พญาคันคาก

Page 1

ศึกษาวิเคราะหโลกทัศนทางพระพุทธศาสนาในวรรณกรรมพื้นบานอีสาน เรื่องพระยาคันคาก A CRITICAL STUDY OF THE BUDDHIST DOCTRINES AND WORLD VIEW ON PRAYAKHANKHAK ESARN FOLK - TALES

พระมหาสุระเวช วชิโร

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๓


ศึกษาวิเคราะหโลกทัศนทางพระพุทธศาสนาในวรรณกรรมพื้นบานอีสาน เรื่องพระยาคันคาก

พระมหาสุระเวช วชิโร (เกชิต)

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ลิขสิทธิ์นี้เปนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย)


A CRITICAL STUDY OF THE BUDDHIST DOCTRINES AND WORLD VIEW ON PRAYAKHANKHAK ESARN FOLK - TALES

Phramahasuraved Vachiro

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of The Requirement for The Degree of Master of Arts (Buddhist Studies)

Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University Bangkok, Thailand B.E. 2010


บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย อนุ มั ติ ใ ห วิ ท ยานิ พ นธ นี้ เป น ส ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รปริ ญ ญาพุ ท ธศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

........................................... ( พระศรีสิทธิมุนี ) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ ............................................... ประธานกรรมการ ( พระ..........................................) .................................................. กรรมการ (พระ...........................................) .................................................. กรรมการ (...................................) ................................................... กรรมการ (....................................) ................................................... กรรมการ (....................................) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ : พระมหาบาง เขมานนฺโท

ประธานกรรมการ


: รศ.อุดม บัวศรี : ดร.อุดร จันทวัน

กรรมการ กรรมการ



ก ชื่อวิทยานิพนธ

:

ศึกษาวิเคราะหโลกทัศนทางพระพุทธศาสนาในวรรณกรรมพื้นบาน

อีสานเรือ่ งพระยาคันคาก ผูวิจัย

: พระมหาสุระเวช วชิโร (เกชิต)

ปริญญา

: พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)

คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ : พระมหาบาง เขมานนฺโท, ดร. ป.ธ. ๕, B.A. (Pali), M.A. (Bud), Ph. D. (Phil.) ป.ธ. ๗, พ.ม., พธ.บ., M.A., (Phil). : รศ. อุดม บัวศรี : ดร.อุดร จันทวัน ป.ธ. ๔, พ.ม., พธ.บ., M.A. (Pol. Sc), พธ. ด. วันที่สําเร็จการศึกษา : ๓ เมษายน ๒๕๕๔ บทคัดยอ วิทยานิพนธเรื่อง “ศึกษาวิเคราะหโลกทัศนทางพระพุทธศาสนาในวรรณกรรม พื้นบานอีสานเรื่องพระยาคันคาก” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษารูปแบบวรรณกรรมอีสาน เพื่อ ศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในวรรณกรรม และ วิเคราะหโลกทัศนทาง พระพุทธศาสนาที่ปรากฏในวรรณกรรม เรื่องพระยาคันคาก เปนการวิจัยเอกสาร โดยใชวิธี วิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห ผลจากการศึกษา พบวา วรรณกรรมพื้นบานอีสานมีลักษณะผสมผสานตามความ เชื่อทองถิ่นกับวรรณกรรมทองถิ่น ซึ่งสวนมากไมปรากฏชื่อผูแตง และสามารถจัดเปนกลุม ๆ ดังนี้คือ วรรณกรรมพุทธศาสนา วรรณกรรมประวัติศาสตร วรรณกรรมนิทาน วรรณกรรมคํา สอน และวรรณกรรมเบ็ดเตล็ด สําหรับพุทธธรรมที่ปรากฏในเรื่องพระยาคันคากนี้ พบวา มี ๒ สวน คือ สวนที่ เปนสภาวธรรม ไดแก หลักอริยสัจ ๔ ขันธ ๕ ไตรลักษณ และกรรมนิยาม และสวนที่เปน คุณธรรม ไดแก ความกตัญู ความเมตตา ความสามัคคี ความสันโดษ ความเสียสละ หลัก กัลยาณมิตร การบําเพ็ญทาน และความเพียร โลกทัศนทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏ ไดแก โลกทัศนทางธรรมชาติ สิ่งเหนือ ธรรมชาติ หลักความสัมพันธ การปกครอง และเศรษฐกิจและการครองชีพ


ข โลกทัศนที่มีตอธรรมชาติ ไดแก การอาศัยธรรมชาติคือน้ําฝนในการทํานาของ เหลามนุษย น้ําจึงเปนธรรมชาติที่สําคัญ, โลกทัศนที่มีตอสิ่งเหนือธรรมชาติ ไดแก ความลี้ลับ มหัศจรรยแหงเหตุการณที่เกิดขึ้น เชน การเนรมิตปราสาทแกพระยาคันคาก เปนตน, หลัก ความสัมพันธ ไดแก ความผูกพันเกี่ยวของของคนในครอบครัว และสังคม, หลักการปกครอง ในเรื่องพระยาคันคากนั้นเปนการใชอํานาจปกครองในทางที่ไมชอบธรรมของพระยาแถน, ดานเศรษฐกิจและการครองชีพ ไดแก มนุษยทั้งหลายมีอาชีพทํานา ตองอาศัยน้ําฝนในการทํา นา เมื่อเกิดความแหงแลง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการกระทําของพระยาแถน จึงเปนอยูดวยความ ยากลําบาก จึงไดตอสูกับพระยาแถน จนไดชัยชนะในที่สุดและกลับมีความเปนอยูที่ดีดังเดิม


ค : A Critical Study of the Buddhist Doctrines and World View on Prayakhankhak E-san Folk-Talks Researcher : Phramahasuraved Vachiro (Kechit) Degree : Master of Arts (Buddhist Studies) Thesis Supervisory Committee : Phramaha Bang Khemanandho Pali V, B.A. M.A.(Phil), M.A. (Bud), Ph.D. (Phil) : Assoc.Prof. Udom Buasri Pali VII, Dip. in Ed., B.A., M.A. : Dr. Udorn Chanthavan Pali IV, Dip. in Ed., M.A., Ph.D. Date of Graduation : April 3, 2011 Thesis Title

ABSTRACT The thesis “A Critical Study of the Buddhist Doctrines and World View on Prayakhankhak E-san Folk-Talks” had main purposes to study analytically Prayakhankhak E-san folk-talks, the Buddhist doctrines Prayakhankhak E-san folk-talks, and the Buddhist doctrines and world view on Prayakhankhak E-san folk-talks. This study was a documentary research by a descriptive research and an analytical research in order to get a summary and a suggestion in order to find for the conclusion and suggestions. The result of the present study was found that the characteristics of E-san folk-talks were mixed between local beliefs and local folks. Most of them were out of a writer’s name. All of those folks were possibly made in the following groups—Buddhist literature, historical literature, folk literature, didactic literature, and miscellaneous literature. The Buddhist doctrines in Prayakhankhak E-san folk-talks were divided into two parts: (1) natural phenomena—Four Noble Truths, five aggregates, Three Characteristics, and the Law of Action, and (2) virtue—gratitude, loving kindness, harmony, contentment, generosity, friendliness, the fulfillment of giving, and effort.


ง The world view on nature was to make use of nature—to bring raining water as an important, natural factor into people’s farms. The world view on a supernatural thing was a secret and miracle of happening events such as the creation of a castle for Prayakhankhak. The principles of relation were the relation of members in a family and a society. The principle of administration in Prayakhankhak E-san folk-talks was immorally used by Prayakhankhak. The world view on economics and a way of life was people’s farming that they were inevitable to use raining water in their farm. When there was no raining because of Prayathaen’s immoral action, they were suffering. Then, they came together to fight against Prayathaen till they defeated him at the end and finally, they got happy as found in the first time.


จ กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธเลมนี้ สําเร็จลงไดดวยความชวยเหลือเมตตานุเคราะหจากผูมีอุปการ คุณหลายทาน ผูวิจัยขอขอบคุณ ดร. พระมหาบาง เขมานนฺโท ประธานกรรมการควบคุม วิทยานิพนธ รศ.อุดม บัวศรี และ ดร.อุดร จันทวัน กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ เจาหนาที่ หองสมุดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน ที่ใหคําปรึกษา เสนอแนะขอคิ ดความเห็ นและตรวจสอบแกไ ขข อบกพร อ งของวิท ยานิพนธฉ บับ นี้ และ อํานวยความสะดวกในการสืบคนขอมูลทําวิทยานิพนธ ขออนุโมทนาขอบใจ พระมหาสัง เวีย ร ปฺญ าธโร อาจารย สนั่น ประเสริ ฐ อาจารย ป ระจํ า มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย ห อ งเรี ย นจั ง หวั ด ร อ ยเอ็ ด ที่ชวยเหลือในการตรวจทานขอมูลหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และการพิสูจนอักษร จน ทําใหวิทยานิพนธนี้เสร็จสมบูรณไดดวยดี ขออนุโมทนาบุญกุศลของญาติโยมที่ไดใหความอุปถัมภในดานปจจัยสี่ ทําให ไดรับความสะดวกสบายในการทํางาน ขอขอบคุณโยมบิดามารดาที่ไดใหทุกสิ่งทุกอยาง คือการใหกําเนิดชีวิต ทําใหได เจริญงอกงามในบวรพระพุทธศาสนา ไดทําคุณประโยชนแกประเทศชาติและพระศาสนา คุณประโยชนซึ่งเกิดจากการศึกษาคนควาจนทําใหวิทยานิพนธนี้สําเร็จ หากจะ พึงมีผูวิจัยขอนอมอุทิศบูชาคุณพระพุทธศาสนา บิดามารดา ครูอุปชฌาย อาจารย ผูใหชีวิต และปญญาในการดําเนินชีวิต อนึ่ ง ขอให ท า นผู มี สว นในการช ว ยงานนี้ จ งเป น ผู มี ส ว นในกุ ศ ลวิ ท ยาทานโดย ทั่วกันเทอญ พระมหาสุระเวช วชิโร (เกชิต) ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๓


ฉ สารบัญ เรื่อง

หนา

บทคัดยอภาษาไทย บทคัดยอภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ

ก ค จ ฉ

บทที่ ๑ บทนํา ๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ๑.๒ วัตถุประสงคของการวิจัย ๑.๓ นิยามศัพท ๑.๔ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ๑.๕ ขอบเขตของการวิจัย ๑.๖ วิธีการดําเนินการวิจัย ๑.๗ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๖

บทที่ ๒ วรรณกรรมพื้นบานอีสาน ๒.๑ วรรณกรรมพื้นบาน ๒.๒ นิทานพื้นบาน ๒.๒.๑ ความหมายของนิทานพื้นบาน ๒.๒.๒ ลักษณะของนิทานพื้นบาน ๒.๒.๓ ประเภทของนิทานพื้นบาน ๒.๓ วรรณกรรมพื้นบานอีสาน ๒.๓.๑ ลักษณะของวรรณกรรมพื้นบานอีสาน ๒.๓.๒ ประเภทของวรรณกรรมพื้นบานอีสาน ๒.๔ พฤติกรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสานประเภทนิทาน

๗ ๗ ๘ ๘ ๙ ๑๐ ๑๖ ๑๖ ๑๘ ๒๕


ช ๒.๕ การประเมินคุณคาของวรรณกรรมพื้นบานอีสานประเภทนิทาน ในมิติเรื่องเมืองและชุมชนโบราณ ๒.๕.๑ ประเภทเมืองที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสาน ประเภทตํานานและนิทาน ๒.๕.๒ เมืองสําคัญทีป่ รากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสาน ประเภทนิทาน ๒.๕.๓ เมืองที่มีการระบุชนชาติหรือถิ่นที่ตั้ง ๒.๖ การแบงนิทานพื้นบานอีสานตามยุคสมัย บทที่ ๓

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในนิทานพื้นบานอีสาน เรื่องพระยาคันคาก ๓.๑ ประวัติความเปนมาและความสําคัญของวรรณกรรมพื้นบาน อีสานเรือ่ งพระยาคันคาก ๓.๑.๑ ผูแตงวรรณกรรมพื้นบานอีสานเรือ่ งพระยาคันคาก ๓.๑.๒ ลักษณะของวรรณกรรมพื้นบานอีสานเรื่อง พระยาคันคาก ๓.๑.๓ ความสําคัญของวรรณกรรมพื้นบานเรื่อง พระยาคันคาก ๓.๒ หลักธรรมเกี่ยวกับสภาวธรรม ๓.๒.๑ อริยสัจ ๔ ๓.๒.๒ ขันธ ๕ ๓.๒.๓ ไตรลักษณ ๓.๒.๔ หลักกรรมนิยาม ๓.๓ หลักธรรมเกี่ยวกับคุณธรรม ๓.๓.๑ ความกตัญู ๓.๓.๒ ความเมตตา ๓.๓.๓ ความสามัคคี ๓.๓.๔ ความสันโดษ

๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๔๒ ๔๒ ๔๒ ๔๒ ๔๓ ๔๕ ๔๕ ๔๗ ๔๘ ๕๑ ๕๔ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗


ซ ๓.๓.๕ ความเสียสละ ๓.๓.๖ หลักกัลยาณมิตร ๓.๓.๗ การบําเพ็ญทาน ๓.๓.๘ ความเพียร

๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑

บทที่ ๔ โลกทัศนทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในนิทานพื้นบานอีสาน เรือ่ งพระยาคันคาก ๔.๑ โลกทัศนที่มีตอธรรมชาติ ๔.๒ โลกทัศนที่มีสิ่งเหนือตอธรรมชาติ ๔.๓ หลักความสัมพันธระหวางมนุษย ๔.๔ หลักการปกครอง ๔.๕ หลักเศรษฐกิจและการครองชีพ

๖๓ ๖๓ ๖๕ ๖๘ ๗๑ ๗๗

บทที่ ๕ สรุปผล และขอเสนอแนะ ๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๕.๒ ขอเสนอแนะ

๘๐ ๘๐ ๘๓

บรรณานุกรม ภาคผนวก เนื้อเรื่องพญาคันคากโดยยอ ประวัติผูวิจัย

๘๔ ๘๘ ๘๙ ๙๑


บทที่ ๑ บทนํา ๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา คนอี ส านมี วั ฒ นธรรมเป น ของตนเองมาช า นาน เช น วั ฒ นธรรมการนุ ง ห ม วัฒนธรรมการบริโภค เปนตน วัฒนธรรมนั้นมีทั้งเกิดจากภูมิปญญาของชาวบานเอง และ วัฒนธรรมที่ไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรมของชาติอื่นแลวก็กลมกลืนมาเปนวัฒนธรรมของ ตนเองในที่สุดก็มี โดยเฉพาะวัฒนธรรมของชาวอินเดีย และขอม ไดมีอิทธิพลตอวัฒนธรรม ไทยมาก วัฒนธรรมที่สําคัญอยางหนึ่งคือวัฒนธรรมทางภาษา ซึ่งมีเอกลักษณเปนของตนเอง แตก็มีคุณคาและมีเสนห ควรคาแกการศึกษา เพราะภาษาอีสานนั้นเปนภาษาที่สื่อสารไดถึง อรรถรส มีความละเอียดลุมลึก สามารถสื่อใหรูถึงลักษณะไดชัดเจนจนมองเห็นภาพได เชน คําวา “เที่ยงที่ลี่” คนอีสานเมื่อไดยินก็จะรูไดทันทีวาสิ่งนั้นมีความตรงมากราวกับบรรทัด เปน ตน วัฒนธรรมทางภาษาที่มีความสําคัญและนาสนใจอยางหนึ่งคือการเลานิทาน ซึ่ง นิทานนี้โดยมาแลวเปนเรื่องที่เกิดขึ้นจากจินตนาการ ที่เปนเรื่องจริงมีเปนสวนนอย ซึ่งเกิดขึ้น จากสาเหตุหลายประการ เชน เพื่อตองการความบันเทิง ไดรับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณี เปนตน นิทานพื้นบานที่คนอีสานสรางสรรคขึ้น มีทั้งนิทาน ประเภทตลกขบขัน สรางความเพลิดเพลิน และใหคติเตือนใจ ซึ่งอาจจะปรากฏเนื้อเรื่องที่ คลายนิทานพื้นบานในภาคอื่น ๆ นิยมถายทอดกันดวยมุขปาฐะ คือ วิธีเลาสูกันฟง และมีการ บัน ทึ ก เป น ลายลั ก ษณ อั ก ษรบ า ง เป น เอกลั ก ษณ เ ฉพาะของคนอี ส าน หรื อ เรี ย กว า นิ ท าน พื้นบานอีสาน ทั้งนี้เพื่อสะทอนเรื่องราวความเปนไปในสังคม ดวยการเชื่อมโยงเรื่องราวใหมี ความสัมพันธสอดคลองกับวิถีชีวิต อีกทั้งเพื่อตอบปญหาตาง ๆ ที่สังคมเกิดความสงสัย เชน นิทานเรื่องพญาคันคาก ที่อธิบายวา ทําไมตองมีประเพณีแหบั้งไฟ เปนตน นิ ท านพื้ น บ า นอี ส านมี สิ่ ง ซ อ นเร น ในเรื่ อ งราวของนิ ท านที่ ใ ห ค ติ เ ตื อ นใจ โดยเฉพาะนิทานที่แฝงเรนหลักธรรมคําสอนทางพระพุทธศาสนา นิทานหลายเรื่องจะปรากฏ แงคิดในการเปนบุคคลที่พึงประสงคของสังคม เชน อุปนิสัยของตัวเอกในเรื่อง จะสะทอน แบบอยางการดําเนินชีวิตตามคตินิยมทางพระพุทธศาสนา ปลูกฝงใหเกิดการปฏิบัติตามหลัก


ศีลธรรม และจริยธรรมแกสังคม ดังที่ ธวัช ปุณโณทก ไดอธิบายไววา นิทานพื้นบานอีสาน ประกอบดวยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ปรากฏในลักษณะวรรณกรรมชาดก เชน พระ เวสสันดรชาดก ที่ตัวเอกของเรื่อง เปนผูเสียสละอยางยิ่งยวด เปนตน และปรากฏในลักษณะ วรรณกรรมเกี่ ย วกั บ ตํ า นานทางพระพุ ท ธศาสนา เช น เรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ การเผยแผ พระพุทธศาสนา ปูชนียสถาน ตํานานการสรางพระธาตุพนม เปนตน๑ ในบรรดาวรรณกรรมพื้นบานอีสานทั้งหลาย วรรณกรรมนิทานเรื่อง พระยาคัน คากเป น เรื่ อ งที่ น า สนใจ ควรค า แก ก ารศึ ก ษา เพราะมี ห ลั ก ธรรมและโลกทั ศ น ท าง พระพุทธศาสนาหลายดานปรากฏอยู สามารถที่จะศึกษาและนํามาปฏิบัติตามได ซึ่งหลักธรรม และโลกทัศนเหลานี้ไดสะทอนใหเห็นคานิยมหรือวิถีชีวิตของคนอีสานโบราณไดเปนอยางดี อีกประการหนึ่งเรื่องพระยาคันคากนี้เปนบอเกิดแหงประเพณีที่สําคัญอยางหนึ่งของชาวอีสาน นั่นคือประเพณีบุญบั้งไฟ หรือบุญเดือนหกตามหลักฮีต ๑๒ และปรากฏวาพระใชเทศนเพื่อ ขอฝนอีกดวย ซึ่งไดสงเสริมวรรณกรรมเรื่องพระยาคันคากนี้ใหมีคุณคายิ่งขึ้น ดังนั้น ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาวิเคราะหเรื่องพระยาคันคากนี้ เพื่อเปนการนําสิ่งที่ มีคาอันเปนมรดกทางปญญาของชาวอีสานไดมาเผยแผใหคนทั้งหลายไดทราบและสามารถ ถือเปนทิฏฐานุคติในการดําเนินชีวิตได ๑.๒ วัตถุประสงคในการวิจัย ๑. เพื่อศึกษาวรรณกรรมพื้นบานอีสาน ๒. เพื่อศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสาน เรื่องพระยาคันคาก ๓. เพื่ อ ศึ ก ษาวิ เ คราะห โ ลกทั ศ น ท างพระพุ ท ธศาสนาที่ ป รากฏในวรรณกรรม พื้นบานอีสานเรื่องพระยาคันคาก ๑

ธวัช ปุณโณทก, วรรณกรรมทองถิ่น, (กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๒๕), หนา ๑๕๖.


๑.๓ นิยามศัพท คุณธรรม หมายถึง ธรรมคือสิ่งที่ดีงาม ซึ่งบุคคลไดประพฤติปฏิบัติใหเกิดมีในตน ไดแลว นิทาน หมายถึง เรื่องราวที่ไดรับการเลาหรือบันทึก ถายทอดจากรุนสูรุน มีทั้ง เรื่องที่เกิดขึ้นจริง และเรื่องที่แตงขึ้นตามจินตนาการ ซึ่งไมอาจระบุไดวาเกิดขึ้นตั้งแตเมื่อใด นิ ท านพื้ น บ า นอี ส าน หมายถึ ง นิ ท านพื้ น บ า นของภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ที่ประกอบดวยหลักธรรมและโลกทัศนดานตาง ๆ ทางพระพุทธศาสนา โลกทัศน หมายถึง ความเขาใจในการดํารงชีวิตดานตาง ๆ ซึ่งในงานวิจัยนี้หมาย เอาโลกทัศนที่มีตอธรรมชาติ สิ่งเหนือธรรมชาติ หลักความสัมพันธ หลักการปกครอง และ หลักเศรษฐกิจและการครองชีพ และที่เปนคําสอนทางพระพุทธศาสนาดวยคือ หลักสามัคคี ธรรม หลักธรรมชาตินิยม และหลักศีลธรรมจริยธรรม วรรณกรรม หมายถึง นิทานพื้นบานอีสานที่ไดรับการบันทึกไวเปนลายลักษณ อักษรแลว คือการจารลงในใบลาน และพิมพเปนรูปเลมหนังสือ อิ ท ธิ พ ล หมายถึ ง ผลกระทบของนิ ท านพื้ น บ า นอี ส านที่ มี ต อ วิ ถี ชี วิ ต ของ ประชาชน ๑.๔ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ไดมีการศึกษาวิจัยเรื่องราวเกี่ยวนิทานพื้นบานอีสานไวหลายเรื่อง ซึ่งผูวิจัยได รวบรวมเฉพาะสวนที่เกี่ยวของกับงานวิจัยครั้งนี้ ดังนี้ พวงพันธ มณีรัตน ไดศึกษาเรื่องมานุษยวิทยากับการศึกษาคติชาวบาน และ กลาวถึงหนาที่ของคติชาวบานวา ตามปกติบุคคลในสังคมจะไดรับการถายทอดความรูตาง ๆ จากผูใหญ พอแม ปูยา ตายาย มักเปนผูสอนเด็ก ๆ ใหทําสิ่งนั้นสิ่งนี้ วิธีการสั่งสอนเด็กให ทราบถึงคานิยมและศีลธรรมจรรยาของประชาชนที่แพรหลายอยางหนึ่ง ไดแก การเลานิทาน เด็กที่นั่งฟงนิทนในตอนเย็นหรือในยามที่ผูใหญวางงานยอมไดเรียนรูประเพณีและทัศนคติ ดั้งเดิมไมนอยไปกวาการเรียนในโรงเรียน เทพนิยายและตํานานมักมีรายละเอียดอธิบายถึง พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ ความเชื่อ หรือหลักธรรมในศาสนา กลาวถึงกําเนิดของเผาหรือตระกูล การ อพยพเคลื่อนยายถิ่น และการขัดแยงที่เกิดขึ้นภายในสังคม...นิทานที่แตงขึ้นก็มีความสําคัญตอ


การอบรมสั่งสอนความประพฤติของเด็ก สวนมากแลวสัตวนิยาย นิทานคติ ชากด มักเปน เรื่องแตงขึ้นโดยมีจุดมุงหมายใหเด็กไดรูวาการกระทําอยางไรจัดวาดี การกระทําอยางไรเปน สิ่งเลว อยางไรควรทํา อยางไรไมควรทํา๒ กุหลาบ มัลลิกะมาส และคณะ ไดศึกษาคติชนวิทยา ผลการศึกษาพบวา มนุษยใน สังคมทั่วไปยอมมีความคับของใจนานาประการ เปนตนวา ความยากจน ความเหนื่อยการ เหนื่อยใจ ความรูสึกไมมั่นคงปลอดภัย ซึ่งอาจเกิดขึ้นตามสภาพทางชีววิทยาของมนุษย เกิด จากสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ หรือเกิดจากวิถีชีวิตที่มีความกดดันทางสังคมและวัฒนธรรม ในกรณีที่เกี่ยวกับความคับของใจและความกดดันตาง ๆ เหลานี้ คติชนจะมีบทบาทเปนสวน บรรเทาความเก็บกดทางอารมณ และชวยคลี่คลายความคับของใจไปไดเปนอันมาก นิทานที่ เลาถึงคนลําบากยากจนแลวกลับร่ํารวยมีเกียรติยศ เชน เรื่องปลาบูทอง ซินเดอเรลลา เปนเรื่อง ถูกใจคนและเปนความเพอฝน เพราะตองการหลีกหนีสภาพบางประการ ความกดดันทางเพศ หรือขอหามในสังคมจะผอนคลายลงดวยเพลงหรือดวยนิทานบางประเภท การประทวงตอ อํานาจการปกครองที่มีอยูในคติชนรูปแบบตาง ๆ ก็เปนที่พอใจหรือสมใจของคนทั่วไป เชน นิทานศรีธนญชัยกับอาจารย ศรีธนญชัยกับพระราชา...ความคับของใจและความอยากหนี ออกไปใหพนจากสภาพนั้น ๆ มักจะคลี่คลายลงดวยการหาทางออกและทดแทนชดเชยทาง อารมณโดยอาศัยคติชน๓ จารุวรรณ ธรรมวัตร ไดศึกษาเรื่องวัฒนธรรมพื้นบาน ผลการศึกษาพบวา นิทาน พื้นบานในทางคติชาวบาน หมายถึง เรื่องเลาดวยวาจา ถายทอดสืบตอมาจากบรรพชนจนถึง ปจจุบัน นิทานที่มีคุณคาหลากหลายตามเนื้อเรื่อง เชน มีคุณคาดานความบันเทิง ใหการศึกษา ใหเหตุผลในการประกอบพิธีกรรม และเปนสิ่งระบายความเก็บกดของมนุษย๔

พวงพันธ มณีรัตน, มานุษยวิทยากับการศึกษาคติชาวบาน, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๕), หนา ๑๐๕.

กุหลาบ

จารุวรรณ

มัลลิกะมาส และคณะ, ภาษาไทย ๘ (คติชนสําหรับครู), สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๗), หนา ๓๓. ธรรมวัตร, เอกสารประกอบการศึกษาวัฒนธรรรมพื้นบาน, (มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, ๒๕๓๐), หนา ๑๓๐.


วิเชียร เกษประทุม ไดศึกษานิทานพื้นบาน ผลการศึกษาพบวา มนุษยทั่วไปใน โลกทุ กหนทุ ก แหง ตา งมี นิท านเล าต อ ๆ กัน มา ถึง แม วา เราจะต า งชาติศ าสนา แตจะมี ข อ เหมือนกันอยูเสมอในเรื่องธรรมชาติของสภาพความเปนมนุษย คือมีโลภ โกรธ หลง มีทั้งตลก ขบขัน นาหัวเราะ และที่สําคัญคือมีความคิดคํานึงคลายคลึงกัน และตางก็มีลักษณะเหลานี้สืบ ทอดกันมาเปนมรดกของมนุษยชาติเหมือน ๆ กัน มรดกแหงสภาพความเปนมนุษยนี้จะเห็น ไดจากคติชาวบานและนิทานพื้นบาน๕ ประมวล พิ ม พ เ สน ได ศึ ก ษานิ ท านพื้ น บ า นอี ส าน ผลการศึ ก ษาพบว า มี วรรณกรรมหลายเรื่องที่แตงบขึ้นจากความเชื่อ จากนิทานพื้นบาน หรือแตงบขึ้นเพื่อเปน ตํานานบางสิ่งบางอยาง แลวยกเอาขอคิด คติธรรมจากนิทานพื้นบานเรื่องกอน ๆ การแตง กลอนลํา กลอนแหล กลอนสารภัญญ กลอนหรือกาพยเซิ้งบั้งไฟ สวนใหญก็เปนผลมาจาก นิทาน เนื่องจากวานิทานพื้นบานเปนบทสรุปของความเชื่อในสังคม ถาเราอยากทราบวา สังคมเขาอยูกันอยางไร เราสังเกตไดจากเรื่องราวตาง ๆ ในวรรณกรรมนิทาน นิทานยุใหคน ทําการรบ สังคมก็จะวุนวายไมมีที่สิ้นสุด นิทานชี้แนวใหคนรักสงบ สังคมก็สงบไปดวย๖ ๑.๕ ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัยในครั้งนี้ แบงเปน ๒ ดาน ไดแก ๑. ดานเนื้อหา ศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและโลกทัศนที่ปรากฏใน นิ ท านพื้ น บ า นอี ส าน เรื่ อ งพระยาคั น คาก ซึ่ ง หลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนานั้ น ยึ ด ตาม พระไตรปฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณวิเสส หลักธรรมนั้นแบงออกเปน ๒ ประเภท คือ หลักสภาวธรรม และหลักคุณธรรม หลักสภาวธรรม ไดแก หลักอริยสัจ ๔, หลักขันธ ๕, หลักไตรลักษณ, หลักกรรม นิยาม สวนหลักคุณธรรม ไดแก ความกตัญู, ความเมตตา, ความสามัคคี, ความสันโดษ, ความ เสียสละ, หลักกัลยาณมิตร, การบําเพ็ญทาน, ความเพียร ๕

วิเชียร เกษประทุม, นิทานพื้นบาน, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท วิสิทธิ์พัฒนา จํากัด, มปป.), หนา

๒. ๖

ประมวล พิมพเสน, นิทานพื้นบานอีสาน ๑, (ขอนแกน : หจก. โรงพิมพคลังนานาวิทยา, ๒๕๕๑),

หนา ๑๐.


สวนโลกทัศน ไดแก โลกทัศนที่มีตอธรรมชาติ, สิ่งเหนือธรรมชาติ, ความสัมพันธ ระหวางมนุษย, การปกครอง, เศรษฐกิจและการครองชีพ

๒. ดานเอกสาร เอกสารหลักดานวรรณกรรมอีสานที่ศึกษา ไดแก (๑) หนังสือพญาคันคาก โดย ผาน วงษอวน (๒) หนังสือนิทานพระยาคันคาก โดย เตชวโร ภิกขุ (อินตา กวีวงศ) ๓. ดานระยะเวลา เริ่มตั้งแต เดือนเมษายน ๒๕๕๑ ถึงเดือน เมษายน ๒๕๕๓ ๑.๖ วิธีดําเนินการดําเนินการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้มีวิธีการดําเนินการวิจัยตามลําดับขั้นตอน ดังนี้ ๑. สํารวจขอมูลในหนังสือและเอกสารที่เกี่ยวของ ๒. รวบรวมขอมูลจากหนังสือและเอกสารที่เกี่ยวของ ๒. กําหนดกรอบแนวคิดตามหลักธรรมและโลกทัศนที่ระบุไวในขอบเขตการวิจัย ๓. คัดแยกและจัดเรียงขอมูลใหถูกตองลําดับ ๔. นําขอมูลที่ไดมาศึกษาวิเคราะหและเรียบเรียงเนื้อหา ๕. สรุปเนื้อหา และขอเสนอแนะ ๑.๗ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ๑. ทําใหทราบวรรณกรรมพื้นบานอีสาน ๒. ทําใหทราบหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในนิทานพื้นบานอีสาน เรื่องพระยาคันคาก ๓. สามารถวิเคราะหโลกทัศนทางพระพุทธศาสนี่ปรากฏในนิทานพื้นบานอีสาน เรื่องพระยาคันคาก


บทที่ ๒ วรรณกรรมพื้นบานอีสาน วรรณกรรมพื้นบานอีสานเปนสวนหนึ่งของคติชนวิทยา ในบทนี้ ผูวิจัยไดศึกษา รวบรวมแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับวรรณกรรมพื้นบานอีสาน (วรรณกรรมประเภทนิทาน) จาก หนังสือ และเอกสารตาง ๆ ซึ่งมีลําดับเนื้อหาดังตอไปนี้

๒.๑ วรรณกรรมพื้นบาน

๒.๑.๑ ความหมายของวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบานกับนิทานพื้นบาน หากไมพิจารณาโดยความละเอียดถี่ถวน แลวอาจทําใหเขาใจวาเปนอยางเดียวกัน แตความจริงแลวทั้งสองอยางนี้มีความแตกตางกัน ซึ่งสิ่งที่จะทําใหเราเขาใจถึงความแตกตางกันไดประการหนึ่งคือการศึกษาจากคําจํากัดความ ซึ่งคําวา วรรณกรรม มีความหมายตามทัศนะของนักวิชาการ ดังนี้ วรรณกรรม หมายถึง สิ่งซึ่งเขียนขึ้นไมวาจะเปนรูปใดหรือความมุงหมายใด๑ วรรณกรรม หมายถึง หนังสือหรือเอกสารที่มีลักษณะเปนศิลปกรรมในฐานะที่มี รูปแบบมีเนื้อหาสาระที่ผูเขียนพยายามสื่อความคิดดวยวิธีการหนึ่งมายังผูอาน๒ วรรณกรรม หมายถึง งานเขียนในรูปกวีนิพนธ รอยกรอง และขอเขียนทั้งหมดที่ ใชภาษารอยแกว ไดแก บทความ สารคดี นวนิยาย นิทาน เรื่องสั้น บทละคร ภาพยนตร บท โทรทัศน ตลอดจนคอลัมนในหนังสือพิมพ๓ ๑

กุหลาบ มัลลิกะมาส, วรรณกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๑๗),

หนา ๕. ๒

บุญเหลือ เทพยสุวรรณ และเจตนา นาควัชระ, วรรณคดี, (กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๐), หนา ๕๘. ๓

สิทธา พินิภูวดล และนิตยา กาญจนะวรรณ, ความรูทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมไทย, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : ดวงกมล, ๒๕๒๐), หนา ๓๕.


จากการสั ม มนาของชมรมวรรณศิ ล ป ๖ สถาบั น การศึ ก ษา คื อ จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และวิทยาลัยการคา เมื่อป พ.ศ. ๒๕๑๘ ไดกําหนดความหมาย ไววา วรรณกรรม คืองานสรางสรรคทางศิลปะที่ใชภาษาเปนสื่อกลาง ไมวาจะมีเนื้อหาเปน แบบใดก็ต าม มีข อบเขตถึ ง งานเขี ยนทุ ก ชนิ ด เช น วรรณคดี นวนิ ยาย เรื่อ งสั้ น บทละคร รวมทั้งวรรณกรรมที่เลาสืบตอกันมาดวยปาก เชน นิทานพื้นบาน บทเพลงตาง ๆ๔ โดยสรุป วรรณกรรม หมายถึง งานเขียนทุกชนิดทั้งประเภทรอยกรองและรอยแกว เชน นวนิยาย เรื่องสั้น บทความ เปนตน ที่ผูเขียนไดสื่อความคิดของตนเองรวมทั้งความคิด ของผูอื่นที่ไดสืบทอดตอกันมา เชน นิทาน เปนตน แกผูอาน วรรณกรรมพื้นบาน หมายถึง งานเขียนประจําทองถิ่นนั้น ๆ ซึ่งในประเทศไทย ไดแก งานเขียนประจําทองถิ่นภาคกลาง ภาคใต ภาคเหนือ และภาคอีสาน ในงานวิจัยนี้หมาย เอาวรรณกรรมพื้นบานประเภทนิทาน ซึ่งมีเนื้อหาดังจะไดกลาวในหัวขอตอไปนี้ ๒.๒ นิทานพื้นบาน คําวา นิท าน หมายเอาเรื่อ งเลาสืบตอ กันมา รวมทั้งที่ไดรั บการบันทึ กเปนลาย ลักษณอักษรดวย สวนวรรณกรรมหมายเอาเฉพาะนิทานที่ไดรับการบันทึกเปนลายลักษณ อักษรเทานั้น เนื่องจากวรรณกรรมมีหลายประเภท เชน วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด วรรณกรรมคํา สอน เปนตน และนิทานพื้นบานก็เปนสวนหนึ่งของวรรณกรรมพื้นบาน คือเปนวรรณกรรม นิทานพื้นบาน ดังนั้น เพื่อเปนการกําหนดขอบเขตในการศึกษาวิจัยใหแคบลง ผูวิจัยจึงจะได เลือกกลาวเฉพาะวรรณกรรมประเภทนิทานพื้นบานเทานั้น ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

ประทีป เหมือนนิล, วรรณกรรมไทยปจจุบัน, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : เจริญวิทยการ พิมพ, ๒๕๒๓), หนา ๕๖.


