ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์

Page 1



ซิน ่ ตีนจก

พันผูก

ชาติพน ั ธุ์

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 3


ประวั ต ิ ค วามเป็ น มา

ผ้าซิ่นตีนจกสามดูก ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 4


ผ้าตีนจกสามดูกซึง ่ ในอดีตพืน ้ ทีบ ่ ริเวณรับอิทธิพลผสมผสาน เป็นผ้าซิน ่ ทีใ่ ช้ในโอกาสนี้เป็นที่อยู่อาศัยของเทคนิ ค ในการทอผ้ า พิเศษของชาวไท สกุลชาติพน ั ธุไ์ ทยวนทีไ่ ด้แพร่ทั้งสองชาติพันธุ์นี้ได้ เชียงแสน ซึง ่ ประกอบไปกระจายจากถิน ่ ฐานเดิมอย่างลงตัว ทัง ้ เทคนิค ด้วย ส่วนหัวซิน ่ ส่วนตัวคือเมืองเชียงแสนพืน ้ ทีจก ่ เกาะ ล้วง มัดก่าน ซิ่น และส่วนตีนซิ่น ผ้าวัฒนธรรมเมืองน่านคาดข้อ ขิด เป็นต้น เรา ซิน ่ ตีนจกสามดูกในเขตด้วยพื้นที่วัฒนธรรมจะพบผ้าซิ่นตีนจกสา วัฒนธรรมเมืองน่าน พบเมืองน่านมีชาติพันธุมดู ์ ก เขตวั ฒ นธรรม ในพืน ้ ทีอ ่ ำ� เภอท่าวังผาหลัก ๆ คือ ไทยวน ไทเมืองน่านจ�ำนวนมาก อ�ำเมืองน่าน อ�ำเภอเวียงลาว และไทลื้อ ผ้าซิ่นในจิตรกรรมฝาผนังวัด สา และอ�ำเภอนาน้อยตี น จกสามดู ก จึ ง ได้หนองบัว และวัดภูมน ิ ทร์

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 5


โครงสร้าง

ผ้าซิ่นตีนจกสามดูก ส่วนประกอบที่ส�ำคัญของผ้าซิ่นตีนจกสามดูกในเขตพื้นที่ จังหวัดน่านตอนกลาง แบ่งโครงสร้างผ้าซิ่นออกเป็น ๓ ส่วน คือ ๑. ส่วนหัวซิ่น ๒. ส่วนตัวซิ่น ๓. ส่วนตีนซิ่น

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 6


1

โครงสร้างส่วนหัวผ้าตีนจกสามดูก เป็นโครงสร้างทีอ ่ ยูใ่ นต�ำแหน่งบนสุดเย็บต่อเข้า กับส่วนตัวของผ้าซิน ่ ตีนจกสามดูก มีลก ั ษณะ ๒ รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบที่ ๑ มีลก ั ษณะเป็นผ้าพืน ้ ไม่มล ี วดลาย สีแดง จ�ำนวน ๑ ผืน หรือสีเข้ม จ�ำนวน ๑ ผืน หรือ ๒ ผืน เย็บ ต่อกันตามแนวรอบวงมีตะเข็บ จ�ำนวน ๑ หรือ ๒ ตะเข็บ

รูปแบบที่ ๒ มีลก ั ษณะเป็นผ้าพืน ้ สีแดงพิมพ์ลาย ดอกไม้สข ี าว(เครือดอกไม้) จ�ำนวน ๑ ผืน เย็บต่อกันตามแนวรอบวง มี ตะเข็บข้าง ๑ ตะเข็บ

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 7


2

โครงสร้างส่วนตัวผ้าตีนจกสามดูก เป็นโครงสร้างที่อยู่ในตำ�แหน่งกลางของผ้า ริมผ้า ด้านบนเย็บต่อเข้ากับ ส่วนหัวผ้าซิ่น และริมผ้าด้าน ล่างเย็บต่อเข้ากับส่วนตีนผ้าซิ่น (ตีนจก) มีลักษณะ ๕ รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบที่ ๑ ทอด้วยเทคนิคทอ ขิด หรือ ยกมุขสลับ การทอขัดสานธรรมดาเป็นริว้ ขาวงล�ำตัว

รูปแบบที่ ๒ ทอด้วยเทคนิคขิด หรือ ยกมุข และเทคนิค มัดคาดข้อระหว่างเทคนิคจกเป็นลายริ้ว ขวางล�ำตัวสม�่ำเสมอกัน รูปแบบที่ ๓ ทอด้วยเทคนิคมัดก่านหรือมัดหมี่ ระหว่าง เทคนิคขิด หรือ ยกมุข เป็น ลายริ้ ว ขวางล� ำ ตั ว สม�่ ำ เสมอกั น ) สม�่ำเสมอกัน รูปแบบที่ ๔ ทอด้วยทคนิคขิด เทคนิคจก และเทคนิคเกาะ ระหว่างเทคนิคจกแบบถมเกสร และเทคนิคจก แบบไม้ขึ้นรูลงรูเป็นลายริ้วขวางล�ำตัวเสมอกัน

