หมายถึง จำนวนลงทุนธุรกิจอีกนัยหนึ่ง คือ สวนไดเสียคงเหลือในสินทรัพย ของกิจการภายหลังจากที่มีการหักหนี้สินออกแลว ตัวอยางสวนของเจาของ ไดแก ทุน สวนของผูเปนหุนสวน สวนของผูถือกู กำไรสะสมและขาดทุนสะสม เปนตน รายได (Revenue) หมายถึง ราคาสินคาหรือบริการที่ขายไดในระหวางงวดเวลาบัญชีรวมถึงรายการกำไรที่แสดงให เห็นถึงการเพิ่มซื้อของผลประโยชนเชิงเศรษฐกิจ ซึ่งอาจจะเกิดการกิจกรรมตามปกติของกิจการหรือไมก็ได ตัวอยางของรายได คือ รายไดจากการขาย รายไดคาธรรมเนียม รายไดดอกเบี้ย รายไดเงินปนผล รายไดคาเชา ตลอดจนกำไรจากการขาย สินทรัพย เปนตน คาใชจาย (Expenditure) หมายถึงตนทุนของทรัพยากรที่ใชไปในการดำเนินงานของธุรกิจระหวางรวดเวลาบัญชี รวมถึงรายการขาดทุน ที่แสดงถึงการลดลงของผลประโยชนเชิงเศรษฐกิจ ซึ่งอาจจะเกิดกิจกรรมตามปกติของกิจการหรือไมก็ ได ตัวอยางของคาใชจายคือ ตนทุนขาย คาแรง คาวัตถุดิบ คาเสื่อมราคา คาสาธารณูปโภค ตลอดจนทุนการขายสินทรัพย เปนตน ธนาคารวาณิชธนกิจ (merchant bank) หมายถึงสถาบันทางการเงินซึ่งทำหนาที่ระดมเงินทุน, ซื้อขาย หลักทรัพย, บริหารการควบรวมและซื้อกิจการ รวมถึงใหคำปรึกษาในธุรกรรมขางตนและธุรกรรมทางการเงินประเภทอื่น เชน การปรับโครงสรางหนี,้ การจัดอันดับความนาเชื่อถือ, ทำรายงานวิจยั , ออกแบบผลิตภัณฑทางการเงิน เปนตน อิเล็กทรอนิกสของธนาคาร (Electronic banking) หมายถึงระบบการใหบริการในการทำธุรกรรมตาง ๆ กับ ธนาคาร ผานอินเทอรเน็ตหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสโดยลูกคาไมจำเปนตองมาธนาคาร เครื่องเอทีเอ็ม automatic teller machine หมายถึงเครื่องรับจายเงินอัตโนมัติ เปนเครื่องปลายทาง (Terminal) ของคอมพิวเตอรของธนาคารที่ลูกคาสามารถกดรหัสติดตอกับธนาคารเพื่อใชบริการบางอยาง เชน ฝากหรือ ถอนเงิน ได ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นไดอยูทั่วไป เพราะไดรับความนิยมมาก ในปจจุบัน เนื่องจากสะดวกและ รวดเร็วกวาการเดินทางไปธนาคาร แลวยังตองรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารขอมูลระหวางเครื่องเอทีเอ็ม และ คอมพิวเตอรของธนาคาร จะใชผานทางสายโทรศัพทเปนสวนใหญ


10 (รูปที่ 14 เครื่องเอทีเอ็ม ทีมา http://www.bankmodify.com) การวิเคราะหสินเชื่อ (Credit analysis) หมายถึงการตรวจสอบ แสวงหา และรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริง ในการ ขอสินเชื่อ เพื่อใหขอมูลเครดิตทีส่ มบูรณครบถวน มีสาระสำคัญเพียงพอที่ใชในการพิจารณา และหยิบยกประเด็นสำคัญจาก ขอมูลเหลานั้น ประกอบความเห็นของผูวิเคราะหเสนอใหผูมีอำนาจขออนุมัติสามารถใชประกอบการพิจารณาตัดสินใจ เกี่ยวกับการขอสินเชื่อนั้น ๆ ไดโดยถูกตองและรวดเร็ว7 ตั๋วสัญญาใชเงิน (Promissoryn note) หมายถึงตราสารซึ่งผูกูเงินมอบใหผูใหกูเปนสัญญาการใชเงิน ที่ปราศจาก เงื่อนไขและอาจระบุดอกเบี้ยหรือไมก็ได ผูออกตั๋วอาจมีคนเดียวหรือมากกวา ถามีมากกวาคนเดียวจะเรียกตั๋วสัญญาใชเงินนั้น วา (Joint Promissory Note หรือ ตั๋วสัญญาใชเงินรวมกัน) เช็ค (Cheque) หมายถึงตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกวาผูสั่งจายสั่งใหธนาคารใหใชเงินจำนวนหนึ่งเมื่อทวงถามใหแก บุคคลอีกคนหนึ่งหรือใหใชตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งอันเรียกวา ผูรับเงิน โดยเช็คเปนอีกหนึ่งทางเลือกในการบริหารเงิน สด

(รูปที่ 15 เช็ค ที่มา https://pantip.com/topic/36512852) การรับรองตั๋วแลกเงิน (Acceptance) การที่ผูจาย ไดลงลายมือชื่อของตนในตั๋วแลกเงินเพื่อผูกพันตนเองในอันที่ จะรับผิดชอบจายเงินตามคำสั่งของผูสั่งจายใหแกผูทรง (หรือผูร ับเงิน) ตามจำนวนเงินที่ไดใหคำรับรองไว ตูนิรภัย (Saety box) หมายถึงตูที่เก็บทรัพยสิน หรือของมีคาที่ทำขึ้นใหแข็งแรงเปนพิเศษ เพื่อปองกันการ โจรกรรม หรืออัคคีภัย มีรหัสลับสำหรับเปดตู


11

(รูปที่ 16 ตูนิรภัย ที่มา https://www.l2efurniture.com/category) นักบัญชี (Accountant) หมายถึงเปนผูประกอบกิจในดานการบัญชี ซึ่งเปนการวัด การเปดเผยและการจัดเตรียม ขอมูลทางการเงินซึ่งชวยใหผูบริหาร นักลงทุน และเจาหนาที่ภาษี ตลอดจนผูทำการตัดสินใจอื่น ๆ ในการที่จะตัดสินใจแบง สวนทรัพยากร ผูสอบบัญชี (Auditor) หมายถึงบุคคลหรือองคกรที่บริษัทแตงตั้งขึน้ สอบบัญชี (audit) การจะเปนผูส อบบัญชีได บุคคลควรไดรับการรับรองจากหนวยงานควบคุมการบัญชีและการสอบบัญชี ทั้งตองมีคุณสมบัติบางประการตามที่กำหนด โดยทั่วไปแลว การจะเปนผูตรวจสอบภายนอกของบริษัท บุคคลควรมีใบรับรองการประกอบวิชาชีพจากหนวยงานควบคุม สมุดรายวันทั่วไป (Journals) หมายถึงสมุดบัญชีขั้นตน ที่ใชบันทึกรายการคาทีเ่ กิดขึ้นทันที โดยบันทึกเรียง ตามลำดับวันที่ที่เกิดรายการคาขึ้น การบันทึกรายการคาที่เกิดขึ้นจะบันทึกโดยเดบิตบัญชีหนึ่งและเครดิตอีกบัญชีหนึ่งไว ดวยกัน ซึ่งเปนไปตามหลักการบัญชีคู พรอมทั้งอธิบายลักษณะรายการคาที่เกิดขึ้นใหทราบโดยยอ งบดุล (Balance sheet) หมายถึงงบที่จะแสดงขอมูลฐานะทางการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่งของรอบบัญชี โดยจะแสดง สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ สามารถอธิบายความสัมพันธของสวนตางๆของ งบแสดงฐานะทางการเงิน ไดจาก สมการ คาเสื่อมราคา (Depreciation) หมายถึงคาใชจายที่ตัดจากมูลคาของสินทรัพย ที่กิจการใชประโยชนประจำงวด ทั้งนี้เพราะสินทรัพยประเภทอาคาร อุปกรณ เครื่องจักร รถยนต เปนสินทรัพยที่มไี วใชงานเปนระยะเวลายาวนานและมักจะมี มูลคาสูง จึงมีการประมาณประโยชนจากสินทรัพยเหลานี้เฉลี่ยเปนคาใชจายแตละงวด กิจการเจาของคนเดียว (Sole proprietorship) หมายถึงกิจการที่มีบุคคลคนเดียวเปนเจาของหรือลงทุนคนเดียว ควบคุมการดำเนินเองทั้งหมด เมื่อกิจการประสบผลสำเร็จมีผลกำไรก็จะไดรับผลประโยชนเพียงคนเดียว ในขณะเดียวกันก็ ยอมรับการเสีย่ งภัยจากการขาดทุนเพียงคนเดียวเชนกัน การชำระบัญชี Liquidation หมายถึงเปนกระบวนการอันนำมาซึง่ จุดสิ้นสุดของบริษัท มีการแบงสินทรัพยและ ทรัพยสินใหม "การชำระบัญชี" บางเรียก การเลิกกิจการ (Winding-up) หรือการเลิกบริษัทจำกัด (Dissolution) แมคำวา "การเลิกบริษัทจำกัด" ทางเทคนิคหมายถึงการชำระบัญชีขั้นสุดทาย กระบวนการชำระบัญชียังเกิดเมือ่ กรมศุลกากร ซึ่งเปนเจา พนักงานหรือหนวยงานในประเทศหนึ่ง ๆ ซึ่งมีหนาที่เก็บและรักษาอากรศุลกากร ตัดสินการคำนวณหรือชี้ชัดสุดทายซึ่งอากร หรือการคืนอากรที่ไดเมื่อเขาประเทศ โดยการชำระบัญชีอาจเปนโดยบังคับหรือโดยสมัครใจก็ได โบนัส (Bonus) หมายถึงเงินพิเศษที่จายใหเปนบำเหน็จรางวัลแกพนักงาน นอกเหนือจากเงินเดือนปกติ, เงินที่ให เปนสวนแบงพิเศษแกผูถือหุน