๒.๑.๑ ความหมายของนิทานพื้นบาน นิทาน น. เรื่องที่เลากันมา เชน นิทานชาดก นิทานอีสป๕ นิทานเปนแหลงรวมและความฝน นิทานเปนทางออกทางใจของมนุษย ทําใหมี ความสุข และชวยผอนคลายความทุกขในใจได๖ ลักษณะของนิทานพื้นบานนั้นตองเปนเรื่องเกาที่เลาสืบตอกันมาปากตอปาก โดย ใชคําธรรมดาเปนรอยแกว และไมทราบวาใครเปนผูเลา๗ นิทานโดยทั่วไปหมายถึง เรื่องราวของเหตุการณที่เปนจริงและเรื่องที่แตงขึ้น สวน นิทานในแงคติชนวิทยา หมายถึง เรื่องเลาที่สืบทอดตอ ๆ กันมา๘ โดยสรุปแลว นิทาน หมายถึง เรื่องเกาที่เลาสืบตอกันมา มีทั้งเหตุการณจริงและ เรื่องที่แตงขึ้น ซึ่งบางสวนนั้นไดรับการบันทึกไวแลว มีลักษณะเปนรอยแกว ชวยใหผูฟงและ ผูอานไดผอนคลายทุกข ไดรับสุข และความรูในดานตาง ๆ สามารถนํามาเปนคติดําเนินชีวิต ได ๒.๒.๒ ลักษณะของนิทานพื้นบาน กุหลาบ มัลลิกะมาส ไดจําแนกลักษณะไวดังนี้ ๑. เปนเรื่องเลาดวยถอยคําธรรมดา เปนภาษารอยแกว ไมใชรอยกรอง ๒. เลาดวยปากสืบกันมาเปนเวลาชานาน แตตอมาในระยะหลังเมื่อการเขียนเจริญ ขึ้น ก็อาจเขียนขึ้นตามเคาเดิมที่เคยเลาดวยปากเปลา ๓. ไมปรากฏวาผูเลาดั้งเดิมนั้นเปนใคร อางแตวาเปนของเกา ฟงมาจากผูเลา ซึ่ง เปนบุคคลสําคัญยิ่งในอดีตอีกตอหนึ่ง๙ ๕

ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท นานมีบุคสพับลิเคชั่นส จํากัด, ๒๕๔๖), หนา ๕๘๘. ๖

ศิราพร ฐิตะฐาน, ลักษณะเนื้อหาวรรณคดีไทย, เอกสารการสอนวิชาไทยคดีศึกษา, (กรุงเทพมหานคร : อมรินทรการพิมพ, ๒๕๒๔), หนา ๓๕. ๗

วิเชียร เกษประทุม, นิทานพื้นบาน, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท วิสิทธิ์พัฒนา จํากัด, มปป.), หนา ๓.

กุหลาบ มัลลิกะมาส และคณะ, ภาษาไทย ๘ (คติชนวิทยาสําหรับครู), โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๗, หนา ๖๐. ๙

กุหลาบ มัลลิกะมาส, คติชาวบาน, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๑๘), หนา ๙๙ – ๑๐๐.


๑๐

สวนเจือ สตะเวทิน ไดจําแนกลักษณะนิทานไวดังนี้ ๑. ตองเปนเรื่องเลา ๒. ตองเลาดวยภาษารอยแกว ๓. ตองเลาดวยปากมากอน ๔. ตองแสดงความคิดความเชื่อของชาวบาน ๕. เรื่องจริงที่มีคติก็อนุโลมเปนนิทาน เชน มะกะโท เปนตน๑๐ ลักษณะสําคัญที่สุดของนิทานพื้นบาน จึงอยูที่ตองเปนนิทานที่เลาสืบกันมาดวย ปาก และไมทราบวาใครเปนผูแตง เปนการเลาจากความจําที่ไดฟงตอ ๆ กันมา พอซึ่งเลาให ลูกฟงเคยฟงมาจากปูหรือยา ปูหรือยาเคยฟงจากทวด และทวดก็เคยฟงมาจากผูอื่นเลาอีกที ไม สามารถสืบสาวไดวาผูเลาคนแรกคือใคร เชน นิทานเรื่องศรีธนญชัย ซึ่งเปนเรื่องตลบขบขันที่ เปนที่รูจักกันดีเรื่องหนึ่งของประเทศไทย ไมมีใครบอกไดวาใครเปนคนแตงเรื่องนี้ขึ้นมา และ เลาใหใครฟงเปนครั้งแรก ทราบไดแตวาเปนเรื่องเลาสืบตอ ๆ กันมา แมวาจะมีวรรณคดีที่แตง ดวยคําประพันธชนิดกาพยชื่อ ศรีธนญชัยคํากาพย วรรณคดีเรื่องนี้ก็แตงขึ้นโดยอาศัยเคาเรื่อง ที่มีเลากันอยูกอนแลว เราจึงถือวาเรื่องศรีธนญชัยเปนนิทานพื้นบาน ในขณะที่เราพูดไมได เปนอันขาดวา เรื่องตลกชุด พล นิกร กิมหงวน เปนนิทานพื้นบาน เรื่องตลกชุดนี้ ป. อินทรปา ลิตเปนผูแตงขึ้น๑๑ เมื่อเปนเชนนี้นิทานจึงไมใชวิชาการ ไมไดเนนที่ความเปนเรื่องจริง แตจะใหความ สนใจเกี่ยวกับเนื้อหาในนิทานตางหาก เชน คติธรรมทางพระพุทธศาสนา สภาพความเปนอยู คานิยม เปนตน ความเปนวิชาการนั้นอยูในรูปของการศึกษานิทานเชิงคติวิทยา ๒.๒.๓ ประเภทของนิทานพื้นบาน โดยปกติ แ ล ว คนเล า นิ ท านมั ก จะไม ไ ด ส นใจว า นิ ท านเรื่ อ งนั้ น ๆ เป น นิ ท าน ประเภทใด หรืออาจเลาโดยไมรูจักวาเปนนิทานประเภทใดเลยก็ได การแบงประเภทนิทาน เปนประเภทตาง ๆ นั้น นักคติชนวิทยาเปนผูแบง ทั้งนี้เพื่อใหงายตอการศึกษา ประเภทของ นิทานพื้นบานนั้นพอรวบรวมไดดังนี้ ๑๐

เจือ สตะเวทิน, คติชาวบานไทย, (กรุงเทพมหานคร : สุทธิสารการพิมพ, ๒๕๒๗), หนา ๒ – ๓.

๑๑

กุหลาบ มัลลิกะมาส และคณะ, ภาษาไทย ๘ (คติชนวิทยาสําหรับครู), หนา ๕๙.


๑๑

จารุวรรณ ธรรมวัตร๑๒ ไดกลาวถึงการแบงประเภทนิทานพื้นบานของ กิ่งแกว อัต ถากร ไวดังนี้ ๑. เทพนิยาย (Fairy tale) เปนนิทานที่แพรหลายที่สุดรูปแบบหนึ่ง โดยเฉพาะอยาง ยิ่งในเขตยุโรป เทพนิยายที่มีชื่อเสียงคือ เทพนิยายของพี่นองตระกูลกริมส ลักษณะสําคัญของเทพนิยายคือ ตัวเอกจะตองผจญภัยในดินแดนมหัศจรรย มีของ วิเศษตาง ๆ มีปาฏิหาริยมากมาย มีความชวยเหลือจากอํานาจเหนือธรรมชาติ ขนาดของเรื่อง คอนขางยาว มีหลายอนุภาค ฉาก เปนดินแดนในจินตนาการ ไมบงสถานที่แนชัด ตัวละคร สวนใหญเปนเจาหญิง เจาชาย ตัวรายมักเปนพอมดหรือยักษ ขอที่นาสังเกตคือ เทพนิยายตัวเอกมักจะเปนฝายหญิง เชน สโนไวท ซินเดอเรลลา ๒. นิทานชีวิต (Romantic tale) เปนนิทานที่เชื่อวาเปนความจริง เพราะฉากที่ใชใน การดําเนินเรื่องเปนฉากจริง บงสถานที่ เวลาชัดเจน ไมเนนเรื่องอภินิหาร ขนาดของเรื่อง ยาว มีโครงเรื่องซับซอน ตัวละคร สวนใหญเปนสามัญชน แกนเรื่อง เปนเรื่องการผจญภัย เชนเดียวกับเทพนิยาย แตเปนการผจญ ภัยบนโลกมนุษย ศัตรูของพระเอกไมใชสิ่งเหนือธรรมชาติ แตเปนมนุษยดวยกันเอง ตัวเอก จะตองใชความสามารถแกปญหา เชน ใชความฉลาด ความอดทน อดกลั้น หรือใชกลอุบาย โดยไมมีอํานาจวิเศษชวยเหลือ ตัวอยางนิทานชีวิตคือนิทานจักร ๆ วงศ ๆ ของไทย ๓. นิทานวีรบุรุษ (Hero tale) นิทานประเภทนี้กลาวถึงพฤติกรรมของบุคคลซึ่งเปน วีรบุรุษของทองถิ่น โดยจะเชิดชูในแงความกลาหาญ ความสามารถในการปกครอง และ คุณธรรม ขนาดของเรื่อง ยาว ประกอบดวยเรื่องแทรกซอนกันหลายเรื่อง ฉาก เปนดินแดนในชีวิตจริง กําหนดสถานที่ไดแนนอน และ สามารถกําหนดเวลาได แกนเรื่อง การผจญภัยหรือวีรกรรมของวีรบุรุษ ซึ่งมีลักษณะเหนือ มนุษย ๑๒

จารุวรรณ ธรรมวัตร, “เอกสารประกอบการศึกษาวัฒนธรรมพื้นบาน”, (อัดสําเนา).


๑๒

ลําดับเหตุการณการผจญภัยของตัวเอกเปนตอน ๆ ไป เชน ทาวฮุงหรือเจือง พระรวง ๔. นิทานประจําถิ่น (Local legenad) เปนนิทานที่เกี่ยวกับทองถิ่นหนึ่ง ชาวบานใน ทองถิ่นนั้น ๆ เชื่อวาเปนเรื่องจริง มักจะกลาวถึงความเปนมาของสถานที่ ความเชื่อในเรื่อง ลึกลับเหนือธรรมชาติ ขนบธรรมเนียมประเพณี คานิยมของคนในทองถิ่น บางเรื่องก็กลาวถึง วีรบุรุษของทองถิ่น ซึ่งทําใหคาบเกี่ยวกับนิทานวีรบุรุษ ขนาดของเรื่อง สั้นหรือยาวก็ได แตสวนใหญมีขนาดสั้น กลาวถึงเหตุการณ เดียว ฉาก สถานที่จริง ๆ ตัวละคร มนุษย อมนุษย สัตว โครงเรื่อง ไม ซั บ ซ อ น กล า วถึ ง พฤติ ก รรมของคนในท อ งถิ่ น และ อํานาจผีสางเทวดา เชน นิทานเรื่องพระยากง พระยาพาน เมืองลับแลของอุตรดิตถ ตามองลาย ของประจวบคีรีขันธ ๕. นิทานอธิบายเหตุ (Explanator tale) เปนนิทานที่พยายามอธิบายสิ่งที่มนุษย สงสั ย และหาคํ า ตอบไม ไ ด เช น กํ า เนิ ด ของมนุ ษ ย สั ต ว สิ่ ง ของ สภาพภู มิ ศ าสตร และ ปรากฏการณธรรมชาติตาง ๆ โครงเรื่อง ไมซับซอน เนื้อเรื่องจะมุงไปที่การตอบคําถามวาทําไม เพื่อ อธิบายความเปนมาของสิ่งเหลานั้น เชน นิทานเรื่องทาว กกขนากของลพบุรี เปนนิทานอธิบายเหตุของการหามนํา น้ําสมสายชูเขาเมืองลพบุรี นิทานดาวดูไก อธิบายการตั้งชื่อ ดาวบนทองฟา ๖. ตํานานและเทวปกรณ (Myth) เปนเรื่องราวที่เกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนาและ พิธีกรรมโบราณ เชน เทวปกรณของฮินดู ขุนบรมของลาว ทาวคันคากของอีสาน โครงเรื่อง ประกอบดวยอนุภาคหลายอนุภาค วาดวยกําเนิดของ จักรวาล กําเนิดของโลก มนุษยและสัตว ตัวละคร อาจเปนวีรบุรุษทองถิ่นหรือเทพเจา ตัวอยางเชน ปูสังกะสา ยาสังกะสี ขุนบรม พระมนูกับน้ําทวมโลก โครงเรื่อง


๑๓

๗. นิทานสัตว (Animal tale) คือ นิทานที่มีสัตวเปนตัวเอก และเปนตัวจําลอง พฤติกรรมของมนุษย โดยมุงความเพลิดเพลินเปนหลัก นิทานสัตวที่มีคติสอนใจ เรียกวา นิทานอุทาหรณ เชน นิทานอีสป นิทานชาดก โครงเรื่อง กลาวถึงการผจญภัยของสัตว พฤติกรรมสัตวมักเปนเรื่อง ของสัตวฉลาดกับสัตวโง ขนาดของเรื่อง สั้น ตัวอยางเชน นิทานอีสป นิทานชาดก ๘. มุขตลก (Jest) มุขตลกอาจแบงไดเปนสองประเภท คือ มุขตลกเจาปญญา ความ ขบขันอยูที่ความไมนาเปนไปไดของพฤติกรรม เชน เรื่องเกี่ยวกับความฉลาด ความโง การแก เผ็ด การคุยโว หรือขันพฤติกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของคนพิการ เชน นิทานเกี่ยวกับคน ตาบอด หูหนวก สวนมุขตลกหยาบโลน ความขันอยูที่เรื่องเพศ มักเปนเรื่องผิดประเวณี หรือ ขันการใชภาษา บางเรื่องใชวิธีการผวนคํา แตบางเรื่องใชศัพทเกี่ยวกับเพศตรง ๆ ซึ่งปกติจะ ไมนํามาพูดในสังคม ๙. นิทานคติ (Didactic tale) นิทานบางเรื่องมีจุดมุงหมายเพื่อเผยแพรศาสนาเปน เครื่องมือถายทอดคําสอน เชน การทําดี กฎแหงกรรม เปนตน ๑๐. นิทานเขาแบบ เปนนิทานที่มีแบบสรางพิเศษ (Pattorn) เชน มีโรงเรื่องเป น ลูกโซบาง มีวิธีการขบโดยไมคาดคิด หรือสามารถเลาโดยไมรูจบ กุหลาบ มัลลิกะมาส๑๓ ไดจําแนกนิทานพื้นบานออกเปน ๑๑ ประเภท และได กลาวถึงลักษณะและตัวอยางของนิทานแตละประเภท ซึ่งพอสรุปไดดังนี้ ๑. นิทานมหัศจรรย มีเรื่องราวเกี่ยวกับความมหัศจรรยเหนือธรรมชาติ เชน เทวดา นางฟา เปนตน ๒. นิทานชีวิต ชีวิตดําเนินเรื่องอยูในโลกแหงความจริง มีการบงสถานที่และตัว ละครชัดเจน อาจมีเรื่องของอิทธิปาฏิหาริยหรือความมหัศจรรย แตก็มีลักษณะที่ผูอานผูฟง เชื่อวาเปนสิ่งที่เปนไปไดมากกวาอิทธิปาฏิหาริยที่ปรากฏในนิทานมหัศจรรย ๓. นิทานวีรบุรุษ เปนนิทานที่มีขนาดคอนขางยาว ประกอบดวยหลายอนุภาค หลายตอน อาจอยู ใ นโลกแห ง จิ น ตนาการหรื อ โลกที่ ดู เ หมื อ นจะเป น จริ ง แม ว า นิ ท าน มหัศจรรยและนิทานชีวิตมีพระเอกที่มีลักษณะเปนวีรบุรุษ แตตางกับนิทานวีรบุรุษที่นิทาน ๑๓

- ๗๒.

ดูรายละเอียดใน กุหลาบ มัลลิกะมาส และคณะ, ภาษาไทย ๘ (คติชนวิทยาสําหรับครู), หนา ๖๐


๑๔

ประเภทหลังนี้เปนนิทานชุดเลาถึงเรื่องการผจญภัยของวีรบุรุษคนเดียวหลายครั้งหลายหน และมักเลาถึงการผจญภัยของวีรบุรุษที่มีลักษณะเหนือมนุษย ๔. นิทานประจําถิ่น มักเปนเรื่องแปลกพิสดารซึ่งเชื่อวาเคยเกิดขึ้นจริง ณ สถานที่ ใดสถานที่หนึ่ง ตัวละครและสถานที่บงไวชัดเจน อาจเปนเรื่องของบุคคลในประวัติศาสตร หรือคนสําคัญในเมือง ตัวละครอาจเปนมนุษย เทวดา สัตว หรือผีสางนางไม นิทานประจํา ถิ่นของไทยเชน เรื่องพระยากงพระยาพาน พระรวง เจาแมสรอยดอกหมอก ทาวปาจิตกับ นางอรพิม และเรื่องตาหมองลาย เปนตน ๕. นิทานอธิบายเหตุ เปนเรื่องที่อธิบายถึงกําเนิดหรือความเปนมาของสิ่งที่เกิดขึ้น ในธรรมชาติ อาจอธิบายถึงกําเนิดของสัตวบางชนิด สาเหตุที่สัตวบางชนิดมีรูปรางลักษณะ ตาง ๆ กําเนิดของพืช ดวงดาว มนุษยชาติ หรือสถาบัน เรื่องประเภทนี้มักจะสั้นและเลาอยางตรงไปตรงมา เพื่อตอบคําถามวาทําไมสิ่ง นั้นจึงเปนอยางนี้ เชน อธิบายวาทําไมจระเขจึงไมมีลิ้น ทําไมนกบางชนิดจึงพูดได กําเนิด ของดาวลูกไก กําเนิดของจันทรคราส เปนตน ๖. เทวปกรณ เปนเรื่องอธิบายถึงกําเนิดของจักรวาล โครงสรางและระบบของ จักรวาล มนุษย สัตว ปรากฏการณทางธรรมชาติ เชน ลม ฝน กลางวันกลางคืน ฟารอง ฟาผา ลําดับชั้นและบทบาทหนาที่ของมนุษย ตลอดจนพิธีกรรมการประพฤติปฏิบัติตาง ๆ วาเกิดขึ้นเมื่อไร เพราะเหตุใด ๗. นิทานสัตว เปนเรื่องที่สัตวเปนตัวเอก...สัตวที่เปนตัวเอกในนิทานของแตละ ชาติอาจไมเหมือนกัน เชน สุนัขจิ้งจอกเปนตัวเอกในนิทานสัตวของยุโรปและชาติอื่นอีกบาง ชาติ ในนิ ท านสั ต ว ข องพม า ตั ว เอกเป น กระต า ย นิ ท านสั ต ว ข องพวกอิ น เดี ย แดงใน สหรัฐอเมริกามีตัวเอกเปนโคโยตี ซึ่งเปนสัตวรูปรางคลายสุนัข และตัวเอกในนิทานสัตวของ บางชาติก็เปนลิง ๘. มุขตลก มักมีขนาดสั้น โครงเรื่องไมซับซอน มีเพียงอนุภาคเดียวตัวละคร อาจเปนมนุษยหรือสัตวก็ได จุดสําคัญของเรื่องอยูที่ความไมนาเปนไปไดตาง ๆ ๙ นิทานศาสนา เปนเรื่องเกี่ยวกับศาสนา แตไมใชประเภทเทวปกรณ เชน เรื่อง เลาเกี่ยวกับพระเยซูและนักบุญตาง ๆ ในคริสตศาสนา ซึ่งไมปรากฏในพระคัมภีร เชน เรื่อง พระเยซูและนักบุญปเตอรใหพรชาวนายากจนคนหนึ่ง ซึ่งใหการตอนรับอยางดียิ่ง...ไทยเราก็


๑๕

มีเรื่องเลาเกี่ยวกับพระพุทธเจาและพระสาวกซึ่งไมมีในพระไตรปฏกอยูหลายเรื่อง นิทาน ดังกลาวตามทรรศนะของผูเลามักถือวาเปนเรื่องจริง ๑๐. นิทานเรื่องผี นิทานเรื่องผี แทบทุกสังคมมีเรื่องเลาเกี่ยวกับผีตาง ๆ นานา ผีบางประเภทไม ปรากฏชั ด ว า มาจากไหน เกิ ด ขึ้ น ได อ ย า งไร เช น ผี ม า บ อ งและผี ป กกะโหล ง ของไทย ภาคเหนือ แตผีบางประเภทเปนวิญญาณของคนที่ตายไปแลว กลับมาหลอกหลอนผูที่มีชีวิต อยู ดวยรูปรางและวิธีการตาง ๆ ในหนังสือดรรชนีอนุภาคนิทานพื้นบานของสมิธ ทอมปสัน มีอนุภาคที่เกี่ยวกับผี ในนิทานชาติตาง ๆ หลายสิบอนุภาค เชน รถเขยื้อนไมไดเพราะผีนั่งอยู คนนอนหลับบน ทางเดินของผี ตนไมมีผีเฝาอยู นางฟาเปดเผยสมบัติของผี... ๑๑. นิทานเขาแบบ นิทานประเภทนี้โครงเรื่องมีความสําคัญเปนรองของแบบ สราง การเลาก็เลาเพื่อความสนุกสนานของผูเลาและผูฟงโดยแท บางเรื่องอาจใชในการเลน เกม มีหลายแบบ เชน นิทานลูกโซ นิทานหลอกผูฟง นิทานไมจบเรื่อง และนิทานไมรูจบ การจําแนกประเภทนิทานของกิ่งแกว อัตถากร และกุหลาบ มัลลิกะมาส ไดรับ อิทธิพลจากการจําแนกประเภทนิทานของชาวตะวันตก โดยเฉพาะอิทธิพลแนวคิดของทอมป สัน อยางไรก็ตาม แมจะมีรูปแบบของชาวตะวันตก แตก็สามารถจัดนิทานพื้นบานในลง ประเภทของนิทานเหลานี้ได เชน นิทานเรื่องจําปาสี่ตน นางสิบสอง สินไซ เปนตน มีลักษณะ เป น นิ ท านมหั ศ จรรย เพราะมี ก ารแสดงอิ ท ธิ ฤ ทธิ์ ป าฏิ ห าริ ย ต อ สู กั น , ลั ก ษณะของนิ ท าน พื้นบานโดยมากมีลักษณะเปนนิทานวีรบุรุษ เพราะตัวเอกของนิทานมีบทบาทโดดเดนเปน วีรบุรุษในการตอสูเอาชนะปญหาทั้งหลาย, ลักษณะของนิทานประจําถิ่น เชน ตํานานเมืองฟา แดดสงยาง พื้นเวียงจันทร เปนตน, นิทานชาดก เชน นกกระจอก เปนตน หรือเรื่องปลาบูทอง จัดเปนนิทานสัตว สวนนิทานที่มีลักษณะเปนกึ่งนิทานสัตว เชน แกวหนามา พระยาคันคาก เปนตน ตัวเอกของนิทานเหลานี้ไมไดเปนสัตวเหมือนตัวเอกในนิทานชาดก แตเปนมนุษยที่ ซอนตัวอยูในรูปของสัตว หรือกึ่งคนกึ่งสัตว นิทานตลก เชน ศรีธนญชัย เปนตน


๑๖

๒.๓ วรรณกรรมพื้นบานอีสาน ในหัวขอนี้ผูวิจัยจะไดศึกษาเกี่ยวกับวรรณกรรมพื้นบานอีสานประเภทนิทาน และ ประวัติความเปนมาของวรรณกรรมพื้นบานอีสานเรื่องพระยาคันคาก ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ๒.๓.๑ ลักษณะของวรรณกรรมพื้นบานอีสาน ธวัช ปุณโณทก๑๔ จําแนกลักษณะของวรรณกรรมพื้นบานอีสานไวดังนี้ ๑. วรรณกรรมอีสานสวนมากจะไมปรากฏผูประพันธ สาเหตุที่ไมนิยมระบุชื่อ ผูประพันธเพราะเปนการประพันธขึ้นมาดวยศรัทธา หากระบุชื่อก็มีลักษณะเหมือนกับการ ทําบุญเอาหนา ซึ่งเปนการผิดมารยาทในการทําบุญ ๒. วรรณกรรมอีสานเปนสิทธิ์ของชาวบาน คือชาวบานเปนผูสราง ผูอนุรักษ และ ผูใช โดยมีวัดเปนศูนยกลาง ชื่อบุคคลที่ปรากฏอยูทายเลมอาจจะเปนชื่อผูคัดลอกหรือผูจาง วานจารก็ได เพราะชาวอีสานเชื่อวาการสรางหนังสือถวายวัดเปนการทําบุญที่ไดอานิสงสมาก ๓. โครงเรื่องของวรรณกรรมนิทานอีสาน สวนใหญจะเปนเรื่องจักร ๆ วงศ ๆ เป น เรื่ อ งของอภิ นิ ห าร แสดงให เ ห็ น บุ ญ บารมี ข องตั ว ละครเอกในการปราบอธรรมด ว ย อภินิหาร ตัวละครเอกโดยมากมักเกิดในตระกูลสูงแลวมีเหตุใหตองพลัดพรากจากจากตระกูล ตองตกระกําลําบาก ตอสูกับอุปสรรคตาง ๆ ดวยความทุกขยาก เชน ถูกปุโรหิตชั่วใสราย เปน ตน แตในที่สุดก็สามารถเอาชนะอธรรมได ๔. บุคลิกของตัวละครในวรรณกรรมนิทานอีสาน มักจะกลาวถึงตัวพระเอกเปน สวนใหญ ซึ่งเปนพระโพธิสัตวจุติลงมาเกิดบําเพ็ญบารมี ลักษณะของตัวพระเอกจะเปนผูมี บุญญาธิการ มีวิชาศิลปะศาสตร มีคุณธรรมสูง และมีรูปงาม กษัตริยมีลักษณะเปนผูมีความตั้งพระทัยสูงในอันที่จะปกครองบานเมืองใหเกิดสุข จนถึงกับตองยอมเสียสละพระเทวีและพระโอรส เพื่อความอยูเปนสุขของประชาราษฎร คอนขางหูเบา หลงเชื่อคนชั่ว ขาดความรอบคอบในการตัดสินพระทัย และมีความเลื่อมใส ศรัทธาในพระพุทธศาสนา ๑๔

ดูรายละเอียดใน ธวัช ปุณโณทก, วรรณกรรมทองถิ่น, (กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๒๕), หนา ๑๗๕.


๑๗

นางกษัตริยหรือพระเทวีไมคอยมีบทบาทมาก กลาวโดยสรุปมี ๒ ประเภท คือ เปน คนไมดี มีพระทัยเปนอกุศล ทําแตกรรมชั่ว และเปนคนดี มีพระทัยเปนกุศล ทําตกรรมดี กลุมตัวละครที่เปนบริวารก็มีลักษณะเปน ๒ ประเภท คือ เปนคนไมดี มีจิตใจเปน อกุศล เชน ปุโรหิตหรืออํามาตยที่เห็นแกสินจางรางวัล แลวทรยศตอแผนดิน เปนตน และ พวกที่เปนคนดีมีศีลธรรม ซื่อสัตยตอผูปกครองตน สามารถที่จะรวมทุกขดวยกันได กลุมตัวละครที่เปนอมนุษย (ยักษ นาค ครุฑ) จะคอยเสริมบารมีของตัวละครเอก ใหเดนขึ้น คือคอยชวยเหลือในเวลาที่ตัวเอกเดือดรอน อุดม บัวศรี จําแนกลักษณะของวรรณกรรมพื้นบานอีสานที่เปนตํานานและนิทาน ไวดังนี้ ๑. ตํานานและนิทานพื้นบานอีสานไมนิยมการระบุชื่อผูแตง ทั้งนี้จะเห็นไดวาแทบ ทั้งหมดจะไมบอกชื่อผูแตงเลย จะมีตํานานและนิทานที่บอกชื่อผูแตงบางก็เปนสวนนอยมาก เช น พื้ น ขุ น บู ฮ มและพวกกาพย คํ า สอนต า ง ๆ เป น ต น ทั้ ง นี้ อ าจจะเป น เพราะไม ต อ งการ อวดอางชื่อประการหนึ่ง มีตนกําเนิดมาจากวรรณกรรมมุขปาฐะ ซึ่งไมทราบผูเลาตนเรื่อง แน นอนประการหนึ่ ง ประกอบกับ นิ ทานพื้น บา นอีส านแทบทั้ งสิ้ น จะเปน เรื่ อ งที่ อิ งพุ ท ธ ศาสนา ผู แ ต ง จึ ง อาจจะถื อ ว า ตนแต ง เป น เรื่ อ งศาสนาบู ช า และไม ก ล า ออกชื่ อ ตนไว ใ นที่ เดียวกันกับที่ซึ่งมีการออกชื่อพระพุทธเจาตามคานิยมทองถิ่น๑๕ ๒. ตํ า นานและนิ ท านพื้ น บ า นอี ส านนั้ น ส ว นมากเป น นิ ย ายเล า เรื่ อ งที่ เ กิ ด จาก จินตนาการ โดยอาศัยหลักการของเหตุผลในตัวของมันเอง ไมคํานึงถึงหลักเหตุผลตามความ จริง ดังนั้น จึงมีเรื่องราวที่เปนอภินิหารปรากฏอยูโดยทั่วในนิทานพื้นบานอีสานแทบทุกเรื่อง ๓. ตํ า นานและนิ ท านพื้ น บ า นมี ส ว นเกี่ ย วพั น กั บ การเล า เรื่ อ งหรื อ อ า งอิ ง พุ ท ธ ศาสนาเปนอยางมาก เชนเลาเรื่องพุทธประวัติ เลาเรื่องชาดก เลาเรื่องเหตุการณในพุทธศาสนา หรือแมในตํานานที่กลาวถึงเรื่องราวของชุมชนโบราณในภาคนี้ เชน อุรังคนิทาน ก็อางอิงถึง พุทธทํานาย กลาวคือ เลาเรื่องเกริ่นนําตนตํานานไววา ในสมัยพุทธกาลพระพุทธเจาไดเสด็จ มาในดินแดนนี้และไดพยากรณถึงเหตุการณและสถานที่ตาง ๆ ไวแทบทุกเมือง...เหลานี้เปน ตน ๑๕

อุดม บัวศรี, อางใน กองโบราณคดี กรมศิลปากร, พื้นอีสาน, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการ ศาสนา, ๒๕๓๑), หนา ๑๒๗.


๑๘

๔. ตํานานและนิทานพื้นบานอีสานนั้นนอกจากจะอยูในฐานะถายทอดเรื่องราว ตามปกติ แ ล ว ยั ง อยู ใ นฐานะตั ว กํ า หนดค า นิ ย มทางสั ง คมและสภาพความเป น อยู อี ก ด ว ย ดังนั้นเราจึงทราบถึงพฤติการณ สภาพความเปนอยู และคานิยมทางสังคมของภาคอีสานได เปนอยางดีจากตํานานและนิทานพื้นบานอีสาน ๕. ตํ า นานและนิ ท านพื้ น บ า นอี ส านนั้ น ได รั บ การถ า ยทอดเรื่ อ งราวและ แนวความคิดจากชุมชนในดินแดนแถบอื่นมาก จะเห็นไดวานิทานพื้นบานอีสานหลายเรื่องที่ รับการถายทอดมาจากดินแดนใกลเคียง โดยเฉพาะดินแดนแถบลานนาไทย เชน เรื่องสุพรหม โมกขา ลิ้นทอง ทาวก่ํากาดํา จําปาสี่ตน...และแถบลานชาง ซึ่งมีอาณาเขตปกคลุมมาถึงตอน เหนือของภาคอีสานปจจุบัน เชน พื้นเวียง หรือพื้นเวียงเมืองจันทร พื้นขุนบูฮม...เปนตน๑๖ การจําแนกลักษณะของนิทานพื้นบานอีสานของธวัช ปุณโณทก และ อุดม บัวศรี มีลักษณะคลายกันคือ จําแนกตามลักษณะของผูแตง โคลงเรื่อง และบุคลิกของตัวละคร ซึ่งจะ ทําใหเขาใจวรรณกรรมพื้นบานอีสานไดลึกซึ้งยิ่งขึ้น ๒.๓.๒ ประเภทของวรรณกรรมพื้นบานอีสาน วรรณกรรมพื้นบานอีสานมีวัดเปนศูนยกลางในการอนุรักษและเผยแผ เปนงาน เขียนที่สะทอนใหเห็นถึงความเชื่อและคานิยมของคนอีสานไดเปนอยางดี ซึ่งโดยมากไดรับ อิทธิพลแนวคิดมาจากพระพุทธศาสนา และเปนการผสมผสานกันระหวางความเชื่อทาง พระพุทธศาสนากับความเชื่อเรื่องภูตผีวิญญาณ ซึ่งปราชญอีสานไดสื่อนิทานทั้งหลายเพื่อ ต อ งการสอนจริ ย ธรรมหรื อ คติ ใ นการดํ า เนิ น ชี วิ ต แก ลู ก หลาน ประเภทของวรรณกรรม พื้นบานอีสาน รวบรวมไดดังนี้ ๑. วรรณกรรมพุทธศาสนา ไดแก วรรณกรรมประเภทชาดก และตํานานทาง พระพุทธศาสนา วรรณกรรมชาดก เชน ทาวปาจิต (ไดรับอิทธิพลมาจากปาจิตตกุมารชาดก) นกกระจอก เปนตน สวนวรรณกรรมตํานานพระพุทธศาสนา เชน อุรังคนิทาน ชมพูทวีป ปฐมกัป เปนตน ๒. วรรณกรรมประวัติศาสตร ไดแก เรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร เชน ทาวฮุง ทาวเจือง ซึ่งเปนนักรบลุมแมนํ้าโขง มีบทบาทในการขยายอาณาเขตคนไทยไปไดกวางขวาง คือทิศเหนือจดเมืองแถน ทิศตะวันตกจดเมืองมอญ เมืองนาน ทิศตะวันออกไดเมืองแกวหรือ ๑๖

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๒๗.