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 8


3

โครงสร้างส่วนตีนผ้าตีนจกสามดูก เป็ น โครงสร้ า งที่ อ ยู ่ ใ น เทคนิคจก และเทคนิคเกาะ ต�ำแหน่งล่างสุดของผ้าริม ล้วงบนพื้นสีแดง โดยมี ผ้าด้านบนเย็บต่อเข้ากับ เล็บเหลืองเป็นลายริ้วสี ส่วนตัวผ้าซิน ่ ทอด้วยเส้น เหลืองตรงส่วนล่างสุด ฝ้าย เส้นไหม กระดาษสีเงิน ของตีนจกสามดูก มัก พันรอบแกนเส้นฝ้าย โดย เย็บต่อกันตามแนวรอบ ใช้เทคนิค ทอขัดธรรมดา วง มีตะเข็บข้าง ๑ ตะเข็บ

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 9


MATERIAL วั สดุ ท ี ่ ใ ช้ ใ นการทอผ้ า ซิ ่ นตีนจกสามดูก

เส้ น ไหม

เส้ น ใยพิเศษ กระดาษเงิ น พัน แกนฝ้า ย

เส้ น ฝ้ า ย ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 10


TECHNIC เทคนิคที่ที่ใช้ในการทอผ้ าซิ ่ น ตี น จกสามดู ก

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 11


เทคนิ จก เทคนิคคจก

เทคนิคขิด หรือยกมุก

เทคนิคเกาะล้วง

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 12


เทคนิคมัดก่าน หรือมัดหมี่

เทคนิคปั่นไก

เทคนิคจกพิเศษ

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 13


ลวดลายที่ใช้

ในการทอผ้าซิ่นตีนจกสามดูก

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 14


แสดงตัวอย่างลวดลายจกที่ใช้ในทอส่วนตัวผ้าซิ่นตีนจก สามดูกในเขตพื้นที่จังหวัดน่านตอนกลาง

ลายจกขอผักกูด

ลายจกหย่อมตีนหมา

ลายจกบัวน้อย ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 15


ตัวอย่างลวดลายขิด หรือ ยกมุก ที่ใช้ในทอส่วนตัวผ้าซิ่น ตีนจกสามดูก ในเขตพื้นที่จังหวัดน่านตอนกลาง

ลายมุกขอเขาควาย

ลายมุกกากบาท

ลายมุกขอประแจ ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 16


ตัวอย่างลวดลายมัดก่าน หรือ มัดหมี่ ที่ใช้ในทอส่วนตัวผ้าซิ่น ตีนจกสามดูก ในเขตพื้นที่จังหวัดน่านตอนกลาง

ลายมัดก่านหงส์ก๊าบโกม

ลายมัดก่านหย่อมตีนหมา

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 17


ตัวอย่างลวดลายจกพิเศษ ที่ใช้ในทอส่วนตัวผ้าซิ่นตีนจกสามดูก ในเขตพื้นที่จังหวัดน่านตอนกลาง

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 18


แสดงตัวอย่างลวดลายเกาะ หรือ ล้วง ที่ใช้ในทอส่วนตัวผ้าซิ่น ตีนจกสามดูก ในเขตพื้นที่จังหวัดน่านตอนกลาง

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 19


แสดงตัวอย่างลวดลายจก ส่วนห้องหางสะเปา หรือ สายย้อย ของส่วนตีนผ้าซิ่นตีนจกสามดูกในเขตพื้นที่จังหวัดน่านตอนกลาง

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 20


แสดงตัวอย่างลวดลายจก ห้องประกอบของส่วนตีนผ้าซิ่นตีนจก สามดูก ในเตพื้นที่จังหวัดน่านตอนกลาง

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 21


แสดงตัวอย่างลวดลายจก ห้องหลัก (โคม) ของผ้าซิ่น ตีนจกสามดูกในเขตพื้นที่จังหวัดน่านตอนกลาง

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 22


COLOR สีทใี่ ช้สำ� หรับการย้อมเส้นใยในการทอผ้าซิน ่ ตีนจก สามดูกในเขตพืน ้ ทีจ ่ ง ั หวัดน่านเป็นสารทีม ่ าจากทัง ้ ธรรมชาติ บริบทสิง ่ แวดล้อมของสังคม และ สารที่ เกิดจากการสังเคราะห์เคมีเป็นสีตา่ ง ๆ ช่างทอมัก ใช้สโี ทนร้อนสว่างเพือ ่ ท�ำให้ลวดลายโดดเด่น แต่ยง ั คงใช้สีโทนเย็นเป็นตัวผสานและลดความสว่างลง ส่งผลท�ำให้ผา้ ซิน ่ ตีนจกสามดูกในเขตพืน ้ ทีจ ่ ง ั หวัด น่าน มีความกลมกลืนและอรรถรสที่ลงตัวพอดี