12 คานายหนา (Commission) หมายถึงเงินที่ตองจายใหแกนายหนาในการซื้อขายตามแตจะตกลงกัน ดุลการคา (Balance of trade) ความแตกตางระหวางมูลคาการนําเขาและการสงออกของประเทศ

(รูปที่ 17 ดุลการคา ที่มา https://www.caf.co.th)

ประเทศ

การขาดดุลการคา (Trade deficit) ดุลการคาติดลบ ซึ่งเกิดขึ้นเมือ่ ประเทศนั้นมีการนําเขามาก การสงออก ดุลการชําระเงิน (Balance of payments) ความแตกตางระหวางมูลคาเงินไหลเขาประเทศกับเงินไหล ออกจาก

อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate) อัตราสวนเปรียบเทียบระหวางมูลคาเงินตราของประเทศหนึ่ง สามารถ แลกเปลีย่ นกับเงินตราของอีกประเทศหนึ่ง หรือแลกเปลี่ยนกับทองคํา ภาษีการนําเขา (Import tariff) ภาษีซึ่งเรียกเก็บจากสินคาที่นําเขาประเทศ การควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรา (Exchange controls) ขอกําหนดเกี่ยวกับจํานวนเงิน ตางๆ ที่สามารถซื้อ หรือขายได ขอตกลงทั่วไปวาดวยภาษีศุลกากรและการคา (General Agreement (on Tariffs and Trade : GATT) ขอตกลงทางการคา ซึ่งเกิดจากการประชุมสัมมนาเพื่อทําการเจรจาตกลงเรื่องภาษี และการอภิปราย ปญหาเรื่องการคา ระหวางประเทศของสมาชิกกวา 100 ประเทศ องคการการคาโลก (World Trade Organization) องคการระหวางประเทศ ซึ่งทําหนาที่กําหนด กฎระเบียบ การทําการคาระหวางประเทศตาง ๆ ขอตกลงการคาเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free Trade Agreement : NAFTA) ขอตกลงเพื่อ กําจัดการกีดกันดานภาษีและขอจํากัดทางการคาของผลิตภัณฑเกษตรและอุตสาหกรรม เพื่อ สนับสนุนการคาระหวาง แคนาดา สหรัฐอเมริกา และเม็กซิโก สหภาพยุโรป (European Union ; EU) การรวมตัวกลุมประเทศแถบยุโรป ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อป ค.ศ.1958 เพื่อ สนับสนุนการคาระหวางประเทศสมาชิก


13 ความรวมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟก (The Asia-pacific Economic Cooperation : APEC) ความ รวมมือกันเพื่อสนับสนุนการเปดเสรีทางการคาและเศรษฐกิจ รวมทั้งสรางความรวมมือทาง เทคนิคระหวางประเทศสมาชิกใน กลุม ธนาคารโลก (World Banilk) องคการซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยกลุม ประเทศอุตสาหกรรม เพื่อใหเงินกูแกกลุม ประเทศ กําลังพัฒนา

(รูปที่

18 ธนาคารโลก ที่มาhttp://witsaroot1412.blogspot.com)

กองทุนการเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund ; IMF) องคการซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อป ค.ศ. 1947 เพื่อสนับสนุนการคาระหวางประเทศสมาชิก ดวยการกําจัดอุปสรรคทางการคาและสนับ สนุนใหเกิดความรวมมือ ทางดานการเงิน การบัญชี (Accounting) ภาษาทางธุรกิจที่ใชสําหรับ จัดเก็บ ประเมินคา และแปลความสารสนเทศ ทางการเงิน นักบัญชีสาธารณะ (Public accountant) บุคคลที่เปนผูเชียวชาญอิสระใหบริการดานการบัญชีแกบุคคล และ ธุรกิจ โดยคิดคาธรรมเนียมเปนสิ่งตอบแทน ผูตรวจสอบบัญชีรบั อนุญาต (Certified public accountant ; CPA) นักบัญชีสาธารณะ ซึ่งไดรบั การ รับรอง ตามกฎหมายวาไดรับการฝกฝนหลังจากสําเร็จการศึกษา จนมีความเชี่ยวชาญตามที่กฎหมาย กําหนด นักบัญชีสวนบุคคล (Private accountant) นักบัญชีที่ไดรับการจางโดยกิจการเอกชน หนวยงานของ รัฐ หรือ องคกรอื่น เพื่อทําหนาที่จัดเตรียมและวิเคราะหรายงานทางการเงิน นักบัญชีบริหารไดรับอนุญาต (Certified management accountant ; CMA) นักบัญชีสวนบุคคลที่ ไดรับ การรับรองจากสมาคมนักบัญชีนานาชาติ โดยนักบัญชีเหลานีม้ ีหนาที่รับผิดชอบดานการบัญชี บริหาร การบัญชีบริหาร (Managerial accounting) การที่ผูจัดการใชรายงานทางการบัญชี ภายในกิจการเพื่อการ วางแผน และอํานวยการกิจกรรมขององคการ กระแสเงินสด (Cash flow) การเคลื่อนไหวของเงินในกิจการ ไปจนถึงการบริหารงานรายวัน ราย สัปดาห รายเดือน หรือรายป งบประมาณ (Budget) การวางแผนทางการเงินของกิจการ ซึ่งพยากรณคาใชจายและรายรับในชวง เวลาใดเวลา หนึ่ง สินทรัพย (Assets) ทรัพยากรทางเศรษฐกิจของกิจการ หรือทรัพยากรที่มีคาอื่นๆ ซึ่งกิจการเปนเจาของ หนี้สิน (Liabilities) หนี้ซึ่งธุรกิจผูกพันตองชําระคืนแกผูอื่น สวนของเจาของ (Owners equity) สินทรัพยหักหนีส้ ิน


14 สมการบัญชี (Accounting equation) สินทรัพย = หนี้สิน + สวนของเจาของ การบันทึกบัญชีดวยหลักบัญชีคู (Double-entry bookkeeping) ระบบการบันทึกและแยกประเภท ธุรกรรม ทางธุรกิจ ซึ่งจะทําใหเกิดความสมดุลในสมการทางบัญชี วงจรบัญชี (Accounting cycle) ขั้นตอน 4 ขั้น ในระบบบัญชี ไดแก การรวบรวมเอกสาร บันทึกรายการ คาใน สมุดรายวัน ผานรายการคาไปสมุดแยกประเภท จัดทํางบการเงิน สมุดรายวัน (Journal) รายการอยางเปนลําดับของธุรกรรม ซึ่งแตละรายการจะมีคําอธิบายระบุราย ละเอียดบัญชี สมุดแยกประเภท (General ledger) สมุดหรือไฟลคอมพิวเตอร ซึ่งแยกเปนสวนๆ สําหรับแตละบัญชี งบกําไรขาดทุน (Income statement) รายงานทางการเงิน ซึ่งแสดงความสามารถในการทํากําไรของ กิจการ ในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง รายได (Revenue) จํานวนเงินทั้งหมดที่ไดรบั จากการขายและกิจกรรมทางธุรกิจอื่นที่เกี่ยวของ ตนทุนสินคาขาย (Cost of goods sold) จํานวนเงินที่กิจการจายสําหรับซื้อหรือผลิตผลิตภัณฑเพื่อขาย ใน ระยะเวลาตามที่จัดทํางบกําไรขาดทุน กําไรขั้นตน (Gross income) รายไดหักตนทุนสินคาขาย คาใชจาย (Expenses) ตนทุนที่เกิดขึ้นในการดําเนินงานรายวันของกิจการ คาเสื่อมราคา (Depreciation) กระบวนการของการกระจายตนทุนของสินทรัพยถาวร เชน อาคาร และอุปกรณ ใหครอบคลุมระยะเวลาตามชวงเวลาทางบัญชี ที่คาดหวังวาจะเปนระยะเวลาในการใช งานสินทรัพยนนั้ งบดุล (Balance sheet) สิ่งที่สะทอนถึงฐานะทางการเงินของกิจการในระยะเวลาที่กําหนด ลูกหนี้ (Accounts receivable) เงินที่ลูกคาเปนหนี้กิจการ เจาหนี้การคา (Accounts payable) เงินที่กิจการเปนหนี้เจาของปจจัยการผลิต ซึ่งเกิดจากการ สินคาและ บริการโดยใชสินเชื่อ คาใชจายคางจาย (Accrued expenses) ภาระผูกพันทางการเงินซึ่งเกิดจากองคการที่ยังไมไดชําระ การวิเคราะหอัตราสวน (Ratio analysis) การคํานวณเพื่อวัดคาเกี่ยวกับความสามารถทางการเงิน ขององคการ อัตราสวนวัดความสามารถในการทํากําไร (Profitability ratios) การวัดวา สินทรัพย สวนของ เจาของ และ ยอดขายของกิจการ สามารถกอใหเกิดกําไรจากการดําเนินงาน หรือกําไรสุทธิจํานวน เทาไร ความสามารถในการทํากําไรจากยอดขาย (Profit margin) รายไดสทุ ธิหารดวยยอดขาย ผลตอบแทนจากสินทรัพย (Return on assets) รายไดสุทธิ/สินทรัพย ผลตอบแทนจากสวนของเจาของ (Return on equity) รายไดสทุ ธิหารดวยสวนของเจาของ อัตราสวนวัดความสามารถในการใชสินทรัพย (Asset utilization ratios) การวัดวากิจการใช สินทรัพยอยางมี ประสิทธิภาพเพียงใด การหมุนเวียนของลูกหนี้ (Receivables turnover) ยอดขายหารดวยลูกหนี้ การหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ (Inventory turnover) ยอดขายหารดวยสินคาคงเหลือ การหมุนเวียนของสินทรัพย (Total asset turnover) ยอดขายหารดวยสินทรัพย อัตราสวนวัดสภาพคลอง (Liquidity ratios) การวัดความเร็ววากิจการสามารถเปลี่ยนสินทรัพยไปเปน เงินสดเพื่อ ชําระหนี้สินระยะสั้นไดดีเพียงใด


15

คงเหลือ

อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio) สินทรัพยหมุนเวียนหารดวยหนีส้ ินหมุนเวียน อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio - acid test) การวัดสภาพคลอง โดยไมพิจารณาสวน ของสินคา