๑๙

ญวนเหนือเปนอาณาเขต เรื่องราวของทาวฮุง ทาวเจืองนี้ตรงกับตํานานพระยาเจือง ผูเปน วีรบุรุษสรางเมืองเชียงใหม, พื้นเวียงจันทร เปนตํานานกรสรางเมืองเวียงจันทร และเมือง นครพนม (ศรีโคตรบูรณ) ๓. วรรณกรรมนิ ท าน ได แ ก เรื่ อ งเล า ที่ มี จุ ด มุ ง หมายในการสอนศี ล ธรรม จริยธรรม หรือคติธรรมในการดําเนินชีวิต เชน บัวฮม บัวฮอง ปลาแดก ปลาสมอ สินไซ เปน ตน ๔. วรรณกรรมคําสอน ไดแก วรรณกรรมที่มีลักษณะเปนเทศนาโวหาร มุงสอน ใหผูอานไดความรูและยึดถือปฏิบัติในการดําเนินชีวิต เชน ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ ทาวคําสอน กาพยปูสอนหลาน เปนตน ๕. วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด ไดแก วรรณกรรมที่ไมอาจจัดเขาในวรรณกรรมประเภท อื่น ๆ ได เชน สูดขวัญเด็ก นิทานกอม เปนตน๑๗ กรมศิลปากรกําหนดวรรณกรรมพื้นบานอีสานประเภทนิทานที่ไดรับความนิยมไว ทั้งหมด ๕๙ เรื่อง ซึ่งทั้ง ๕๙ เรื่องนี้ จําแนกออกเปน ๕ ประเภท คือ ๑. นิทานบันทึกเหตุการณ หมายถึง นิทานที่แตงขึ้นเพื่อมุงที่จะบันทึกเหตุการณ ใดเหตุ ก ารณ ห นึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ซึ่ ง อาจจะเป น เหตุ ก ารณ ท างศาสนาหรื อ เหตุ ก ารณ ท าง ประวัติศาสตรก็ได เชน เรื่องราวของการสืบศาสนา หรือเรื่องการสงคราม เปนตน ๒. นิทานเลาเรื่องสถานที่ หมายถึง นิทานที่แตงขึ้นเพื่ออธิบายถึงตํานานการเกิด ของสถานที่ตาง ๆ อาทิเชนนิทานเรื่องจึงคึ่งดังแดงเลาถึงการเกิดของแกงคุดคู และภูควายเงิน ในเขตจังหวัดเลย นิทานเรื่องอุรังคนิทานเลาเรื่องการสรางพระธาตุพนม เหลานี้เปนตน ๓. นิทานเลาเรื่องเพื่อความบันเทิง หมายความถึงนิทานเลาเรื่องทั่ว ๆ ไป ซึ่งมีทั้ง ที่เปนนิทานเรื่องราวของชาวบานและนิทานจักร ๆ วงศ ๆ ๔. นิทานพุทธศาสนา หมายถึง นิทานที่เลาเรื่องราวที่เกี่ยวกับพุทธศาสนา มีทั้งที่ เปนเรื่องของประวัติทางพุทธศาสนา และเรื่องที่เปนชาดกตาง ๆ ๕. นิท านคติธ รรม หมายถึ ง นิ ทานที่ แต งขึ้นโดยแทรกคติ ธ รรมคํ า สอนหรื อ จุดมุงหมายในการแตงเพื่อใหการสั่งสอนทางจริยธรรม อยางไรก็ตามดังที่กลาวมาแลววานิทานพื้นบานอีสานนั้นมักจะมีหลายลักษณะใน เรื่องเดียวกัน กลาวคือ ในนิทานเรื่องหนึ่ง ๆ อาจจะเปนทั้งนิทานเลาเรื่องเพื่อความบันเทิง ใน ๑๗

ดูรายละเอียดใน ธวัช ปุณโณทก, วรรณกรรมทองถิ่น, หนา ๑๗๖ – ๑๘๒.


๒๐

ขณะเดียวกันก็เปนทั้งนิทานเลาเรื่องสถานที่และแทรกคติธรรมคําสอนไวดวย จึงเปนการยาก ที่จะจัดแบงนิทานอีสานแตละเรื่องใหอยูในประเภทใดประเภทหนึ่งอยางแนนอน...จะเสนอ จัดแบงประเภทของนิทาน ฯ ออกมาในรูปของตารางแสดงการจําแนกประเภทดังตอไปนี้ ตารางแสดงการจําแนกประเภทนิทานพื้นบานอีสานตามลักษณะเนื้อเรื่อง

๑. กองขางนอยฆาแม ๒. กาฬเกษ ๓. แกวหนามา ๔. กําพราผีนอย ๕. ไกแกวหอมฮู ๖. ขุนทึง ๗. ขูลูนางอั้ว ๘. จึงคึงดังแดง ๙. จําปาสี่ตน ๑๐. เจ็ดคะนน ๑๑. เชตพน ๑๒. เซียงเมี่ยง ๑๓. ตํานานเมืองฟา แดดสงยาง ๑๔. ทาวก่ํากาดํา ๑๕. ทาวคันธนาม ๑๖. ทาวจักรษิณ พรหมริน ๑๗. ทาวจันทโครบ ๑๘. ทาวประจิต นาง

นิทานบันทึก นิทานเลา นิทานเพื่อ นิทานทาง นิทานคติ ธรรม เหตุการณ เรื่องสถานที่ ความบันเทิง พุทธศาสนา X X X X X X X X X X X X X X X X X X X

X

X X


๒๑

นิทานบันทึก นิทานเลา นิทานเพื่อ นิทานทาง นิทานคติ เหตุการณ เรื่องสถานที่ ความบันเทิง พุทธศาสนา ธรรม อรพิม ๑๙. ทาวผาแดงนางไอ ๒๐. ทาววัวทอง ๒๑. ทาวสิงหกาโล กระตายคํา ๒๒. ทาวสีทน ๒๓. ทาวสังคทัต ๒๔. ทาวโสรัจ ๒๕. ทาวหมาหยุย ๒๖. ทาวหูดสามเปา ๒๗. ทาวฮุงขุนเจือง ๒๘. นกกระจอก ๒๙. นรชีวชาดก ๓๐. นางแตงออน ๓๑. นางตันไตร ๓๒. นางผมหอม ๓๓. นางสิบสอง ๓๔. บัวฮม บัวฮอง บัวเฮียง ๓๕. ปลาแดกปลา หมอ ๓๖. พญาคันคาก ๓๗. พญาสุวรรณ กัจฉะ ๓๘. พระกึดพระพาน ๓๙. พระปลาคอ

X X X X X X X X X X X X X X X X

X

ชาดก

ชาดก ชาดก

X X X X

X X

ชาดก


๒๒

๔๐. พระลักพระลาม ๔๑. พื้นขุนบูฮม ๔๒. พื้นเวียงจันทร ๔๓. มณีสัจจา ๔๔. มูนกิตติ ๔๕. ลิ้นทอง ๔๖. ลํามหาชาติ ๔๗. สินไช ๔๘. สุทธนูชาดก ๔๙. สุปุณณานาค ชาดก ๕๐. สุพรหมโมกขา ๕๑. สุริยคราส จันทรคราส ๕๒. สุริวงศ ๕๓. เสียวสวาด ๕๔. แสงมณีแยงโลก ๕๕. ศุภมิตรเกศินี ๕๖. หนาผากไกล กะดน ๕๗. อินปตถา ๕๘. อุปคุตผาบมาร ๕๙. อุรังคนิทาน๑๘

นิทานบันทึก นิทานเลา นิทานเพื่อ นิทานทาง นิทานคติ เหตุการณ เรื่องสถานที่ ความบันเทิง พุทธศาสนา ธรรม X X X X X X ชาดก X X ชาดก X ชาดก X X

ชาดก

X X ชาดก X X X X X

X

X X X

๑๘

กรมศิลปากร, พื้นอีสาน, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๓๑), หนา ๑๐๗ – ๑๐๙.


๒๓

ขอสังเกตในการจัดประเภทนิทานพื้นบานอีสานนี้คือ โดยมากจะเปนประเภท นิทานเพื่อความบันเทิง หากไดศึกษาดูจะเห็นวา โดยมากเปนเรื่องจักร ๆ วงศ เลาเกี่ยวกับ อภินิหาร การตอสูผจญภัยของตัวเอกนิทาน แมจะไมไดจัดประเภทไวในนิทานคติธรรม แต นิทานโดยมากจะเปนคติธรรมสอนใจไดทั้งในเรื่องของการศึกษา การปกครอง เศรษฐกิจ หลักธรรมชาติ และหลักจริยธรรม สวนประมวล พิมพเสน ไดจําแนกประเภทนิทานพื้นบานอีสานไวดังนี้ ๑ นิทานคติธรรม นิทานคติธรรมสวนใหญจะเกิดจากลัทธิความเชื่อและเกิดจาก ศาสนา จะมีอยูบางที่นักปราชญชาวบานหรือผูรูในหมูบานแตงขึ้นมาเพื่อเปนคติเตือนใจ เปน นิทานที่แฝงไวดวยแนวคิด หลักการ หลักธรรมะ ผูฟงสามารถแยกแยะสรุปรวบยอดออกมา เปนคติสอนใจได นิทานของชาวอีสานสวนใหญจะเปนนิทานคําสอน โดยยึดหลักธรรมจาก พุทธศาสนา พระพุทธเจาเปนบุคคลหนึ่งที่ชํานาญในการเลานิทาน นิทานในชากดตาง ๆ จึงมี มากมาย นิทานประเภทนี้ผูใหญจะสนใจมากกวาเด็ก ถาเปนนิทานคติธรรมที่เกิดจากชาวบาน สวนใหญจะมีคําสอน คําสุภาษิต คําผญา ปะปนอยู เปนการสอนคนใหรูจักขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือกฎหมาย จารีตประเพณีของสังคมทั่วไป มีขอหามที่เรียกวา ขะลํา และขอควร ปฏิบัติ เรียกวา คอง หรือเรียกรวมกันวา ฮีตคอง ผูที่จะเลานิทานคติธรรมไดจะตองเปนคนที่ สังคมยกยองใหเกียรติเชื่อถือ เชน พระ ครู จารยครู จารยซา ผูใหญบาน จ้ํา เปนตน... ๒. นิทานตํานาน เปนนิทานที่แสดงตํานานประวัติความเปนมาของสรรพสิ่งตาง ๆ เปนการแตงขึ้นมาเพื่ออธิบายหรือเพื่อหาขอยุติธรรมขอสงสัยตาง ๆ ในสังคมโลกเชน ภูเขา ทองฟา ดวงดาวตาง ๆ หรือเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น อยางกรณีที่ตอนพระพุทธเจาเสด็จกลับ กรุงกบิลพัสดุเพื่อโปรดพระประยูรญาติ เกิดฝนโบกขรพรรษตกเปนสีแดง ใครใครเปยก เปยก ใครไมอยากเปยกก็ไมเปยก แสดงตํานานวาฝนแบบนี้เคยเกิดขึ้นแลวในตอนที่พระเวสสันดร เสด็จกลับเขาเมือง ไดพบหนากันทั้งหกกษัตริย นิทานตํานานของอีสานก็มีอยูมาก เปนตํานาน ของสิ่งตาง ๆ รอบตัวเรา เพื่อมิใหสูญหายไป เราควรชวยกันคนหาและบันทึกเอาไว และก็มี บ อ ยครั้ ง เหมื อ นกั น ที่ ตํ า นานเหล า นั้ น เกิ ด มาตรงกั น มี ชื่ อ เรี ย กขานสิ่ ง ต า ง ๆ ซี่ ง เป น สวนประกอบตรงกัน อยางเชน เรื่องผาแดงนางไอ หนองหาน จ.อุดรธานี และหนองหาน จ. สกลนคร เปนตน นิทานอาจจะมีมากอน แลเรามาตั้งชื่อสถานที่ใหตรงกับเรื่องก็ได จะอยางไร ก็ตาม นิทานตํานานก็ยังใหประโยชนทั้งดานแงคิดและความสนุกสนาน บางครั้งอาจทําให


๒๔

เกิดความภูมิใจในทองถิ่นของตนเองอีกดวย ๓. นิทานเจาปญญา นิทานประเภทนี้ผูเขียนคิดวาจะยังคงเหลืออยูมากกวาสอง พวกที่กลาวมา เพราะสามารถเพิ่มพูนความรูแกผูฟงไดเปนอยางดี เซียงเมี่ยง เณรนอยกับ หลวงพ อ หรื อ ประเภทพ อ ตากั บ ลู ก เขย ในวรรณกรรมอี ส านส ว นใหญ ตั ว เอกจะรู ป ร า ง อัปลักษณและปญญาเฉียบแหลม แกไขปญหาตาง ๆ ไดอยางไมคาดหมาย นิทานเจาปญญา นั้นมีทั้งขอดีและขอเสีย ขอดีคือแสดงภูมิปญญาตาง ๆ ใหเด็กไดทราบ ใหความสนุกสนาน ขอเสียคือหากปญญาหรือเรื่องราวตาง ๆ ที่แสดงออกมานั้นเปนการลาสมัยหรือเปนตัวอยางที่ ไม ดี เด็ ก จะนํ า มาใช เกิ ด ผลเสี ย การเล า จึ ง ต อ งบอกผู ฟ ง ให ท ราบก อ นว า เรื่ อ งไม ดี ห รื อ เหมาะสมเพียงใด บางครั้งอาจจะมีเลหเหลี่ยมกลโกงเพื่อเอาชนะกัน ผูฟงสวนใหญตองการจะ เปนผูมีปญญาดี ๔. นิทานมุขตลก นอกจากเรื่องจะตลกขบขันแลว คนเลาตองมีบุคลิกตลกดวย เรื่องเดียวกันคนหนึ่งเลาอาจจะไมขัน แตพออีกคนหนึ่งเลากลับขบขันสนุกสนาน การเลา นิทานประเภทนี้ตองรูจักปรับเอาเหตุการณปจจุบันมาชวย ตองรูจักปรับปรุงเรื่องราวหรือ เนื้อหาใหเหมาะสมกับผูฟง เหตุการณและกาลสมัย... ๕. นิ ท านเบ็ ด เตล็ ด เป น นิ ท านเล็ ก ๆ น อ ย ๆ ไม จั ด อยู ใ นพวกใดที่ ก ล า วมา สวนมากจะไมคอยยืดยาวนัก เหมาะที่จะเลาในชวงเวลานอย หรือผูฟงเปนเด็กอนุบาลหรือ ประถม เปดเรื่องขึ้นมาเปนที่ตื่นเตนนาสนใจ ตัวละครนอย เหตุการณนอย ไมสลับซับซอน หรือวกไปเวียนมา ภาษาฟงงายไมมีสํานวนที่จะตองมาแปลใหยุงยาก... ๖. นิทานขําขัน จริง ๆ แลว นิทานขําขันก็คลาย ๆ กับนิทานมุขตลก จะตางกันก็ แตวานิทานมุขตลกจะเปนเรื่องยาว มีมุขตลกมากกวา ตัวละครมากกวา มีเหตุการณหลาย เหตุการณเกี่ยวพันกันไป นิทานขําขันจะเปนการเลาเหตุการณ เลาเรื่องสั้น ๆ แตขํา สวนมาก จะเปนการเลาสูกันฟงในสังคมที่มีความสนิทสนมกันเปนพิเศษ บางครั้งอาจเปนเรื่องลามก โปกฮา ไมมีอะไรเปนกฎเกณฑที่แนนอน...๑๙ วรรณกรรมตามทัศนะของธวัช ปุณโณทก แมจะมีหลายประเภท เชน วรรณกรรม พระพุทธศาสนา วรรณกรรมประวัติศาสตร วรรณกรรมนิทาน เปนตน แตก็ไดแกนิทานตาม ทัศนะของกรมศิลปากร และประมวล พิมพเสน นั่นเอง คือธวัช ปุณโณทก เรียกนิทานที่ ๑๙

ประมวล

หนา ๑๒ – ๑๕.

พิมพเสน, นิทานพื้นบานอีสาน ๑, (ขอนแกน : หจก. โรงพิมพคลังนานาวิทยา, มปป.),


๒๕

เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาวา วรรณกรรมพุทธศาสนา นิทานเกี่ยวกับประวัติศาสตร เรียกวา วรรณกรรมประวัติศาสตร นิทานเกี่ยวกับตํานาน เรียกวา วรรณกรรมตํานาน แตวรรณกรรมที่ ไมมีลักษณะเปนนิทานก็มี คือวรรณกรรมคําสอน และวรรณกรรมเบ็ดเตล็ดบางเรื่อง เพราะ วรรณกรรมทั้ง ๒ ประเภทนี้มีลักษณะเฉพาะตน คือวรรณกรรมคําสอนเปนเรื่องของการ อบรมสั่ ง สอน เช น ธรรมดาสอนโลก อิ น ทิ ญ าณสอนลู ก ย า สอนหลาน เป น ต น ส ว น วรรณกรรมเบ็ดเตล็ดมีการเขียนขึ้นมาโดยมีจุดมุงหมายแตกตางกัน เชน สูดขวัญเรือน เพื่อ ความเปนศิริมงคลแกเรือน, นิทานโตงโตย เพื่อความสนุกสนาน เปนตน นิทานบางเรื่อง เชน พระยาปลาคอ เปนตน ธวัช ปุณโณทก ไมจัดไวในประเภทวรรณกรรมนิทาน แตจัดไวใน ประเภทวรรณกรรมเบ็ดเตล็ด เพราะเห็นวาวรรณกรรมดังกลาวนี้ใชเทศนในพิธีขอฝน สวน กรมศิลปากรจัดไวในประเภทนิทานเพื่อความบันเทิงและชาดก ตามการจําแนกประเภทนิทานของกรมศิลปากร และประมวล พิมพเสน หาก พิจารณาตามศัพท จะเห็นวานิทานบางประเภทมีความคลายคลึงกัน คือนิทานประเภทบันเทิง กับนิทานประเภทมุขตลกและนิทานประเภทขําขัน แตความจริงแลวนิทานทั้ง ๓ ประเภทนี้มี ความแตกตางกัน คือนิทานประเภทบันเทิงเปนนิทานที่ฟงแลวเกิดความเพลิดเพลิน ซึ่งมี เนื้อหาเปนการผจญภัยของตัวละครเอก เปนตน ตางจากนิทานประเภทมุขตลกและประเภทขํา ขันที่มุงความสนุกสนานแกผูฟง ซึ่งโดยมากมีเนื้อหาสั้น ๆ หรือที่เรียกวา นิทานกอม ๒.๔ พฤติกรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสานประเภทนิทาน กรมศิลปากรไดจําแนกพฤติกรรมที่ปรากฏในนิทานพื้นบานอีสานออกไดเปน ๒ อยางคือ พฤติกรรมซ้ําซอน และพฤติกรรมแปลกแยก ดังนี้ พฤติ ก รรมซ้ํ า ซ อ นนั้ น หมายถึ ง พฤติ ก รรมที่ ป รากฏพบอยู ซ้ํ า ๆ กั น ในนิ ท าน พื้นบานอีสานจํานวนมาก ซึ่งจะเปนเพียงเหตุการณหรือลักษณะยอย ๆ ในนิทานเรื่องนั้น หรือ อาจจะถึงกับเปนรูปแบบโครงเรื่องเลยทีเดียวก็ได สวนพฤติกรรมแปลกแยกนั้นหมายความถึงพฤติกรรมหรือลักษณะพิเศษที่พบใน นิทานพื้นบานอีสานเพียงจํานวนนอย จนสังเกตเห็นไดวามีความแปลกแยกออกไปจากนิทาน พื้นบานอีสานสวนมาก


๒๖

พฤติ ก รรมซ้ํ า ซ อ นที่ ป รากฏอยู ใ นนิ ท านพื้ น บ า นอี ส านที่ น า สนใจนั้ น ก็ ไ ด แ ก พฤติกรรมดังตอไปนี้ คือ ๑. ตัวเอกละครในนิทานพื้นบานอีสานนั้นมักจะเปนลูกคนเดียวมากกวาจะมีพี่นอง รวมบิดามารดาเดียวกัน ดังจะเห็นไดจากนิทานดังตอไปนี้ คือ ๑.๑ นิทานพื้นบานอีสานที่ตัวละครเอกเปนลูกคนเดียว ไดแก กองขาว นอยฆาแม กาฬเกษ แกวหนามา กําพราผีนอย ไกแกวหอมฮู ขูลูนางอั้ว เจ็ดคะนน ทาวก่ํากาดํา ทาวจักษิณพรหมริน ทาวจันทโครบ ทาวประจิตนางอรพิม ทาวผาแดงนางไอ ทาวสิงหกาโลก ระตายคํา ทาวสังคทัต ทาวโสรัจ ทาวหูดสามเปา นกกระจอก นางแตงออน ปลาแดกปลาหมอ พญาคันคาก พระกึดพระพาน มูนกิตติ ลิ้นทอง มหาชาติ สุทธนูชาดก สุปุณณานาคชาดก สุ พรหมโมกขา สิริวงศ เสียวสวาด หนาผากไกลกะดน และทาวสีทน ๑.๒ นิ ท านพื้ น บ า นอี ส านที่ ตั ว ละครเอกมี พี่ น อ งร ว มบิ ด ามารดา เดียวกัน ไดแก พระลักพระลาม มณีสัจจา สุริยคราสจันทรคราส ศุภมิตรเกศินี อินทปตถา ทาว ฮุง ทาวหมาหยุย บัวฮมบัวฮองบัวเฮียง จําปาสี่ตน สินไซ นางสิบสอง ๒. ตัวละครเอกในนิทานพื้นบานอีสานมักจะเกิดในตระกูลกษัตริยมากกวาจะเปน สามัญชน ดังจะเห็นไดจากนิทานดังตอไปนี้ คือ ๒.๑ นิทานพื้นบานอีสานที่ตัวละครเอกเกิดในตระกูลกษัตริย ไดแก กาฬเกษ ขุนทึง ขูลูนางอั้ว จําปาสี่ตน ตํานานเมืองฟาแดดสงยาง ทาวจักรษิณพรหมริน ทาว จันทโครบ ทาวประจิตนางอรพิม ทาวผาแดงนางไอ ทาวสิงหกาโลกระตายคํา ทาวสีทน ทาว สังคทัต ทาวโสรัจ ทาวหมาหยุย ทาวฮุง นกกระจอก นางแตงออน นางผมหอม บัวฮมบัวฮอง บัวเฮียม พญาคันคาก พระกึดพระพาน พระลักพระลาม มูนกิตติ ลิ้นทอง มหาชาติ สินไซ สุทธนูชาดก สุริวงศ ศุภมิตรเกศินี หนาผากไกลกระดน ๒.๒ นิทานพื้นบานอีสานที่ตัวละครเอกเปนสามัญชน ไดแก กองขาว นอยฆาแม แกวหนามา กําพราผีนอย ไกแกวหอมฮู จึงคึ่งดังแดง เจ็ดคะนน เซี่ยงเมี่ยง ทาวก่ํา กาดํา ทาวคันธนาม ทาวหูดสามเปา นรชีวชาดก นางตันไตร นางสิบสอง ปลาแดกปลาหมอ มณีสัจจา สุพรหมโมกขา สุริยคราสจันทรคราส เสียวสวาด อินทปตถา อยางไรก็ตามเปนที่นาสังเกตวา นิทาน ฯ ที่มีตัวละครเอกเปนสามัญชนนั้นก็จะมี จํานวนไมนอยเชนกัน และมักเปนครอบครัวสามัญชนธรรมดา นิทาน ฯ ที่ตัวละครเอกยากจน ถึงกับเปนขอทานนั้นมีเพียง ๓ เรื่องเทานั้น คือ กําพราผีนอย นรชีวชาดก และสุพรหมโมกขา


๒๗

๓. ตัวละครเอกมักจะไดเปนกษัตริยในตอนจบของเรื่อง อาทิเชน ไกแกวหอมฮู กาฬเกษ กําพราผีนอย ขุนทึง จําปาสี่ตน ทาก่ํากาดํา ทาวจักษิณพรหมริน ทาวประจิตนาง อรพิม ทาวสีทน ทาวสังคทัต ทาวโสรัจ ทาวหมาหยุย ทาวหูดสามเปา นกกระจอก ปลาแดก ปลาหมอ พญาสุวรรณกัจฉะ พระลักพระลาม ลิ้นทอง มูนกิตติ มหาชาติ สุปุณณานาคชาดก สุ พรหมโมกขา สุริยคราสจันทรคราส สุริวศ ศุภมิตรเกศินี ทาวฮุง ๔. ตัวละครเอกในนิทานพื้นบานอีสานนั้นตัวละครเอกมักจะมีคูครองเพียงคน เดียว ดังจะเห็นไดจากนิทานตอไปนี้ คือ ๔.๑ นิทานพื้นบานอีสานที่ตังละครเอกมีคูครองคนเดียว ไดแก กําพรา ผีนอย ไกแกวหอมฮู ขูลูนางอั้ว ตํานานเมืองฟาแดดสงยาง ทาวก่ํากาดํา ทาวคันธนาม ทาว จักษิณพรหมริน ทาวจันทโครบ ทาวประจิตนางอรพิม ทาวผาแดงนางไอ ทาวสีทน ทาวสังค ทัต ทาวหูดสามเปา นกกระจอก นางผมหอม บัวฮมบัวฮองบัวเฮียง ปลาแดกปลาหมอ พญาคัน คาก สุวรรณกัจฉะ พระปลาคอ พระลักพระลาม มณีสัจจา มหาชาติ สุทธนูชาดก สุปุณณานาค ชาดก สุริยคราสจันทรคราส ศุภมิตรเกศินี อินทปตถา ๔.๒ นิทานพื้นบานอีสานที่ตัวละครเอกมีคูครองหลายคน ไดแก กาฬ เกษ ขุนทึง จําปาสี่ตน ทาวโสรัจ นางแตงออน นางตันไตร พระกึดพระพาน ลิ้นทอง สุพรหม โมกขา สุริวงศ ทาวฮุง ๕. บทบาทของละครตัวเอกในนิทานพื้นบานอีสานที่มีตอคูครองของตนนั้นเปน ที่นาสังเกตวา นิทาน ฯ เรื่องใดที่ตัวละครเอกเปนสามัญชนแลวมักจะไดเปนลูกกษัตริยเปน คูครอง อยางเชน ไกแกวหอมฮู ทาวหูดสามเปา ปลาแดกปลาหมอ พญาสุวรรณกัจฉะ สุ พรหมโมกขา สุริยคราสจันนทรคราส เปนตน แตหากตัวละครเอกเปนกษัตริยแลวก็อาจได คูครองมีฐานะตาง ๆ กัน เชน ชาวบาน ธิดากษัตริย หรือแมแตเปนอมนุษย เชน กินนรี นาง นาค นางชะนี... ขอที่นาสังเกตอีกประการหนึ่งก็คือตัวละครเอกที่เปนสามัญชนนั้นจะมีคูครองคน เดียวเสมอ ในขณะที่ตัวละครเอกที่เปนกษัตริยนั้นอาจจะมีคูครองคนเดียวหรือหลายคนก็ได ๖. ถึ ง แม ว า ตั ว ละครเอกในนิ ท านพื้ น บ า นอี ส านส ว นมากจะมี ห น า ตารู ป ร า ง สวยงามก็ ต าม แต ก็ มี นิ ท าน ฯ จํ า นวนไม น อ ยที่ ตั ว ละครเอกมี ห น า ตาน า เกลี ย ดหรื อ เป น อมนุษย เชน แกวหนามา จึงคึ่งดังแดง เจ็ดคะนน ทาวก่ํากาดํา ทาววัวทอง ทาวสิงหกาโลก ระตายคํา ทาวหมาหยุย ทาวหูดสามเปา พญาคันคาก สุวรรณกัจฉะ พระกึดพระพาน สินไซ สุ


๒๘

ปุณณานาคชาดก หนาผากไกลกระดน ๗. มีนิทานพื้นบานอีสานหลายเรื่อง ซึ่งตัวละครที่เปนยาจําสวน (คนวสนของ พระราชา) ซึ่งในนิทานเหลานี้ทุกเรื่อง ตัวละครนี้จะรับบทบาทเปนคนดีซึ่งจะคอยชวยเหลือ อุปการะตัวละครเอกของเรื่อง อาทิเชน เรื่องกําพราผีนอย ไกแกวหอมฮู จําปาสี่ตน ทาวก่ํากา ดํา ทาวจักรษิณพรหมริน ทาววัวทอง และอินทปตถา ๘. ตัวละครเอกในนิทาน ฯ นั้นสวนมากมักจะถูกเกลียดชัง กลั่นแกลง ทํารายจาก พอของภรรยา เชน เรื่องกาฬเกษ ไกแกวหอมฮู เซียงเมี่ยง ตํานานเมืองฟาแดดสงยาง ทาวก่ํากา ดํา ทาวสังคทัต ทาหูดสามเปา สุวรรณกัจฉะ พระกึดพระพาน ลิ้นทอง และทาวฮุง ซึ่งทั้งนี้ สวนมากตัวเอกมักจะเอาชนะหรือฆาพอของภรรยาลงได ยกเวนเรื่องตํานานเมืองฟาแดดสง ยาง และพระกึดพระพาน ๙. ในนิทานพื้นบานอีสาน มักจะมีเหตุการณที่ตัวเอกถูกกษัตริยพยายามแยงชิง ภรรยาไป ซึ่งทุกเรื่องก็จะคลี่คลายออกมาในรูปที่ตัวเอกนั้นเอาชนะไดในที่สุด นิทานเหลานี้ ไดแก กําพราผีนอย ไกแกวหอมฮู ขูลูนางอั้ว ทาวประจิตนางอรพิม ปลาแดกปลาหมอ พระลัก พระลาม สุพรหมโมกขา และสุริยคราสจันทรคราส ๑๐. รูปแบบที่มักปรากฏใหเห็นในนิทานพื้นบานอีสานอีกอยางหนึ่งก็คือ การที่มี ตัวละครเอกของฝายหญิงซอนตัวหนีภัย หรือซอนตัวเพื่อไมใหตัวละครเอกฝายชายพบ ดังจะ เห็นไดจากในนิทาน ฯ เรื่อง กํารพราผีนอย (ซอนตัวอยูในงาชาง) จําปาสี่ตน (ซอนตัวอยูใน กลอง) ทาวคันธนาม (ซอนตัวอยูในกลอง) ทาวจันทโครบ (ซอนตัวอยูในผอบ) ปลาแดกปลา หมอ (ซอนตัวอยูในงาชาง) และสุพรหมโมกขา )ซอนตัวอยูในหัวกะโหลก) (จึงสันนิษฐานวา นิทานเหลานี้นาจะมีการเลียนรูปแบบกัน) ๑๑. รูปแบบของเรื่องที่ตัวละครเอกตายแลวถูกแกไขจนฟนคืนขึ้นมานั้น ปรากฏ อยูในนิทานพื้นบานอีสานหลายเรื่องเชนกัน อาทิ เรื่องกาฬเกษ จําปาสี่ตน ทาวสังคทัต ทาง โสรัจ สินไซ สุริยคราสจันทรคราส และสุริวงศ สําหรับพฤติกรรมแปลกแยกในนิทานพื้นบานอีสานที่นาสนใจนั้นก็มีดังนี้ คือ ๑. นิทานพื้นบานอีสานมักจะจบลงอยางมีความสุข เรื่องที่เปนโศกนาฏกรรมนั้นมี เพียง ๑๐ เรื่องเทานั้น คือ กองขาวนอยฆาแม ขุนทึง ขูลูนางอั้ว ตํานานเมืองฟาแดดสงยาง ทาว จันทโครบ ทาผาแดงนางไอ นางสิบสอง นางสิบสอง พระกึดพระพาน พระปลาคอ และทาว ฮุง


๒๙

๒. นิทานพื้นบานอีสานที่มีเนื้อเรื่องเปนนิทานเสียดสีหรือนิทานแสนกลมีเพียง เรื่ อ งเดี ย ว คื อ เซี ย งเมี่ ย ง (สี ท ะนนไซย) (เฉพาะเรื่ อ งเซี ย งเมี่ ย งนั้ น นอกจากจะเป น นิ ท าน พื้นบานอีสานแลวยังปรากฏวาเปนนิทานพื้นบานของภาคกลางดวย) ๓. นอกจากเรื่องเซียงเมี่ยง ซึ่งเปนนิทานเสียดสี และเสียวสวาด ซึ่งเปนนิทาน ปริศนาธรรมแลว นิทานพื้นบานอีสาน ซึ่งมีเนื้อเรืองผิดศีลธรรมและไมคํานึงถึงคานิยมของ สังคม ก็มีเพียงเรื่องเดียว คือเรื่องอินทปตถา ซึ่งจบเรื่องลงโดยใหพี่ชายแตงงานกับนองสาว รวมมารดาเดียวกันอยางมีความสุข ๔. นิทานพื้นบานอีสาน ซึ่งตัวละครเอกเปนกําพรามีเพียงเรื่องเดียว คือ กําพราผี นอย ๕. นิทานพื้นบานอีสาน ซึ่งตัวละครเอกมีเชื้อสายเปนอมนุษยมีเพียง ๘เรื่อง คือ ขุนทึง (แมเปนนาค) ทาวคันธนาม (เปนลูกพระอินทร) นางแตงออน )เปนลูกจระเข) นางผม หอม (พอเปนชาง) สุปุณณานาคชาดก (เปนลูกนาค) ทาววัวทอง (เปนวัว) พญาสุวรรณกัจฉะ (เปนเตา) และพระปลาคอ (เปนปลาชอน) ๖. เรื่องที่ตัวละครเอกฝายหญิงมีอิทธิฤทธิ์หรือความสามารถเหนือฝายชาย มีเพียง ๓ เรื่อง คือ แกวหนามา ปลาแดกปลาหมอ และสุพรหมโมกขา ๗. มี นิทานพื้ นบา นอี ส านจํา นวน ๕ เรื่ อ ง ที่มี ตัวละครที่ เปน นายสํา เภาเข า มา เกี่ยวของคือ แกวหอมฮู เจ็ดคะนน ปลาแดกปลาหมอ สุริยคราสจันทรคราส และศุภมิตรเกศินี ๘. นิทานพื้นบานอีสานที่ตัวละครเอกตายในตอนทายของเรื่องมีเพียง ๑๐ เรื่อง เทานั้น คือ ขุนทึง ขูลูนางอั้ว จึงคึ่งดังแดง เซี่ยงเมี่ยง ตํานานเมืองฟาแดดสงยาง ทาวจันทโครบ ทาวผาแดงนางไอ ทาววัวทอง และพระกึดพระพาน๒๐

๒๐

กรมศิลปากร, พื้นอีสาน, หนา ๑๑๐ – ๑๑๓.