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 23


ลักษณะการเย็บต่อตะเข็บผ้าซิ่นตีนจกสามดูกและจำ�นวน ผืนผ้าที่ใช้ในการเย็บประกอบเป็นผ้าซิ่นตีนจกสามดูกใน เขตพื้นที่จังหวัดน่าน

๑.ส่วนหัวผ้าซิ่น

เป็น ๓ ตะเข็บ

มีโครงสร้างในการเย็บต่อ ๒

กลุม ่ ผ้าใหม่ มีโครงสร้างในการ

รูปแบบ ดังนี้

เย็บต่อ ๑ รูปแบบ ดังนี้ ใช้ผ้า

(๑) ใช้ผา้ จ�ำนวน ๑ ผืน เย็บต่อ

จ�ำนวน ๒ ผืน เย็บต่อติดกัน

ติดกันเป็น ๑ ตะเข็บ หรือ ใช้ผา้

เป็น ๓ ตะเข็บ

จ�ำนวน ๒ ผืน เย็บต่อติดกัน

๓.ส่วนตีนผ้าซิ่น

เป็น ๑ ตะเข็บ

มีโครงสร้างในการเย็บต่อ ๑

(๒) ใช้ผ้าจ�ำนวน ๒ ผืน เย็บ

รูปแบบ ดังนี้ ใช้ผ้าจ�ำนวน ๑

ต่อติดกันเป็น ๒ ตะเข็บ

ผืน เย็บต่อติดกันเป็น ๑ ตะเข็บ

๒.ส่วนตัวผ้าซิ่น กลุม ่ ผ้าเก่า มีโครงสร้างในการ เย็บต่อ ๑ รูปแบบ ดังนี้ ใช้ผ้า จ�ำนวน ๓ ผืน เย็บต่อติดกัน

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 24


คติความเชือ ่ โดยภาพรวมของผ้าซิน ่ ตีนจกสามดูกในเขตพืน ้ ที่ จังหวัดน่านตอนกลาง คือ เป็นผ้าซิน ่ ส�ำหรับประกอบพิธก ี รรม ไหว้ผบ ี รรพบุรษ ุ ประจ�ำปี จึงมีลก ั ษณะพิเศษและมีขนาดสูงกว่า ปกติ ทั้งนี้ยังสอดคล้องกับประเพณีท้องถิ่นวัฒนธรรมสาย แม่ ซึ่งการด�ำเนินพิธีกรรมนี้ผู้หญิงมีบทบาทเป็นอย่างมาก

ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 25


การอนุรักษ์มรดกทางภูมิปัญญา “ผ้าซิ่นตีนจกสามดูกในเขตพื้นที่ จังหวัดน่านตอนกลาง ลักษณะการถ่ายทอดองค์

วิธีการถ่ายทอดแบบในอดีต

ความรู้เรื่องผ้าซิ่นตีนจกสา

คือ ได้รเิ ริม ่ น�ำเทคโนโลยีมาเข้า

มดูกของช่างทอในอดีตนั้น

มีบทบาทในการสร้างลวดลาย

มักเป็นรูปแบบการถ่ายทอด

ต่าง ๆ เกิดขึ้น และสร้างสื่อวิ

ตัวต่อตัว ระหว่างยายสอนแม่

ดีทัศน์การสอนเพื่อสามารถ

และระหว่างแม่สอนลูกเป็นวิธี

ทบทวนภายหลังได้ตลอดเวลา

การจดจ�ำแบบมุขปาฐะ หรือ

วิธก ี ารถ่ายทอดแบบปัจจุบน ั

ครูพักลักจ�ำ ผู้เรียนต้องมี

ส่งผลท�ำให้สามารถเรียนรูไ้ ด้

ไหวพริบปฏิภาณเป็นอย่าง

อย่างลวดเร็วในระยะเวลาอัน

สูง ส่งผลท�ำให้ผู้เรียนเข้าใจ

สั้น แต่ก็มีข้อด้อย คือ เคล็ด

อย่างลึกซึ้ง ทั้งยังสามารถ

ลับบางประการไม่ได้บันทึก

แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วย

ลงในเทคโนโลยี จ�ำเป็นต้อง

ตนเอง วิธีการถ่ายทอดแบบ

ได้เรียนจากตัวครูผู้สอนจึง

ดังกล่าวในปัจจุบันก็ยังคงมี

จะเข้าใจอย่างลึกซึ้ง

อยู่ และได้พฒ ั นาเพิม ่ เติมจาก ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 26


ซิ่นตีนจกสามดูก พันผูกชาติพันธุ์ 27



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.