อัตราสวนความสามารถในการกอหนี้ (Debt utilization ratios) การวัดเพื่อเปรียบเทียบสัดสวน ระหวางการใช หนี้สินของกิจการกับแหลงเงินทุนอื่น เชนสวนของผูถือหุน อัตราสวนหนีส้ ินตอสินทรัพย (Debt to total assets ratio) อัตราสวนที่ชี้ใหเห็นวาโครงสรางเงินทุน ของ กิจการ มาจากสวนของหนี้สินและสวนของสินทรัพยเปนจํานวนเทาไร อัตราสวนความสามารถในการจายดอกเบี้ย (Times interest earned ratio) รายไดจากการดําเนินงานหาร ดวยดอกเบี้ยจาย อัตราสวนขอมูลและผลตอบแทนตอผูถือหุน (Per share data) ขอมูลที่ผลู งทุนตองใชเพื่อเปรียบ เทียบผลการ ดําเนินงานของกิจการตางๆ โดยพิจารณาผลตอบแทนตอหุน ผลตอบแทนตอหุน (Earnings per share) กําไรสุทธิหารดวยจํานวนหุน เงินปนผลตอหุน (Dividends per share) จํานวนเงินตอบแทนที่หุน 1 หุน จะไดรับ

คำศัพททางการตลาด การตลาด (Marketing) หมายถึงการกระทำกิจกรรมตาง ๆ ในทางธุรกิจที่มีผลใหเกิดการนำสินคาหรือบริการจาก ผูผลิตไปสูผ ูบริโภคหรือผูใชบริการนั้น ๆ ใหไดรับความพึงพอใจ ขณะเดียวกันก็บรรลุวัตถุประสงคของกิจการ ตลาดมืด (Black market) หมายถึง การคาขายซึ่งผิดกฎหมาย โดยกระทํากันอยางลับๆ หรือ ในที่มืด ตลาดเสรี (Free market) หมายถึง ตลาดซึ่งผูซื้อและผูขายเสรีที่จะซื้อขายโดยปราศจาก ขอจํากัดเกี่ยวกับเวลา ปริมาณ และไมมีการบังคับทั้งในการซื้อและการขาย ทาเรือปลอดภาษี (Free port) หมายถึง ทาเรือที่ไมเสียภาษีศลุ กากร เชน ทาเรือสําหรับการ สงออก ทาเรือ สําหรับสินคาผานแดน เปนตน ทุนสํารอง (Reserve fund) หมายถึง เงินที่กันไวจากผลกําไรของหางหุนสวนบริษัท ตามที่ กําหนดไวในกฎหมาย หรือขอบังคับของหางหุนสวนบริษทั นั้น ๆ การทุมตลาด (Dumping) เกิดขึ้นเมื่อประเทศหรือธุรกิจขายผลิตภัณฑในราคาทีต่ ำ่ กวาคน ผลิตผลิตภัณฑนั้น การทําสัญญารวมกัน (Cartel) กลุมของกิจการหรือประเทศซึ่งเห็นพองตองกันในการที่จะรวมตัวกัน เพื่อเปนผูผลิต รายเดียว และไมแขงขันซึ่งกันและกันภายในกลุม เพื่อสรางขอไดเปรียบเชิงแขงขันใน ตลาดโลก ทุนหมุนเวียน (Current funds) หมายถึง ทุนที่ตั้งขึ้นเพื่อกิจการซึง่ อนุญาตใหนํารายรับสมทบ ทุนไวใชจายได ทุนสํารองเงินตรา (Reserve) หมายถึง ทองคํา เงินตราตางประเทศ หรือหลักทรัพยตา ง ๆ ซึ่ง ใชเปนประกันใน การออกธนบัตรหรือธนาคารบัตร บัญชีกระแสรายวัน (Current account) หมายถึง เงินฝากธนาคารประเภทจายคืนเมื่อทวงถาม ซึ่งจะฝากเพิ่ม หรือถอนคืนเมื่อใดก็ได โดยทั่วไปธนาคารไมจายดอกเบี้ยใหแกผฝู ากเงินประเภทนี้ การประกวดราคา (Open bid) หมายถึง การเสนอขายสินคาดวยการยื่นซองประกวดราคา


16 การผูกขาด (Monopoly) หมายถึง การจําหนายสินคาเพียงผูเดียวไมมีคูแขง ผูขาย หรือกลุม ผูขายจึงกําหนด ราคาสินคาไดเอง

(รูปที่ 19 การผูกขาด ที่มา https://prezi.com) ตราผลิตภัณฑ (Brand) หมายถึง ชื่อ คํา สัญลักษณ เพื่อแสดงความแตกตางจากสินคาอื่น เทานั้น และหุนที่มีอาจ ไรมลู คาในกรณีที่บริษัทลมละลายเพราะเปนหนี้ บริษัทจํากัด (Limited company) หมายถึง ผูถือหุนจะรับผิดชอบเฉพาะคาหุนที่ยังไมชําระ เทานั้น และหุนที่มี อาจไรมลู คาในกรณีที่บริษัทลมละลายเพราะเปนหนี้ เฟรนไชส (Franchise) หมายถึง สิทธิทางการตลาดที่เจาของตราเครื่องหมายการคามอบให ตัวแทนจําหนายใน เขตอื่นโดยใชตราสินคานั้นไดแตตอ งจายคาสิทธินั้น

(รูปที่ 20 แฟรนไซส ที่มา https://www.smeleader.com) ราคาขายจริง (actual price) หมายถึง ราคาขายหลังจากหักสวนลดแลว รานสะดวกซื้อ (convenience store) หมายถึง รานคาเล็ก ๆ ที่หาซื้อสินคาไดสะดวก


17

(รูปที่ 21 รานนสะดวกซื้อ ทีม่ า https://www.smeleader.com) รานสรรพสินคา (Department stores) หมายถึง รานคาขายปลีกขนาดใหญซ่งึ มีสินคาหลากหลายประเภทแยก ตามแผนก โดยไมมีการขายผานตัวแทนจำหนาย (หางเปนผูนำสินคามาขายเอง) หางสรรพสินคามักขายผลิตภัณฑที่เกี่ยวกับ เสื้อผา เครื่องเรือน เครื่องใชในบาน เครื่องใชไฟฟา รวมไปถึงสายผลิตภัณฑอื่น ๆ อยางเชน ฮารดแวร สุขภัณฑ เครื่องสำอาง เครื่องเพชรพลอย เครื่องเขียน ของเลน อุปกรณกีฬา เปนตน หางสรรพสินคาบางแหงอาจขายเฉพาะสินคาลดราคา และมี พื้นที่ชำระเงินเปนศูนยกลาง ซึ่งโดยทั่วไปจะอยูบริเวณดานหนาของหาง ซึ่งจะไมมี ผัก ผลไม เนื้อสัตว หรืออาหารสด ขาย หางสรรพสินคามักเปนสวนหนึ่งของกลุมของรานคายอยที่อยูภายใตบริษัทเดียวกันกับพื้นที่ใกลเคียง

(รูปที่ 22 รานสรรพสินคา ที่มา https://sites.google.com/site/ssssirilukkmild/hang-srrph-sinkha) หางหุนสวนจํากัด (Limited partnership) หมายถึง กลุมผูจ ัดการหางหุนสวนตองรับผิดชอบ ไมจํากัด สวนอีก พวกหนึ่งรับผิดชอบจํากัดตามจํานวนเงินลงทุนเทานั้น คว่ำบาตร (Boycott) หมายถึง การรวมตัวและพรอมใจกันไมทําการคาขายหรือติดตอกับ บุคคล บริษัท หรือ ประเทศหนึ่ง โดยบุคคลกลุม หนึ่ง หรือกลุมประเทศหนึ่งเพื่อเปนการบังคับให บุคคล บริษัท หรือประเทศนั้น ปฏิบัติตามกฎ หรือกระทําที่ถูกตองและเปนที่ยอมรับของคนทั่วไป หุนสวนธุรกิจ (Business Partnership) ซึ่งก็คือ ลูกคา ผูจัดหา และผูใหบริการตาง ๆ เชน ผูขนสง และธนาคาร เปนตน ตัวอยางขอมูลและสารสนเทศ คือ ขอมูลยอดขาย การรับชำระเงิน การซื้อสินคาจากผูจัดหา และขอมูลการรับสินคา