๓๐

๒.๕ การประเมินคุณคาของวรรณกรรมพื้นบานอีสานประเภทนิทานในมิติเรื่องเมืองและ ชุมชนโบราณ การประเมินในที่นี้หมายถึงการจําแนกและการพิจารณาถึงคุณคา ประโยชน และ ความสําคัญของนิทานที่มีตอการศึกษาเรื่องเมืองและชุมชนโบราณในภาคอีสาน ดังนี้ ๑. นิทานที่มีความสําคัญนอยมาก กลาวคือ เปนตํานานที่ไมไดกลาวถึงเมืองเลย หรือถากลาวถึงก็อาจเปนเมืองในจินตนาการ ไมเชนนั้นก็เปนเรื่องราวที่ถายทอดมาจากเรื่อง ของดินแดนทางแถบอื่นซึ่งไมมีความเกี่ยวของกับชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเทาใด นั ก นิ ท านในกลุ ม นี้ มี จํ า นวนมากที่ สุ ด โดยที่ ส ว นมากเป น นิ ท านคติ ธ รรม นิ ท านอิ ง พระพุทธศาสนา และนิทานเลาเรื่องเพื่อความบันเทิงตามธรรมดา ซึ่งมีจํานวนทั้งสิ้น ๔๑ เรื่อง คือ แกวหนามา กําพราผีนอย ไกแกวหอมฮู ขูลูนางอั้ว จึ่งคึงดังแดง จําปาสี่ตน เจ็ดคะนน ทาว ก่ํากาดํา ทาวจักรษิณพรหมรินทร ทาวจันทโครบ พญาคันคาก ทาววัวทอง ทาวสิงหกาโลก ระตายคํา ทาวสังคทัต ทาวโสรัจ ทาวหมาหยุย ทาวหูดสามเปา นกกระจอก นรชีวชาดก นางแตงออน นางตนไตร นางผงหอม นางสิบสอง บัวฮมบัวฮวงบัวเฮียง ปลาแดกปลาหมอ พญาสุวรรณกัจจะ พระปลาคอ พระลักพระลาม มณีสัจจา มูนกิตติ ลิ้นทอง ลํามหาชาติ สุ ปุณณานาคชาดก สุริยคราสจันทคราส สุริวงศ เสียวสวาด แสงมณีแยงโลก ศุภมิตรเกศินี หนาผากไกลกะดน และอุปคุตผาบมาร ๒. นิทานที่มีความสําคัญนอย มักจะเปนนิทานที่มีเคาวาเตงกันในชั้นหลังมาก นิทานเหลานี้แมวาจะมีการกลาวถึงเมืองและชุมชนโบราณตาง ๆ แตก็มักเปนเรื่องเลื่อนลอย ทั้งบางเรื่อง เชน เซียงเมี่ยง และสุทธนูชาดกก็เปนนิทานที่ไดรับการถายทอดมาจากนิทาน ในดินแดนแถบอื่น นิทานกลุมนี้มีทั้งสิ้น ๙ เรื่อง ไดแก : กองขาวนอยฆา กาฬเกษ เซีย งเมี่ยง (สีทะนนไชย) ทานคันธนาม ทาวสีทน พื้นเวียงจันทน สินไซ สุทธนูชาดก สุ พรหมโมกขา ๓. นิทานที่มีความสําคัญปานกลาง ไดแก นิทานที่เลาเรื่องกลาวถึงเมืองและ ชุมชนตาง ๆ โดยระบุรายละเอียดพอสมควร แตหยอนความสําคัญลงไปบางในขอที่วาบาง เรื่องเปนเรื่องที่เลาเรื่องของดินแดนอื่นเชน เชตพน และบางเรื่องมีการแตงเสริมตอในระยะ หลังเขาไปใหมเพื่ออธิบายเรื่องของสถานที่บางแหงจนรูสึกไดวาไมใชเปนนิทานรวมสมัยกับ เหตุการณ เชน ทาวผาแดงนางไอ เหลานี้เปนตน นิทานในกลุมนี้มีทั้งสิ้น ๗ เรื่อง คือ :


๓๑

ขุนทึง เชตพน ตํานานเมืองฟาแดดสงยาง ทาวประจิตนางอรพิม ทาวผาแดงนางไอ พระกึด พระพาน และอินทปตถา ๔. นิทานที่มีความสําคัญสูงมาก ไดแกตํานานและนิทานที่มีเคาสองใหเห็นวามี อายุเกาพอสมควรทั้งยังมีเนื้อหาของเรื่องกลาวถึงเมืองและชุมชนโบราณในภาคนี้โดยตรง นิทานในกลุมนี้ มีเพียง ๓ เรื่อง : ทาวฮุง พื้นขุนบูฮูม และอุรังคนิทาน... ๒.๕.๑ ประเภทเมืองที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสานประเภทตํานานและ นิทาน เมืองที่ปรากฏชื่ออยูในตํานานและนิทานพื้นบานอีสานนั้น เราอาจทําการจําแนก ออกเปนประเภทตาง ๆ โดยถือเอาความสําคัญในแงที่เกี่ยวของและอาจเปนประโยชนตอ การศึกษาทางโบราณคดีได ๔ ประการ ดังนี้คือ ๑. เมื อ งที่ เ ป น เมื อ งในจิ น ตนาการอย า งแท จ ริ ง เมื อ งในลั ก ษณะนี้ อาจจะเกิดจากความมุงหวังหรืออุดมคติของผูแตง เชน เมืองกุมารี ในเรื่องทาวโสรัจ (เมือง ที่มีแตผูหญิงลวน ๆ ไมมีผูชายอาศัยอยูเลย ทํานองเดียวกับกับเมืองลับแล) หรือเปนเมืองที่ตั้ง ชื่อเลียนมาจากชื่อเมืองในนิทานพุทธศาสนา เชนเมืองพาราณสี เมืองปญจาละ เปนตน ๒. เมื อ งที่ มี อ ยู จ ริ ง เมื อ งประเภทนี้ มั ก จะปรากฏอยู ใ นนิ ท านที่ รั บ ถายทอดมากจากเรื่องราวของชนในทองถิ่นอื่น เชน นิทานเรื่องนางตันไตรซึ่งมาจากนิทาน ปญจตันตระของอินเดีย เมืองประเภทนี้ไดแกเมืองกลิงคราษฏร กัสมีละ กุสินารา หงสาวดี ...เปนตน แมจะเปนเมืองที่มีอยูจริง แตก็ไมมีความเกี่ยวของกับคนในภาคอีสาน ๓. เมืองที่กลาวชื่อถึงและบางแหงอธิบายที่ตั้งโดยสังเขป แตคนหาไม พบแนชัดวาตั้งอยูที่ใด เชน เมืองแถนที่กลาวไวในเรื่อ งพื้นขุนบูฮูม ซึ่งเกี่ยวขอ งกับของ อาณาจักรลานชาง หรือเมืองนาคในอุรังคนิทาน, เมืองภูเงินในเรื่องทาวสีทน และพระกึด พระพาน ที่ถูกกลาวถึงวาเปนเมืองอยูในตอนเหนือ หรือเมืองเชียงเงื้อมในเรื่องขุนทึง ซึ่ง ตั้งอยูหางจากเมืองนาค (ลานชาง) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เปนตน ๔. เมืองที่มีอยูจริง และนิทานเลาเรื่องประวัติกลาวถึงโดยตรง เมือง ประเภทนี้มักจะเปนเมืองขนาดใหญ สันนิษฐานวาคงมีความสําคัญในภาคตะวันออกเฉียง เหนือสมัยโบราณมาก เมืองเหลานี้ไดแก เมืองจําปาศักดิ์ (จําปานาคบุรี) พิมาย ฟาแดดสง ยาง เวียงจันทน รอยเอ็ด (สาเกตุนคร) หนองหานนอย หนองหานหลวง หลวงพระบาง...


๓๒

เปนตน นอกจากนี้แลวก็อาจจัดแบงแยกเมืองออกตามลักษณะพิเศษที่เห็นไดเดนชัดอีก แบบหนึ่ง ซึ่งสามารถจําแนกไดเปน ๓ กลุม ดังนี้ ๑. เมืองที่ถูกกลาวซ้ํานิทานตางเรื่อง ๒. เมืองสําคัญที่ถูกกลาวชื่อถึงในนิทานพื้นบานอีสาน ๓. เมืองที่มีการระบุชนชาติหรือถิ่นที่ตั้งแนนอน๒๑ ๒.๕.๒ เมืองสําคัญที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสานประเภทนิทาน แม จ ะมี เ มื อ งหลายประเภทตามที่ ก ล า วมาแล ว ข า งต น แต ก็ มี เ มื อ งใหญ ที่ มี ความสําคัญเกี่ยวพันกับชุมชนในดินแดนภาคอีสานสมัยโบราณ ซึ่งเมืองเหลานี้บางเมืองก็เปน เมืองหลวงของไทย หลายเมืองอยูในพื้นที่ภาคอีสาน บางเมืองก็อยูในพื้นที่ของประเทศเพื่อน บานไทยคือลาวและเขมร เมืองเหลานี้ ไดแก ๑. กรุงเทพ ๒. กรุงศรีอยุธยา ๓. กุรุนทนครหรืออโยธยา ๔. เงินยาง เปนชื่อเมืองโบราณอยูทางภาคเหนือของ ประเทศไทย ๕. จําปากนาคบุรี คือนครจําปาศักดิ์ในประเทศลาว ๖. เชียงเหียน เปนเมืองโบราณตั้งอยูในเขต อ.เมือง จ. มหาสารคาม ๗. พนมรุง ไดแกบริเวณปราสาทหินพนมรุง อ.นางรอง จ.บุรีรัมย ๘. พิมาย เปนเมืองโบราณตั้งอยูในเขต อ.พิมาย จ.นครราชสีมา ๙. ฟาแดด เปนเมืองโบราณตั้งอยูในเขต อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ ๑๐. โยนกวตินครเชียงใหม คือจังหวัดเชียงใหม ๒๑

กรมศิลปากร, พื้นอีสาน, หนา ๑๒๑ – ๑๒๒.


๓๓

๑๑. หนองคาย คือจังหวัดหนองคาย ๑๒. เวียงจันทน คือเมืองเวียงจันทน ๑๓. สาเกตุรอยเอ็ดประตู คือจังหวัดรอยเอ็ดปจจุบัน ๑๔. ศรีโคตรบอง เปนเมืองโบราณตั้งอยูใตปากเซบั้งไป ซึ่งไหล จากแมน้ําโขงตรงพระธาตุพนม ๑๕. ศรีสัตตนาคนหุต คือประเทศลาว ๑๖. หนองหานนอย ไดแกบริเวณหนองหาน อ.กุมภวาป จ. อุดรธานี ๑๗. หนองหานหลวง ไดแก บริเวณหนองหาน จ. สกลนคร ๑๘. หลวงพระบาง คือหลวงพระบางของประเทศลาว ๑๙. อินทปตถ ไดแก ประเทศเขมรปจจุบัน๒๒ ๒.๕.๓ เมืองที่มีการระบุชนชาติหรือถิ่นที่ตั้ง ในบรรดาเมืองโบราณที่มีชื่อปรากฏอยูในตํานานและนิทานพื้นบานอีสานทั้งหมด จํานวน ๑๓๘ เมืองดังที่ไดแสดงไวตามตารางรายชื่อขางตนแลวนั้น ปรากฏวามีเมืองจํานวน หนึ่งซึ่งไดมีการระบุถิ่นที่ตั้งของเมืองหรือระบุถึงชนชาติของชุมชนที่อาศัยในเมืองนั้นอยาง แนชัด ทั้งนี้ เมื่อไดยกเวนรายชื่อเมืองที่ตั้งอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย แลวเมืองตาง ๆ ดังกลาวมีจํานวนทั้งสิ้น ๒๓ เมือง อันไดแก : ๑. เมืองที่ระบุถิ่นที่ตั้งวาอยูในเขตประเทศกัมพูชาปจจุบัน มี ๒ เรื่อง คือ เมืองขอม และเมืองอินทปตถ ๒. เมืองที่ระบุถิ่นที่ตั้งวาอยูในเขตประเทศพมาปจจุบัน มีเมืองเดียว คือ เมืองหงสาวดี ๓. เมืองที่ระบุถิ่นที่ตั้งวาอยูในเขตภาคกลางของประเทศไทยปจจุบัน มี ๒ เมือง คือ กรุงเทพ และกรุงศรีอยุธยา ๔. เมืองที่ระบุถิ่นที่ตั้งวาอยูในเขตประเทศลังกาปจจุบัน มีเมืองเดียว คือ เมืองลังกา ๕. เมืองที่ระบุถิ่นที่ตั้งวาอยูในเขตลานนาไทย (ภาคเหนือของประเทศ ๒๒

ดูรายละเอียดใน กรมศิลปากร, พื้นอีสาน, หนา ๑๒๓ – ๑๒๔.


๓๔

ไทยปจจุบัน) มี ๒ เมือง คือ เมืองเงินยาง และเมืองเชียงใหม (โยนกวตินครเชียงใหม) ๖. เมืองที่ระบุถิ่นที่ตั้งวาอยูในเขตประเทศลาวปจจุบัน มี ๕ เมือง คือ เมืองนานอยออยนอย เมืองศรีสัตตนาคนหุต เมืองหลวงพระบาง เมืองเวียงจันทน และเมือง จําปาศักดิ์ ๗. เมืองที่ระบุถิ่นที่ตั้งวาอยูในเขตประเทศเวียดนามปจจุบัน มี ๒ เมือง คือ เมืองจุลณีพรหมทัต และเมืองคําวัง (เมืองจุลณีพรหมทัตอยูในแควนตังเกี่ย สวน เมือ งคําวังนั้นในนิทานเรื่องทาวฮุงกลาววาเปนเมองของทาวแองกากษัตริยของพวกแกว (ญวณ) ๘. เมืองที่ระบุถิ่นที่ตั้งวาอยูในเขตประเทศอินเดียปจจุบัน มี ๘ เมือง คือ เมืองกัสมีละ (แคชเมียร) กาสี กุสินารา ตักกศิลา ปาฏลีบุตร พาราณสี ราชคฤห และ สาวัตถี๒๓ ๒.๖ การแบงนิทานพื้นบานอีสานตามยุคสมัย จากผลของการศึ ก ษาค น คว า ทางโบราณคดี จารึ ก โบราณ พงศาวดารต า ง ๆ ประกอบกับขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหเนื้อหาของตํานานและนิทานพื้นบานอีสานนั้น ทําให เราอาจสรุปเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตรของดินแดนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสมัย โบราณโดยแบงเหตุการณตามยุคสมัยออก ไดคราว ๆ เปน ๕ ยุคดังนี้คือ ๑. ยุคแรกเริ่ม ๒. ยุคสังคมเมือง ๓. ยุครัฐ ๔. ยุคที่อยูภายใตอิทธิพลของอาณาจักรภายนอก ๕. ยุคปจจุบัน ๑. ยุคแรกเริ่ม ไดแกสมัยเริ่มมีการปรากฏรองรอยของมนุษยตั้งถิ่นฐานอยูใน ดินแดนแถบนี้ จนกระทั่งพัฒนาชุมชนของตนจากสังคมบุรพกาลซึ่งเปนสังคมลาสัตวจนเขา สูสังคมเกษตรกรรม ๒๓

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๑๓ – ๑๒๕.


๓๕

การตั้งถิ่นฐานในชั้นตนของคนในดินแดนนี้จะอยูที่ใดและเปนชนเชื้อสายใดนั้น ยั ง ไม อ าจทราบได แ น ชั ด แต จ ากผลการปฏิ บั ติ ง านของโครงการโบราณคดี ภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือไดทําใหเราทราบไดโดยสรุปวา ดินแดนในภาคอีสานนั้นมีมนุษยอาศัย อยูตั้งแตสมัยไพลซโตซีน (Pleistocene) ซึ่งมีอายุราว ๑๒,๐๐๐ ปมาแลว โดยพบรองรอย การอยูอาศัยของมนุษยในสมัยดังกลาวในบริเวณเขตจังหวัดนครพนม... จากเนื้อหาของตํานานและนิทานพื้นบานอีสานทําใหเราลัทธิบูชานาคหรือพญางู เปนเทพเจา ดังเห็นไดจากการที่มีการกลาวถึงพวกนาคหรือพญานาคในนิทานพื้นบานอีสาน หลายแหงเชนการกลาวถึงการที่พญานาคสรางลําน้ําตาง ๆ เปนตน ในนิทานเรื่องทาวผาแดง นางไอไดกลาวถึงพญานาคสองตนเกิดวิวาทถึงกับยกทัพสูรบกันจนในภายหลังเมื่อยุติการรบ ลงแลวก็มีการตกลงเขตแดนระหวางกัน โดยพญานาคสุทโธนาคพาไพรพลสรางทางน้ํา อพยพไปทางเหนือ และสรางเมืองศรีสัตตนาคหุตขึ้นที่ฝงซายของแมน้ําโขง สวนพญานาค สุวรรณนาคก็พาไพรพลลงทางใต ขุดดินลําน้ําเปนแนวไปจนเกิดเปนแมน้ํานานและสราง เมืองนานขึ้น เหตุการณในนิทานตอนนี้นอกจากจะเปนเรื่องที่เลาอธิบายถึงสาเหตุการเกิดของ สภาพทางภูมิศาสตรแลวก็ยังนาจะเปนสัญญลักขณที่มุงจะบันทึกเหตุการณในอดีตที่เกิดขึ้น จริงในเรื่องการแพรกระจายของกลุมชนดั้งเดิมในดินแดนนี้ไดเปนอยางดีอีกดวย กลุมชนดังเดิมในภาคอีสาน นับถือภูตผีปศาจและเทวดาทองถิ่นจนกระทั่งเมื่อ ศาสนาพุทธและพราหมณไดถูกนําเขามาเผยแพรในดินแดนแถบนี้หลังจากพุทธศตวรรษที่ ๑๐ ไปแล ว ชนกลุ ม นี้ จึ ง หั น มานั บ ถื อ ศาสนาทั้ ง สองแทน นิ ท านที่ มี เ รื่ อ งกล า วถึ ง พระพุทธเจาทรมานนาค พระพุทธเจาเสวยพระชาติเปนนาค ตลอดไปจนถึงเรื่องที่กลาวถึง เทพในศาสนาพราหมณรบชนะนาคก็ดี ตางก็เปนสัญลักษณที่แสดงใหเห็นถึงเรื่องราวของ การปะทะกันระหวางความเชื่อทางศาสนาเกาและใหม จนเมื่อศาสนาพุทธและพราหมณมี อิทธิพลเต็มที่ในดินแดนทางแถบนี้แลว พญานาคก็กลายเปนผูคุมครองพุทธศาสนาดังที่มี เรื่องปรากฏในตํานานและนิทานพื้นบานอีสานไปทั้งยังอาจสังเกตไดอีกดวยวานาคนั้นจะเปน ผูคอยพิทักษความดี และอาจลงโทษผูกระทําความผิดบาปจนถึงขั้นทําใหเมืองลมจมลงได ดังที่มีปรากฏในตํานานและนิทานพื้นบานอีสานหลายเรื่อง หลังจากนั้นคงจะมีชนกลุมใหมซึ่งอพยพลงมาจากดินแดนทางตอนเหนือของ ดิ น แดนแถบนี้ ชนกลุ ม หลั ง นี้ มี ค วามรู ท างเทคโนโลยี สู ง กว า ชนพื้ น เมื อ งเดิ ม และได นํ า ศิลปวิทยาการของตนเขามาเผยแพรในดินแดนทางแถบนี้ อันนับไดวาเปนการเริ่มตนเขาสูยุค


๓๖

สั ง คมเกษตรกรรมในดิ น แดนภาคอี ส าน การเล า เรื่ อ งกล า วถึ ง พญาแถนที่ อ ยู เ มื อ งบน (สวรรค) อบรมสั่งสอนวิทยาการแกปูลางเซิง ขุนเคก ขุนคานซึ่งเปนคนในเมืองลุม (โลก) ก็ดี กลาวถึงการที่พญาแถนสงขุนบูฮมมาชวยเหลือคนในเมืองลุมพรอมกับควายตัวหนึ่งก็ดี กลาวถึงพญาแถนสงเทวบุตร ๘ องคลงมาสั่งสอนใหคนในเมืองลุมรูจักการทําไร ทํานา ทอ ผา หลอโลหะ ฯลฯ ตลอดจนการที่กลาวสรุปวาคนในเมืองมีความเจริญขึ้นมาจนเปนชุมชน ขนาดใหญเพราะ “...เหตุฟาแลนลงมาแตงแปงให จึงเปนบานเมืองแล...” ตามที่มีความ ปรากฏอยูในในตํานานเรื่องพื้นขุนบูฮมก็นั้นตางก็เปนสัญลักษณที่มุงจะเลาเหตุการณดังกลาว ขางตนทั้งสิ้น... ๒. ยุคสังคมเมือง กลาวถึงการขยายตัวจนเกิดเปนเมืองตาง ๆ จํานวนมาก ซึ่งมี รองรอยของสิ่งกอสรางบนผิวดินมากกวา ๒๐๐ แหง ในภาคอีสาน สําหรับอายุของยุคสมัยการกอตั้งเมืองขึ้นนั้นจากผลการสํารวจแหลงโบราณคดีใน แถบ อ.กุมภวาป จ.อุดรธานี และแถบ อ.เมือง จ.มหาสารคาม ของโครงการโบราณคดีภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ทําใหไดรับผลสรุปในขั้นตอนนํามาประกอบการพิจารณาไดวา เมือง โบราณในบริเวณดังกลาว ไดสํารวจภาชนะดินเผาเคลือบโคลนสีแดง (Red Slipped) ซึ่งมี อายุตรงกับสมัยที่ ๖ (Phase VI) ของแหลงโบราณคดีบานเชียง ซึ่งนาจะหมายความวาเมือง โบราณเหลานี้มีการตั้งถิ่นฐานขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ ๕ – ๑๕... การกอตั้งเมืองตาง ๆ ในบริเวณภาคอีสานนั้นเปนไปอยางรวดเร็ว โดยประมาณ การไดวาในแหลงนี้บางแหง เชน บานตาเณร จ.รอยเอ็ด นั้น ควรจะมีคนอาศัยอยูในเมือง อยางนอยที่สดุ ๓,๐๐๐ คน รวมยุคสมัยเดียวกัน และในบริเวณดังกลาวมีชุมชนโบราณอาศัย อยูอยางหนาแนนและเมืองเหลานี้มีอํานาจทางการเมืองของตนอยูในระดับสูงพอควร ทั้งนี้ เปนเพราะชุมชนที่สามารถสรางสิ่งกอสรางดวยดิน (Earthworks) ขนาดนี้ไดจะตองมีจํานวน พลเมืองมากพอควร อนึ่งจากการสังเกตภาพถายทางอากาศบริเวณนี้พบวามีรองรอยของ แปลงนาโบราณซึ่งมีสภาพเปนตารางหมากรุกอยางมีระเบียบมีขนาดและรูปรางเดียวกันตลอด อันแสดงถึงความสามารถทางเทคนิควิทยา จํานวนประชากรมีมากเพียงพอ สําหรับสาเหตุ ของการขยายตัวและความเจริญของชุมชนในภาคอีสานซึ่งเปนไปอยางรวดเร็วนั้น นาจะมี สาเหตุมาจากการที่บริเวณนี้เปนแหลงเกลือขนาดใหญ ซึ่งเกลือเปนของมีคามากในสมัยทั้งใช ในการปรุงและเก็บถนอมอาหาร จึงมีกลุมชนมาอาศัยที่นี่มากเพราะตองการเกลือไวใชและ นํามาเปนสินคาขาออก


๓๗

ในระยะต อ มาคื อ นั บ ตั้ ง แต ป ระมาณพุ ท ธศตวรรษที่ ๑๓ ก็ ไ ด มี อิ ท ธิ พ ลทาง วัฒนธรรมเชน ศาสนาและศิลปกรรมของกลุมชนที่มีความเจริญจากดินแดนภายนอกเริ่ม หลั่งไหลเขามาสูดินแดนภาคอีสาน เราอาจสรุปไดวานับแตประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๓ เปนตนมานั้นไดมีกลุมชนภายนอก ๒ กลุมที่เขามามีอิทธิพลตอชุมชนในภาคนี้คือกลุมชนที่ ใชภาษามอญและกลุมชนที่ใชภาษาเขมร ดังมีหลักฐานที่เห็นจากศิลปกรรมแบบทวารวดี และลพบุรีที่ปรากฏอยูทั่วไปในภาคอีสาน ประกอบกับหลักฐานสําคัญที่สุดคือ จารึกตาง ๆ ที่พบในภาคนี้ เชน จารึกภาษามอญปนเขมรพบที่ อ.ปกธงไชย จ.นครราชสีมา (ไดรับการ กําหนดอายุวาอยูในราว พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔) และจารึกภาษามอญหลังพระพิมพที่พบที่ เมืองนครจําปาศรี บานนาดูน จ.มหาสารคาม... ๓. ยุครัฐ บรรดาเมืองตาง ๆ ซึ่งมีอยูมากมายในภาคอีสานนั้นคงจะมีความเจริญมั่ง คั่งเพิ่มมากขึ้น เกิดการขยายตัวขึ้นเรื่อยอันสงผลใหเกิดสงครามระหวางเมืองในเวลาตอมา ดังที่มีการเลาเรื่องราวการรบพุงระหวางเมืองตาง ๆ เชน พวกขาและทาวฮุงทําสงครามกับ พวกแกว (ญวน) ในนิทานพื้นบานอีสานเรื่องทาวฮุง เปนตน การรบพุงกันระหวางเมืองตาง ๆ เหลานี้ผลทําใหลดจํานวนของเมืองอิสระให เหลือนอยลงและเขาสูยุคสมัยที่เกิดเปนรัฐขนาดใหญ ๆ ตาง ๆ ขึ้นมาแทนที่ตามปรากฏในอุ รังคนิทาน กลาววาในสมัยนั้นเกิดเปนรัฐหรืออาณาจักรหลายแหง เชน ศรีโคตรบูร หนอง หานหลวง หนองหายนอย สาเกตุ กุรุนทนคร เหลานี้เปนตน โดยเฉพาะเมืองสาเกตุนคร หรอเมืองสิบเอ็ดประตูซึ่งอยูตรงบริเวณ จ.รอยเอ็ดปจจุบันนั้น ตามตํานานกลาววาเปนเมือง ใหญมากมีพลเมืองมากถึง ๔,๗๘๙,๐๐๐ คน มีความเจริญคูกับเมืองสากล (สกลนคร) และ มีเมืองขึ้น ๑๑ เมืองเปนเสมือนประตูรายลอมเมืองสาเกตอยู ซึ่งไดแก เมืองฟาแดด (อ. กมลาไสย จ.กาฬสินธุ) เมืองสีแกว (บานสีแกว อ.เมือง จ.รอยเอ็ด) เมืองเชียงเหียน (บาน เชียงเหียน อ.เมือง จ.มหาสารคาม) เมืองเปอย (บานเมืองเปอย อ.เมอง จ.รอยเอ็ด) เมือง ทอง (บานเมืองทอง อ.เมือง จ.รอยเอ็ด) เมืองหงส (บานเมืองหงส อ.จตุรพักตรพิมาน จ. รอยเอ็ด) เมืองบัว (บานเมืองบัว อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด) เมืองคอง (อยูบริเวณบานเมือง สรวง อ.สุวรรณภูมิ จ.รอยเอ็ด) เมืองเชียงขวง (อยูบริเวณจาน อ.ธวัชบุรี จ.รอยเอ็ด) เมือง เชียงดี (บานโนนหัว อ.ธวัชบุรี จ.รอยเอ็ด) และเมืองไพ (บานเมืองไพร อ.เสลภูมิ จ. รอยเอ็ด)


๓๘

รัฐตาง ๆ ในภาคอีสานนั้นเขาใจวานาจะมีการพัฒนาขึ้นมาจากเมืองขนาดใหญ ในชวงระยะราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ โดยนอกจากจะมีรัฐสําคัญ ๆ ในบริเวณตอนกลาง ของภาคคอ นไปทางเหนื อ เช น บริ เ วณเขตจั งหวั ด ร อ ยเอ็ ด มหาสารคาม สกลนคร และ อุดรธานี... ๕. ยุคที่อยูภายใตอิทธิพลของอาณาจักรภายนอก ภายหลังพุทธศตวรรษที่ ๑๘ จนถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ เปนตนมา ซึ่งเปนระยะเวลาที่เริ่มมีการกอตั้งอาณาจักรสุโขทัยขึ้น ในบริเวณภาคเหนือตอนลางของประเทศไทยนั้นดินแดนสวนใหญของภาคอีสาน ยกเวน แถบลุมแมน้ําโขงลงมาจะเปนดินแดนภายใตการปกครองของอาณาจักรเขมรดังจะเห็นไดจาก การที่ศิลาจารึกหลักที่ ๑ สมัยสุโขทัยซึ่งไดระบุชื่ออาณาเขตของสุโขทัยและดินแดนอิสระที่ ตอตอกันโดยรอบโดยละเอียด แตไมกลาวถึงเมืองในภาคอีสานเลย แมแตเมืองพิมายและ เมืองสาเกตุ (รอยเอ็ด) ซึ่งเปนเมืองขนาดใหญและมีความเจริญมาก นับเปนการแสดงใหเห็น วาดินแดนในแถบนี้คงจะมีเจาอิทธิพลอันหมายถึงอาณาจักรเขมรครองอยูแลว... ในระยะหัวเลี้ยวหัวตอของสมัยสุโขทัยและอยุธยานั้นดินแดนทางภาคอีสานคงจะ ถูกตัดแบงออกจากกันเปน ๒ สวนคือทางตอนเหนือของภาคในแถบลุมแมน้ําโขงนั้น เปน ดินแดนสวนหนึ่งของอาณาจักรลานชาง สวนทางใตลงมานั้นเปนเขตปกครองอาณาจักรเขมร ซึ่งเสื่อมโทรมลงมากแลว จะเห็นไดวาในตํานานและนิทานพื้นบานอีสานนั้นมีเมืองสําคัญที่ ถูกอางถึงเปนเชิงเมืองในอุดมคติ ๒ เมือง คือทางเหนือไดแกศรีสัตตนาคนหุต และทางใต ได แ ก อิ น ทป ต ถ ใ นระหว า งพุ ท ธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒ นั้ น เรื่ อ งของดิ น แดน ตอนกลางของภาคอีสานนั้นมืดมนไมอาจทราบไดชัด แตคงจะหลุดพนจากอํานานเขมรแลว เพราะปรากฏวาในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ ราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐ นั้น กรุง ศรีอยุธยาไดยกกกองทัพเขาบุกรุกราชอาณาจักรเขมรจนสามารถยึดเมืองพระนครไดสําเร็จ และไดทําลายอิทธิพลทางการเมืองของอาณาจักรเขมรจนราบคาบ สวนดินแดนแถบลุมแมน้ํา โขงนั้น ยังเปนดินแดนสวนหนึ่งของอาณาจักรลานชาง สมเด็จกรมพระยาดํารงราชนุภาพ ทรงมีความเห็นวาอยุธยาในสมัยนั้นคงจะไมไดเขามามีบทบาททางการเมืองในแถบภาคอีสาน มากนักอํานาจของอยุธยาคงจะเขามาเพียงแคนครราชสีมาเทานั้นไมครอบคลุมไปทั่วทั้งภาค ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์แหงกรุงศรีอยุธยาซึ่งตรงกับสมัยสมพระไชย เชษฐาแหงอาราจักรลานชาง ปรากฏวาอาณาจักรทั้งสองมีความสัมพันธตอกันเปนอยางดีใน ฐานะพันธมิตรที่รวมรบกับพมา ไดมีการสรางพระเจดียศรีสองรักษขึ้นในเขตอําเภอดานซาย


๓๙

จังหวัดเลยเพื่อเปนสัญลักษณแหมิตรภาพและเปนหลักปนแดนระหวางอาณาจักรทั้งสอง โดยยึดถือเอาลําน้ําเหืองเปนเสนกั่นพรมแดน ทั้งนี้นับเปนการเริ่มตนของการเขามามีอิทธิพล ทางการเมืองในดินแดนแถบภาคอีสานของอาณาจักรอยุธยา แทนที่อาณาจักรเขมร อยาง จริงจัง จนในราวตอนตนของศตวรรษที่ ๒๒ สมเด็จพระนารายณมหาราชไดสงชางชาว ฝรั่งเศสเขามาทําการกอสรางกําแพงและหอรบขึ้นที่เมืองนครราชสีมาและตั้งนครราชสีมาขึ้น เปนศูนยกลางการปกครองทองถิ่นภาคอีสาน ๖. ยุคปจจุบัน ชุมชนในดินแดนภาคอีสานนั้น ภายหลังไดมีวิวัฒนาการขยายตัว ขึ้นมาจากชุมชนเปนขนาดยอย ชุมชนขนาดใหญ เปนเมืองและรัฐจนกระทั่งตกเปนดินแดน ภาคใตการปกครองของอาณาจักรภายนอกที่เขมแข็งกวาตามที่ไดกลาวมาแลวทั้งหมดขางตน ก็ไดเสื่อมโทรมลงเปนลําดับ เมืองตาง ๆ ที่มีรองรอยความเจริญอยางมากในอดีตนั้นก็ถูกทิ้ง รางไปเสียแทบหมดสิ้น จนกระทั่งถึงราวตนพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ซึ่งอาจนับไดวาเปนการ เริ่มตนประวัติศาสตร ยุคปจจุบันของดินแดนทางแถบนี้ ก็ปรากฏมีกระแสการอพยพของชน ในดินแดนภายนอกทยอยเขามาตั้งถิ่นฐานอยูในภาคอีสานเปนระลอกๆอาทิเชนการอพยพ ของพวกสวย ในเขตอัตตปอแสนแป ใกลจําปาศักดิ์ เขามาตั้งถิ่นฐานอยูในเขตจังหวัด สุรินทรปจจุบัน ใน พ.ศ. ๒๒๖๐ และอพยพของชาวลาวเขามายังเขตจังหวัดศรีสะเกษ ปจจุบันในสมัยสมเด็จพระเจาเอกทัศแหงกรุงศรีอยุธยา ในปพ.ศ.๒๓๐๒ เปนตน เมื่อมาถึงสมัยธนบุรีเปนตนมาราวรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา แหง กรุงรัตนโกสินทรนั้น กระแสการอพยพของชาวลาวจากฝงซายแมน้ําโขงที่เขามาตั้งถิ่นฐาน อาศัยอยูในบริเวณภาคอีสานก็ทวีมากขึ้นเปนอันดับ จนกระทั่งเกิดแหลงชุมชนที่หนาแนนใน ภาคนี้ขึ้นมาใหมอีกครั้งหนึ่ง และเกิดเมืองใหมๆจึงกลายเปนจังหวัดตาง ๆ ในพื้นที่ภาคนี้ใน ปจจุบัน ซึ่งอาจกลาวโดยสรุปดังนี้ คือ - สมัยธนบุรี ยกฐานะบานกุมขึ้นเปนเมืองรอยเอ็ด และยกบานดงขาวสารขึ้นเปน เมืองสุวรรณภูมิ (อําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด) - ในป พ.ศ. ๒๓๒๐ เจาผาขาว พระยาวอ พระตา พาไพรพลอพยพหนีเจาสิริบุญ สารกษัตริยเวียงจันทรเขามาอยูที่พรรณนานิคม ตอมาเจาผาขาวตายลง ทาวโสมพมิตรขึ้นเปน หนาหนากลุมคนดังกลาวแทน พาอพยพขามมาภูพานลงมาทางใตที่บานแกงสําโรง ซึ่ง พ.ศ. ๒๓๓๔ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟายกฐานะขึ้นเปนเมืองกาฬสินธุ


๔๐

- ในป พ.ศ.๒๓๒๑ เจาพระยาจักรียกกองทัพจากกรุงธนบุรีไปตีเวียงจันทรและ ยึดเอาเมืองศรีโคตรบูรมาเปนสวนหนึ่งของไทย ตอมาปปเดียวกันทาวคําสิงหเปลี่ยนชื่อเมือง เป น มรุ ก ขนครและย า ยตั ว เมื อ งมาอยู ต รงฝ ง ขวาของแม น้ํ า โขงจน พ.ศ. ๒๓๓๗ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา ก็เปลี่ยนชื่อใหเปนเมืองนครพนม - ในป พ.ศ. ๒๓๒๓ สมเด็จพระเจากรุงธนบุรียกฐานะดงผึ้งซึ่งเปนเขตที่ชาวลาว อพยพหนีเจาสิริบุญสารเขามาตั้งถิ่นฐานอยูขึ้นเปนเมืองอุบลราชธานี - ในป พ.ศ. ๒๓๒๗ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาฯ ยกฐานะบานโพนสาม ขาขึ้นเปนเมืองศรีสะเกษ - ในป พ.ศ. ๒๓๕๓ ตั้งเมืองขอนแกน โดยยายที่ตั้งจากบานดอนพะยอมเมือง เพีย (บริเวณอําเภอบานไผปจจุบัน) ไปอยูที่บานดอนพันชาด - ในปพ.ศ.๒๓๕๗ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลายกฐานะบานสิงทาขึ้นเปน เมืองยโสธร โดยใหขึ้นตรงตอรัฐบาลกลางที่กรุงเทพ - ในปพ.ศ.-๒๓๖๐ ทาวแล ขุนนางจันทรยกไพรพลมาตั่งถิ่นฐานที่โนนน้ํางอม (โนนตาล) แลวขอขึ้นกรุงเทพจึงมีการประกาศตั้งโนนน้ํางอมขึ้นเปนเมืองชัยภูมิ - ในปพ.ศ.๒๓๖๙ หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาปราบปรามเจาอนุวงศ เมืองเวียงจันทรลงไดแลวก็ประกาศตั่งเมืองหนองคลายและใหทาวสุวอเปนขุนนางลาวที่นิยม กรุงเทพขึ้นเปนเจาเมือง - ในปพ.ศ.๒๓๙๑ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาตั่งเมืองสกลทวาปขึ้นเปนเมือง สกลนคร โดยใหเจาอุปฮาดเมืองกาฬสินธุรักษาเมือง และยกชุมชนชาวลาวที่ตั่งถิ่นฐานอยูริม ฝงแมน้ําเลยขึ้นเปนเมืองเลย ตามชื่อแมน้ํา - ในปพ.ศ.๒๕๐๘พระบาทสมเด็จพระจูลมเกลาตั่งเมืองมหาสารคาม - ในปพ.ศ.๒๔๓๖หลังเกิดกรณีพิพาทระหวางไทยกับฝรั่งเศส ทางกรุงเทพก็ได รนตําแหนงจุดที่ตั่งทหารออกมาใหพนเขตแนวแมน้ําโขงสนธิสัญญาที่ไดทํากับฝรั่งเศส จึง ไดตั้งเมืองอุดรธานีขึ้นและใชเปนที่ตั้งกองทหารไทย - ในป พ.ศ. ๒๔๔๑ ตั้งเมืองบุรีรัมยจะเห็นไดวาเมืองตาง ๆ ซึ่งตั้งขึ้นในสมัย ธนบุรีและรัตนโกสินทรตอนตนนั้น เปนผลที่เกิดมาจากการขยายตัวของกลุมชนในภาค อีสานครั้งใหม ซึ่งสวนมากเปนกลุมชนที่อพยพมาจากบริเวณฝงซายของแมน้ําโขงในเขต ประเทศลาว ซึ่งเมืองเหลานี้ในชั้นตนสวนมากก็ขึ้นกับหัวเมืองใหญที่เปนศูนยกลางการ


๔๑

ปกครองทองถิ่นในภาคนั้น จนกระทั่งถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาฯ ซึ่งไดทรง ปรับปรุงระบบปกครองทองถิ่นหัวเมืองมณฑลอีสานเสียใหมเปนตนมา ดินแดนภาคอีสานจึง ถูกผนวกเขาไปฐานะสวนหนึ่งของประเทศไทยอยางแทจริงตราตราบจนกระทั่งถึงปจจุบัน๒๔

๒๔

ดูรายละเอียดใน กรมศิลปากร, พื้นอีสาน, หนา ๑๒๙ – ๑๓๗.