18 ผูมีสวนไดเสีย (Business Stakeholder) ซึ่งก็คือ บุคคลภายนอกองคการที่มุงความสนใจในตัวองคการ เชน ผูถือหุน และนักลงทุน เปนตน ตลอดจนสถาบันการเงินและหนวยงานของรัฐบาล ตัวอยางขอมูลและสารสนเทศ คือ งบการเงิน การคืนภาษี และรายการซื้อขายหุน แบบจำลองธุรกิจ (Business Model) คือ วิธกี ารดำเนินธุรกิจ ทีส่ งผลใหสามารถสรางรายไดเพื่อค้ำจุลองคกรการ ใหอยูรอด ซึ่งแบบจำลองนี้ จะอธิบายถึงวิธกี ารเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑใหลูกคาเต็มใจงายคาซื้อองคกรการผลิตภัณฑ ซึ่ง Turban et al. (2006, p. 10) ไดยกตัวอยางแบบจำลองธุรกิจอยางงาย เชน บริษัท โนเกีย จำกัด ผลิตและขายโทรศัพทมือถือและ สรางกำไรจากยอดขายนี้ อีกตัวอยางหนึ่ง คือ สถานีโทรทัศนไดจัดหากระจายเสียงโดยไมเก็บคาธรรมเนียมใด ๆ ซึ่งในความอยู รอดของธุรกิจ มักขึ้นอยูกับความซับซอนของแบบจำลองที่ประกอบดวยหลายปจจัย เชน การโฆษณา เปนตน ผลปอนกลับ (Feedback) จะอยูในรูปแบบของรายงานที่เปนผลลัพธ ซึ่งถูกสงกลับไปยังระบบในฐานะของตนทาง ขอมูลภายในหรือภายนอกก็ได และยังอาจถูกนำไปใชในฐานะขอมูลเริ่มตนหรือขอมูลสำหรับการปรับเปลี่ยนกระบวนการ เชน รายงานแสดงสถานะของสินคาคงเหลือจะถูกใชเพื่อสงสัญญาณใหเจาหนาที่ผูควบคุมสินคาคงเหลือทราบยอนสินคาที่ขาด หายไปหรือยอดคงเหลือของสินคาที่ต่ำกวา จุดสั่งเพิ่ม (Reorder Point) ผลปอนกลับของสารสนเทศสนก็คือ จุดเริ่มตนของ การสั่งซื้อสินคา เพื่อปรับยอดสินคาคงเหลือที่เพิ่มขึ้นนั่นเอง การจัดหุนสวนสัมพันธ (Partner Relationship Management : PRM) หรือพีอารเอ็ม โดยมุง เนนถึงการ รับรู ความตองการดานการพัฒนาความสัมพันธระยะยาวกับหุนสวนธุรกิจ อีกทั้ง ยังมีการจัดหาบริการโดยนำสงผลประโยชน สูงสุดใหกับหุนสวนแตละคนผานกระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ ในสวนของการจำแนกประเภท จัดหา บำรุงรักษา การสื่อสาร และการกอกำเนิดสายงานดานสารสนเทศซึง่ ไหลผานจากองคการหนึ่งไปอีกองคการหนึ่ง องคการมี การใชระบบมือประกอบกับอุปกรณสื่อสาร เชน โทรศัพท โทรสาร และไปรษณีย หากเปนบริษัทใหญอาจจะสื่อสารระหวาง องคการผานทางอีไอดี ดวยตนทุนการเชื่อมตอขอมูลที่สูงพอสมควร ในเวลาตอมา ไดมีการเชื่อมตอขอมูลผานทางอินเทอรเน็ต ดวยตนทุนที่ต่ำ การจัดหาระบบทำไดงาย สะดวกและรวดเร็ว ซึ่งใชเทคโนโลยีเว็บเพื่อการกระจายและการจัดการสารสนเทศ อยางมั่นคง มีผลใหการใชงานพีอารเอ็ม เปนไปอยางแพรหลายมากขึน้ การพาณิชยแบบรวมมือ (Collaborative Commerce) หรือซีคอมเมิรช คือ รูปแบบหนึ่งของการรวมมือของ องคการกับหุนสวนธุรกิจ ในสวนนอกเหนือจากการทำธุรกรรมซื้อขายสินคาและบริการ แตเปนความรวมมือ 3 ดาน คือ ความรวมมือระหวางผูคาปลีกและผูจัดหา ในการวางแผนดานการจัดหาวัตถุดิบ ความรวมมือขององคการ ผูจัดหา และหุนที่ เกี่ยวของในการออกแบบผลิตภัณฑรวมกัน ตลอดจน ความรวมมือระหวางองคการผูผ ลิตกับผูจัดหาในระดับชั้นตาง ๆ เชน ผูจัดหาชิ้นสวนและชิ้นสวนยอย ในการสรางเครือขายความรวมมือดานการผลิต โดยจำเปนตองมีการใชเครื่องมือ อิเล็กทรอนิกส เชน กรุปแวร หรือเครื่องมือที่ถูกออกแบบพิเศษดานความรวมมือ ที่ชวยสนับสนุนในสวนของการสื่อสาร และการใชสารสนเทศรวมกัน กลยุทธระดับบริษัท (Corporate Strategy) ถูกกำหนดโดยผูบริหารระดับสูงขององคการ มีขอบเขตครอบคลุม ทั่วทั้งองคการในระยะยาว โดยการคนหาคำตอบวา องคการควรดำเนินธุรกิจ ธุรกิจอะไร มีการจัดสรรทรัพยากรอยางไร เพื่อใหองคการสามารถดำรงอยูไดในอนาคต กลยุทธระดับหนวยธุรกิจ (Business Strategy) มักจะถูกกำหนดโดยผูบริหารระดับกลางและใหความสำคัญกับ การแขงขันของธุรกิจในแตละอุตสาหกรรม มีกรพิจารณาขอบเขตทีค่ รอบคลุมการดำเนินการของผูบริหารหนวยธุรกิจ และจะตองเปนไปในทิศทางเดียวกันกับภาระหนาที่และวัตถุประสงคขององคการ แบรนดเอด (Brandaid) คือ ตัวแบบของสวนประสมทางการตลาดที่มีความยืดหยุน ที่มุงเนนความสำคัญไปที่สินคา ไปที่สินคาอุปโภคบริโภคบริโภคสำเร็จรูป ซึ่งประกอบดวยตัวแบบยอยของการโฆษณาการกำหนดราคา และการแขงขัน


19 การพาณิชย (Commerce) หมายถึงธนาคารปลอยสินเชื่อเพื่อการพาณิชยอสังหาริมทรัพยเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ การทุมตลาด (Dumping) หมายถึงการสงออกสินคาจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่งเพื่อประโยชนในทาง พาณิชย โดยทีร่ าคาสงออกนั้นต่ำกวามูลคาปกติของสินคาชนิดเดียวกันที่จำหนายเพื่อการบริโภคภายในประเทศผูสงออก/ ผูผลิตเอง การขาย (Selling) หมายถึงกระบวนการประสานงานโดยใชวิธีการสื่อสารทุกรูปแบบ เพื่อเปนการเสนอขอมูล เกี่ยวกับสินคาและบริการ อันจะเกิดแรงจูงใจใหลูกคาสามารถตัดสินใจซื้อสินคาที่ตองการดวยความพอใจ การซื้อ (Buying) หมายถึงการดำเนินกิจกรรมเพื่อใหไดมาซึ่งสินคาหรือบริการ วัตถุดิบ ตลอดจนเครื่องจักร เครื่องมือ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของธุรกิจ และตนทุนต่ำ ในปจจุบันมีผูซื้ออยูหลายกลุม ธนาคารกลาง (Central bank) หมายถึงธนาคารเปนสถาบันการเงินระดับสูงของประเทศที่มีอำนาจและหนาที่ ควบคุมและดูแลการเงินและเครดิต ใหมีความเหมาะสมตอความจำเริญทางเศรษฐกิจ และความมีเสถียรภาพทางการเงินของ ประเทศ กิจการรวมคา (Jointventure) หมายถึงการรวมประกอบธุรกิจของบุคคลหรือกิจการตั้งแตสองคนขึ้นไป โดยมี การรวมลงทุนไมวาจะเปนเงินทุน ทรัพยสิน แรงงาน เทคโนโลยี ที่ดนิ บุคลากร หรืออื่นๆ ภายใตขอตกลงหรือสัญญารวมคา เพื่อประกอบกิจการรวมกัน และจะมีการกำหนดวัตถุประสงครวมถึงเปาหมายการดำเนินงานไวอยางชัดเจน ถาโครงการนั้นทำ เสร็จสิ้นลงก็จะถือวาการรวมคานัน้ ยุติลงดวย ในกรณีเกิดความเสียหายทางการคาก็จะรับผิดชอบรวมกันในนามกิจการรวมคา และเมื่อมีผลกำไรก็จะจัดสรรตามสัดสวนของการลงทุน ทั้งนี้ จะตองมีผูรวมคาฝายหนึ่งเปนนิติบุคคล เชน บริษัทกับบริษัท หรือบริษัทกับกับบุคคลธรรมดา การรวมกันดังกลาวจะไมเปนนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย แตจะมีเพียง สถานะเหมือนหางหุนสวนสามัญทีไ่ มจดทะเบียนเทานั้น อยางไรก็ตาม ก็ตองขอบัตรประจำตัวผูเสียภาษีอากรในนามกิจการ รวมคากับสรรพากรพื้นที่ ในการขอบัตรประจำตัวผูเสียภาษีอากรของกิจการรวมคา ทั้งสองฝายจะตองนำสัญญากิจการรวมคา มาเปนหลักฐาน ถาฝายใดเปนบุคคลธรรมดาใหใชเพียงสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบาน ประโยชนของ การรวมกันทางการคาในลักษณะกิจการรวมคา เพื่อจะชวยคูคาแตละฝายลดและกระจายความเสีย่ งในการดำเนินธุรกิจ รวมทั้งยังชวยประหยัดภาษีจากสวนกำไรเพราะกฎหมายกำหนดวาเมื่อไดรบั สวนแบงกำไร ไมตองนำมารวมกับรายไดของ บริษัทเดิม หางหุนสวน (Partnership) หมายถึงบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไปตกลงทำธุรกิจรวมกันเพื่อแสวงหากำไร และแบงผล กำไรจากการดำเนินธุรกิจ บุคคลทีเ่ ปนหุนสวนสามารถลงหุนดวยเงิน ทรัพยสิน หรือแรงงานก็ได ถาลงหุนดวย ทรัพยสิน หรือ แรงงานตองคิดราคาเปนจำนวนเงิน บริษัทจำกัด (Limited compant) หมายถึงบริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นดวยแบงทุนเปนหุนแตละหุนมีมูลคาเทา ๆ กัน โดยผูถือหุนตางรับผิดจำกัดเพียงไมเกินจำนวนเงินที่ตนยังสงใชไมครบมูลคาของหุนที่ตนถือ บริษัททรัสต (Trust compant) เปนบริษัท โดยเฉพาะอยางยิ่งธนาคารพาณิชย ที่จดั ระเบียบเพื่อทำหนาที่เปน ผูดูแลผลประโยชนของทรัสต (Trust) และหนวยงานตาง ๆ ปกติมีโครงสรางอยูสามแบบ คือ ความเปนหุนสวนอิสระ ธนาคาร หรือบริษัทกฎหมาย ซึ่งโครงสรางแตละแบบมีความชำนัญพิเศษในการเปนผูจ ัดการทรัสตของทรัสตประเภทตาง ๆ และการ จัดการที่ดินกรรมสิทธิ์ บริษัททรัสตไมจำเปนตองใชอำนาจทั้งหมดที่ไดรับ ยิ่งไปกวานั้น ขอเท็จจริงวาบริษัททรัสตในเขตอำนาจ ศาลหนึ่งไมดำเนินหนาที่ของบริษัททรัสตทั้งหมดในอีกเขตอำนาจศาลหนึ่งไมเกี่ยวกัน และไมมีความสัมพันธวา บริษัทนั้นเปน “บริษัททรัสต” แทจริงหรือไม ผูถือหุน (Shareholder) หมายถึง ลผูถือหุนอยูในธุรกิจหรือเจาของกิจการที่ถูกตองตามกฎหมาย เชน หางหุนสวน จำกัด บริษัทเอกชน จำกัด หรือ บริษัทมหาชน จำกัด และผูถือหุนเปนผูไดประโยชน (Shareholder) ที่สำคัญ