บทที่ ๓ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสาน เรื่องพระยาคันคาก ในบทนี้ผูวิจัยไดศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับสภาวธรรมและ คุณธรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสาน เรื่อง พระยาคันคาก หัวขอธรรมที่เลือกศึกษา ดังนี้ ๓.๑ ประวัติความเปนมาและความสําคัญของวรรณกรรมพื้นบานอีสานเรื่องพระยาคันคาก ๓.๑.๑ ผูแตงวรรณกรรมพื้นบานอีสานเรื่องพระยาคันคาก วรรณกรรมพื้นบานเรื่องพระยาคันคากที่จารไวในใบลานมีอยูตามวัดทั่วไป เชน ฉบับที่เก็บไวที่วัดกลาง อ. กมลาไสย จ. กาฬสินธุ, ฉบับที่เก็บไวที่วัดบานขามเรียง ต. ขาม เรียง อ. กันทรวิชัย จ. มหาสารคาม, ฉบับที่เก็บไวที่วัดบานหนองแคน อ. ปทุมรัตน จ. รอยเอ็ด เปนตน ตนฉบับเหลานี้ไมปรากฏชื่อผูแตง ซึ่งเปนลักษณะนิยมของวรรณกรรมพื้นบานอีสาน ฉบับที่ไดพิมพแลว เชน ฉบับที่ปริวรรตโดย ผาน วงษอวน ซึ่งทานก็ไดรวบรวมจากฉบับใบ ลานตามที่ไดกลาวมาแลวนี้ ฉบับดังกลาวนี้ปริวรรตเปนรอยกรอง จัดพิมพเผยแพรโดย ศูนย วัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม วิทยาลัยครูมหาสารคาม ฉบับที่พิมพเปนรอยแกว เชน นิทาน พระยาคันคาก ของ เตชวโร ภิกขุ (อินตา กวีวงศ) พิมพเผยแพรโดย หจก. โรงพิมพคลังนานา วิทยา เปนตน ๓.๑.๒ ลักษณะของวรรณกรรมพื้นบานอีสานเรื่องพระยาคันคาก วรรณกรรมพื้นบานอีสานเรื่องพระยาคันคากตามทัศนะของธวัช ปุณโณทก จัดอยู ในประเภทวรรณกรรมพระพุ ท ธศาสนา เพราะมี คํ า สอนที่ ใ ห ข อ คิ ด คติ เ ตื อ นใจในการ ดํารงชีวิต แมจะไมใชนิทานชาดก แตผูประพันธก็พยายามที่จะทําใหมีลักษณะของนิทาน ชาดก คือกลาวถึงพระโพธิสัตวจุติจากสวรรคลงมาเกิดยังโลกมนุษยเปนพระยาคันคาก ดังบท ประพันธวา


๔๓

บัดนี้ จักกลาวเถิง โพธิสัตวเจาบุญมีตนประเสริฐ กอนแลว พระก็เนาอยูฟาสวรรคพุนพร่ํานาน มีหมูสาวสวรรคฟาบริวารแสนหนึ่ง เจาก็สุขยิ่งลนคําฮอนบมี เจาก็คิดอยากลงสืบสรางสรรพสิ่งกองบุญ พระก็เสด็จลงมาสูเมืองคนพี้ ยามเมื่อสีดาแกวเทวีเอกราช นางก็หลับซอยซอยมิฮูเมื่อคิง เมื่อนั้น โพธิสัตวเจาตนบุญมีมาก พระก็นีรมิตเนื้อตัวนอยกวาผม แลวจึงเสด็จเขาทองนาถสีดา ทาง ฮูดังเมื่อ หายใจเขา ทาวก็ทําตนใหเปนโสมคันคาก เนาอยูทองนางแกวแมตน๑ ในตอนจบนิทานก็มีการประชุมนิทานเหมือนกับการประชุมชาดก เพื่อใหทราบวา ตัวละครในชาตินั้นไดเกิดมาเปนใครในสมัยพุทธกาล ดังบทประพันธวา อันวาราชาไทพญาหลวงเอกราชปางนั้น บัดนี้ก็หากแมนพอพระเจาองคล้ํา โลกลือเจาเอย อันวาสีดาแกวเทวีเอกราชปางนั้น หากแมนแมพระเจาองคล้ําโลกลือ อันวานางงามแกวอุดรละกุทีปปางนั้น บัดนี้ก็หากแมนยโสธราแหงพระองคจอมเจา อันวาครุฑนาคเจาสองพญาฤทธิ์มากปางนั้น บัดนี้ก็หากแมนโมคคัลลานสารีบุตรเจา องคล้ําลื่นคน อันวาราชาไทเวสสุวัณยมราชปางนั้น ก็หากแมนพระอานนทแนบนําพระองคเจา อันวาโยธาเจาเหลือหลายคันคากปางนั้น บัดนี้ก็หากแมนบริษัทองคล้ํายอดคน๒ ๓.๑.๓ ความสําคัญของวรรณกรรมพื้นบานเรื่องพระยาคันคาก นิทานพระยาคันคากเปนบอเกิดแหงประเพณีสําคัญของชาวอีสานคือประเพณีบุญ บั้งไฟ ซึ่งเปนบุญประจําเดือน ๖ ตามหลักฮีต ๑๒ เพราะมีความเปนมาเกี่ยวกับการที่พระยา คันคากพาบริวารขึ้นไปรบกับพระยาแถน เนื่องจากพระยาแถนทําใหฝนแหงแลง เมื่อพระยา แถนแพ จึ ง ทํ า สั ญ ญากั น กั บ พระยาคั น คากว า เมื่ อ ถึ ง เดื อ น ๖ เป น ฤดู ที่ ต อ งทํ า นา มนุ ษ ย ทั้งหลายตองใหสัญญาณพระยาแถนปลอยฝนลงมาโดยการจุดบั้งไฟ และเปนประเพณีที่นิยม ๑

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, (มหาสารคาม :

มหาสารคาม, ๒๕๒๕), หนา ๕. ๒ เรื่องเดียวกัน, หนา ๙๐.

ศูนยวัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม วิทยาลัยครู


๔๔

วรรณกรรมเรื่องพระยาคันคากนิยมใชเทศนเพื่อขอฝน ดังที่ ธวัช ปุณโณทก กลาววา “การ เทศนเรื่องพระยาคันคากนี้ชาวบานจัดเปนพิธีใหญ และถือกันเปนพิธีเชนเดียวกับ “พระเวสส” กลาวคือเริ่มตนจากการจัดสถานที่ และนิมนตพระสวดคาถาปลาคอ (ปลาชอน) วันละ ๑๐๘ จบ ๓ วัน (เดี๋ยวนี้ยนยอลงตามความสะดวก) และนิมนตพระที่มีชื่อเสียงมาเทศน ๒ ธรรมาสน เรื่องพระยาคันคาก สรุปไดวา นิ ทานพื้นบา นอีสานที่ไดรับความนิยม ตามบัญชีร ายชื่อ นิทานมีอ ยู ทั้งหมด ๕๙ เรื่อง ซึ่งจําแนกออกเปน ๕ ประเภท คือ ๑. นิทานบันทึกเหตุการณ ๒. นิทานเลาเรื่องสถานที่ ๓. นิทานบันเทิง ๔. นิทานพุทธศาสนา ๕. นิทานคติธรรม แมจะมีถึง ๕ ประเภทตามที่กลาวมานี้ก็ตาม แตนิทานพื้นบานอีสานก็มักจะมีหลาย ลักษณะในเรื่องเดียวกัน เชน แมจะเปนนิทานประเภทบันเทิง แตก็มีการเลาเรื่องสถานที่และ แทรกคติธรรมไวดวย เปนตน ยุคของนิทาน จําแนกออกเปน ๕ ยุค คือ ยุคแรกเริ่ม ยุคสังคมเมือง ยุครัฐ ยุคที่อยู ใตอิทธิพลของอาณาจักรภายนอก และยุคปจจุบัน เรื่องพระยาคันคากเปนนิทานประเภทบันเทิง ใหคติเกี่ยวกับหลักการปกครอง คือ พระยาคันคากปกครองบานเมืองโดยทศพิธราชธรรม บานเมืองจึงมีความสงบสุข สวนพระยา แถนเปนคนริษยาในสมบัติของผูอื่น ทนเห็นผูอื่นไดดีกวาตนไมได จึงใชอํานาจการปกครอง ที่มีอยูนั้นกลั่นแกลงผูอื่น อยางไรก็ตาม ธรรมะยอมชนะอธรรม พระยาคันคากจึงตอตานการ ปกครองที่ไมชอบธรรมนั้น โดยการพากําลังพลบริวารขึ้นไปรบกับพระยาแถน จนสามารถ ทวงความยุติธรรมกลับคืนมาได

ธวัช ปุณโณทก, วรรณกรรมทองถิ่น, หนา ๒๑๓.


๔๕

๓.๒ หลักธรรมเกี่ยวกับสภาวธรรม สภาวธรรมหรือหลักธรรมชาติ ไดแก ธรรมที่เปนตัวสภาวะ ไมใชหลักสําหรับ ประพฤติโดยตรงเหมือนกับจริยธรรม แตเปนหลักที่ตองใชปญญาพิจารณาจนเกิดความเขาใจ ไดถูกตอง เชน หลักอริยสัจ ๔ หลักปฏิจจสมุปบาท เปนตน ธรรมเหลานี้เปนภูมิแหงวิปสสนา กรรมฐาน หลักสภาวธรรมที่ปรากฏในเรื่องพระยาคันคากนั้น ดังนี้ ๓.๒.๑ อริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔ คือความจริงอันประเสริฐ หรือความจริงของพระอริยะ เปนหลักธรรม หรือหลักสากลที่แกความทุกขหรือแกปญหาตาง ๆ ได มี ๔ ประการ คือ ๑) ทุกข สภาพที่ทนไดยาก คือ การเกิด แก เจ็บ ตาย การพลัดพราก จากสิ่งที่ชอบใจ ประสบกับสิ่งที่ไมนาชอบใจ ไมไดในสิ่งที่ปรารถนา โดยยอคืออุปาทานขันธ ๒) ทุ ก ขสมุ ทั ย เหตุ ใ ห เ กิ ด ทุ ก ข ได แ ก ตั ณ หา ๓ คื อ กามตั ณ หา ภวตัณหา วิภวตัณหา ๓) ทุกขนิโรธ ความดับทุกข สลัด พนจากตัณหา ไมมีอาลัยในตัณหา ๔) ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ทางใหถึงความดับทุกข คือ มรรคมีองค ๘๔ หลักอริยสัจ ๔ คือหลักการแกปญหาทุกอยาง ที่วาเปนหลักการแกปญหาทุกอยาง นั้นหมายถึงเปนรูปแบบและแนวทางแหงการแกปญหาทั้งหลาย สามารถประยุกตใชไดกับ ศาสตรทุกอยาง เพราะเปนความจริงของธรรมชาติ ไมใชศาสตรที่มนุษยเปนผูสรางขึ้นมา แต เปนความจริงที่พระพุทธเจาทรงคนพบ ในเรื่องพระยาคันคาก หลังจากที่พระยาแถนไดทําให ฝนแลงแลว สรรพสัตวทั้งหลายที่อาศัยอยูในโลกก็ไดรับความเดือดรอนทั่วหนา พระยาคัน คากในฐานะผูปกครองจึงตองหาทางแกปญหา เมื่อพระองคกําหนดไดวาความแหงแลงนั้น เปนเหตุใหเกิดทุกข ถาจะแกความทุกขไดก็ตองแกปญหาแลงนั้น ซึ่งก็หมายความวาตอง แกปญหาที่กอใหเกิดความแหงแลง ดังนั้น พระองคจึงไปสอบถามพระยานาคดูถึงสาเหตุแหง ความแลง ดังวัจนประพันธวา

วิ. มหา. (บาลี) ๔/๑๔/๑๔.


๔๖

เฮาจักลงไปพื้นสมุทรหลวงเมืองนาคภายพุน สูจงหางรถพรอมเทียมไดโกฏกือ๕ เมื่อลงไปถึงเมืองบาดาลแลวก็ถามพระยานาควา ดูรานาโคเจาผูทรงฤทธิ์จบเพท เฮาจักถามเหตุฟาฝนแลงอยาอํา บัดนี้ บังเกิดแลงทั่วทีปชมพู แทแลว มันจักเปนประการใดจังมากุมแลง อันวาฟาเทิงพุนเปนวังสระใหญ จริงลือ อันวากกบอน้ําฝนนั้นสิ่งใด นั้นเด ดันวาเถิงฤดูแลวฝนสั่งมาเขินขาดเสียนั้น ไผผูตกแตงใหเปนน้ําหาฝนนั้นเด ทานจงไขวาจาบอกเฮาเดี๋ยวนี๖้ เมื่อสอบถามดูก็ไดทราบวาพระยาแถนเปนผูทําใหแหงแลง ถาจะใหหายแลงได ตองทําใหพระยาแถนซึ่งเปนผูปกครองพวกนาคทั้งหลายยอมทําใหฝนตกตองฤดูกาลดังเดิม ดังนั้น พระองคจึงไดยกกําลังพลไปปราบพระยาแถน ขั้นตอนนี้จัดวาเปนมรรควิธีที่จะทําให แกปญหาความแหงแลงได เมื่อปราบไดแลวก็สั่งใหพระยาแถนทําใหฝนตกดังเดิม เพื่อใหโลก มนุษยกลับอุดมสมบูรณดังเดิม ดังวัจนประพันธวา บัดนี้ เฮาจักสอนสั่งเจาทั้งหลายจําจื่อเอาเนอ อยาไดไลฮีตบานคลองเฒาแตประถม คันวาเถิงขวบฟาปใหมเดือนหกเมื่อใด จงใหฝนตกลงมาซุปจริงแท คันวาเถิงเดือนเจ็ดนั้นใหฝนฮําดินออน ทานจงยายปลูกขาวนากวางซุป นั้นเทอญ “ฮอดเดือนเกานั้นแลวประสงคไดแตดํา เถิงเดือนสิบ มาแลวใหฝนรินพื้นแผน สัสสานิขา วกลาเขียวอวนดั่งเทา นั้นแลว ฮอดเดือนสิบเอ็ดมาแลวเปนฮวงตกถอก” เม็ดขาวทอหมากพราวตนทอลําตาล จงใหฮวงมันยาวคาวาสามแงน ยามเมื่อขาวแกแลวสุกแกเต็มนาเมื่อใด จงใหขาวหลนขวั้นเมือเลาซุฮวง นั้นเทอญ๗ เมื่อพระยาแถนทําใหฝนตกตองตามฤดูกาล ความแหงแลงก็หายไป ความสงบสุขก็ กลับมีดังเดิม ซึ่งจัดวาเปนการเขาถึงนิโรธคือดับปญหาหรือแกปญหาได

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, (มหาสารคาม : ศูนยวัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม วิทยาลัยครู มหาสารคาม, ๒๕๒๕), หนา ๓๗. ๖ เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๙. ๗

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๓


๔๗

๓.๒.๒ ขันธ ๕ ขั น ธ คื อ กองรู ป และนาม เป น องค ป ระกอบของสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี ใ จครอง ยกเว น อรูปพรหมและอสัญญีสัตว มี ๕ คือ ๑) รูป รางกาย ไดแก มหาภูตรูป อันประกอบดวย ดิน น้ํา ไฟ ลม และ อุปาทายรูป รูปที่อาศัยมหาภูตรูป เชน ความแก เปนตน ๒) เวทนา การเสวยหรือรับรูอารมณ มี ๓ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอุเบกขาเวทนา ๓) สัญญา ความจําไดหมายรู เชน รูวาเปนสีเขียว สีแดง เปนตน ๔) สังขาร สภาพที่ปรุงแตงจิตใจ ซึ่งไดแก เจตสิกธรรมทั้งหลาย ๕) วิญญาณ การรูแจงอารมณ เชน จักขุวิญญาณ รูแจงอารมณทางตา เปนตน๘ ตอนที่พระยาคันคากอยากแตงงาน ก็ทูลใหพระราชบิดาวาพระองคตองการกุมารีที่ มีความสิริโฉม ดังวัจนประพันธวา ลูกก็คึดอยากไดแกวแกนกุมารี ยังจักมีเมืองใดชาลือเขายอง งามสุดเสี้ยงสวรรคแมนเทวโลก คือดั่งอัปสรหยาดยอยปูนเพี้ยงเกิ่งเสมอ พอเอย๙ พระราชบิดาจึงตรัสเตือนสติใหรูประมาณในตนวา อันวา โสมเสลาแกวยังเปนคันคาก โสมฮูปทาวยังเพี้ยงไปคน ลูกเอย อันนี้ อยาไดกลาวตานเปนยิ่งลือสะหาวพอนา โสมบเถิงเคิ่งเสี้ยวนอยบลือเทียมซอน แนวโตฮูปฮางฮายเขียดคันคากสันใด สังไปจาเหนี่ยงดาวเดือนไปลือเทียซอน๑๐ รูปประณีตยอมทําใหเกิดความพอใจ ปรารถนาที่จะครอบครองเปนเจาของ ดวย อํานาจของกามตัณหา เหมือนดังที่พระยาคันคากตองการที่จะไดกุมารีที่ทรงสิริโฉมมาเปน คู ค รอง ส ว นรู ป ทรามย อ มไม เ ป น ที่ พ อใจ และอาจถู ก เยาะเย ย เหยี ย ดหยามได เมื่ อ นํ า มา เปรียบเทียบกันแลว ก็ยิ่งเห็นความแตกตางกัน ไมเหมาะสมกัน สิ่งเหลานี้เปนธรรมดาของโล กิยวิสัย ผูมีสติเทานั้นจึงจะมองเห็นความเปนจริงในสภาวธรรมนี้ ๘

อภิ. วิ. (บาลี) ๓๕/๑๒/๑๔.

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๙.

๑๐

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐.


๔๘

หลังจากที่พระยาคันคากคืนสมบัติใหกับพระยาแถน และเตรียมตัวที่จะกลับลงไป ยังโลกมนุษย มีการพรรณนาถึงความรูสึกของทหารพระยาคันคากกับสาวสวรรควา จิตอยูพี้ใจอยูพี้ไปพุนแตฮางคีงนั้นแลว แตนั้นเขาก็แซว ๆ ไหสองไกลนับมื้อหางเสียแลว อันวานองและอายมือไลลูบทรวง คอยอยูดีเยอสาวสวรรคสรอยเสนหาทิพฮูปเฮียมเอย พี่หากหิวหอดกลั้นดอมนองขาดทรวงพี่แลว คอยไปดีเยอออดหลอดเนื้อเจายอดชมพูอีเฮียมเอย๑๑ ...หญิงนั้นคีงออนอวนปานฝายดีดผง เจ็บที่รักบทันอิ่มซอนเจียรจากไกลอกอวนนั้น วาจักคืนไปชมก็เลาการไกลน้ํา เจ็บใจแทเวรกรรมสุดทีอาวนองเอย คิดนึงเถิงนองกรรมสรางใหเกิดไกล ลางจักมรณาเมี้ยนเวรังใหพลัดพราก อายจักตายคอบนองไลหนาพรากพลอย เหลือที่ขีนอกแทสุดที่เทียวทางฮวม๑๒ ปุถุชนเมื่อไดเกิดความยินดีในรสแหงกามคือไดสัมผัสเชยชมกับรูปที่งาม ก็เกิด ความอาลัยในกามคุณนั้น เมื่อตองพลัดพรากจากสิ่งที่รักที่พอใจ จึงประสบกับความทุกขดังที่ ไดกลาวมาแลวนี้ และมีการรําพันวาเปนเพราะเวรกรรมที่ไดทําไวแตปางกอน ซึ่งอาจเปนไป ไดตามหลักกรรมนิยาม หรือไมใชเรื่องของกรรมในอดีต แตเปนเรื่องของจิตนิยามในปจจุบัน ก็ได ๓.๒.๓ ไตรลักษณ ไตรลั ก ษณ คื อ ลั ก ษณะ ๓ ประการของสั ง ขารทั้ ง หลาย เรี ย กอั ก อย า งหนึ่ ง ว า สามัญญลักษณะ คือความเสมอเหมือนกันของสังขารทั้งหลาย ลักษณะ ๓ ประการ คือ ๑. อนิจจัง ความไมเที่ยงแทแนนอน ๒. ทุกขัง ความเปนทุกข ๓. อนัตตา ความเปนสิ่งไมใชตัวตน๑๓ ในอนั ต ตลั ก ขณสู ต ร พระพุ ท ธเจ า ได ต รั ส ถึ ง ความที่ ขั น ธ ๕ เป น สิ่ ง ที่ เ ที่ ย งแท แนนอน เปนทุกข และเปนอนัตตา เพื่อใหปญจวัคคียไดรูถึงสภาพความเปนจริงของรูปนาม จะไดไมเกิดความยึดมั่นถือมั่น อันเปนเหตุใหเกิดความทุกข และปญจวัคคียก็ไดเขาใจถึง ธรรมชาติของรูปนามอยางถองแท จนสามารถละทุกขไดในที่สุด ๑๑

เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๑.

๑๒ ๑๓

เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๑.

วิ. มหา. (บาลี) ๔/๒๑/๑๘., สํ. สฬา. (บาลี) ๑๘/๑/๑.


๔๙

ตอนที่พระยาแถนริษยาสมบัติของพระยาคันคากแลวทําใหโลกมนุษยเกิดความ แหงแลง มีการพรรณนาถึงความแหงแลง ดังนี้ แถนก็คิดเคียดแคนถั้นโบกธรณี บใหนาโคลอยดีดหางพุมเลน เลยเลาเขินเสียเสี้ยงนัททีหลวงเขินขาด ฝนบตกหยาดยอยฮําพื้นแผนดิน เจาเอย เลยเลาบังเกิดแลงในทวีปชมพู เถิงเจ็ดปเจ็ดเดือนฝนบลงฮําพื้น พืชในชมพูกวางตายไปแหงเหี่ยว ทั้งกลวยออยตายเสี้ยงบเหลือ แมนวานัททีน้ําสมุทรหลวงเขินขาด ไปแลว ฝูงหมูแมน้ํานอยเขินแหงไงผง๑๔ สังขารที่ไมมีใจครองคือธรรมชาติก็มีความไมเที่ยงเชนเดียวกันกับสังขารที่มีใจ ครอง คือพืชพันธุที่เคยเขียวขจี เมื่อขาดน้ําก็แหงตาย นทีที่เคยมีน้ําขังเต็มเปยม เมื่อเกิดความ แหงแลง น้ําก็ขาดเขิน เปนเหตุใหสิ่งมีชีวิตทั้งหลายเกิดความเดือดรอน แสดงใหเห็นถึงความ ไมเที่ยงแทของสรรพสิ่ง หลังจากที่พระยาคันคากรบชนะพระยาแถนไดแลว ก็พาบริวารทั้งหลายเขาไปยัง เมืองแถน ยึดเมืองแถนไวในครอบครอง ดังวัจนประพันธวา เมื่อนั้น สิทธิเดชไทพญาหลวงคันคาก พระก็ไหลหมูซางคนเขาสูเมือง พระก็ยังไปหอง โฮงแถนหลังใหญ พระก็ไหลหมูชางเฮียงฮานแทบเกย พระก็ลีลาขึ้นโฮงแถนหลังใหญ ขึ้นแทนแกวแถนพุนแทนคํา๑๕ อํานาจจึงเปนดั่งสมบัติผลัดกันชม เมื่อมีอํานาจก็สามารถที่จะสั่งการหรือเนรมิตร อะไรก็ได แตเมื่อสิ้นวาสนา แมแตการอยูอาศัยในที่ที่ตนเคยอยูก็ยังลําบาก ในเวลาที่ บ า นเมื อ งไร ก ฎเกณฑ ผู ที่ มี อํ า นาจ มี กํ า ลั ง เหนื อ กว า หรื อ ผู ช นะ ย อ ม สามารถที่จะทําอะไรตามชอบใจได บริวารพระยาแถนก็เหมือนกัน ตางก็ไดเชยชมกับสาว สวรรคผูงดงามโดยถวนหนา ดังวัจนประพันธวา เมื่อนั้น สัว ๆ พรอมฝูงหมูโยธา เขาก็ยูทางเทเอาของแถนอเนกนองมีไฮ เดียรดาษลนสาวถาวเมืองแถน โสมสีงามดั่งสาวสวรรคฟา ยูทางชมหลายชูนางงามแยมยิ่งจริงแลว คีงออนอวนปานฝายดีดผง หลิงดูยาบ ๆ แสเขาแบงปนนางและเยอ ยูทางซมสาวแถนฮูปงามปานแตม ลางคนไดเมียสองสามสี่ก็มี บางผองไดเมียหาจูบซม๑๖

๑๔

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๓๕.

๑๕ ๑๖

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๐.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๑.


๕๐

สาวสวรรคเปนผูสูงศักดิ์กวามนุษย คูควรกับการไดเปนบาทจาริกของแถนเทานั้น แตเมื่อฝายแถนรบแพ จําตองยอมรับกับสิ่งที่ตนไมปรารถนาคือการไดเปนเมียของมนุษยผู เปนบริวารแถน ซึ่งเปนความไมแนนอนของชีวิต มีสูงก็ยอมมีต่ําคูกันเสมอไป สิ่งที่เปนวิสัย ของโลกเจริญไดก็เสื่อมไดเชนเดียวกัน ขณะที่ พ ระยาคั น คากกํ า ลั ง พาบริ ว ารกลั บ ลงไปยั ง โลกมนุ ษ ย มนุ ษ ย ผู ที่ ไ ด ส าว สวรรคเปนเมียก็เกิดความอาลัยอาวรณกับการที่ตองพลัดพรากนั้น จึงกลาววา โอนอ ทุกขที่ทวงหลายแคนขังในอกซิแตกตายแลว สังมาเหลือใจแทฮามเสนหไกลหาง อายสังพลัดพรากนองนอนแลงเมื่อแลงพี่เด เวรใดอายมาไกลจําจากเสียนี้๑๗ การไดอยูอาศัยรวมกัน ทําใหเกิดความเห็นอกเห็นใจกัน ทําใหเปลี่ยนความเกลียด เปนความรักก็ได เมื่อจะตองพลัดพรากจากสิ่งที่ตนรักดวยอํานาจของความไมเที่ยงแทแนนอน ของสรรพสิ่ง จึงกอใหเกิดเปนความทุกขแกทั้งสองฝาย พระยาแถนนั้นเปนผูยิ่งใหญปกครองมนุษยโลกและเทวโลก แตหลังจากที่พระยา คันคากไดเปนใหญ คนทั้งหลายก็หันมาเคารพนับถือพระยาคันคาก ทําใหพระยาแถนนั้นทํา ใจไมไดไมไดกับการที่ตองสูญเสียอํานาจที่มีอยูนั้นไป นั่นเปนเพราะพระยาแถนหลงยึดมั่น ในสิ่งที่ตนเองก็ไมสามารถบังคับใหเปนไปตามที่ตองการได ไมไดเขาใจความเปนจริงวา สังขารคืออํานาจนี้มันมีลักษณะเปนอยางนี้ จึงทําใหเกิดความทุกขใจ เมื่อพยายามชวงชิง อํานาจนั้นคืนโดยการทําลายศัตรู ผลที่ไดคือความปราชัยและความทุกขใจ เหตุการณที่เกิดขึ้น ทั้งหมดนี้เปนเพราะพระยาแถนไมเขาใจกฏแหงไตรลักษณ ถาเขาใจไดถูกตองและทําใจได กับการสูญเสียที่เกิดขึ้นนั้น การสูญเสียชีวิตของแถนทั้งหลาย และบริวารของพระยาคันคากก็ ดี ความทุกขทรมานใจของพระยาแถนก็ดี ความเดือดรอนอันเกิดจากความแหงแลงบนโลก มนุษยก็ดี ก็คงไมเกิดขึ้น

๑๗

เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๙.


๕๑

๓.๒.๔ หลักกรรมนิยาม กฎแหงธรรมชาติ เรียกวา “นิยาม” มี ๕ ประการ คือ ๑) พีชนิยาม กฎเกณฑเกี่ยวกับพืช หรือกระบวนการดํารงชีวิตอยูของพืช ๒) อุตุนิยาม กฎเกณฑเกี่ยวกับฤดู หรือกระบวนการทํางานของฤดู ๓) กรรมนิยาม กฎเกณฑเกี่ยวกับกรรม หรือกระบวนการทํางานของกรรมคือ การใหผล ๔) จิตนิยาม กฎเกณฑเกี่ยวกับจิต หรือกระบวนการทํางานของจิตคือการ รับรูอารมณ ผลคือเกิดความยินดี ยินราย หรือไมมีความยินดียินราย เมื่อกายแตกดับไป และยัง ไมสิ้นกิเลส จิตก็จะเก็บวิบากไว เกิดปฏิสนธิจิตในภพใหมตอไป ๕) ธรรมนิยาม กฎเกณฑของธรรมทั้งหลาย เชน เกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป เปนตน หมายเอานิยาม ๔ ขางตนดวย ในที่นี้จะไดกลาวเฉพาะกรรมนิยาม กรรมในทางพระพุทธศาสนา มี ๒ อยาง คือ กุศลกรรม และอกุศลกรรม อีกนัยหนึ่งมี ๔ อยาง คือ ๑) กัณหกรรม กัณหวิบาก กรรมดํา มีวิบากดํา ๒) สุกกกรรม สุกกวิบาก กรรมขาว มีวิบากขาว ๓) กัณหสุกกกรรม กัณหสุกกวิบาก กรรมดําและขาว มีวิบากดําและขาว ๔) อกัณหาสุกกกรรม อกัณหาสุกกวิบาก กรรมไมดําไมขาว มีวิบากไมดํา ไม ขาว๑๘ กรรมดํา มีวิบากดํา คืออกุศลกรรม และผลแหงอกุศลกรรมทั้งหลาย กรรมขาว มี วิบากขาว คือกุศลกรรม และผลแหงกุศลกรรมทั้งหลาย กรรมดําและขาว มีวิบากดําและขาว ได แ ก อกุ ศ ลกรรมและกุ ศ ลกรรม และผลแห ง กรรมทั้ ง สองนั้ น คื อ บุ ค คลทํ า กรรมทั้ ง ๒ ประเภท สวนกรรมไมดําไมขาว มีวิบากไมดํา ไมขาว ไดแก เจตนาเพื่อละกรรมดําและกรรม ขาว กฎหรือธรรมชาติของกรรมคือเมื่อคนมีกิเลสก็จะทํากรรม และกรรมที่ทํานั้นก็จะ ใหผลแกผูกระทํา ยกเวนกรรมนั้นเปนอโหสิกรรม (ตามนัยพระอรรถกถาจารย) คือกรรมนั้น เปนกรรมเล็กนอย และผูที่ถูกกระทําก็มีจิตใหอภัย ไมคิดจองเวรตอกัน ๑๘

ม. ม. (บาลี) ๑๓/๘๑/๕๗.


๕๒

ดวยผลแหงกรรมดีหรือบุญบารมีของพระยาคันคาก ทําใหสัตวที่เปนศัตรูกันคือ ครุฑกับพระยานาคกลับมีใจเปนเมตตาตอกัน ดังวัจนประพันธวา แตนั้น พรอมพญาครุฑพรอมพญานาคทั้งหลาย ดีแกสองพญาฮักตอกันปางนั้น ก็เพื่อบุญบาทาวสมภารปางกอน จริงแลว สัตวอยูใตลุมฟาบทําฮายแกกัน แทดาย๑๙ ตอนที่พระถาแถนเกิดความริษยาสมบัติของพระยาคันคาก จึงบันดาลโทสะดวย การทําใหโลกแหงแลง เพื่อเปนการลงโทษมนุษยทั้งหลายที่ไมภักดีตอตนเหมือนในอดีต ดัง คําประพันธวา แถนก็คิดเคียดแคนถั้นโบกธรณี บใหนาโคลอยดีดหางพุมเลน เลยเลาเขินเสียเสี้ยงนัททีหลวงเขินขาด ฝนบตกหยาดยอยฮําพื้นแผนดิน เจาเอย๒๐ การทําใหผูอื่นเดือดรอนจึงเปนอกุศลกรรมของพระยาแถน ซึ่งจะสงผลใหตนตอง ถูกพระยาคันคากยกทัพขึ้นไปปราบ ทวงความยุติธรรมแกโลกมนุษย และเมื่อพายแพตอพระ ยาคันคาก จึงถูกพันธนาการ สิ้นอิสรภาพและความเปนใหญ ดังวัจนประพันธวา บัดนี้จักกลาวภูมีเจาพญาคันคาก พระก็มีโชคไดแถนฟาพระยอดเมือง พระก็เตินขาเกี้ยวพันธะนังบวงบาศ ตื่มฮอยเสนฮิงมั่นใสเขน แลวเลาเตินไปพรอมฝูงหมูโยธาหาญ ใหเขานําแถนเมืองฮอดเมืองมันพุน๒๑ ความประมาทในยศและอํานาจทําใหพระยาแถนเกิดความเมาในอํานาจ ใชอํานาจ ไปในทางที่ไมถูกตองดีงาม จึงถูกพระยาคันคากปราบใหสํานึกในกรรมที่ตนไดกระทํานั้น และพระยาคันคากยังไดสอนถึงผลแหงกรรมชั่ววา เห็นวาตนจบเพทดวยอาคมแข็งขนาด ตั้งวางึกงากแงนฟนฆาไขวขีน ยามเมื่อโตตายแลวไปสูอเวจี มีแตจมลงไปเวทนามีมั้ว เปนแตเวรหลังฮายปาปงกระทําบาป จิ่งไดเจ็บแสบฮอนในหมอหมื่นมีเจาเอย ชาติที่คนชายนี้ลางมีอาคมจบเพท จริงแลว แมนวาฮูยิ่งลนจําไวก็จึ่งดี เจาเอย อันนี้คลองธรรมแทพญาแถนใหจําจื่อ เอาเทอญ อยาไดบังเบียดไพรนอยคนไฮขมเหง๒๒

๑๙

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๓๒.

๒๐

เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๕.

๒๑

เรื่องเดียวกัน, หนา ๖๙.

๒๒

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๕.


๕๓

พระยาแถนผูประมาทแมจะมีชีวิตอยูก็เหมือนกับตายแลว เพราะไดตายไปจากคุณ งามความดี เหม็นดวยชื่อเสียงไมดีของตน แมจะยังไมจุติไปรับผลกรรมในภพอื่น แตก็ไดรับ ผลกรรมในชาตินี้คือการประสบกับความปราชัยในการรบ ซึ่งเปนการไดประสบกับความ สูญเสียอันยิ่งใหญ ทําใหตอ งทุกขทรมานใจ หลังจากที่กลับลงไปยังโลกมนุษยแลว พระยาคันคากก็สอนคนทั้งหลายใหตั้งมั่น ในความไมมประมาทดวยการทําความดีวา ตั้งหากมีเที่ยงแทเห็นแจงแจบก็ใจ เฮาแลว เฮาควรทํากองบุญซุคนอยาคราน เฮาควรจําศีลสรางภาวนาทานยอด จริงเทอญ อยาไดคิดโหดฮายใจกลาบาปหนาเจาเอย อยาไดตระหนี้ไวเงินคําแกวแกน จริงดาย ฮูทอทานทวดใหบุญค้ําเมื่อตาย เจาเอย ยามเมื่อลดดาบไวเมือเกิดเมืองสวรรคที่พุน เปนดังตาเฮาเห็นที่เมืองแถนพุน๒๓ พระยาคันคากเปนผูสวางมา สวางไป ไมประมาทในการดํารงชีวิต หมั่นสั่งสมแต กรรมดี เมื่อละสังขารแลวจึงไดไปเกิดในแดนสวรรค เปนการไดรับผลแหงกรรมดีที่ไดทําไว ดังวัจนประพันธวา ศีลหาเจาจําไวซุวันแทแลว ยามเมื่อเถิงเขตเจาอายุฮอดแสนป เมื่อนั้น เทโวไทอินตาเห็นเหตุ สองผัวเมียก็จึ่งตายเพรียงพรอม อินทรก็เอารถแกวลงตอนฮับเอาแทแลว ยาบ ๆ พรอมฝูงหมูเทวบุตร๒๔ วิบากกรรมเปนผูตัดสินที่เที่ยงธรรมที่สุด ไมมีเอนเอียงดวยอํานาจอคติ คือผิดเปน ผิด ถูกเปนถูก กรณีของพระยาแถนและพระยาคันคากเปนตัวอยางที่ดีของการดําเนินชีวิต เพราะทําใหรูวากรรมชั่วเปนสิ่งที่ไมควรกระทําเปนอยางยิ่ง สวนกรรมดีเปนสิ่งที่ควรกระทํา ใหมาก เพราะจะทําใหไดรับความสุขทั้งในปจจุบันและสัมปรายภพ

๒๓

เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๕.

๒๔

เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๙.


๕๔

๓.๓ หลักธรรมเกี่ยวกับคุณธรรม ๓.๓.๑ ความกตัญู ความกตัญู คือการรูคุณของผูอื่นที่ไดกระทําไวกับตน เชน รูคุณของบิดามารดา ครู อาจารย เปนตน พระพุทธศาสนาจําแนกบุคคลที่หาไดยากไว ๒ จําพวก คือ ๑) บุพพการี ผูไดทําอุปการะไวกอน ๒) กตัญูกตเวที ผูรูอุปการะและไดทําตอบแทน พระยาคันคากเปนผูมีความกตัญูกตเวที เชื่อฟงคําสอนของพระราชบิดาและพระ ราชมารดา จึงมีความเจริญในยศและการงาน ตอนที่พระยาคันคากตองการอภิเษกสมรส พระ ราชบิดาไดทรงยับยั้งไวกอน เพราะเห็นวายังไมถึงเวลาอันสมควร ความวา ใหเจาอดสาเยือ้ นกินเกลือตางลาบไปทอน อดสาจ้ําแจวดาน ๆ ซามพอปนปลา ลูกเอย ใหเจากลืนกินงวนขมฮืนไปกอน บุญเฮามีซิคอ ยพอน้ําออยคําขาวใหตงเอานั้นเนอ๒๕ พระยาคันคากก็ทรงเชื่อพระราชบิดา จนในที่สุดพระองคกไดเสวยบุญที่ไดทําไว ในอดีตชาติคือไดนางแกวเปนพระชายา เพราะความเชื่อฟงพระราชบิดา พระองคจึงทรงไดใน สิ่งที่ประเสริฐกวา ตอนที่ปราสาททิพยปรากฏแกพระยาคันคาก พระยาคันคากก็ไมทรงลืมพระคุณ ของบุ พ พการี จึ ง ได นํ า พาพระราชบิ ด าและพระราชมารดาเสด็ จ ขึ้ น ชมปราสาท ดั ง วั จ น ประพันธวา เมื่อนั้น ศรีเสลียวแกวกุมารคันคาก เจาก็ลุกยางยายมาตอนพอตน ศรีเสลียวแกวนางงามละกุทวีปก็ดี นางก็มาพร่ําพรอมนําทาวยางหลัง สองแกนแกวทูลราชเล็งโญ ขอเชิญจอมหัวสูสถานปรางคแกว ทาวก็จูงแขนไทปดตาตนพอ ขึ้นแทนแกวเพรียงพรอมพร่ํากัน๒๖ เมื่อไดทอดพระเนตรเห็นปราสาททิพยที่เกิดแกพระราชโอรส ทั้งสองพระองคก็ ทรงชื่นชมยินดีในสมบัติของพระยาคันคาก ทรงรูวาพระยาคันคากเปนผูมีบุญญาธิการมาก และทรงมั่นพระทัยวาจะสามารถปกครองบานเมืองตอจากพระองคได ตอมาจึงไดมอบพระ ราชสมบัติใหพระยาคันคากปกครองบานเมือง จึงกลาวไดวาความสําเร็จของพระยาคันคาก เกิดจากความกตัญูของพระองค ๒๕

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๑๑.

๒๖

เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๕.


๕๕

ตอนที่พระองคจะขึ้นไปรบกับพระยาแถน ก็ทรงไดไปลาเสด็จพระราชบิดาและ พระราชมารดา เพื่อแสดงความรักความเคารพที่มีตอพระราชบิดาและพระราชมารดา และเพื่อ เปนกําลังใจใหมีมานะตอสูกับอุปสรคที่ยิ่งใหญได ดังวัจนประพันธวา เมื่อนั้น ภูมีเจาเมื่อโองทูลพอ ทาวก็แปะแผนพื้นตีนเจาใสหัว บัดนี้ ขาจักลาบาทเจาจอมราชเล็งโญ กอนแลว จอมหัวทงเมืองหลวงอยูยืนอยาเฒา เคียดที่ฝนบตกหยาดยอยฮําพื้นแผนดิน พระเอย ขาก็เหลือใจแทพญาแถนบังเบียดปางนี้ ...ทาวก็วันทาไหวมารดาตนแม แปะแผนพื้นตีนเจาใสหัว แมก็ยัง ๆ น้ําตาหลั่งรินไหล บาคานเลยเลาลาลงหอง๒๗ ความดีที่พระยาคันคากไดทรงบําเพ็ญมาก็ปกปกรักษาพระองคใหมีชัยชนะตอพระ ยาแถน และเมื่อเสด็จกลับมายังโลกมนุษย พระองคก็ไมทรงลืมพระคุณของพระราชบิดาและ พระราชมารดา จึงไดเสด็จไปหาพระองคทั้งสองและตรัสวา ขอยก็คิดเถิงเจามารดาพอแม บุญสองแจมเจาซูค้ําก็จึ่งยังพระเอย๒๘ ชัยชนะที่ไดรับมานั้น พระยาแถนทรงยกความดีงามและความสําเร็จทั้งหมดใหกับ พระราชบิดาและพระราชมารดา คือทรงเห็นวาเกิดจากบุญของทั้งสองพระองค ๓.๓.๒ ความเมตตา พรหมวิหารธรรม คือ ธรรมเครื่องอยูอันประเสริฐ หรือขอปฏิบัติอันประเสริฐ มี ๔ อยาง คือ ๑. เมตตา ๒. กรุณา ๓. มุทิตา ๔. อุเบกขา

๒๗

ความรัก, ความหวงใยตอผูอื่น ความสงสาร, สะเทือนใจในเวลาที่เห็นคนอื่นไดรับความทุกข ความพลอยยินดีตอความสําเร็จของผูอื่น ความวางใจเปนกลางในสัตวทั้งหลาย๒๙

เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๑.

๒๘

เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๒.

๒๙

ดูรายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ เรียบเรียง, สมเด็จพระพุฒาจารย อาจ อาสภมหาเถร) และ คณะ แปล, คัมภีรวิสุทธิมรรค, พิมพครั้งที่ ๔ (กรุงเทพมหานคร : บริษัท ประยูรวงศพริ้นติ้ง จํากัด, ๒๕๔๖), หนา ๕๕๕ – ๕๕๖.


๕๖

ความเมตตาทําใหคนมีความเห็นใจกัน รูจักชวยเหลือกัน และใหอภัยกัน ดังนั้น เมตตาจึงเปนธรรมค้ําจุนโลกใหคนทั้งหลายอยูรวมกันอยางมีความสุข หลังจากที่พระยาคันคากรบชนะพระยาแถนไดแลว ดวยความที่เปนผูมีพระทัย ประกอบด ว ยเมตตา พระองค จึ ง ไม ท รงฆ า พระยาแถน แต ก ลั บ ปลอ ยพระยาแถนให เ ป น อิสรภาพดังเดิม ดังวัจนประพันธวา เมื่อนั้น พระจึ่งเตินนาคใหแกปลอยพญาแถน แตนั้นนาโคเลยปลอยแถนวางไว๓๐ และตอนที่พระยาคันคากพรอมบริวารจะกลับลงไปยังโลกมนุษย ดวยความที่เปนผู มีพระทัยประกอบดวยกรุณา พระองคก็ทรงสั่งไมใหนําสาวสวรรคกลับลงไปดวย เพราะทรง เห็นวาจะทําใหเขาพลัดพรากกัน อันวาสาวถาวนอยหนแหงเมืองแถน เอาลงไปเมืองคนบยืนตายแท อันหนึ่งเขาจักพลัดพรากเชื้อพอแมมารดา เขาจักทงคําทุกขเวทนาเวรตอง๓๑ ความเมตตาจึงทําใหคนเรามีจิตใจเปนธรรม ไมฉกฉวยโอกาส เอารัดเอาเปรียบผูอื่น อันจะเปนเหตุใหผูอื่นไดรับความเดือดรอน การที่พระยาแถนยอมรับนับถือพระยาคันคาก คือ ไดมีการทําพิธีบายศรีสูขวัญใหพระยาคันคากบนเมืองสวรรคหลังจากที่สิ้นสุดสงคราม ก็ เพราะความมีพระทัยประกอบดวยเมตตาของพระยาคันคากนี่เอง ๓.๓.๓ ความสามัคคี ความสามัคคีเปนพลังสรางสรรคสิ่งตาง ๆ และบอเกิดแหงความสําเร็จ เพราะความ สามั ค คี เ ป น การทํ า งานด ว ยความร ว มมื อ ร ว มใจกั น ของคนหลายคน ความคิ ด และ ความสามารถของคนหลายคนจะทําใหมองเห็นปญหาและทางแหงความสําเร็จที่หลากหลาย ดังนั้น ความสามัคคีจึงเปนสิ่งที่คนในสังคมพึงปรารถนา พระพุทธพจนเกี่ยวกับความสามัคคี เชน เพราะมีความสามัคคี ลิจฉวีจึงมีแตความเจริญ ไมมีความเสื่อม๓๒ ตอนที่พระยาคันคากจะขึ้นไปรบกับพระยาแถน ทั้งมนุษยและสัตวทั้งหลายตางมี น้ําใจเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน พรอมกันยกทัพขึ้นไปสวรรค ดังวัจนประพันธวา

๓๐

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๗๒.

๓๑

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๘.

๓๒

องฺ. สตฺตก. (บาลี) ๒๓/๒๑/๑๔.


๕๗

อันที่ทม ๆ ฮองนําหลังเค็งครื่นมานั้น ฝูงหมูเสือโครงเขี้ยวจังไฮฮายหมูหมี เจาเอย ยน ๆ เนพญาเหนหางกานก็มา ฝูงหมูเตนไตไมคณาเนื้อคางลิงเจาเอย อันวามัวมืดกลุมสุดหลังคือกบเขียด เขาก็มัวมืดกลุมเปนกอนหอภู แทแลว๓๓ ...อันที่ทม ๆ พื้นบินบนเผิ่งตอ ก็มา เขาก็มัวมีดกลุมคุงฟามืดมัว ฝูงหมูบินสอดแสวคณามอดหัวหิน เขาก็ทม ๆ บินมืดมัวมีแจง อันที่บินสูงพนเทิงหัวมัวมืด ฝูงหมูแฮงกาเคาโกฏิคือ เจาเอย หลิงดูอเนกลนเหลือทงพลาญเพียง พุนเยอ คือดั่งมณฑลคับแผนดินดาขว้ํา๓๔ สรรพสัตวเหลานี้ไมไดถูกบังคับใหไปรบ แตเพราะทั้งหมดไดรับความเดือดรอน อันเกิดจากการกระทําของพระยาแถน ทั้งหมดจึงพรอมใจกันไปทําศึก เพื่อปราบพระยาแถน เมื่อพระยาคันคากพากําลังพลมากมายมหาศาลไปรบกับพระยาแถน พระยาแถนก็ไมสามารถ ที่จะตานทานกําลังพลของพระยาคันคากได ตองประสบกับความปราชัยในที่สุด และตองทํา ตามคําของฝายพระยาคันคาก คือทําใหฝนตกตามเดิม ถาหากผิดสัญญาเมื่อใด มนุษยจะทวง สัญญานั้นดวยการจุดบั้งไฟเตือน ลําพังเพียงแตพระยาคันคากเองแมจะทรงเดชานุภาพมาก เพี ย งใดก็ ต าม ก็ เ ป น การยากที่ จ ะเอาชนะพระยาแถนได เพราะพระยาแถนก็ มี ฤ ทธิ์ ม าก เหมือนกัน แตท่ีสามารถเอาชนะไดก็ดวยความสมัครสมานสามัคคีของสรรพสัตวทั้งหลาย นั่นเอง เพราะเวลารบกับพระยาแถน กําลังพลทุกสวนมีสวนรวมดวยกันหมด เชน แตนและ ตอและผึ้งก็ตอยตาชางและมาของฝายพระยาแถน เสือก็กัดชางและมา เมื่อฝายพระยาแถนยิง ธนูไฟทําลาย พระยานาคก็พนน้ํามอดไฟนั้น เปนตน จึงกลาวไดวาชัยชนะของฝายพระยาคัน คากในครั้งนี้เกิดมีไดก็ดวยความสามัคคีของทุก ๆ ฝายนั่นเอง ๓.๓.๔ ความสันโดษ ความสันโดษ คือความยินดีในสิ่งที่ตนมีอยู ไมโลภมากในสิ่งที่เกินความจําเปน หรือในสิ่งที่ไดมาโดยไมชอบธรรม ผลดีของความสันโดษคือทําใหคนเรารูจักอดทนอดกลั้น ความยากลําบากได ไมมีความมักมาก ทะเยอทะยานในสิ่งที่ไมจําเปน เชน พระสงฆมีความ มักนอยในปจจัย ๔ เปนตน ความมักนอยของพระยาคันคากนั้นปรากฏตอนที่พระองคไม ละโมบในสมบัติของพระยาแถน ดังวัจนประพันธวา ๓๓

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๔๓.

๓๔

เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๔.


๕๘

พระก็ไขปากตานสอนทาวบกลัว เฮาบไดปรารถนาสรางซิงยาดเมืองแถนอีสังแลว เฮาก็มาผาบแพเอาไดสั่งสอนทานเอย ยังวาเปนแถนฟาคลองโบราณสังบจื่อจํานั้น สังวาละฮีตบานคลองเฒาแตประถมแทเด ตั้งแตโบราณพุนพญาแถนยังแตงฝนนั้น บัดนี้แถนหากมาชัดแข็งอวดสะหาวโงแงน เฮานี้มาผาบแพพญาแถนขึ้นสวนจริงแลว คันวาแถนยังสวยฟาฝนใหก็บทําทานเอย อันหนึ่ง อยาไดหวงแหนไวสระคุงคานาคลองลอย จงใหนาคขึ้นเลนตีนํา้ เกลื่อนลงนั้นเทอญ แตนั้นสัว ๆ พรอมฝูงหมูพญาแถน เขาก็ยอมือทูลวาโสมพระองคเจา จักโยมเปนขอยเหนือหัวคันคาก เปนแหลงใชฝนฟาซิแตงตาม นั้นแลว๓๕ ...บอกส่ําเชื้อพอแมมารดา ใหเอาลุกหลานเมือซุคนเพรียงพรอม แมนวาแปดหมื่นสี่พันชางพญาแถนถวยบาทก็ดี พระก็คืนสงใหทั้งมาซุตัว เอาแตเงินคําแกวของดีควรประเสริฐ คือปทมาราชพรอมพิฑูรยแกวคาเมือง แตนั้นแซว ๆ กองฝูงหมูชาวแถน เขาก็นํามาเอาลูกหลานเมือซุคนเพรียงพรอม แมนวาเสนาทาวพลแพนแสนโกฏิก็ดี เขาก็คืนลูกเตาแถนฟาซุนาง๓๖ จะเห็นวาพระยาคันคากนั้นไมไดมีจุดมุงหมายที่จะมาแยงชิงเอาสมบัติของพระยา แถนเลย แตพระองคมาเพื่อปราบพระยาแถนใหรูสํานึก เพื่อไมใหใชอํานาจเบียดเบียนผูนอย เทานั้นเอง ดังนั้น พระยาคันคากจึงไดรับความเคารพนับถือจากชาวแถน ๓.๓.๕ ความเสียสละ ความเสียสละในทางพระพุทธศาสนา เรียกวา “จาคะ” เปนธรรมที่ทําใหมนุษยมีใจ กวาง รูจักสละความสบายและประโยชนตน ทําประโยชนใหกับผูอื่นโดยไมหวังตอบแทนสิ่ง ใด คําสอนทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับความเสียสละ เชน ผูครองเรือนที่มีศรัทธา ประกอบดวยธรรม ๕ ประการ คือ สัจจะ ธรรม ความตั้งใจมั่น และจาคะ ละโลกนี้ไปแลวยอมไมมีความเศราโศก๓๗ ความเสียสละในเรื่องพญาคันคาก คือตอนที่สัตวทั้งหลายสมัครใจไปรบกับพระยา แถน โดยที่ไมไดเกรงกลัวฤทธิ์ของพระยาแถนเลย ดังวัจนประพันธวา ๓๕

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๒.

๓๖

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๙.

๓๗

สํ. ส. (บาลี) ๑๕/๒๔๖/๒๕๙.


๕๙

อันที่ทม ๆ ฮองนําหลังเค็งครื่นมานั้น ฝูงหมูเสือโครงเขี้ยวจังไฮฮายหมูหมี เจาเอย ยน ๆ เนพญาเหนหางกานก็มา ฝูงหมูเตนไตไมคณาเนื้อคางลิงเจาเอย อันวามัวมืดกลุมสุดหลังคือกบเขียด เขาก็มัวมืดกลุมเปนกอนหอภู แทแลว๓๘ ตอนที่ จ ะไปรบกั บ พระยาแถน พระยาคั น คากก็ ต รั ส บอกความตั้ ง พระทั ย ของ พระองคแกพระชายาดวยความอาจหาญวา ...ชาติที่สงครามนี้บหอนถอยหนีหลีกเปนแลว มีแตซิตายหนาพุนเขาซิยอง วาหาญ เจาเอย แสนซิมุดมอดเมิ้ยนเสียชีพมรณัง บมีกลัวเกรงสังทอเม็ดงาพอนอย ตายยอนขันอาสาสูส งครามลือเกง แมนซิดับชาติเมี้ยนตายแลวก็ซางตามนั้นทอน ชาติที่แนวเสือสิงหบหอนกลัวเกรงยาน๓๙ ซิไดลือซากองเหนือโลกเมืองคน แมแตชีวิตพระองคก็ไมทรงเสียดาย ขอใหไดทําหนาที่พิทักษความยุติธรรมก็เปน พอ นับวาเปนผูมีความกลาหาญ เปนนักเสียสละผูยิ่งใหญหาใครเสมอเหมือนไดยาก ๓.๓.๖ หลักกัลยาณมิตร กัลยาณมิตรคือผูมีความหวังดี ปรารถนาดีตอผูอื่น มีความรูดีและประพฤติดี ดํารง ตนเปนแบบอยางของผูอื่น องคแหงบุคคลผูเปนกัลยาณมิตร มี ๗ ประการ คือ ๑. ปโย เปนที่รักที่พอใจของคนทั้งหลาย ๒. ครุ นาเคารพ ๓. ภาวนีโย นายกยองสรรเสริญ ๔. วัตตา สอนผูอื่นดวยหลักเหตุผล ๕. วจนักขโม อดทนตอถอยคําของผูอื่นได แมจะถูกพูดจาถากถางก็ตาม ๖. คัมภีรัญจะ กถัง กัตตา อธิบายเรื่องที่ยากใหเขาใจไดงายขึ้น ๗. โน จัฏฐาเน นิโยชเย ไมชักนําในเรื่องที่เสียหาย๔๐ พระยาคันคากมีคุณสมบัติของความเปนกัลยาณมิตรครบถวน เชน กลาวสอนพระ ยาแถนผู ห ลงผิ ด ให ดํ า รงมั่ น ในคุ ณ งามความดี รวมทั้ ง สอนประชาราษฎร ใ ห บํ า เพ็ ญ บุ ญ ๓๘

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๔๓.

๓๙

เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๘.

๔๐

องฺ สตฺตก. (ไทย) ๒๓/ ๓๗/๕๗.


๖๐

เพื่อ ที่จะไดไปเกิดในสุคติภูมิ ดวยความดีของพระองคมนุษยและสัตวทั้งหลายจึงมีความ เคารพและเชื่อฟงพระองค ไดรวมกับพระองคไปสูรบกับพระยาแถนโดยไมมีการบังคับแต ประการใด ดังวัจนประพันธวา อันที่ทม ๆ พื้นบินบนเผิ่งตอ ก็มา เขาก็มัวมีดกลุมคุงฟามืดมัว ฝูงหมูบินสอดแสวคณามอดหัวหิน เขาก็ทม ๆ บินมืดมัวมีแจง อันที่บินสูงพนเทิงหัวมัวมืด ฝูงหมูแฮงกาเคาโกฏิคือ เจาเอย หลิงดูอเนกลนเหลือทงพลาญเพียง พุนเยอ คือดั่งมณฑลคับแผนดินดาขว้ํา๔๑ การที่ พ ระยาคั น คากสามารถรบชนะพระยาแถนได ก็ ด ว ยการได บ ริ ว ารที่ เ ป น กัลยาณมิตรทั้งหลายเหลานี้ ๓.๓.๗ การบําเพ็ญทาน การใหทานเปนบุญกิริยาวัตถุอยางหนึ่งที่ชาวพุทธนิยมทํากัน เพราะทานเปนบุญที่ ทําไดงายกวาการรักษาศีลและการเจริญภาวนา เพียงแตมีวัตถุทาน มีใจคิดใหทาน และมีผูรับ ทาน ก็สามารถทําไดแลว การทําทานเปนทั้งการไดบําเพ็ญบุญใหกับตนเอง และเปนการได ชวยเหลือคนอื่นใหไดรับความสะดวกสบาย และมีความสุข ดังนั้น ทานจึงเปนเครื่องชวยทํา ใหสังคมมนุษยอยูรอดได ตอนที่พระราชมารดาของพระยาคันคากถามถึงสมบัติของนางคือความมีสิริโฉม แหงรูปกายวาเกิดจากบุญอะไร นางแกวผูเปนพระชายาของพระยาคันคากจึงทูลบอกวาพระ นางอยูที่อุตตรกุรุทวีป สาเหตุที่พระนางไดมาอยูรวมกับพระยาคันคากก็ดวยอํานาจบุญของ พระยาคันคาก ดังวัจนประพันธวา พระไดตกแตงสรางศีลแกวชอบทาน บูชาพระปจเจกเจาในชาติปางหลัง ถวายคันธกุฏีแกองคพุทโธเจา กองบุญสรางกฐินเททานทอด ตักบาตรและหยาดน้ําบไลมางสวนบุญ ชาติกอนนันเปนยิ่งบุญกุศล แทดาย บไดไลวางปะทอดทานเทให อินทรจึ่งไปหอบอุมมาสูปราคทอง พระเอย๔๒

๔๑

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๔๔.

๔๒

เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๖.


๖๑

ในอดีตชาติ พระยาคันคากมีใจเปนกุศล จึงรักษาศีล ใหทาน และกรวดน้ําอุทิศ สวนกุ ศ ลใหเ ปตชน ด วยกุศ ลกรรมนั้ น จึ งส งผลให พระอิน ทรนํ า นางแกว มามอบใหเ ป น คูครองของพระยาคันคาก ซึ่งบุคคลธรรมดาไมอาจจะมีได ยกเวนพระเจาจักรพรรดิเทานั้น ซึ่ง เปนผูมีบุญญาธิการมาก ฐานะของพระยาคันคากจึงเปนพระเจาจักรพรรดิ แมพระยาคันคากจะเปนผูสวางมา เพียบพรอมดวยบุญ แตพระองคก็ไมทรงอิ่มใน บุญ ยังทรงบําเพ็ญบุญยิ่ง ๆ ขึ้นไปอีก ดังมีพรรณนาวา แมนวาขอยขาเลี้ยงทานไถสินไหมก็ดี พระก็ถอนไถซื้อแทนแลวโผดไป แมนวาวัวควายชางทั้งเมืองเดียรดาษ พระก็ถอนไถซ้อื เอาแลวโผดเสีย๔๓ แมนางแกวผูเปนพระชายาของพระยาคันคากก็ไดมีจิตใจเลื่อมใส ไดบําเพ็ญทาน บารมี ดังวัจนประพันธวา แมนวาศรีเสลียวแกวนางงามกุรุทีปก็ดี นางก็เอาเสือ้ ผาเทใหทอดทาน เดียรดาษลนผาทิพยออนลายงาม นางคานยอใสหัวใหทานเหลือลน เจตนาทานมั่นในคลองพุทธบาท มโนมัยเที่ยงมั่นดีแลวทอดทาน๔๔ การใหทานของพระยาคันคากนี้เปนการใหแบบอโนทิสทาน คือใหแบบไมเลือก ไมเจาะจง ผูรับทานไดรับกันเสมอเหมือนกันทุกคน ผลดีก็คือจะไมมีการนอยใจวาตนไดนอย หรือไดทานที่ไมประณีตเทาคนอื่น แตทานที่ยกยองและมีคุณคามากกวาวัตถุทานทั่วไปคือ การใหอภัยทาน เพราะเปนการใหอิสระและใหชีวิตสัตว ทานประเภทนี้ไมใชเพียงแคผูใหมี จิตใจเสียสละเทานั้น แตตองประกอบดวยใจเมตตาและกรุณาเปนสําคัญจึงสามารถทําได ๓.๓.๘ ความเพียร ในการปฏิบัติธรรมหรือการดําเนินชีวิตของคนทั้งหลาย ปจจัยที่ทําใหประสบ ความสําเร็จกิจตามที่ไดมุงหวังไว ไดแก การมีความเพียร เพราะความเพียรเปนการลงมือทํา อยางมุงมั่น สม่ําเสมอ ไมทอดธุระ จนกวาจะสําเร็จกิจนั้น ๆ พระพุทธศาสนาจําแนกความ เพียรไว ๔ ประการ คือ

๔๓

เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๗.

๔๔

เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๗.


๖๒

๑. สังวรปธาน การสํารวมอินทรีย ระวังไมใหบาปอกุศลธรรมเกิดขึน้ ๒. ปหารปธาน พยายามอดกลั้น บรรเทา ละกามวิตก พยาบาทวิตก และ วิหิงสาวิตกที่เกิดขึ้นแลว ๓. ภาวนาปธาน การเจริญโพชฌงค ๗ ๔. อนุรักขนาปธาน การรักษาสัญญา เชน อัฏฐิกสัญญา เปนตน ที่เกิดขึ้นจาก การปฏิบัติสมาธิ ไมใหเสือ่ มไป๔๕ ความเพียรที่ปรากฏในเรื่องพญาคันคากเปนความเพียรในหนาที่ธุระของตน ไมใช ความเพียรในการปฏิบัติธรรม ความเพียรในการเดินทางขึ้นไปสวรรคของพระยาคันคากและ บริวารนั้น มีพรรณนาไวดังนี้วา สุดที่แมน้ํากวางคือฟาผอไกลเจาเฮย แตนั้นหลายวันไดหลายคืนคราวถีบไปแลว มื้อสืบมื้อนานไดขวบปเจาเฮย ก็จึ่งเมือฮอดฟาชื่อวาเมืองแถนที่พุน๔๖ ตองใชเวลาถึงหนึ่งปเต็ม พระยาคันคากและบริวารจึงขึ้นไปถึงสวรรคได ดวย ความตั้งใจจริงในภารกิจครั้งนี้ ไมทอดธุระทิ้งเพราะความทอถอยในความยากลําบากที่เกิดขึ้น การเดินทางไปสวรรคจึงสําเร็จได

๔๕

องฺ. จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๑๔/๑๘-๑๙.

๔๖

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๔๕.


บทที่ ๔ โลกทัศนทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสาน เรื่องพระยาคันคาก ผูวิจัยไดเลือกศึกษาวิเคราะหโลกทัศนในดานตาง ๆ ที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบาน อีสานเรื่องพระยาคันคาก ซึ่งโลกทัศนเหลานี้มีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตของชาวอีสาน หลอ หลอมความเปนอัตลักษณของชาวอีสาน ดังนี้ ๔.๑ โลกทัศนที่มีตอธรรมชาติ เรื่ อ งพระยาคั น คาก มี ก ารกลาวถึ ง ธรรมชาติ ที่ม นุษย ไ ดอาศัย ในการดํ ารงชีวิต ซึ่ ง สะทอนใหเห็นสภาพความเปนอยูของคนในสมัยนั้นไดเปนอยางดี โลกทัศนที่เกี่ยวกับธรรมชาติ ประมวลไดดังนี้ พระยาคันคากเปนผูมีบุญญาธิการมาก มีฐานะเปนพระเจาจักรพรรดิ เพราะไดนางแกว เป น ภรรยาและมี พ ระอิ น ทร เ นรมิ ต ปราสาททิ พ ย ใ ห อ ยู อ าศั ย ความงาม ความประณี ต ของ จิตรกรรมและอาภรณที่ปรากฏในปราสาททิพยนั้น มีพรรณนาไว ดังนี้ หลิงดูเดียรดาษพุนผาทิพยภรณผืนออนพุนเยอ ยล ๆ สรรพฮูปลายเลียนสลาย มีทั้งฮูปแขกเตาเขาทองเที่ยวทอง สรรพดวงดอกไมบานจี้จอจี คําแดงเลืองมุยผิวแกมสิ้ว เดียรดาษลนสรรพสิ่งอาภรณ แลเยอ สองแจมเจาเลือกหมของทิพย นานาสรรพสิ่งมีลือไฮ๑ อาภรณสําหรับนุงหมนั้นมีสีตาง ๆ คือสีทอง สีแดง สีเหลือง และสีสม มีสัมผัสออน นุม ทั้งสองจึงเลือกทรงอาภรณตามพระทัยปรารถนา ในปราสาทจิตรกรรมรูปนกแขกเตาบิน ทามกลางธรรมชาติที่งดงามดวยบุปผาที่บานสะพรั่ง นาอภิรมย ๑

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, (มหาสารคาม : มหาสารคาม, ๒๕๒๕), หนา ๑๖.

ศูนยวัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม วิทยาลัยครู


๖๔ “พอเมื่อเดิก ๆ ขอนเถิงแถใกลฮุง ไกก็ตบปกทาขันชั้นทั่วเมือง พอสูรยสองขึ้นพนขอบเขาทอง พุนเยอ สองนงแพงเลยลุกอาบสีสรงน้ํา หอมตลบฟงคันธเสนกลั้วกลิ่น คันโธหอมแตงตั้งเต็มไววางคํา สองแจมเจาลางสวายสีไคล ผิววรรณใสสองงามเงาแกว พอสรงแลวคืนมาเถิงแทน ประดับเครื่องยองทงเอกลอมกัน คือดังอินทาไทสุชาดาลงมาย ในวิมานชั้นฟาแสวงดั้นมายกัน๒ ในตอนนี้เปนการพรรณนาถึงลักษณะสภาพความเปนอยูของคนในชนบทที่เมื่อใกล สวาง ไกก็ขันแตเชาตรู ปลุกคนใหตื่นแตเชาเพื่อทํากิจของตน พระยาคันคากและพระชายาเปนผู สูงศักดิ์ มีเครื่องอุปโภคเพียบพรอมทุกอยาง จึงมีลักษณะความเปนที่ดีแตกตางจากคนทั่วไป คือมี เครื่องหอมชั้นดีประเทืองพระวรกายหลังจากที่สนานแลว แสดงใหเห็นถึงความเปนผูมีฐานันดร และเปนอยูอยางสุขสบาย เมื่อปราบพระยาแถนไดแลว พระยาคันคากก็ไดสั่งใหพระยาแถนทําหนาที่สงเสริมการ ทํานาของมนุษยทั้งหลาย เพื่อใหไดผลผลิตที่ดี ดังวัจนประพันธวา บัดนี้ เฮาจักสอนสั่งเจาทั้งหลายจําจื่อเอาเนอ อยาไดไลฮีตบานคลองเฒาแตประถม คันวาเถิงขวบฟาปใหมเดือนหกเมื่อใด จงใหฝนตกลงมาซุปจริงแท คันวาเถิงเดือนเจ็ดนั้นใหฝนฮําดินออน ทานจงยายปลูกขาวนากวางซุป นั้นเทอญ ฮอดเดือนเกานั้นแลวประสงคไดแตดํา เถิงเดือนสิบ มาแลวใหฝนรินพื้นแผน ฮอดเดือนสิบเอ็ดมาแลวเปนฮวงตกถอก สัสสานิขาวกลาเขียวอวนดั่งเทา นั้นแลว เม็ดขาวทอหมากพราวตนทอลําตาล จงใหฮวงมันยาวคาวาสามแงน ยามเมื่อขาวแกแลวสุกแกเต็มนาเมื่อใด จงใหขาวหลนขวั้นเมือเลาซุฮวง นั้นเทอญ คอมวาพระกลาวแลวแถนขาบทูลมือ โดยภูธรซุประการคําเจา๓ ฤดูกาลทํานาเริ่มตนตั้งแตเดือนหกเปนตนไป ซึ่งพระยาแถนจะตองปลอยฝนตกลงมา ถึงเดือนเกาชาวนาตองไดดํานา เดือนสิบขาวกลาก็เขียวขจี เดือนสิบเอ็ดก็ใหออกรวงที่สมบูรณ และสุกใหชาวนาไดเก็บเกี่ยว ๒

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๘.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๓.