20 ที่สุดของธุรกิจ เปนผูไ ดประโยชนชั้นในสุดของธุรกิจ ซึ่งมีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตหรือการอยูร อดของธุรกิจมากที่สุด การบริหารธุรกิจจึงตองใหความสำคัญและใหผูถือหุนไดประโยชนจากธุรกิจอยางยุติธรรม หรือมีจริยธรรมทางธุรกิจ แตอยางไร ก็ตามในปจจุบันผูถือหุนไมเพียงแตหวังผลกำไรเพียงอยางเดียว แตตองรับผิดชอบตอสังคม และสิ่งแวดลอมอีกดวย คณะกรรมการบริษัท (Board of directors) หมายถึงคนกลุม หนึง่ ที่ถูกเลือกขึ้นมาเพื่อเปนตัวแทนของผูถือหุน จากที่ประชุมใหญผูถือหุนซึ่งมีอำนาจสูงสุดในการดำเนินกิจการของบริษัท หนาที่ของคณะกรรมการบริษัท คือจัดการกิจการ ของบริษัทใหเปนไปตามเปาหมายและวัตถุประสงคตาง ๆ เชนขอบังคับของมติที่ประชุมผูถือหุน ความหมายของการจัดการ กิจการบริษัทคือการกำหนดนโยบายและทิศทางการดำเนินงานของบริษัทตาง ๆ เพื่อผลประโยชนสูงสุดของบริษัทและผูถือหุน ผูมีสวนไดสวนเสีย(Stakeholders) กลุมคนที่เกี่ยวของสัมพันธกับธุรกิจในดานการประสบความสำเร็จ และดานผลตอบแทน ที่จะไดจากธุรกิจ เชน ลูกคา พนักงาน ชุมชน องคกรไมแสวงหากำไร (Nonprofit organizations) องคกรที่จัดหาสินคาและบริการแตไมไดมีเปาหมายพื้นฐาน ที่จะหากำไร เพื่อใชประโยชนสวนตัว เศรษฐศาสตร (Economic) เปนการศึกษาถึงวิธกี ารจัดสรรทรัพยาการเพื่อการผลิตสินคาและบริการภายในระบบ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources) หมายถึงทรัพยากรทีเ่ กิดขึ้นเอง เชน ที่ดิน ปาไม แรธาตุ น้ำ และอื่นๆ ที่มนุษยไมไดสรางขึ้น ทรัพยากรมนุษย (Human resources) หรือแรงงาน หมายถึงความสามารถทางดานรางกายและจิตใจที่ทำให บุคคลใชผลิตภัณฑและบริการ ทรัพยากรเงิน (Financial resources) หรือเงินทุน หมายถึงกองทุนที่ทำใหไดมาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติและ ทรัพยากรมนุษย ซึ่งมีความจำเปนสำหรับการจัดหาผลิตภัณฑ ระบบเศรษฐกิจ (Economic system) การอธิบายวาในสังคมใดสังคมหนึ่งมีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการผลิต สินคาและบริการอยางไร ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต (Communism) ผูคิดคนคือ Karl Marx ซึ่งมองวาเปนสังคมทีไ่ มมี ชนชั้น ทุกคนเปนเจาของทรัพยากรของชาติรวมกัน ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism) ระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลเปนเจาของ และดําเนินการ อุตสาหกรรม หลักโดยประชาชนเปนเจาของธุรกิจขนาดยอมที่ไมใชอุตสาหกรรมหลักได ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) ระบบเศรษฐกิจซึ่งบุคคล เปนเจาของและดําเนินงานใน ธุรกิจสวนใหญ เพื่อจัดหาสินคาและบริการ ระบบตลาดเสรี (Free-market system) ระบบทุนนิยมสมบูรณ ซึ่งเอกชนมีสิทธิตัดสินใจและ ดําเนินการโดย ปราศจากการแทรกแซงจากรัฐบาล ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed economies) ระบบเศรษฐกิจที่มีพื้นฐานมาจากระบบเครือ มากกวา 1 ระบบ


21

(รูปที่ 23 ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ที่มา https://sites.google.com)

อุปสงค (Demand) จํานวนสินคาและบริการที่ผบู ริโภคมีความตั้งใจ และมีความสามารถที่จะซอน ราคาตาง ๆ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง อุปทาน (Supply) จํานวนสินคาและบริการที่ธุรกิจมีความตั้งใจ และมีความสามารถที่จะขาย ราคาตาง ๆ ณ เวลา ใดเวลาหนึ่ง ราคาดุลยภาพ (Equilibrium price) ราคา ณ จุดที่จํานวนผลิตภัณฑที่ธุรกิจตั้งใจจะขาย เทากับ จํานวน ผลิตภัณฑที่ผูบริโภคตั้งใจที่จะซื้อ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง

(รูปที่ 24 ราคาดุลยภาพ ที่มา http://119.46.166.126/self_all/selfaccess9/m3/200) การแขงขัน (Competition) การแขงขันกันระหวางธุรกิจตาง ๆ เพื่อใหไดเงินของผูบริโภค ตลาดแขงขันแบบสมบูรณ (Pure competition) โครงสรางตลาดที่เกิดขึ้น เมื่อมีธรุ กิจขนาดยอม จํานวนมาก ที่ขายผลิตภัณฑซึ่งมีมาตรฐานเดียวกัน


22 ตลาดกิ่งแขงขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic competition) โครงสรางตลาดแบบที่เกิดขึ้น เมื่อมีจํานวน ผูขาย นอยรายกวาในตลาดแขงขันแบบสมบูรณ และผลิตภัณฑในตลาดมีความแตกตางกันไมมากนัก ตลาดผูขายนอยราย (Oligopoly) โครงสรางตลาดที่เกิดขึ้นเมื่อมีจํานวนธุรกิจเพียงไมเกิน 10 รายเทานั้น ที่ขาย ผลิตภัณฑในตลาด ตลาดผูกขาด (Monopoly) โครงสรางตลาดแบบที่เกิดขึ้นเมื่อมีธรุ กิจเพียงรายเดียวที่จัดหาสินคาและ บริการใหแก ผูบริโภคในตลาด เศรษฐกิจขยายตัว (Economic expansion) เกิดขึ้นเมื่อเศรษฐกิจมีการเจริญเติบโต และประชาชนมี การใช จายเงินมากขึ้น ดังนั้น การซื้อของประชาชนกระตุนใหเกิดการผลิตสินคาและบริการ ซึ่งมีผล กระตุนการจางงานมากขึ้น ภาวะเงินเฟอ (Inflation) สภาวะที่ราคาผลิตภัณฑเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง เศรษฐกิจหดตัว (Economic Contraction) การชะลอตัวของเศรษฐกิจ โดยที่การใชจายของผูบริโภค ลดลง ขณะเดียวกันธุรกิจก็ลดการผลิตและลดการจางงาน ภาวะเศรษฐกิจถดถอย (Recession) สภาวะที่การผลิต การจางงาน และรายไดลดลง ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ (Depression) สภาวะเศรษฐกิจแบบที่มีอตั ราการวางงานสูง การใชจายนอย และผลผลิต ของธุรกิจลดลงอยางรวดเร็ว การวางงาน (Unemployment) สภาวะที่ประชากรตองการทํางาน แตไมสามารถหางานทําได ผลิตภัณฑในประเทศ (Gross domestic product ; GDP) มูลคาของสินคาและบริการขั้นสุดทายที่ ผลิต ภายในประเทศในระยะเวลาหนึ่ง โดยไมคํานึงถึงวาทรัพยากรที่ใชในการผลิตสินคาและบริการ จะเปนทรัพยากรของพลเมือง ในประเทศหรือเปนของชาวตางประเทศ ในทางตรงขาม ทรัพยากรของ พลเมืองในประเทศแตไปทําการผลิตในตางประเทศก็ ไมนับรวมไวในผลิตภัณฑในประเทศ ผลิตภัณฑ ในประเทศมีการจัดทําทั้งตามราคาปจจุบันและราคาคงที่โดย GDP ณ ราคา ปจจุบันคิดมูลคาผลผลิต เปนเงินตราตามราคาของสินคาและบริการเหลานั้น ขณะที่ GDP ณ ราคาคงที่คดิ มูลคาผลผลิตเปน เงินตราตามราคาปที่กําหนดเปนปฐาน งบประมาณขาดดุล (Budget deficit) สภาวะที่รัฐบาลมีการใชจายมากกวาจํานวนภาษีที่เก็บได การผลิตตามสัญญา (Contract manufacturing) การใหกิจการตางประเทศผลิตผลิตภัณฑตาม จํานวนที่กําหนดและ ใชตราผลิตภัณฑของกิจการผูสั่งผลิต การซื้อจากแหลงภายนอก (Outsourcing) การโอนการผลิตหรืองานอื่น ๆ เชนการดําเนินการดวย เทคโนโลยี สารสนเทศ ไปใหกิจการในประเทศที่มีคาแรงงานและปจจัยการผลิตราคาถูกกวาดําเนินการเอง กลยุทธพันธมิตรธุรกิจ (Strategic alliance) รูปแบบของการรวมมือซึ่งกอใหเกิดความไดเปรียบเชิง แขงขันใน ระดับโลก การรวมทุน (Joint venture) การรวมกันรับผิดชอบในตนทุนและการดําเนินการระหวางกิจการตาง ชาติกับ กิจการในประเทศ การลงทุนโดยตรง (Direct investment) การเปนเจาของสิ่งอํานวยความสะดวกในตางประเทศ กิจการขามชาติ (Multinational corporation : MNC) กิจการที่มีการดําเนินงานระดับโลก โดยไมผูกพันกับ ประเทศหรือภูมภิ าคใด กลยุทธแบบหลายประเทศ (Multinational strategy) กลยุทธเกี่ยวกับผลิตภัณฑ การสงเสริม และการจัด จําหนาย ซึ่งพิจารณาตามความแตกตางดานวัฒนธรรม เทคโนโลยี ภูมิภาค และชนชาติ


23 กลยุทธระดับโลก (Global strategy (globalization) กลยุทธเกี่ยวกับมาตรฐานของผลิต สงเสริมการขาย การ จัดจําหนาย ซึ่งใชในลักษณะเหมือนกันทั่วโลก กิจการเจาของคนเดียว (Sole proprietorships) คือกิจการที่เจาของคนเดียว มีสิทธิ์ขาดในการจัดการ กิจการทั้งหมด บริษัท มหาชน จำกัด (Public company limited) คือ บริษัทที่จัดตั้งขึ้นเพื่อระดมทุนจากประชาชนดวยการ เสนอขายหุนตอประชาชน โดยผูถอื หุนมีความรับผิดชอบ ไมเกินจำนวนเงินคาหุนที่ตองชำระ และบริษัทดังกลาวไดระบุความ ประสงคเชนนั้นไวในหนังสือบริคณหสนธิ

(รูปที่ 25 บริษัท มหาชน จำกัด ที่มา http://www.mvpinterlaw.com) การจัดการการดําเนินการผลิต (Operations management ; OM) การพัฒนาและบริหารกจกรรม ตางๆ ใน การแปรสภาพทรัพยากรใหเปนสินคาและบริการ การผลิตสินคา (Manufacturing production) กิจกรรมและกระบวนการที่ใชในการผลิตสินคา : การ ดําเนินการผลิต (Operations) กระบวนการที่ใชในการผลิตสินคาและบริการ ปจจัยนําเขา (inputs) ทรัพยากรตาง ๆ เชน แรงงาน เงินทุน วัสดุ และพลังงาน ซึ่งจะเปลี่ยนไป เปนผลผลิต ผลผลิต (Outputs) สินคา บริการ และความคิด ซึ่งเปนผลของการแปรสภาพปจจัยนําเขา กระบวนการผลิตแบบมาตรฐาน (Standardization) การผลิตสวนประกอบหรือผลิตภัณฑที่มีลักษณะ เหมือนกัน สามารถสับเปลี่ยนกันได กระบวนการผลิตแบบหนวยผลิต (Modular design) การสรางสวนตาง ๆ เปนชุดหรือเปนหน ซึ่งสามารถนําเอา สวนยอย ๆ นั้นมารวมกัน หรือสับเปลี่ยนสวนประกอบกัน เพื่อสรางสรรคที่มีความแตกตางกัน กระบวนการผลิตตามความตองการของลูกคา (Customization) การผลิตผลิตภัณฑเพื่อตอบ ความจําเปนและ ความตองการที่มลี ักษณะเฉพาะเจาะจงของลูกคา การ กำลังการผลิต (Capacity) จํานวนที่มากที่สุดที่องคกรสามารถผลิตได การวางผังแบบกําหนดตําแหนงอยูกับที่ (Fixed-position layout) การวางผังแบบที่นําทรัพยากร ทั้งหมดที่ใช ในการสรางสรรคผลิตภัณฑมารวมไวที่ศูนยกลาง


24 องคกรแบบโครงการ (Project organization) กิจการที่ใชการวางผังแบบกําหนดตําแหนงอยูกับที่ เพราะมี ลักษณะการทํางานเปนโครงการขนาดใหญและซับซอน เชน โครงการกอสราง หรือโครงการสํารวจ การวางผังตามกระบวนการผลิต (Process layout) การวางผังโดยการจัดแบงกระบวนการผลิตเปน แผนก ซึ่งแต ละแผนกจะเปนกระบวนการที่มีความสัมพันธกัน องคกรแบบมีลักษณะหมุนเวียน (intermittent organization) องคกรซึ่งทําการผลิตในขนาดที่เล็ก กวาองคกร แบบโครงการ ผลิตภัณฑขององคกรไมเปนลักษณะเฉพาะ แตจะทําการผลิตสิ่งที่มีความ หลากหลาย การวางผังตามผลิตภัณฑ (Product layout) การวางผังแบบที่แบงการผลิตเปนกลุมงานงายๆ 1 มอบหมายให คนงานทํางานในตําแหนงตาง ๆ ตามสายการผลิต องคกรแบบผลิตอยางตอเนื่อง (Continuous manufacturing organization) กิจการซึ่งดําเนินงาน ตามสาย งานการผลิตอยางตอเนื่อง สรางสรรคผลิตภัณฑที่มีลักษณะคลาย ๆ กัน คอมพิวเตอรชวยในการออกแบบ (Computer-assisted design ; CAD) การออกแบบสวนประกอบ ผลิตภัณฑ และกระบวนการโดยใชคอมพิวเตอรแทนการเขียนในกระดาษ คอมพิวเตอรชวยในการผลิต (Computer-assisted manufacturing : CAM) การผลิตที่ใชระบบ คอมพิวเตอร เพื่อวางแนวทางและควบคุมกระบวนการผลิต การผลิตแบบยืดหยุน (Flexible manufacturing) การควบคุมเครื่องจักรโดยใชคอมพิวเตอร เพื่อ ปรับเปลีย่ น ใหเกิดรูปแบบการผลิตหลากหลายรูปแบบ คอมพิวเตอรชวยประสานการผลิต (Computer-integrated manufacturing : CIM) ระบบ ที่ใชในการ ออกแบบผลิตภัณฑ จัดการเครื่องจักรและวัสดุ และควบคุมหนาที่การผลิตตางๆ โลจิสติกส (Logistics) กิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการทําใหไดมาซึง่ สวนประกอบและวัตถุดิบ การจัดการ ผลิตภัณฑที่เสร็จสมบูรณแลว การบรรจุภัณฑ และสงผลิตภัณฑใหลกู คา การจัดซื้อ (Purchasing) การซือ้ วัตถุดิบทั้งหมด ซึ่งมีความจําเปนตอองคกร สินคาคงเหลือ (Inventory) วัตถุดิบ สวนประกอบ ผลิตภัณฑสาํ เร็จรูปหรืออยูระหวางการผลิต และ ชิ้นสวน เครื่องมือที่ใชในธุรกิจ การควบคุมสินคาคงเหลือ (Inventory control) กระบวนการในการตัดสินใจเกี่ยวกับจํานวนสินคา และวัตถุดิบ ที่กิจการจําเปนจะตองเก็บไว รวมถึงสถานที่เก็บ และผูรับผิดชอบสินคาคงเหลือเหลานั้น โมเดลปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic order quantity (EOQ) model) โมเดลซึ่งระบุ จํานวน สูงสุดที่ควรสั่งซื้อเพื่อใหมีตนทุนในการจัดการ (การสั่งซื้อ การจัดเก็บ และการใชงาน) ตําที่สุด การจัดการสินคาคงเหลือแบบทันเวลาพอดี (Just-in-time (JIT) inventory management) เทคนิค การ สั่งซื้อวัตถุดิบใหมาถึงโรงงาน เพื่อใชในกระบวนการแปรสภาพเมื่อถึงเวลาที่ตองใชพอดี เพื่อจะ ไดใชพื้นที่เก็บวัตถุดิบนอยที่สดุ และประหยัดคาใชจายในการจัดการดวย การวางแผนความตองการวัตถุดิบ (Material-requirements-planning : MRP) ระบบการวางแผน ซึ่งกําหนดตารางจํานวน วัตถุดิบทีจ่ ําเปนสําหรับการจัดทําผลิตภัณฑ การจัดเสนทาง (Routing) ขั้นตอนการปฏิบัติงานในการผลิตผลิตภัณฑ การจัดตาราง (Scheduling) การมอบหมายงานใหแกแผนก/ฝายตาง ๆ หรือใหแกเครื่องจักร คนงาน หรือทีมงาน การควบคุมคุณภาพ (Quality control) กระบวนการที่องคกรใช เพื่อรักษามาตรฐานคุณภาพที่กําหนดไว


25 การควบคุมกระบวนการดวยคาทางสถิติ (Statistical process control) ระบบในการรวบรวมและ วิเคราะห สารสนเทศเกี่ยวกับกระบวนการการผลิต เพื่อระบุปญหาดานคุณภาพในระบบการผลิต ISO 9000 อนุกรมเลขหมายของ มาตรฐานการประกันคุณภาพ ซึ่งออกแบบโดยองคการระหวางประเทศ วาดวยการมาตรฐาน (ISO) เพื่อรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑภายใตมาตรการทีไ่ ดกําหนดไว ลิขสิทธิ์ (Copyright) หมายถึง สิทธิแตเพียงผูเ ดียวที่จะกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผสู รางสรรคไดริเริ่มโดยการ ใชสติปญญาความรู ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเองในการสรางสรรค โดยไมลอกเลียนงานของผูอื่น โดยงาน ที่สรางสรรคตองเปนงานตามประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ใหคมุ ครอง โดยผูสรางสรรคจะไดรับความคุม ครองทันทีที่สรางสรรค โดยไมตองจดทะเบียน

(รูปที่ 26 ลิขสิทธิ์ ที่มา https://sites.google.com/site/saphthsersthkicnatsikan934) ลูกคา (Customer) ในความหมายที่กวาง คือผูที่สัมพันธติดตอกับเราเปนผูหวังพึ่งหรือไดรับประโยชนจากงานของ เรา และมีการใหความหมายของคำวาลูก และคาไววา “คา” ในความหมายของการคบคา ยอมกวางกวาความหมายของการ คาขาย สวนคำวา “ลูก” คือผูที่พึ่งพาอาศัย เครื่องหมายการคา ( Trademark ) หมายถึง ตราสินคาหรือสวนหนึ่งของตราสินคา เพื่อแสดงวาสินคาที่ใช เครื่องหมายของเจาของเครื่องหมายการคานั้น เจาของมีสิทธิตามกฎหมายเพียงผูเดียว เราไมสามารถใชเครื่องหมายการคา ของบุคคลอื่นและบุคคลอื่นก็ไมสามารถใชเครื่องหมายการคาของเราได จังตองมีการออกแบบโลโก เวนแตจะมีสัญญาและ ขอตกลงตอกัน (เชนการควบกิจการ) สัญลักษณอาจจะประกอบไปดวย ชื่อ ขอความ วลี สัญลักษณ ภาพ งานออกแบบ หรือ หลายสวนรวมกัน โดยมีความหมายทางดานทรัพยสินทางปญญาเปนเครื่องหมายแสดงถึง ชื่อสินคาเฉพาะอยาง หรือทุก ประเภทในเครื่องหมายการคาจะเปนการแสดงภาพเครื่องหมาย ชื่อ ตราสัญลักษณเพื่อแสดงถึง อางถึง มีความหมายถึงสิ่งใด ๆ ก็ตามที่มีความเกี่ยวของกัน