๖๕ พระยาแถนก็ไดทําตามที่สัญญาไวกับพระยาคันคาก ชาวนาเมื่อเห็นขาวกลางาม ก็ดีใจ เพราะจะไดมีขาวกินเพียงพอ มีความสะดวกสบายในการเลี้ยงชีพ ดังวัจนประพันธวา เมื่อนั้น ฮวน ๆ ฟาปใหมเดือนหก พุนเยอ ฝนก็ตกลงมาทั่วชมพูกวาง หลิงดูบานนิคมชมชื่น ดีแกดวงดอกไมบานเฮาฮวงโฮย ฮดฮวงเฮาเดียรดาษดวงหอม ดีแกฝนฮวยฮําดอกกะจวนบานแยม ยามเมื่อเดือนเจ็ดขึ้นฝนรินดินออน แถนก็ลงหวานขาวนากวางซุภาย เดียรดาษลนทงใหญนาเพียง เต็มชมพูกอเขียวมีขาว๔ ๔.๒ โลกทัศนที่มีตอสิ่งเหนือธรรมชาติ สิ่งเหนื อ ธรรมชาติ ในที่ นี้ ได แ ก สิ่ง ลี้ลับ มหั ศจรรย อยู เหนือวิสัยของมนุ ษย ซึ่ง มี ปรากฏหลายแหงในเรื่องพระยาคันคาก เชน ตอนที่พระยาคันคากถือปฏิสนธิในพระครรภมารดา พระมารดาก็ไดสุบินเห็นนิมิตที่ดี ดังนี้ แตนั้น สีดาแกวเทวีฝนหลาก ฝนวาพระอาทิตยตกแตฟามาเขาปากนาง เจาก็กลืนลงทองดูใสเฮืองฮุง ทั้งแผนดินเนื้อตัวเลื่อมดังคํา ฝนวาตนทะยานขึ้นเมือนบนอากาศ ยาบยาบเลื่อมดาวลอมฮุงเฮือง ฝนวาตีนยางเทาเขาสุเมรลงเปนแทน ดาวกลายเปนฮวดดอกไมนางแกวทัดทง แลวเลาเสด็จแตฟาลงสูวิมานคํา ฝูงหมูเดือนดาวแหนแหลงเฮืองแจง นางก็หลับตื่นแลวคอยดั่งในใจ กลัวแตเปนอันตายแกตนยินยาน พอเมื่อราชาเจาพญาหลวงเอกราช หลับตื่นแลวนางแกวเลาถวาย๕ ธรรมดาของผูมีบุญมากจะมาถือปฏิสนธิ มารดามักจะฝนเห็นนิมิตที่เปนมงคล กรณี ของพระยาคันคากก็เชนเดียวกัน พระราชมารดาไดสุบินวาพระอาทิตยตกลงใสพระโอฐ ซึ่งก็ หมายความวาผูที่จะมาปฏิสนธิในพระครรภนั้นเปนผูมีอํานาจวาสนา มีมหิทธานุภาพมากกวาใคร ๆ เมื่อกลืนลงในพระอุทรแลวก็มีพระวรกายดั่งทอง ซึ่งทองนั้นเปนสิ่งที่มีคามาก เปนที่ปรารถนา ของคนทั้งหลาย การไดทะยานขึ้นทองฟามีดาวลอมรอบนั้น หมายถึงการมีฐานะที่สูงสง งดงาม ดวยบริวาร การมีภูเขาหลวงสิเนรุรองรับพระบาท และมีดาวกลายเปนดอกไมใหทัดทรงนั้น ๔

เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๗.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๕ – ๖.


๖๖ หมายถึงการมีผูยิ่งใหญนอบนอมสวามิภักดิ์ เชิดชูฐานะใหสูงสงยิ่งขึ้น การสุบินเห็นนิมิตอันเปน มงคลเชนนี้มีลักษณะคลายกับพระสุบินของพระนางยโสธราตอนที่พระพุทธเจาลงมาปฏิสนธิใน พระครรภ ซึ่งผูวิจัยสันนิษฐานวาผูแตงนิทานคงไดรับอิทธิพลแนวความคิดจากพระพุทธศาสนา ตอนที่พระยาคันคากประสูติใหม ๆ และนอนอยูในอูนั้น ก็เกิดปรากฏการณอัศจรรย ทางธรรมชาติหลายอยาง ดังนี้ คอมวา กุมารนอยเถิงสถานนอนอู ทงผาออมเหลืองเหลื่อมฮุงแสง วันนั้น ฟงเสียงครื่นๆ กองฟาลวงเมือบนพุนเยอ ชลทาฝนหลั่งลงรินยอย ไหลนองทวมปฐพีพื้นแผน อัศจรรยหลากแทนองลนแผนดิน ธรณีพื้นขางดินดั่งสนั่น เค็ง ๆ เสียงแผนดินดาพื้น อาโปน้ําสมุทรฟองเฟอนฟาด นาคจี่แขปลาฮายสนั่นเนือง ขําเชือกเตนทยานแลนไปมาแลนา เค็ง ๆ เสียงทั่วจักรวาลกวาง เวหากวางเมโฆทะยานลวง ฟาลั่นกองเหลืองเหลื่อมกองแสง เค็ง ๆ กองคือเสียงฟาลั่น ธรณีสนั่นฟนเสียงฟาหวั่นไหว เปนแตเดโชทาวบาบุญลงเกิด ใตลุมฟากลัวยานเดชพระองค แทแลว๖ การเกิดเหตุอัศจรรยทางธรรมชาติเชนนี้ แสดงใหเห็นถึงความเปนผูมีบุญญาธิการมาก เหนือมนุษยทั้งหลายของพระยาคันคาก แมตอนที่พระยาคันคากทรงตองการมีชีวิตที่รุงเรือง พระองคก็ไดทรงอธิษฐานใหสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์คือพระอินทรได ดูแลพระองค คอยอุปถัมภใหมีความเจริญรุงเรือง ดังวัจนประพันธวา สาธุเดอ ใหสัจจังตั้งบารมีซูซอยแดทอน ขาขอคิดตอตั้งบุญสรางตั้งแตหลัง นับแตเปนคนสรางปางหลังใชชาติ ไดเพียรตกแตงสรางตั้งแตหลัง ผลผลาบุญยูอานิสงสปางกอน ขอเชิญอินทราชเจาลงเยี่ยมผอคอยแดทอน ขอใหเสด็จดวนดั้นโลกกลุมเมืองคน เชิญมาปลอมตนหลิงเบิ่งแยงคราวฮาย ลุที่แมงสมมุงปรารถนา แดทอน๗ ขอใหมาชูค้ําตนพระอวนใหเฮืองฮุง

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗ – ๘.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๒.


๖๗ เวลาที่คนดีเดือดรอนหรือตองการความชวยเหลือ เปนหนาที่ของพระอินทรที่จะตอง หาทางช ว ยเหลื อ เขา ดั ง นั้ น พระอิ น ทร จึ ง ได ใ ห ค วามช ว ยเหลื อ ในสิ่ ง ที่ พ ระยาคั น คากทรง ปรารถนา ดังวัจนประพันธวา เมื่อนั้น สักโกไทพระยาอินทรเห็นเหตุ อินทรก็เสด็จแตฟาลงแทบนาน อินทรจึงเนรมิตตั้งผาสารทมุงมณี ภายในมีหมื่นเสาพันหอง เสาใสแลวดวยแกววิเศษพิฑูรย มหานิลเปนแผนปูพลาญพืน้ ฝากอตั้งแกวแกนธํามรงค เม็งชอนสับฮูปลายมีพรอม... มีทั้งโภชนังพรอมภาษาคําเดียรดาษ ตนกาลแหวนเชิดคํามณีพรอม ผาทิพยหากเกิดพรอมในหั้นอเนกนอง อินทรก็นีรมิตไวสรรพสิ่งของทิพย นานามีซุอันมวลพรอม๘ สิ่งที่ผูวิเศษเนรมิตใหยอเปนสิ่งที่มีความพิเศษเหนือกวาสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นมาเอง มี ความเหมาะสมกับผู มีบุญ มากเท านั้น แมป จ จุ บัน หากมนุษยเ ห็น สิ่ง ที่มีลักษณะโดดเดนเป น อัศจรรย ก็มักจะกลาววามีความอัศจรรยด่งั เทพเนรมิต ตอนที่พระยาคันคากถอดรูป คือแสดงกายที่แทจริงใหปรากฏแกคนทั้งหลาย พระราช บิดาก็ทรงมีความชื่นชมในรูปอันงดงามของพระราชโอรสนั้น ดังวัจนประพันธวา ผิดเกาแทบคือดั่งคืนหลัง โสภาผายดั่งพรหมลงยอง โสมเสลาเนื้อผิวผางฮูปคอง พอเด โสมคันคากนอยไปลี้อยูไส เจาเอาไปไวคาบเกาทางใด เยี่ยวทออินทรเอามือสูดาวดึงสฟา บุญเจามีมากลนเหนือพื้นแผนไตร๙ เจาผูเทวดาแกวกุมารลูกของพอ เมื่อคนทั้งหลายไดเห็นปราสาททิพยของพระยาคันคาก ก็เกิดความอัศจรรยใจเปน อยางยิ่ง ไดพากันมาชมความงดงามอัศจรรยของปราสาท ดังวัจนประพันธวา แตนั้น พอสุริโยแจงเฮืองแสงใสสอง พอฮอดวันฮุงเชาคนเยี่ยมผอดเห็น ผิดประหลาดล้ําผาสารทปรางคทอง เหนือจอมเมืองพระพอบาบุญกวาง คนก็ซัว ๆ ทวงดังสนั่นในเวียง คนหลามไหลหลั่งมาคอยเยี่ยม ๘

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๓.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๕.


๖๘ หลิงดูยาบ ๆ เลื่อมหอปรางคผาสารท สูงชั่วฟาลานชั่วพันวา หลิงเบิ่งยอดชอฟาเถิงยอดเมโฆ

เฮืองฮุงแกวมณีเลื่อมกองแสง อัศจรรยกุมารนั่งทงปรางคแกว ลวงสูงสูดชั่วตาเต็มเยี่ยม๑๐

๔.๓ หลักความสัมพันธระหวางมนุษย ในการรวมกันเปนสังคม มนุษยตองมีความเกี่ยวของสัมพันธกันโดยทางใดทางหนึ่ง ตามสถานะของตน เชน บุตร ธิดา ตองมีความสัมพันธกับพอแม เปนตน ซึ่งเมื่อมนุษยไดปฏิบัติ ตนตามหลักความสัมพันธไดอยางถูกตองแลวยอมจะมีความเจริญในหนาที่การงานของตน และ ไดรับการยกยองวาเปนคนดี พระพุทธศาสนามีคําสอนเกี่ยวกับหลักความสัมพันธ ซึ่งเรียกวา “ทิศ ๖” ไดแก ๑) ทิศเบื้องหนา คือ หนาที่ที่บุตรธิดากับมารดาบิดาพึงปฏิบัติตอกัน ๒) ทิศเบื้องขวา คือ หนาที่ที่ศิษยกับครูอาจารยพึงปฏิบัติตอกัน ๓) ทิศเบื้องหลัง คือ หนาที่ที่ภรรยากับสามีพึงปฏิบัติตอกัน ๔) ทิศเบื้องซาย คือ หนาที่ที่มิตรสหายพึงปฏิบัติตอกัน ๕) ทิศเบื้องต่ํา คือ หนาที่ที่ลูกจางกับนายจางพึงปฏิบัติตอกัน ๖) ทิศเบื้องบน คือ หนาที่ที่ชาวบานกับพระสงฆพึงปฏิบัติตอกัน๑๑ หลั ก ความสั ม พั น ธ ที่ ป รากฏในเรื่ อ งพญาคั น คากเป น ความสั ม พั น ธ ข องบุ ค คลใน ครอบครัว และความสัมพันธกับสังคมหรือคนทั่วไปนั่นเอง ซึ่งประมวลไดดังนี้ ตอนที่พระชายาของพระเจาเอกราชสุบินเห็นนิมิตมงคลตาง ๆ ในเวลาที่พระโพธิสัตว ถือปฏิสนธิในพระอุทร พระนางก็ทูล เรื่องนั้นใหพระสวามีทรงทราบ พระองคจึงทรงปลอบ พระทัยและทรงอธิบายใหพระนางไดทรงทราบความจริง เพื่อบรรเทาความกังวลพระทัยของพระ นาง ดังวัจนประพันธวา ๑๐

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๙.

๑๑

ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๗๓/๒๗๑.


๖๙ เมื่อนั้น ผูผานพื้นเสวยราชนครอินท ฟงเทวีกลาวถวายดูแจง พระก็ไขคําตานเทวีออยอิ่ง เจาพี่อยาโศกฮอนสั่งแททอใย ก็พี่ทอน อันวาคําฝนเจานางงามดียิ่ง จริงแลว นางจักมีลูกแกวกุมารไวสืบเมือง พี่แลว ทาวนั้นตั้งหากบุญมีลนเหลือแผนธรณี แทแลว หากจักเปนพญาผาบมารทั้งคาย เจาพี่อยาไดโศกฮอนประการสิ่งสันใด ก็พี่ทอน เฮาทาทงคําสุขเพิ่งบุญบาทาง๑๒ ผูนําครอบครัวที่มีภาวะผูนํา เมื่อคนในครอบครัวมีความเดือดรอนหรือกังวลใจในเรื่อง ที่เกิดขึ้น จะตองใชสติปญญาหาวิธีแกไขสิ่งที่เกิดขึ้นนั้น ซึ่งพระเจาเอกราชทรงทําหนาที่ดังกลาว นี้ไดเปนอยางดี เปนการแสดงใหเห็นวาพระองคทรงมีความสามารถในการปกครองทุกระดับ คือ ทั้งบานเมืองและครอบครัว หลังจากที่ประสูติพระราชโอรสแลว พระเจาเอกราชและพระชายาก็ทรงมีความรัก ความเอ็นดูพระโอรสเปนอยางยิ่ง ทรงเลี้ยงดูเปนอยางดี ในตอนนี้มีพรรณนาวา แตนั้นราชาไทพญาหลวงตนพอ พระก็เตินแตงพรอมหาแกวแมนม โสมงามลวนนมหวานเนื้อออน ปนเลือกไดพอฮอยปนปว เมื่อนั้นสีดาแกวเทวีตนแม ฮักลูกนอยโซมอุมจูบดม มารดาซมจูบขวัญคีนอย๑๓ หอมฮดเฮาเทาทั่วทั้งเมือง ดวยความรักและหวงใยพระราชโอรส พระเจาเอกราชทรงหาแมนมที่มีคุณลักษณะดี เหมาะแกการใหนมมาเปนผูเลี้ยงดูพระราชโอรส สวนพระราชมารดาก็ทรงเลี้ยงดูอยางทะนุถนอม ดวยพระองคเอง ซึ่งเปนการทําใหพระราชโอรสไดรับความอบอุน เกิดความ ผูกพัน มีสายใยรักที่ ดีกับบุพพการี และเปนสาเหตุใหเปนคนกตัญูกตเวทีดังที่ไดกลาวมาแลว หลังจากที่พระอินทรไดนํานางแกวมาเปนคูครองของพระยาคันคากแลว ก็ไดสั่งสอน ใหเปนชายาที่ดี รูจักปรนนิบัติพระสวามี ดังวัจนประพันธวา

๑๒

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๖.

๑๓

เรื่องเดียวกัน, หนา ๘.


๗๐ บรบวรณแลวพระอินทรสอนสั่ง ใหนางเปนมิ่งแกวบาทาวเทียบเทียม เคียงบาททาวแกวมิ่งผัวขวัญ เปนเมียแพงกลอมสะนอนเทียมทาว๑๔ ในการครองชีวิตรวมกัน ทั้งสามีและภรรยาตองมีความซื่อสัตย มั่นคงตอกัน รูจัก ปล อ ยวางอารมณ อดทนต อ กั น เอาอกเอาใจกั น เห็ น ใจและอภั ย ให กั น ชี วิ ต คู จึ ง จะประสบ ความสําเร็จได ตอนที่พระยาคันคากและบริวารเตรียมยกทัพขึ้นไปรบกับพระยาแถน ผูที่มีครอบครัว ตางอาลัยอาวรณกัน รองไหเพราะความเปนหวงและคิดถึงกันในเวลาที่ตองหางไกลกัน และไมรู ชะตาชีวิตวาจะเปนอยางไร ผูแตงไดพรรณนาใหเห็นภาพความสะเทือนอารมณดังนี้วา บางผองเมียเลาไหดอมผัวตาตูบก็มี ผัวเลาอุมเอาไดจูบชม บางผองมีลูกนอยไหนําพอแซว ๆ พอก็ออย ๆ ชมจูบขวัญคีคอย๑๕ นางแกวผูเปนพระชายาของพระยาคันคากไดทําหนาที่ของตนอยางสมบูรณ คือได ปรนนิบัติพระยาคันคากตามหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาและตามคอง ๑๔ โดยการจัดเตรียม พระกระยาหารใหพระยาคันคากไดเสวย ดังวัจนประพันธวา เมื่อนั้น สองเสวยขาวภาคําเฮียงพาง มีแตของทิพยลนหอมเทาแซบนัว เมียมิ่งปอนคันคากบาบุญ เสวยคาวหวานกลิ่นหอมตลบฟง พอคราวแลวถอยภาลาเลิก น้ําดอกไมหอมเฮาสวยมือ ศรีเสลียวแกวนางงามเทียมพาง ยื่นขันสลาใหเคี้ยวหัวแยมตอกัน๑๖ ในการครองชีวิตรวมกัน เมื่อสามีกลับจากการทํางานมาดวยความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยลา หากไดรับการเอาใจใสจากภรรยา เชน หาน้ําใหดื่ม หาอาหารใหกิน เปนตน สามียอมจะเกิดความ พอใจ และทํ า ให ห ายเหนื่ อ ยได มี กํ า ลั ง ใจในการทํ า งานหาเลี้ ย งชี พ ภรรยาที่ เ ข า ใจปรั ช ญา การครอวชีวิตนี้ยอมจะเปนที่รักของสามีเชนเดียวกันกับการทําหนาที่ตอพระสวามีของนางแกว

๑๔

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๔.

๑๕

เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๒.

๑๖

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๙.


๗๑ ตอนที่พระยาคันคากไดรับการอภิเษกเปนพระราชา ปกครองบานเมืองสืบตอจากพระ ราชบิดา พระอินทรก็เอาดาบแกวและหมูธนูศิลปมาเปนเครื่องบรรณาการ ทาวจตุโลกบาลไดนํา จักรแกวมาถวาย พระยานาคไดนําแกว ๗ ประการมาถวาย สวนพระยาครุฑไดนําโภชนะทิพย เงินและทองคํามาถวาย เปนการแสดงความยินดีและความจงรักภักดีตอพระยาคันคาก เพื่อที่จะได อาศัยบารมีของพระยาคันคากดวย เปนธรรมดาของตนไมใหญ ที่มีรมเงาหนา นกทั้งหลายยอมมา ทํารังอยูอาศัย เพราะทําใหไดรับความสบายในการดํารงชีวิต ๔.๔ หลักการปกครอง เวนการปกครองเสียแลวมนุษยก็ไมอาจอยูรวมกันอยางสันติได เพราะสัญชาติญาณ ของสิ่งมีชีวิต (คนและสัตว) ทั้งหลายนั้นผูที่มีกําลังกวา แข็งแรงกวาก็มักจะเบียดเบียนรังแกผูที่ ออนแอกวา คนฉลาดก็มักจะเอารัดเอาเปรียบคนที่โงเขลากวา ดังนั้น เมื่อมนุษยมาอยูรวมกันเปน สังคม จึงจําเปนตองมีกฎระเบียบ ขอปฏิบัติ หรือขอตกลงรวมกัน ทั้งนี้ก็เพื่อปองกันรักษาสิทธิ ประโยชนของตนรวมทั้งของหมูคณะดวย เพื่อการอยูรวมกันอยางสันติ หลักธรรมเกี่ยวกับการ ปกครองทางพระพุทธศาสนามีดังนี้ ๔.๔.๑ หลักจักรวัตติวัตร จักกวัตติวัตร คือ ขอปฏิบัติในการปกครองของพระเจาจักรพรรดิ หรือนักปกครองผู ยิ่งใหญ มี ๕ อยาง ดังนี้ ๑. เคารพสักการะ บูชาธรรม ๒. จัดการรักษาปองกันและคุมครองชนภายใน (พระมเหสี พระราชโอรส และพระ ราชธิดา) กําลังพล เหลากษัตริยผูตามเสด็จ พราหมณและคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท สมณ พราหมณ และสัตวทั้งหลาย ๓. ระวัง ปองกันไมใหเกิดการกระทําความผิดภายในแวนแควน หรือเมื่อเกิดขึ้นแลว ก็ หาทางแกไขใหเรียบรอย ๔. พระราชทานทรัพยแกบุคคลผูยากไร


๗๒ ๕. ไต ถ ามปรึ ก ษาป ญ หาธรรมกั บ สมณพราหมณ ผู ไ ม ป ระมาท และปฏิ บั ติ ต าม คําแนะนําหรือคําสอนของทานเหลานั้น๑๗ ความเคารพสักการะ บูชาธรรม เปนคุณสมบัติสวนพระองคที่ทําใหประชาราษฎรมี ความเคารพนับถือในคุณงามความดี การจัดการรักษาปองกันและคุมครองชนภายใน กําลังพล เหลากษัตริยผูตามเสด็จ ประชาราษฎรและสัตวทั้งหลาย, ระวัง ปองกันไมใหเกิดการกระทําความผิดภายในแวนแควน หรือเมื่อเกิดขึ้นแลว ก็หาทางแกไขใหเรียบรอย และพระราชทานทรัพยแกบุคคลผูยากไร เปนการ ไดบําบัดทุกข บํารุงสุขแกประชาราษฎร ทําใหมีความมั่นใจวาจะไดรับความปลอดภัย และไดรับ ความสุ ข สบายในการดํ า รงชี วิ ต ส ว นการไต ถ ามปรึ ก ษาป ญ หาธรรมกั บ สมณพราหมณ ผู ไ ม ประมาท และปฏิบัติตามคําแนะนําหรือคําสอนของทานเหลานั้น เปนการไดสงเสริมการบําบัด ทุกข บํารุงสุขใหดียิ่งขึ้น คือทําใหปฏิบัติพระราชกรณียกิจเหลานี้ไดอยางมีหลักการ เพราะมีผูมี ความรูถวายคําแนะนําปรึกษา พระยาคันคากไดใหการคุมครองแกผูใตปกครองเปนอยางดี คือเมื่อเกิดเหตุการณขาว ยากหมากแพงขึ้น พระองคก็สอบถามหาสาเหตุกับผูที่เกี่ยวของ เมื่อไดทราบแลวก็หาทางแกไขได ในที่สุด ๔.๔.๒ หลักสังคหวัตถุ สังคหวัตถุ คือ ธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวใจผูอื่น กลาวคือ ปฏิบัติดีตอผูอื่น ซึ่งเปนเหตุให เขาเกิดความประทับใจในคุณงามความดีนั้น มี ๔ ประการ คือ ๑. ทาน การให ๒. ปยวาจา กลาววาจาเปนที่รัก ๓. อัตถจริยา การประพฤติสิ่งที่เปนประโยชนแกผูอื่น ๔. สมานัตตตา การวางตนสม่ําเสมอ๑๘ ๑๗

ดูรายละเอียดใน ที. ปา. (บาลี) ๑๑/๘๔/๖๒ – ๖๓.

๑๘

ที. ปา. (ไทย) ๑๑/๓๑๓/๒๙๕.


๗๓ พระพุทธพจนที่กลาวถึงความสําคัญของสังคหวัตถุธรรม วา ทาน เปยยวัชชะ อัตถจริยาในโลกนี้ และสมานัตตตาในธรรมนั้น ๆ ตามสมควร สังคห ธรรมเหลานี้แลชวยอุมชูโลก เหมือนลิ่มสลักที่ยึดคุมรถ ซึ่งแลนไปไวได ฉะนั้น ถาไมพึงมีธรรมเหลานี้ มารดาหรือบิดาก็ไมพึงไดการนับถือหรือการบูชาเพราะบุตร เปนเหตุ แตเพราะบัณฑิตเล็งเห็นความสําคัญของสังคหธรรมเหลานี้ ฉะนั้น บัณฑิตเหลานั้นจึงถึง ความเปนใหญและเปนผูนาสรรเสริญ๑๙ พระยาคั น คากเป น ผู ใฝ ใ นการให ท าน ได ท รงประพฤติ สิ่ ง ที่ เ ป น ประโยชน แ ก ค น ทั้งหลาย แมพระองคจะไดเปนใหญ ก็ไมทรงลืมพระองค ทรงประพฤติพระองคอยางสม่ําเสมอ จึงทําใหเปนที่รักและเคารพของประชาราษฎร ๔.๔.๓ หลักสัปปุริสธรรม สัปปุริสธรรม คือ ธรรมหรือขอปฏิบัติของสัตบุรุษหรือคนดี มี ๗ ประการ คือ ๑. ธัมมัญุตา รูเหตุ คือ รูสิ่งที่เปนสาเหตุหรือปจจัยของสิ่งทั้งหลาย ๒. อัตถัญุตา รูผล คือ รูความสําเร็จแหงสิ่งนั้น ๆ วามีความสัมพันธกับสิ่งที่ เปนเหตุปจจัยอยางไร รูตน คือ รูวาตนมีฐานะและความสามารถอยางไร แลวก็ปฏิบัติ ๓. อัตตัญุตา ใหเหมาะสมกับฐานะและความสามารถของตน ๔. มัตตัญุตา รูประมาณ คือ รูวาทําอยางไรจึงจะมีความเหมาะสม พอดี ๕. กาลัญุตา รูกาล คือ รูเวลาที่เหมาะสมในการทําสิ่งตาง ๆ ๖. ปริสัญุตา รูประชุมชน คือ รูฐานะและความตองการของสังคม ๗. ปุคคลัญุตา รู จั ก เลื อ กคบคน คื อ รู ว า บุ ค คลนั้ น มี ลั ก ษณะอุ ป นิ สั ย พื้ น ฐานความรู ทัศนคติและความตองการอยางไร แลวก็ปฏิบัติใหเหมาะสมกับบุคคลนั้น ๆ

๑๙

องฺ. จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๓๒/๕๑.


๗๔ ผู นํ า ที่ มี สั ป ปุ ริ ส ธรรมย อ มมี ค วามประพฤติ เ ป น ที่ ย อมรั บ ของคนทั้ ง หลาย ทั้ ง มี ความสามารถในการทํางาน คือมีความยืดหยุนในการทํางาน สามารถทํางานไดอยางมีหลักการ และมีความเหมาะสม พระยาคั น คากเป น พระเจ า จั ก รพรรดิ ผู ท รงทศพิ ธ ราชธรรม คื อ ทรงบํ า เพ็ ญ ทาน ชวยเหลือประชาราษฎร, รักษาศีล สํารวมกายและวาจา, เสียสละความสุขสําราญสวนพระองคเพื่อ พสกนิกร, มีความซื่อตรงเที่ยงธรรม, มีสุภาพออนโยน, ทรงตบะ รูจักยับยั้งขมพระทัยได, ไมทรง ลุแกโทสะ, ปราศจากการกดขี่ขมเหงประชาราษฎร, ทรงอดทนตอความยากลําบากได, และไม ทรงคลาดธรรม หนักแนนในธรรม๒๐ การบําเพ็ญทานของพระยาคันคาก มีวัจนประพันธวา แตนั้น แซว ๆ พรอมสาธุการแลวอยา ศรีแจมเจาบาททาวแตงทาน ทาวก็ไขหมูเยียเงินพรอมเยียคําทุกสิ่ง แททอดใหทานแทอเนกนอง ทั้งเลาไขเยียแกวเจ็ดประการเฮืองฮุง ทานทอดใหฝูงแกวอเนกนอง๒๑ ความซื่อตรงเที่ยงธรรมของพระยาคันคากคือการไมยอมใหพระยาแถนกดขี่หมเหง เมื่อเห็นวาไมไดรับความเปนธรรมก็หาทางทวงความยุติธรรมคืน นับวาเปนผูมีความกลาหาญใน ความถูกตองดีงาม การปกครองของพระองคไมมีการใชอาชญาเบียดเบียนประชาราษฎร มีแต ปกครองดวยเมตตาธรรม การเปนอยูของประชาราษฎรในยุคของพระยาคันคากนี้มีลักษณะเหมือนการเปนอยู ของคนในยุคพระศรีอาริยเมตไตย เพราะยุคนั้นเปนยุคของคนดีมีศีลธรรมมาเกิด มีความเปนอยู เพียบพรอมทุกอยาง อันเปนเครื่องหมายแสดงใหเห็นถึงความเปนผูมีบุญบารมีของพระยาคันคาก ทั้งสงเสริมบุญบารมี และพระเดชานุภาพของพระองคใหยิ่งขึ้นไป แมพระยาคันคากเองก็ไมทรง ประมาทในบุญ ทรงสั่งสอนอบรมประชาราษฎรในหลักคุณงามความดีมิไดขาด ดังวัจนประพันธ วา

๒๐

ดูรายละเอียดใน พระธรรมปฏก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท สหธรรมิก จํากัด, ๒๕๔๕), หนา ๒๔๐ – ๒๔๑. ๒๑ ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๒๗.


๗๕ เขาก็ทรงศีลหารักษาศีลแปด คนบาปในโลกนี้ปางคนั้นบมีเจาเฮย ยูทางทงสุขลนคนบุญทั้งทีป ก็เพื่อพระบาทเจาบุญกวางสั่งสอน๒๒ พระยาแถนผูเปนใหญในเมืองฟาเมื่อเห็นคนทั้งหลายหันไปนับถือพระยาคันคาก ก็ เกิดความริษยาในสมบัติของพระยาคันคาก จึงหาวิธีกลั่นแกลงโดยการทําใหฝนแลง โลกมนุษยจึง เกิดความเดือดรอนไปทุกหยอมหญา ดังวัจนประพันธวา เมื่อนั้น แถนอยูฟาหลิงล้ําคอยเห็น สมภารบาเกิ่งอินทรในฟา แถนก็ขมแข็งกลามีใจฟุมเคียด ก็เพื่อผีอยูใตลุมฟาฮุมทาวชุพญา ...ก็เพื่อสมภารทาวบุญมีแข็งขมจริงแลว ผีใหญเฝาทั้งคายบเมื่อแทแลว แถนก็คิดเคียดแคนถั้นโบกธรณี บใหนาโคลอยดีดหางพุมเลน เลยเลาเขินเสียเสี้ยงนัททีหลวงเขินขาด ฝนบตกหยาดยอยฮําพื้นแผนดิน เจาเอย เลยเลาบังเกิดแลงในทวีปชมพู เถิงเจ็ดปเจ็ดเดือนฝนบลงฮําพื้น ทั้งกลวยออยตายเสี้ยงบเหลือ พืชในชมพูกวางตายไปแหงเหี่ยว แมนวานัททีน้ําสมุทรหลวงเขินขาด ไปแลว ฝูงหมูแมน้ํานอยเขินแหงไงผง ...ควันทั่วฟามืดทีปจักรวาล สรรพสัตวมีเหลือมอดชีวังตายเสี้ยง๒๓ ชาวบานที่อาศัยน้ําฝนในการทํามาหากินเปนหลักจึงไดรับความเดือดรอน เพราะการ ขาดน้ําฝนอยางเดียวทําใหเกิดความเดือดรอนหลายอยาง เชน ขาวกลาเสียหาย ขาดแคลนน้ํากินน้ํา ใช พืชผักผลไมก็ขาดแคลน เปนตน เปนผลกระทบที่มีตอสังคมเกษตรกรรม ตองไดรับการแกได ดวยการใหมีน้ํากินน้ําใชอยางพอเพียง แมสัตวทั้งหลายก็ลมตายไปเปนจํานวนมาก ที่ยังมีชีวิตอยูก็ ไดรับความลําบาก ดังนั้น จึงปรากฏวาสัตวทั้งหลายก็ไดไปรวมรบดวย เมื่อแถนทั้งหลายรบพายแพ เมืองสวรรคจึงตกอยูในภาวะที่ลําบาก ขาดระเบียบการ ปกครอง ถูกทหารของพระยาคันคากเบียดเบียนโดยประการตาง ๆ ดังวัจนประพันธวา ศึกเถิงพระบาทเจาไลเหยี่อวางหนี แสนโสกีทั่วเมืองหิวไห มีใจของจอมเมืองพังพาย เมืองซิชมขอดเขี้ยวเปนฮายเบียดเบียน หมดเศิกแลวมีเสือมาตอ ชิงแยงปุนเอาแกวมิ่งเมีย เจาเอย ๒๒

เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๔.

๒๓

เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๕.


๗๖ เงินคําแกวเยียหลวงขนออก จักไดเปนขอยขาเมืองบานซิหลมหลวง๒๔ เมื่อนั้น พระจึ่งเตินนาคใหแกปลอยพญาแถน แตนั้นนาโคเลยปลอยแถนวางไว พระยาคันคากเปนผูทรงทศพิธราชธรรม ไมไดมีจุดมุงหมายเพื่อมาเบียดเบียนพระยา แถน การทําหนาที่ของพระองคจึงไมเปนไปในลักษณะของการเบียดเบียน ดังนั้น จึงทําใหไดรับ ความนับถือจากแถนทั้งหลาย เหลาแถนไดสูขวัญพระองคใหเกิดความเปนศิริมงคล ดังวัจ น ประพันธวา เมื่อนั้น พญาหลวงเจาราชาคันคาก พระก็เสด็จสูหองสนามกวางจอดเขา พระก็ไลเมืองใหพญาแถนขึ้นนั่ง ภูวนาถเจาแถนฟาชื่นชม แตนั้น แถนเลิงเจาแถนลอแถนหลอ เขาก็มาพร่ําพรอมคูณเจาสูขวัญ ฟงยินทม ๆ พรอมชาวแถนชมชื่น เขาก็ตกแตงตั้งปางนั้นสูขวัญ ใหพระยืนยาวมั่นลานติ่วแสนป อันวาโภยภัยสังก็อยามีมาตอง๒๕ โดยปกติ แ ล ว การแผ พ ระเดชานุ ภ าพของพระเจ า จั ก รพรรดิ มั ก จะไม มี ก ารต อ ต า น ขัดขวางจากผูปกครองเมืองนั้น ๆ เพราะคนทั้งหลายเกรงพระเดชานุภาพและ แตในกรณีนี้พระยา แถนก็เปนผูยิ่งใหญเหมือนกัน ดังนั้น จึงมีการพุงรบกัน พระราชกรณียกิจที่สําคัญของพระเจาจักรพรรดิคือการสอนประชาราษฎรใหดํารงตน อยูในคุณงามความดี พระยาคันคากก็ไดบอกใหพระยาแถนไดทําตามฮีตเดิมวา บัดนี้ เฮาจักสอนสั่งเจาทั้งหลายจําจื่อเอาเนอ อยาไดไลฮีตบานคลองเฒาแตประถม คันวาเถิงขวบฟาปใหมเดือนหกเมื่อใด จงใหฝนตกลงมาซุปจริงแท คันวาเถิงเดือนเจ็ดนั้นใหฝนฮําดินออน ทานจงยายปลูกขาวนากวางซุป นั้นเทอญ ฮอดเดือนเกานั้นแลวประสงคไดแตดํา เถิงเดือนสิบ มาแลวใหฝนรินพื้นแผน สัสสานิขาวกลาเขียวอวนดั่งเทา นั้นแลว ฮอดเดือนสิบเอ็ดมาแลวเปนฮวงตกถอก เมดขาวทอหมากพราวตนทอลําตาล จงใหฮวงมันยาวคาวาสามแงน ยามเมื่อขาวแกแลวสุกแกเต็มนาเมื่อใด จงใหขาวหลนขวั้นเมือเลาซุฮวง นั้นเทอญ คอมวาพระกลาวแลวแถนขาบทูลมือ โดยภูธรซุประการคําเจา๒๖ ๒๔

เรื่องเดียวกัน, หนา ๖๘.

๒๕ ๒๖

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๒.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๓.