26

(รูปที่ 27 เครื่องหมายการคา ที่มา http://www.thaismescenter.com) หอการคา (Chamber of commerce) หมายถึง หอการคาไทยและสภาหอการคาแหงประเทศไทย เปน ตัวแทนของภาคธุรกิจเอกชนไทยในการประสานงานกับภาครัฐบาล โดยทำหนาที่ใหคำปรึกษา และขอเสนอแนะแกสมาชิก เกี่ยวกับเศรษฐกิจ การคา การบริการ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการเงิน พรอมทั้งใหคำปรึกษาและขอเสนอแนะเกี่ยวกับ การแกไขปญหาและการพัฒนาเศรษฐกิจแกรัฐบาล ทั้งนี้ เพื่อประโยชนแกเศรษฐกิจและสังคมโดยรวมของประเทศ พอคาคนกลาง (Merchant Middlemen) หมายถึงเปนพอคาคนกลางที่ทำหนาที่ซื้อสินคาจากผูผ ลิตมาไวใน ครอบครองแลวขายตอไปมีกรรมสิทธิ์ในตัวสินคา ไดรบั ผลตอบแทนในรูปแบบของกำไร ไดแก พอคาสง พอคาปลีก ตราผลิตภัณฑ (Brand) หมายถึง ชื่อ (Name) คำ (Word) เครื่องหมาย (Sign) สัญลักษณ (Symbol) การออกแบบ (Design) หรือสวนประกอบของสิ่งดังกลาวรวมกัน ผูผ ลิตหรือธุรกิจสรางขึ้นมาใชกับผลิตภัณฑของตนเอง

(รูปที่ 28 ตราผลิตภัณฑ ที่มา https://jiradabbc.wordpress.com)

คำศัพททางการโฆษณา

เปนตน

การวางแบบโฆษณา (Lay-out) หมายถึง การจัดวางรูปแบบของชิ้นงานโฆษณา เดโม (demo) หมายถึง ตัวอยางเพลงโฆษณาซึ่งรองโดยนักรองตัวแทนหรือนักรองจริง เทคนิคพิเศษ (Specail effect) หมายถึง การใชเทคนิคพิเศษในการผลิตงานโฆษณา เชน การ ใชแสง สี เสียง โบรชัวร (Brochure) หมายถึง หนังสือโฆษณาเลมเล็ก ๆ


27

(รูปที่ 29 โบรชัวร ที่มา http://www.creativepluscorp.com) ใบปลิว (handbill) หมายถึง ใบปลิวโฆษณาที่ใชคนแจกถึงมือ เสียบไวหนาประตู เปนตน

(รูปที่ 30 ใบปลิว ที่มา https://www.gogoprint.co.th) ปายโฆษณากลางแจง (Cut out) หมายถึง ปายโฆษณาชนิดตั้งตามจุดที่ตองการโฆษณา


28 (รูปที่ 31 ปายโฆษณากลางแจง ที่มา http://www.mad-mania.com) เพลงประกอบโฆษณา (Single) หมายถึง เพลงที่ใชประกอบชิ้นงานโฆษณา สัญลักษณประจํา (logo) หมายถึง เครื่องหมายประจําหนวยงานผูผลิต ประชาสัมพันธ (Information) หมายถึง ติดตอสื่อสารหรือเผยแพรขาวสารเพื่อใหเขาใจถูกตองตอกัน เมดิแอค (Mediac) คือ ตัวแบบที่ชวยนักโฆษณาซื้อสื่อโฆษณาตลอดป โดยการวางโครงรางสวนแบงตลาด ประมาณศักยภาพการขาย ผลตอบแทน และตารางเวลา แอดแคด (Adcad) คือตัวแบบที่แนะนำการใชรูปแบบการโฆษณา ใหสอดคลองกับเปาหมายทางการตลาด ลักษณะ ของผลิตภัณฑ ตลาดเปาหมาย และการแขงขัน

คำศัพททางการบริการและการโรงแรม การบริการ (Service) หมายถึงการกระทำหรือดำเนินการอยางใดอยางหนึ่งเพื่อตอบสนองความตองการของบุคคล หรือองคกรใหไดรบั ความพึงพอใจสมความมุงหมายที่บุคคลหรือองคกรนั้นตองการ เนื่องจากผลสำเร็จของการบริการขึ้นอยูกับ “ความพึงพอใจ” ซึ่งเปนเรื่องของ “ความรูสึก” ไมมีหนวยวัด นิยามของคำวาบริการจึงขึ้นอยูกับการพยายามอธิบายเพื่อให เขาใจตรงกัน

(รูปที่ 32 การบริการ ที่มา http://www.trainingreform.com) ธุรกิจโรงแรม (Hotel Business) เริ่มมีบทบาทเพิ่มขึ้นเปนลําดับ เนื่องจากความสะดวก รวดเร็วของการคมนาคม และการขยายตัวของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวลวนเปนปจจัย สําคัญที่ทําใหธุรกิจโรงแรมมีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ สําหรับ ประเทศไทยนั้นไดตระหนักถึง ความสําคัญของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว ดังปรากฏในหลักฐานจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 เมื่อป พ.ศ. 2504 เปนตนมา ซึ่งในแผน ฯ ดังกลาวไดระบุความสําคัญ ของอุตสาหกรรมทองเที่ยว โดยมุงเนนการพัฒนาปรับปรุงสถานที่ทองเที่ยวตาง ๆ ใหอยูใน สถานที่ดี สะอาด สวยงาม เพื่อดึงดูดนักทองเที่ยวทั้งใน ประเทศ และตางประเทศ ใหเดินทาง มาทัศนาจร และเปนผลใหธุรกิจโรงแรมมีการพัฒนา ปรับปรุงในดานตาง ๆ เพื่อให สามารถ รองรับนักทองเที่ยวที่ทวีจํานวนขึ้นทุก ๆ ป ใหเพียงพอกับความตองการในดานที่พัก พรอม อํานวยความ


29 สะดวกสบายดานตาง ๆ เชน อาหาร เครื่องดืม่ บริการซักรีดเสื้อผา บริการ รานจําหนายสินคาภายในโรงแรม รวมตลอดจนถึง ใหบริการความบันเทิงดานตาง ๆ

(รูปที่ 33 ธุรกิจโรงแรม ที่มา https://www.chiangmainews.co.th) โมเต็ล (Motel) มาจากคําวา Motor และ Hotel รวมกัน หมายถึง เอง 8 ขนาดเล็ก ซึ่งตั้งอยูริมถนนสายสําคัญ ๆ เพื่อใหนักทัศนาจร หรือนักเดินทางที่เดินทางโดย รถยนต เขาพักคางคืนระหวางการเดินทาง โดยใหบริการ อาหาร เครื่องดื่ม และอื่น ๆ พรอมทั้ง สถานที่จอดรถ คิดคาบริการถูกกวา Hotel เนื่องจากใหบริการนอยกวาและมีขนาดเล็กกวา จึง เหมาะสําหรับชนชั้นกลาง ซึ่งมีฐานะปานกลาง รายไดไมมากนัก มักตั้งอยูตามตางจังหวัด

(รูปที่ 34 โมเต็ล ที่มา https://mndestiny1.blogspot.com พ.ศ. 2556 ) ลอดจ (Lodge) หมายถึง สถานที่ใหเชาสําหรับพักอาศัยคางคืนในระหวางการเดินทาง โดยใหบริการอาหาร เครื่องดื่ม ตลอดจนสระวายน้ำและคิดคาเชาเปนคาตอบแทน


30 Guest House หมายถึง สถานที่ใหเชาขนาดใหญ เปนลักษณะหองโถงกวาง หองน้ำรวม ลูกคาที่เขาพักตองนํา

สัมภาระตาง ๆ ที่จําเปนตลอดจนที่นอนมาเอง และตองหาสถานที่ รับประทานอาหารเอง เนื่องจากไมมีการใหบริการอาหาร และเครื่องดื่ม ฉะนั้น จึงคิดคาเชาใน ราคาถูก แทฟเวิรน (Tavern) หมายถึง ที่พักสําหรับนักเดินทางในอดีตซึ่งเดินทางโดยใชมาเปน พาหนะ มีลักษณะเหมือน โรงเตี้ยมหรือโรงแรม การกอตั้งเกิดขึ้นพรอม ๆ กับ Inn แตมัก ระยะ ๆ ตลอดเสนทางการเดินทาง นอกจากใหบริการที่พักคางคืนแลว ยังมีเครื่องดืม่ ประเภทแอลกอฮอลใหบริการอีกดวย . Accommodation หมายถึง สถานที่ที่จัดไวสําหรับใหลูกคาพักอาศัยคางคืนในระหวาง การเดินทาง พรอมทั้ง ใหบริการ อาหาร เครื่องดื่ม สถานที่สําหรับออกกําลังกาย เชน สระวายน้ำ สถานที่ใหความบันเทิงตาง ๆ เชน ไนตคลับ ตลอดจนการพนัน แกลูกคาที่เขา พักอาศัยดวยการขอหองพักในโรงแรม แผนกตอนรับ (Reception) หมายถึง แผนกตอนรับสวนหนาที่มีบทบาทสำคัญในธุรกิจโรงแรมโดย หนาที่หลักของ แผนกตอนรับสวนหนา คือการใหบริการลูกคาเปรียบ เสมือนเปนศูนยรวมหลักของการใหบริการลูกคา ซึ่งการทำงานจะมี ความเชื่อมโยงกับทุกแผนกของในโรงแรมเปนตัวแทนในการบริการแขกตั้งแต(Check In - In House - Check Out) และการทำงานจะตองมีขั้นตอนทีถ่ ูกตองรอบคอบรวมถึงตองสอดคลองกับรายการบัญชีอีกดวย จองหองพัก (Reserve/Book a Room) หมายถึง จองหองพักลวงหนากอนเวลาที่ลูกคาจะมาถึงโรงแรมเพียง 1 หรือ 2 วัน หรือลูกคาบางคนอาจโทรศัพทเขามาจองหองพักกอนที่จะมาถึงโรงแรมเพียงไมกี่ ชั่วโมง หองวาง (Available) หมายถึง หองที่พรอมขาย หองเตียงเดียว (Single Room) หมายถึง หองพักที่มีเตียงเดียว สำหรับพักคนเดียว มีที่นอนขนาดประมาณ 3.5 ฟุต หองเตียงคู (Double/Twin Room) หมายถึง ในหองมีเตียงใหญอยูเตียงเดียว ( ถาพัก 2 คนก็นอนคูกันบนเตียง ) หองชุด (Suite/Deplex) หมายถึง สวนของอาคารชุดที่แยกการถือกรรมสิทธิ์ออกไดเปนสวนเฉพาะของแตละ บุคคล (หองพัก,หองเชา,แฟลต) แบบลงทะเบียน (Registration Card) หมายถึง บัตรลงทะเบียน บัตรลงทะเบียนการเขาพักสำหรับผูเขาคางคืน ในโรงแรมซึ่งเปนขอกำหนดทางกฎหมายที่ผูเขาพัก จะตองลงทะเบียนการเขาพัก พนักงานยกระเปา (Portor/Bellman) หมายถึง จะคอยตอนรับแขกที่ เขามาในโรงแรม ใหขอมูลเกี่ยวกับโรงแรม ทั้งบอกทางไปยังจุดตางๆ ในโรงแรม หากแขกเขาพักหองก็ตองชวยแขกขนสัมภาระตาง ๆ ไปที่หองพัก และเมื่อแขกจะกลับก็ ตองขนของลงมาจากหองพักเชนกัน การคืนหองพักในโรงแรม (Check out) หมายถึง แจงออก ใบเสร็จรับเงิน (Bill) หมายถึง เอกสารที่แสดงวาไดรับเงินเปนการถูกตองแลว


31

(รูปที่ 35 ใบเสร็จรับเงิน ที่มา https://sites.google.com/site) พนักงานโทรศัพท (Operator) หมายถึง พนักงานรับโทรศัพท จองตั๋วเครื่องบิน (Book a Flight) หมายถึง จองตั๋วเครื่องบิน กระเปาเดินทาง (Luggage) หมายถึง กระเปาเดินทาง เช็คเดินทาง (Traveller Cheque) หมายถึง ศูนยบริการเช็คเดินทาง ขอรับความชวยเหลือและสอบถามขอมูล ทั่วไปเกี่ยวกับเช็คเดินทาง

(รูปที่ 36 เช็คเดินทาง ที่มา https://th.carolchanning.net พ.ศ.2561) พนักงานตอนรับ (Host/Hostess) หมายถึง ทำหนาที่ตอนรับ หรือ รับรองแขก หรือผูที่เขามาในองคกร หรือ สถานประกอบกิจการ ติดตอสอบถาม ขอทราบชื่อ และความประสงค ของผูมาติดตอ จัดสรร ประสานงาน อำนวยความ สะดวก ใหเปนไปตามความตองการของผูมาติดตอ ผูจัดการ (Manager) หมายถึง ผูด ูแลงานและจัดการทุกอยางของโรงแรม พนักงานเสิรฟ (Waiters/Waitress) หมายถึง บุคคลที่ทำหนาที่ยกอาหารมาใหผูรับประทานที่โตะอาหาร


32 อุตสาหกรรมการโรงแรม (Hotel industry) หมายถึงการดำเนินธุรกิจแบบที่มีสถานที่ประกอบการจัดตั้งเพื่อ รับจางสินจางสำหรับคนเดินทางหรือบุคคลที่หาที่อยูหรือที่พัก มีการบริการอาหารและเครี่องดื่มไวบริการคนเดินทางอยางมี แบบแผน มีมาตรการควบคุมตามขอบขายของบริการนั้น ๆ คอลแพลน (Callplan) คือ ตัวแบบที่กำหนดจำนวนการเยี่ยมเยียนลูกคาของแตละชวงเวลาตลอดจนกำหนดเวาลา การเดินทางและเวลาที่ใชในการขายดวย ดีเทลเลอร (Detailer) คือ ตัวแบบที่ชวยกำหนดการติดตอลูกคา รวมทั้งผลิตภัณฑที่ควรนำเสนอ ถูกพัฒนาขึ้นใช สำหรับตัวแทนจำหนายยา ติดตอกับแพทยโดยเฉพาะ จีโอไลน (Geoline) คือ ตัวแบบที่ชวยออกแบบอาณาเขตการขายและบริการ โดยแตละอาณาเขตจะตองมีภาระ งานเทาเทียมกันประกอบดวยพื้นที่ซึ่งอยูติดกัน การนําเขา (Importing) การซื้อสินคาและบริการจากแหลงที่มาในตางประเทศ การสงออก (Exporting) การขายสินคาและบริการไปยังตลาดตางประเทศ คำศัพททางธุรกิจขางตนเปนแคเพียงสวนหนึ่งของคำศัพททั้งหมดที่นำมาเพื่อศึกษาเปนความรูพื้นฐานใหกับผูศึกษา สามารถแยกแยะหมวดหมูและความหมายของคำศัพท อีกทั้งยังสามารถนำคำศัพทมาประยุกตใชในชีวิตประจำวันไดอีกดวย


33

บรรณานุกรม


34

บรรณานุกรม การบริการ. (2560). ซึ่งปรากฏในเว็บไซตhttp://www.trainingreform.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 การฟอกเงิน. (2559). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต https://dhammakayafacts.wordpress.com สืบคนเมื่อ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 ขจิต กอบเดช. (2542). งานโรมแรม. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพ : พรินทิค. เครื่องหมายการคา. (2560). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.thaismescenter.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. เครื่องเอทีเอ็ม. (2554). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.bankmodify.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. แคชเชียรเช็ค. (2561). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.checkraka.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. เงินฝด. (2561). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต https://encrypted-tbn0.gstatic.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 เงินเฟอ. (2561). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต https://encrypted-tbn0.gstatic.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 แจงสภาพบัญชี. (ม.ป.ป.). ซึง่ ปรากฏในเว็บไซต https://templates.office.com/th-th สืบคนเมือ่ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 เช็ค. (2560). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.pantip.com/topic/36512852 สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. เช็คเดินทาง. (2561). ซึ่งปรากฏในเว็บไซตhttps://th.carolchanning.net สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 เช็คอิเล็กทรอนิกส. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.Networksecurity.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. ณัฐยา สินตระการผล. (2553). คัมภีรเจาของกิจการ. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพ : เอ็กซเปอรเน็ท จำกัด. ดุลการคา. (2562). ซึ่งปรากฏในเว็บไซตhttps://www.caf.co.th สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 ตราผลิตภัณฑ. (2560). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.jiradabbc.wordpress.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. ตลาดผูกขาด. (2561). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต https://prezi.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562


35 ตั๋วแลกเงินธนาคาร. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต https://www.xn--chd0a2gzc1c5d5a.net สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. ตูนิรภัย. (2561). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.l2efurniture.com/category สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. ตูไปรษณียเชาอิเล็กทรอนิกส. (2560). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.Sadoodta.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. ธนาคารโลก. (2556). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.witsaroot1412.blogspot.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. ธุรกิจโรงแรม. (2560). ซึ่งปรากฏในเว็บไซตhttps://www.chiangmainews.co.th สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 บริษัท มหาชน จำกัด. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซตhttp://www.mvpinterlaw.com สืบคนเมื่อ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 บริษัทเครดิตฟองซิเอร. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต http://worldcreditfoncier.co.th สืบคนเมื่อ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 บัญชีกระแสรายวัน. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต https://jamshop.jamsai.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 บัตรเครดิต. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.Tutorchredicare.blogspot.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. บัตรเดบิต. (2562). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.Scb.co.th สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. โบรชัวร. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.creativepluscorp.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. ใบแจงหนี้. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต https://www.thaibusinessplace.comสืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 ใบปลิว. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.gogoprint.co.th สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. ใบเสร็จรับเงิน. (ม.ป.ป.). ซึง่ ปรากฏในเว็บไซตhttps://sites.google.com/site สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 ปายโฆษณากลางแจง. (2559). ซึ่งปรากฏในเว็บไซตhttp://www.mad-mania.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 พรพรหม พรหมเทศ. (2551). ธุรกิจเบื้องตน ฉบับปรับปรุงใหม 2551. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพทอป จำกัด แฟรนไซส. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.smeleader.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. โมเต็ล. (2556). ซึ่งปรากฏในเว็บไซตซ่งึ ปรากฏในเว็บไซตhttps://mndestiny1.blogspot.com สืบคน เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562


36 ระบบเศรษฐกิจแบบผสม. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซตhttps://sites.google.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 ราคาดุลยภาพ. (ม.ป.ป.). ซึง่ ปรากฏในเว็บไซตwww. 119.46.166.126/self_all/ สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 รานนสะดวกซื้อ. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.smeleader.com สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. รานสรรพสินคา. (ม.ป.ป.). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.sites.google.com/site/ssssirilukkmild/hangsrrph-sinkh สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. เรไร ไพรวรรณ. (2542). การใชภาษาไทยธุรกิจ. สภาบันราชภัฏธนบุร.ี ลิขสิทธิ.์ (2554). ซึ่งปรากฏในเว็บไซต www.sites.google.com/site/saphthsersthkicnatsikan934 สืบคนเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562. เอกฉัท จารุเมธีชน. (2549). ภาษาไทยธุรกิจ. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพ : โอเดียนสโตร.


37


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.