๗๗ แมพระยาคันคากจะเปนพระเจาจักรพรรดิ์ผูทรงทศพิธราชธรรม แตกษัตริยก็ไมอาจ หลี ก เลี่ ย งกั บ หน า ที่ ข องตนได นั่ น คื อ การปกครองบ า นเมื อ ง ในเวลาบ า นเมื อ งมี ค วามสงบ เรียบรอย การปกครองก็เปนไปดวยดี แตเมื่อใดบานเมืองเกิดความวุนวาย สงครามหรือการทําลาย ลางกันเปนสิ่ง ที่หลีกเลี่ ยงไดยาก แมจะไมปรารถนาก็ตาม กษัตริยที่ ไ ดรับ การยอมรับวาเป น มหาราช โดยเฉพาะในอดีต มักจะเปนผูที่รบเกง แมจะฆาศัตรูตายเปนจํานวนมาก ก็ถือวาเปนเรื่อง ปกติของสงคราม ไมมีผูติเตียนวาไมตั้งอยูในทศพิธราชธรรม นอกเสียจากการรบนั้นเปนการ รุกรานคนอื่น จึงไดรับการติเตีย น พระเจาจักรพรรดิ์จะมีลักษณะพิเศษกวากษัตริยทั่วไป คือ สามารถแผอาณาจักรโดยไมตองเสียเลือดเนื้อ เพราะคนทั้งหลายเกรงพระเดชานุภาพ จึงยอมรับ การถูกปกครองแตโดยดี แตในกรณีของพระยาคันคากนี้ศัตรูก็เปนผูยิ่งใหญเหมือนกัน ดังนั้น สงครามระหวางเมืองใตกับเมืองฟาจึงเกิดขึ้น ซึ่งผลก็คือฝายพระยาคันคากเปนผูชนะ หากจะ กลาววาเปนการประทวงขั้นแตกหักเพื่อโคนอํานาจพระยาแถนก็คงไมผิด อยางไรก็ตาม การ เอาชนะดวยอาวุธสิ้นสุดที่ความแคน ไมเหมือนการใหธรรมะชนะแทน ซึ่งสุดแสนจะสบาย แม พระยาแถนจะเปนฝายปราชัย แตเมื่อสิ้นพระยาคันคากแลว พระยาแถนก็ราวีมนุษยอีกตามเดิม จึง ไมอาจกลาวไดวาฝายมนุษยมีชัยเหนือพระยาแถนอยางเด็ดขาด ดังนั้น การชนะที่ดีที่สุดก็คือการ ชนะตนนั่นแหละ เพราะสามารถที่จะระงับเวรไดทั้งหมด ไมมีการจองเวรกันอีกตอไป ๔.๕ หลักเศรษฐกิจและการครองชีพ เศรษฐกิจมีความสําคัญมากในการดํารงชีพของมนุษย เพราะเปนเรื่องของการทํามาหา กินเลี้ยงชีพ หากเศรษฐกิจดี คนทั้งหลายไมมีความเดือดรอนและกังวลใจในการทํามาหากิน การ ดํารงชีวิตในดานอื่น ๆ ก็จะสามารถเปนไปไดงายขึ้น แมปญหาสําคัญในการพัฒนาประเทศของ รัฐบาลทุกยุคสมัยก็คือปญหาเศรษฐกิจนี่เอง รัฐบาลที่ไมสามารถบริหารประเทศไดครบวาระ ตอง ยุ บ สภาบ า ง ถู ก ปฏิ วั ติ บ า ง ก็ เ พราะไม ส ามารถแก ป ญ หาเศรษฐกิ จ ได นี่ เ อง แม ใ นทาง พระพุทธศาสนา พระพุทธเจาก็ทรงใหความสําคัญกับเรื่องนี้เหมือนกัน เชน ตอนที่พระองคเสด็จ ไปโปรดคนเลี้ยงโค พระองคทรงรอใหเขาตามหาโคจนพบ เมื่อกลับมาแลวก็ทรงใหพักเพื่อให หายเหนื่อยและรับประทานอาหารจนอิ่มเสียกอนแลวจึงทรงแสดงธรรมโปรดเขา


๗๘ พระพุทธศาสนามีคําสอนเกี่ยวกับเรื่องเศรษฐกิจหรือการสรางฐานะคือ “ทิฏฐธัมมิกัต ถะ - ประโยชนในชีวิตปจจุบัน” หรือเรียกวา “หัวใจเศรษฐี” มี ๔ อยาง คือ ๑) อุฏฐานสัมปทา มีความขยันหมั่นเพียร ๒) อารักขสัมปทา รูจักอดออม เก็บหอมรอมริบ ๓) กัลยาณมิตตตา รูจักเลือกคบคนดีเปนเพื่อน ๔) สมชีวิต เปนอยูดวยความพอดี ไมฟุมเฟอยหรือตระหนี่จนเกินไป๒๗ คําสอนในเรื่องประโยชนปจจุบันนี้มีลักษณะเชื่อมโยงสัมพันธกัน คือบุคคลตองมี ความขยันเปนพื้นฐานในการดํารงชีวิตจึงจะเปนอยูไดโดยความไมลําบาก อาศัยความขยันเพียง อยางเดียวก็ไมอาจร่ํารวยหรือมีฐานะที่ดีไดหากไมรูจักเก็บหอมรอมริบ แมคนมัธยัสถก็อาจมี ฐานะที่ยากจนไดเชนเดียวกันหากไมรูจักเลือกคบคน เชน คบคนเลนการพนัน เขาก็จะชักชวนให เลนการพนันดวย ซึ่งจะเปนสาเหตุใหเกิดการเสียทรัพย พระพุทธศาสนาไมไดมุงสอนใหคนรูจัก สรางฐานะเพียงอยางเดียว แตสอนใหรูจักสรางความสุขใหกับตนดวย ดังนั้น คําสอนที่สําคัญใน หลั ก ทิ ฏ ฐธั ม มิ กั ต ถะนี้ จึ ง ได แ ก ก ารรู จั ก ประมาณในการใช จ า ย คื อ ไม ฟุ ม เฟ อ ยหรื อ ตระหนี่ จนเกินไป เพราะจะทําใหไมไดรับความสุขจากการที่มีทรัพยนั้น เรื่องพระยาคันคาก มีการกลาวพรรณนาถึงสภาพความเปนอยูของชาวเมืองอินทปตถ วา อยูสนุกเลนทั้งเมืองเฮืองอุง เดียรดาษลนตนพราวหมากพลู สรรพสิ่งพรอมสวนอาดอุททิยาน มีทั้งพลูสานผลิจอจีจํากาน บุปผาตั้งมาลาบานหอมกลิ่น เต็มดานดาวสวนกวางอเนกนอง ฟงเสียงฮวนฮวนกองกลองเสพสะบัดชัย พุนเยอ นายยามตีสั่นสะเทือนเมืองบาน ฟงเสียงวอนวอนกองเสียงขลุยขานเพ็ง พุนเยอ ออนซอนเสีนยงอิ่นอออนันกอง ในโฮงหลวงนันครื่นเครงคุงฟา๒๘ สรรพสิ่งพรอมพิณพาทยสวนไล

๒๗ ๒๘

องฺ. อฏฐก. (บาลี) ๒๓/๕๕/๒๓๗.

ผาน วงษอวน, พญาคันคาก, หนา ๔.


๗๙ แมจะไมมีการกลาวถึงการคาขายเลย แตก็ทําใหเราไดทราบวาเมืองอินทปตถนั้นมี ความอุดมสมบูรณ เศรษฐกิจดี ชาวประชาเปนอยูดวยความสุขสบาย ดังนั้น จึงสามารถเลนดนตรี ดูมหรสพกันได เพราะถาหากชาวบานไมมีความเปนอยูที่ดี ความเปนอยูในลักษณะนี้ไ มอาจ เกิดขึ้นได เพราะการรื่นเริงในสมัยกอนเปนการแสดงออกโดยธรรมชาติของสิ่งที่เพียงพอแลว ไมใชเปนการเที่ยวรื่นเริงเพื่อลืมความทุกขยากเหมือนดังที่ปรากฏในสังคมปจจุบัน พระยาแถนแพสงครามจึงตองยอมรับเงื่อนไขของพระยาคันคาก หลังจากที่พระยาคัน คากกลับไปยังเมืองของพระองคแลว และเมื่อถึงฤดูกาลทํานา พระยาแถนก็ไดทําตามที่ไดตกลง สัญญากันไวโดยการปลอยฝนใหแกโลกมนุษย คืนความอุดมสมบูรณใหแกโลกมนุษยดังเดิม ดังวัจนประพันธวา เมื่อนั้น ฮวน ๆ ฟาปใหมเดือนหก พุนเยอ ฝนก็ตกลงมาทั่วชมพูกวาง หลิงดูบานนิคมชมชื่น ดีแกดวงดอกไมบานเฮาฮวงโฮย ดีแกฝนฮวยฮําดอกกะจวนบานแยม ฮดฮวงเฮาเดียรดาษดวงหอม ยามเมื่อเดือนเจ็ดขึ้นฝนรินดินออน แถนก็ลงหวานขาวนากวางซุภาย เดียรดาษลนทงใหญนาเพียง เต็มชมพูกอเขียวมีขาว๒๙ ...ยามเมื่อขาวแกแลวหมากหลนมาเยีย เต็มเหลือหลายอเนกนองกองลน เปนที่อัศจรรยแทใผบมีเกาะเกี่ยว ขาวหากหลนจากขานมาเลาอยูเยีย แตนั้น สน ๆ พรอมชาวทีปชมพู เขาก็ทงคําสุขเพิ่งบุญจอมเจา บไดคึดโศกฮอนสรรพสิ่งแนวใด ยูทางทงคําสุขบเคืองคําฮอน๓๐ ความหวังในการดํารงชีวิตของชาวนาคือการมีขาวกลาอุดมสมบูรณ เพราะไดอาศัยขาว เปนอาหารที่สําคัญในการดํารงชีวิต ดังนั้น เมื่อเหตุการณกลับเปนเปนปกติดังเดิม ชาวนาจึงมี ความเปนอยูที่ดี เมื่อมีความเปนอยูดี ก็ทําใหไดรับความสุขสบาย

๒๙ ๓๐

เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๗.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๘.


บทที่ ๕ สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ๕.๑ สรุปผลการวิจัย วรรณกรรมพื้นบานอีสานประเภทนิทานนั้นโดยมากแตงขึ้นจากจินตนาการ มี เพียงสวนนอยที่แตงขึ้นจากเรื่องจริง ไมอาจบอกไดวาเกิดขึ้นตั้งแตเมื่อใด เนื่องจากเปนการ ถายทอดจากรุนสูรุน เนื้อหาจึงอาจผิดแปลกจากเดิมไปบาง แมนิทานเรื่องเดียวกัน คนเลา นิทานตองมีศิลปะและบุคลิกที่นาสนใจ คนฟงจึงจะเกิดความสนุกสนาน หรือสนใจฟง ถา ขาดคุณสมบัติอยางนี้ การเลานิทานก็ไมนาสนใจ นิทานพื้นบานอีสานที่ไดรับความนิยม ตามบัญชีรายชื่อนิทานมีอยูทั้งหมด ๕๙ เรื่อง ซึ่งจําแนกออกเปน ๕ ประเภท คือ ๑. นิทานบันทึกเหตุการณ ไดแก นิทานที่แตงขึ้นเพื่อบันทึกเหตุการณใด เหตุการณหนึ่ง เชน การสืบศาสนา เปนตน นิทานประเภทนี้ เชน อุรังนิทาน เปนตน ไดแก นิทานที่แตงขึ้นเพื่ออธิบายถึงตํานานการ ๒. นิทานเลาเรื่องสถานที่ เกิดขึ้นของสถานที่ตาง ๆ เชน ตํานานเมืองฟาแดดสงยาง เปนตน ๓. นิทานบันเทิง ไดแก นิทานเลาเรื่องทั่ว ๆ ไป มีทั้งเรื่องของชาวบานและ เรื่องจักร ๆ วงศ ๆ เชน แกวหนามา เปนตน ๔. นิทานพุทธศาสนา ไดแก นิทานที่เลาเรื่องราวที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา มี ทั้งที่เกี่ยวกับประวัติพระพุทธศาสนา และชาดกตาง ๆ เชน เชตพน เปนตน ๕. นิทานคติธรรม ไดแก นิทานที่แตงขึ้นโดยแทรกคติธรรมคําสอนไวดวย มีวัตถุประสงคเพื่อใหการสั่งสอนทางจริยธรรม เชน กลองขาวนอยฆาแม เปนตน แมจะมีถึง ๕ ประเภทตามที่กลาวมานี้ก็ตาม แตนิทนพื้นบานอีสานก็มักจะมีหลาย ลักษณะในเรื่องเดียวกัน เชน แมจะเปนนิทานประเภทบันเทิง แตก็มีการเลาเรื่องสถานที่และ แทรกคติธรรมไวดวย เปนตน


๘๑ หลักสภาวธรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสานเรื่องพระยาคันคาก ไดแก หลักอริยสัจ ๔ ขันธ ๕ ไตรลักษณ และกรรมนิยาม สวนหลักคุณธรรม ไดแก ความกตัญู ความเมตตา ความสามัคคี ความสันโดษ ความเสียสละ หลักกัลยาณมิตร การบําเพ็ญทาน และ ความเพียร หลักอริยสัจ ๔ เปนวิธีการแกปญหาของพระยาคันคาก คือพระองคทรงสืบสาวหา สาเหตุวาความแลงนั้นเกิดจากอะไร เมื่อไดทราบจากพระยานาควาเกิดจากพระยาแถน จึงไป ปราบพระยาแถน ใหพระยาแถนทําใหฝนตกตองตามฤดูกาลดังเดิม พระยาคันคากเองอาจจะ ไมรูวาวิธีการแกปญหาของพระองคเปนการแกปญหาแบบอริยสัจ ๔ แตนั่นไมใชเรื่องสําคัญ สิ่งที่สําคัญในเรื่องนี้คือการเขาใจปญหาวาเกิดแตเหตุ ถาจะแกตองแกที่เหตุนั้น ซึ่งพระยาคัน คากก็สามารถแกปญหาการปกครองที่ไมชอบธรรมของพระยาแถนไดจริง หลักขันธ ๕ เปนการติดใจในรูปที่เขาใจวางดงาม และอาลัยอาวรณในรูปขันธที่ได สัมผัสและอยูรวมกันมานั้น หลักไตรลักณ ไดแก ความไมเที่ยงของสังขาร มีความอุดมสมบูรณแลวแปร เปลี่ยนเปนความแหงแลง มีอํานาจแลวแปรเปลี่ยนเปนการสูญเสียอํานาจ มีการอยูรวมกันแลว ก็ตองพลัดพรากจากกัน หลักกรรมนิยาม ไดแก การไดรับผลบุญที่สั่งสมมาแตปางกอนของพระยาคันคาก จึงสงผลใหพระองคไดมาเกิดในตระกูลสูงและมีพระทัยขวานขวายแตในบุญกุศล อีกประการ หนึ่งคือการที่พระยาแถนไดรับผลกรรมชั่วของตน คือไดสูญเสียความยิ่งใหญในการเปนผูนํา โลกใหกับพระยาคันคาก เพราะสาเหตุคือการไมตั้งอยูในธรรมของตน ความกตัญู ไดแก พระยาคันคากทรงมีความเชื่อฟงคําสั่งสอนของพระราชบิดา และพระราชมารดา จึงทําใหพระองคไดเปนใหญ และเปนที่เคารพรักของคนทั้งหลาย ความเมตตา ไดแก ความมีน้ําพระทัยใหอภัยแกพระยาแถนของพระยาคันคาก และ การรับสั่งไมใหทหารเบียนเอารัดเอาเปรียบชาวแถน หลังจากที่ฝายพระองคทรงไดรับชัยชนะ ในการทําสงคราม หลั ก สามั ค คี ธ รรมในเรื่ อ งพระยาคั น คากคื อ การร ว มมื อ ร ว มใจของสรรพสั ต ว ทั้งหลายในการยกพลไปปราบพระยาแถนใหคืนความชอบธรรมแกสัตวโลกคือใหทําใหฝน ตกตองตามฤดูกาลดังเดิม หากขาดความรวมมือรวมใจของทุกฝายแลว ชัยชนะของฝายพระยา คันคากคงไมอาจเกิดขึ้นได เพราะพระยาแถนเปนผูมีฤทธิ์มาก แตเพราะทั้งหมดรวมมือกัน


๘๒ ตามกําลังความสามารถของตน เชน ตอ แตน ผึ้งก็ชวยกันตอดศัตรู พระยานาคก็พนน้ําดับไฟ เปนตน มนุษยและสัตวทั้งหลายจึงสามารถเอาชนะพระยาแถนได ความสั น โดษ ได แ ก ความไม โ ลภในสมบั ติ แ ถนของพระยาคั น คากในขณะที่ พระองคทรงมีโอกาสคือเปนฝายชนะสงคราม ความเสียสละ ไดแก ความเสียสละของเหลามนุษยและสัตวท้ังหลายขึ้นไปรบกับ พระยาแถนโดยที่ไมหวั่นเกรงตอมรณภัยแตประการใด หลักกัลยาณมิตร ไดแก การไดบริวารที่มีความเสียสละ และมีความกลาหาญของ พระยาแถน ซึ่งเปนปจจัยสําคัญใหพระองคสามารถรบเอาชนะพระยาแถนได การบําเพ็ญทานในเรื่องพระยาคันคาก ไดแก การใหทานของพระยาคันคากและ พระชายา ความเพียร ไดแก ความพยายามของเหลามนุษยในการเดินทางขึ้นไปสวรรคเพื่อ รบกับพระยาแถน โลกทัศนทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในวรรณกรรมเรื่องพระยาคันคาก ไดแก โลกทัศนที่มีตอธรรมชาติ สิ่งเหนือธรรมชาติ หลักความสัมพันธ การปกครอง และเศรษฐกิจ และการครองชีพ โลกทัศนที่มีตอธรรมชาติ ไดแก ความงดงามวิจิตรพิสดารของธรรมชาติที่ปรากฏ ในปราสาททิพยของพระยาคันคาก และวิถีชีวิตของคนทั้งหลายในยุคนั้นคือการประกอบ อาชีพการทํานา ตองอาศัยธรรมชาติในการดํารงชีวิต ซึ่งน้ําฝนเปนสิ่งสําคัญที่สุด เพราะทําให พืชผลไดผลิตผลดี สิ่งมีชีวิตตาง ๆ ไดอาศัยเลี้ยงชีพ โลกทัศนที่มีตอสิ่งเหนือธรรมชาติ ไดแก ความมหัศจรรยที่เกิดขึ้นในตอนที่พระ ชายาของพระเจาเอกราชไดสุบินเห็นนิมิตมงคล, ความมหัศจรรยที่เกิดขึ้นในตอนประสูติพระ ยาคันคาก และการเนรมิตของผูมีฤทธิ์ เชน พระอินทรเนรมิตปราสาทแกพระยาคันคาก เปน ตน หลักความสัมพันธในเรื่องพระยาคันคาก เปนความสัมพันธระหวางครอบครัว และความสัมพันธกับสังคม ความสัมพันธในระดับครอบครัวไดแก การปรนนิบัติพระยาคัน คากของนางแกวผูเปนพระชายา ความเปนหวงและอาลัยอาวรณของครอบครัวทหารที่ตอง พลัดพรากจากผูนําครอบครัว ซึ่งขึ้นไปรบกับพระยาแถน


๘๓ หลักการปกครองในเรื่องพระยาคันคากนั้นมีขอที่ควรศึกษาคือการลุแกอํานาจของ พระยาแถน กลาวคือ พระยาแถนเปนผูปกครองโลกเทวโลกและมนุษยโลก แตเมื่อพระองค ทรงรูวาตนเองกําลังสูญเสียอํานาจที่ยิ่งใหญนั้น ก็ไมอาจทําใจยอมรับได เพื่อเปนการแสดงให โลกรูวาการไมยอมอยูใตอํานาจการปกครองเดิมและมีใจสวามิภักดิ์ตออํานาจใหมนั้นจะ ไดรับผลอยางไร พระยาแถนจึงแสดงอํานาจกดขี่หมเหงโดยการทําใหฝนแลง เพื่อเปนการ ลงโทษใหคนทั้งหลายไดสํานึกแลวจะไดหันกลับมาภักดีตอพระยาแถนเหมือนเดิม แตการ กระทําดังกลาวนั้นเปนการตัดสินใจผิดอยางรายแรงของพระยาแถน เพราะพระองคประเมิน พระยาคันคากต่ําไป ไมคาดคิดวาพระยาคันคากจะสามารถรวบรวมกําลังพลขึ้นมาตอสูกับ พระองคจนสามารถเอาชนะได ในที่สุดชัยชนะจึงเปนของพระยาคันคาก หลักเศรษฐกิจและการครองชีพในเรื่องพระยาคันคากคือ ในเบื้องตนกอนที่พระยา แถนจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล มนุษยทั้งหลายมีความเปนอยูที่ดี ตอมาเกิดความแหง แลง มนุษยทั้งหลายจึงเปนอยูดวยความยากลําบาก ซึ่งความยากลําบากนั้นเปนผลกระทบที่ เกิดจากผูปกครองถือพระยาแถน ดังนั้น ชาวโลกทั้งหลายจึงไดตอสูกับผูที่สรางปญหาให จน ไดชัยชนะและมีความเปนอยูที่ดีดังเดิม ๕.๒ ขอเสนอแนะ ในการศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู วิ จั ย ได ศึ ก ษาลั ก ษณะของนิ ท านพื้ น บ า นอี ส านโดย ภาพรวม และไดเลือกศึกษาวิเคราะหหลักธรรมและโลกทัศนที่ปรากฏในเรื่องพระยาคันคาก ยั ง เห็ น ข อ บกพร อ งและข อ ที่ ค วรศึ ก ษาอี ก หลายประการ จึ ง ขอเสนอแนะประเด็ น ที่ ค วร ทําการศึกษาดังตอไปนี้ ๑. อิทธิฤทธิ์ที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสานเรื่องพระยาคันคาก ๒. ภาวะผูนําของพระยาคันคากที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสานเรื่องพระยา คันคาก ๓. คอง ๑๔ ที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบานอีสานเรื่องพระยาคันคาก


บรรณานุกรม ๑. ภาษาไทย : ก. ขอมูลปฐมภูมิ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฏกภาษาบาลี. ฉบับมหาจุฬาเตปฏํ, ๒๕๐๐. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕. ______________________. พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. ______________________. อรรถกถาภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาอฏฐกถา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๓๒. ______________________. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร : บริษัทนานมีบุคสพับลิเคชั่นส จํากัด, ๒๕๔๖. ข. ขอมูลทุติยภูมิ กระทรวงศึกษาธิการ. เอกสารการนิเทศการศึกษาวรรณกรรมจากบานใน. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพราว, ๒๕๑๔. กระแสร มาลยาภรณ. วรรณกรรมไทยปจจุบัน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, ๒๕๒๙. กิ่งแกว อัตถากร. นิทนพื้นเมือง. กรุงเทพมหานคร : หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู, ๒๕๑๗. กองโบราณคดี กรมศิลปากร. พื้นอีสาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๓๑. กุหลาบ มัลลิกะมาส และคณะ. ภาษาไทย ๘ (คติชนวิทยาสําหรับครู). โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๗. _________________. คติชาวบาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๑๘.


๘๕ คณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. พจนานุกรมภาษาถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. พิมพ ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพราว, ๒๕๒๗. ____________________________. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตรเอกลักษณและ ภูมิปญญา. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๒. จารุวรรณ ธรรมวัตร. คติชาวบานอีสาน. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : อักษรวัฒนา, ม.ป.ป.. _________________. วิถีความคิด – ชีวิตชาวนาอีสาน. มหาสารคาม : อาศรมวิจัย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, ๒๕๔๑. ___________. เอกสารประกอบการศึกษาวัฒนธรรมพื้นบาน. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, ๒๕๓๐. เจริญ ตันมหาพราน. ประเพณีทองถิ่น. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแสงแดด, ๒๕๓๘. เจือ สตะเวทิน. คติชาวบานไทย. กรุงเทพมหานคร : สุทธิสารการพิมพ, ๒๕๒๗. ชํานาญ รอดเหตุภัย. วรรณคดีและประวัติวรรณคดี. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๒๒. ชวน เพชรแกว. การศึกษาวรรณคดีไทย. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : โอ. เอส. พริ้น ติ้ง เฮาส, ๒๕๒๔. ณรงค เส็งประชา. มนุษยกับสังคม. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส, ๒๕๓๘. ดิเรก นอยคา. ภูมิปญญาพื้นเมือง. ขอนแกน : ศิริชัยการพิมพ, ๒๕๓๖. เตชวโร ภิกขุ (อินตา กวีวงศ). นิทานพระยาคันคาก. ขอนแกน : หจก. โรงพิมพคลังนานา วิทยา, ม.ป.ป.. ธนิต ตาแกว. รวมนิทานธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ลูก ส.ธรรมภักดี, ๒๕๓๙. ธวัช ปุณโณทก. วรรณกรรมทองถิ่น. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๒๕. _____________. วรรณกรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๗. นอย พงษสนิท. จริยศาสตร. กรุงเทพมหานคร : มิตรภาพการพิมพ, ๒๕๒๗. นภดล ทองโสภิต. ขุมปญญาแหงอีสาน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพบานฉัตร, ๒๕๓๒. นิพนธ สุขสวัสดิ์. วรรณคดีไทยเกี่ยวกับประวัติศาสตร. กรุงเทพมหานคร : พิฆเณศ, ๒๕๒๐.


๘๖ บุญเกิด พิมพวรเมธากุล. ประเพณีอีสานและเกร็ดโบราณคดีไทอีสาน. ขอนแกน : คลังนานา วิทยา, ๒๕๔๔. ปกรณ คุณารักษ, ผศ., ปญหาสังคม. ขอนแกน : คลังนานาวิทยา, ๒๕๔๖. ประมวล พิมพเสน. นิทานพื้นบานอีสาน ๑. ขอนแกน : หจก. โรงพิมพคลังนานาวิทยา, มปป. พระครูสุเทพสารคุณ และคณะ. มรดกไทอีสาน ฉบับสมบูรณ. ขอนแกน : คลังนานาวิทยา, ๒๕๔๔. พระธรรมปฏก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สหธรรมิก จํากัด, ๒๕๔๕. พระมหาโกวิทย สิริวณฺโณ และคณะ. มรดกอีสาน. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓. พระอริยานุวัตร. ประเพณีและวรรณคดีเกาของอีสาน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพศักดิ์ โสภา, ๒๕๒๖. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, ม.ล.. วิเคราะหวรรณคดีไทย. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : ศยาม, ๒๕๔๓. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน. อีสานคดี. ขอนแกน : ศิริภณ ั ฑออฟเซ็ท, ๒๕๔๐. มนัส สุขสาย. ธรรมดาสอนโลก. อุบลราชธานี : มูนมังไทยอีสาน, ๒๕๔๒. วิเชียร เกษประทุม. นิทานพื้นบาน. กรุงเทพมหานคร : บริษัท วิสิทธิ์พัฒนา จํากัด, มปป.. ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม. แองอารยธรรมอีสาน แฉหลักฐานโบราณคดีพลิกโฉมหนาประวัติศาสตรไทย. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมติชน, ๒๕๓๓. ศิราพร ฐิตะฐาน. ลักษณะเนื้อหาวรรณคดีไทย, เอกสารการสอนวิชาไทยคดีศึกษา. กรุงเทพ มหานคร : อมรินทรการพิมพ, ๒๕๒๔. สภาวัฒนธรรมจังหวัดขอนแกน. ของดีอีสาน. ขอนแกน : ขอนแกนการพิมพ, ๒๕๔๐. สมภาร พรมทา. มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพพุทธชาดก, ๒๕๓๘. สวิง บุญเจิม. มรดกอีสาน. พิมพครั้งที่ ๔. อุบลราชธานี : สํานักพิมพมรดกอีสาน, ๒๕๓๙.


๘๗ สงวน สุทธิเลิศอรุณ. พฤติกรรมมนุษยกับการพัฒนาตน. กรุงเทพมหานคร : บริษัทอักษร พิพัฒน จํากัด, ๒๕๔๓. สุพัตรา สุภาพ. สังคมวิทยา. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๔๑. ____________. ปญหาสังคม. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๔๑. อุดม บัวศรี, รศ.. วัฒนธรรมอีสาน. ขอนแกน : คลังนานาวิทยา, ๒๕๔๖.

๒. ภาษาอังกฤษ : Dundes, Alan. Interpreting Folklore. Indiana University Press ; Bloomington, 1980. Ralph, Linton & Adelin. Man’s Way. New York : Harper & Brothers, 1947. Reaver, J. Russel and Boswell, W. George. Fundamental of Folk Literature. Neherland : Press of St. Paul’s Abbey, 1965. Taylor, Archer. The Study of Folklore. New Jersey : Prentice Hall Inc., 1965.


๘๘

ภาคผนวก


๘๙ เนื้อเรื่องพระยาคันคากโดยยอ ยังมีนครกวางใหญแหงหนึ่งชื่อวา อินทปตถ พระราชาผูครองนครพระนามวา พระ เจาเอกราช มีพระมเหสีพระนามวา พระนางสีดา อยูตอมาหลายป พระโพธิสัตวก็จุติจาก สวรรคลงสูพระครรภของพระนางสีดา พระนางไดทรงสุบินวา พระอาทิตยตกจากฟาลงสู ครรภของพระนาง สองแสงสวางรุงเรืองในครรภนั้น พระนางก็ทรงทะยานสูทองฟา มีหมูดาว แวดลอมงดงาม พระนางทรงเหยียบภูเขาสิเนรุ เขาสิเนรุก็ลองลอยเปนดอกไมสงกลิ่นหอมยิ่ง นัก หลังจากนั้นก็เสด็จเขาสูหองบรรทมตามเดิม รุงเชาพระนางก็ทรงเขาเฝาพระสวามีแลวทูล ใหทราบเกี่ยวกับพระสุบินดังกลาวนั้น พระเจาเอกราชก็ตรัสวา พระนางจะมีผูมีบุญบารมีเปน พระโพธิ สั ต ว ม าประสู ติ ด ว ย สิ บ สองเดื อ นต อ มาพระนางก็ ป ระสู ติ พ ระโอรส มี รู ป ร า ง อัปลักษณเหมือนดังคางคก แตพระฉวีวรรณมีสีเหลืองดั่งทอง พระเจาเอกราชแมทรงทราบวา พระโอรสเปนเหมือนดังคางคกก็ไมทรงรังเกียจแตประการใด เพราะพระองคทรงทราบวานั่น เปนพระโพธิสัตว พรอมกับทรงรับสั่งใหเลี้ยงดูพระโอรสเปนอยางดี สวนคนอื่นก็นินทาบาง สรรเสริญบาง ซึ่งความจริงแลว พระกุมารมีรูปภายนอกเหมือนคางคกเทานั้น แตรูปภายใน งดงามดั่งเทพ ทั้งมีฤทธิเดชมากดวย พอพระชนมไ ด ๒๐ พรรษา พระยาคั น คากก็ ท รงมี พ ระประสงค จะมี คู อ ภิ เ ษก สมรส จึงกราบทูลพระราชบิดาใหทรงทราบ และผูที่จะอภิเษกสมรสกับพระองคนั้นตองเปน ผูมีสิริโฉมงดงาม พระราชบิดาจึงตรัสเตือนพระสติใหพิจารณาตน เพราะการที่ผูมีรูปราง อัปลักษณจะหาคูครองที่งดงามนั้นเปนสิ่งที่ไมเหมาะสม เมื่อเปนเชนนั้นพระองคจึงไดขอให พระอินทรชวยพระองค พระอินทรก็ทรงเนรมิตปราสาทประดับดวยรัตนะมีประการตาง ๆ มี สิ่งของเครื่องใชเพียบพรอมสมบูรณทุกอยาง พรอมทั้งทรงนํานางแกวมาใหเปนคูครองของ พระยาคันคากดวย นางก็ปรนนิบัติพระยาคันคากเปนอยางดี คนทั้งหลายไดเห็นปราสาททิพย ของพระยาคันคากก็เกิดอัศจรรยใจยิ่งนัก จึงไดไปกราบทูลใหพระเจาเอกราชทรงทราบ พระ เจาเอกราชพรอมดวยขาราชบริพารก็เสด็จมาทอดพระเนตรปราสาทของพระยาคันคาก พรอม กับไดเสด็จทอดพระเนตรสมบัติทิพยทั่วปราสาท พระองคเกิดอัศจรรยพระทัยในทิพยสมบัติ ยิ่งนัก ฝายพระยาคันคากก็ไดบริจาคทนแกคนทั้งหลาย พระเจาเอกราชทรงเห็นวาพระราช โอรสของพระองคมีบุญมาก จึงทรงอภิเษกใหครองเมืองแทนพระองค พระยาคันคากก็ทรง ครองเมืองดวยทศพิธราชธรรม ไพรฟาประชาราษฎรก็เปนอยูกันดวยความสงบสุข เจาเมือง


๙๐ ตาง ๆ ที่ขึ้นตอพระองคก็ไดทรงนําสิ่งของดี ๆ มาถวาย แมแตเทวดาและอมนุษยทั้งหลายก็ได นํ า สิ่ ง ของวิ เ ศษทั้ ง หลายมาถวายพระองค พร อ มกั น นี้ ส มบั ติ ข องพระเจ า จั ก รพรรดิ์ อี ก ๖ ประการที่เหลือ คือ ชางแกว มาแกว แกวมณี ขุนคลังแกว จักรแกว และขุนพลแกว ก็ปรากฏมี แกพระองค ดังนั้น พระยาคันคากจึงทรงมีฐานะเปนพระเจาจักรพรรดิ์ ฝายพระยาแถนผูสรางสรรพสิ่งเมื่อเห็นมนุษยโลก และเทวโลกเคารพยกยอง นับ ถือบูชาพระยาคันคาก ไมไดเคารพนับถือสักการะตนเองเหมือนดังเชนแตกอน ก็เกิดความ ริษยาในสมบัติของพระยาคันคาก จึงหาเรื่องทําฝนไมใหตกตองตามฤดูกาลเหมือนดังแตกอน โลกมนุษยก็เกิดความแหงแลง สิ่งมีชีวิตทั้งหลายไดลมตายเปนจํานวนมาก ในสวนของมนุษย คนบาปทั้งหลายไดตายเสีย เหลืออยูเฉพาะคนมีศีลธรรมเทานั้น พระยาคันคากจึงลงไปถาม พระยานาคดู ก็ไดทรงทราบวาพระยาแถนเปนผูทําใหโลกมนุษยเกิดความแหงแลง เพราะเหตุ ที่พระยาคันคากไดเปนใหญในโลกและไมทรงสักการะเคารพพระยาแถน พระยาคันคากทรง ทราบความจริงแลวก็ทรงเห็นวาพระยาแถนผูเปนใหญไมไดปกครองโลกดวยความเปนธรรม จึงทรงคิดที่จะทรงสั่งสอนพระยาแถนใหตั้งอยูในธรรม คืนความเปนธรรมใหกับโลกมนุษย ตามเดิม พระองคจึงไดทรงรวบรวมกําลังพลทั้งมนุษย อมนุษย และสัตวเดรัจฉานทั้งหลายขึ้น ไปทําการรบกับพระยาแถน ผลการรบปรากฏวาพระยาคันคากเปนฝายชนะ พระองคจึงได ทรงสอนพระยาแถนใหกลับตั้งตนในธรรม ปกครองโลกดวยความเปนธรรม ใหทําใหฝนตก ตองตามฤดูกาลดังเดิม คือเมื่อถึงเดือนหก มนุษยจะจุดบั้งไฟขึ้นไปเตือนพระยาแถนใหปลอย ฝนตกลงมายังโลกมนุษย เพื่อใหคนทั้งหลายไดทํานา พอเมื่อถึงหนาเก็บเกี่ยวขาว เมื่อไดยิน เสียงธนูวาว ก็อยาทําใหฝนตก เพราะขาวจะเสียหาย พระยาแถนก็ทรงรับคํา ดังนี้แลวพระยา คันคากพรอมดวยบริวารทั้งหลายก็เสด็จกลับยังโลกมนุษยตามเดิม ตั้งแตนั้นมาฝนก็ตกตอง ตามฤดูกาล โลกมนุษยกลับมีความอุดมสมบูรณเหมือนดังเดิม เมื่อพระยาคันคากสวรรคตแลว โลกก็เกิดการเปลี่ยนแปลงอีก ฝนไมตกตองตามฤดูกาลเหมือนดังเชนที่ปรากฏในปจจุบันนี้


๙๑ ประวัติผูวิจัย ชื่อ เกิด อุปสมบทเมื่อ ที่อยูปจจุบัน การศึกษา

หนาที่การงาน

: พระมหาสุระเวช วชิโร (เกชิต) : วันที่ ๒๖ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๖ : ๒๕ เมษายน ๒๕๒๙ : วัดโพธิ์ชัยโคกใหญ บานโคกใหญ – โคกคํา ตําบลบัวบาน อําเภอ ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ : มัธยมปลาย จากโรงเรียนน้ําพองศึกษา ตําบลวังชัย อําเภอน้ําพอง จังหวัดขอนแกน : ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน : พุทธศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน : เปนรองเจาคณะอําเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ : เปนเจาอาวาสวัดโพธิ์ชัยโคกใหญ อําเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.