Chatchavan Port2015

Page 1

A R C H P O RTF O L I O

CONTENTS

01. THESIS

City Can(al) Caure

02. DECON

Impact Residencial

03. MUSUEM

Light Slit Musuem

04. PREFAB

Prefab Housing

05. COMMUNE Bike Community

06. Urban Historic City

07. THAI

Tradition House

08. CHALLENGE Competition Works

09. ABOARD

Chance to Study

10. ARCHOTHER Another Works

WORKS

CHATCHAVAN SUWANSWAT

T E C T


CONTENTS

01. THESIS

City Can(al) Caure

02. DECON

Impact Residencial

03. MUSUEM

Light Slit Musuem

04. PREFAB

Prefab Housing

05. COMMUNE Bike Community

06. Urban Historic City

07. THAI

Tradition House

08. CHALLENGE Competition Works

09. ABOARD

Chance to Study

10. ARCHOTHER Another Works

WORKS


I’M

READY


4

CHATCHAVAN ชัชวาล

SU WA N S WAT สุวรรณสวัสดิ์

ที่อยู่ : 24 ถนน สมเด็จเจ้าพระยา ซอย สมเด็จเจ้าพระยา แขวง สมเด็จเจ้าพระยา เขต คลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600 Tel : 089 773 4456 Email : Viewtiful_chat@hotmail.com chatchasuwan@gmail.com Skill ความสามารถ Autocad 3D Sketchup 3D max Illustrator Photoshop Photography Hand Sketch Microsoft Offices Blog Press Text Writer Book Publisher Organization


5

Ed u c ati on & Int ernshi p 1998-2009

Saint Gabriel College โรงเรียนเซนต์คาเบรียล 2010-2015

Faculty Architecture of Silpakorn University คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร 2013-Taiwan Exchange Program

Faculty Architecture of Tunghai University คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ตงไห่(ไต้หวัน) 2014-Internship in India

Narendra Dengle Architect and Associate ฝึกงานกับอาจารย์ Narendra Dengle(อินเดีย)

Ex p e r i e n ces 2013-Stage Play Contractor

Silpakorn Arch-Student Drama Play สางแผนติดตั้งและออกแบบเวที “ศิลปากรละครถาปัด“ 2014

Second Head of Silpakorn Arch-Student Club รองหัวหน้าคณะกรรมการนักศึกษา สถาปัตย์-ศิลปากร 2014-Founder

Charn-Pun Silpakorn Community ก่อตั้งชมรมฉันปั่น-ถาปัดศิลปากร 2015

Sarakadee Magazine Writer Community ได้เลือกให้ฝึกงานเขียนแบบมืออาชีพกับนิตยสาร “สารคดี“

Aw ar ds 2014-Won 2nd Prize

SCB Home Renovation ประกวดแบบ ปรับปรุงบ้านตกแถว ได้รับรางวัลอันดับ จากบริษัท SCB


CONTENTS

6

01 THESIS

City Can(al) Caure Project Year 5th

02

03

Impact Residencial Project Year 2nd

Light Slit Musuem Project Year 4th

DECONSTRUCTION

MUSUEM

05

COMMUNE DESIGN

04 PREFAB

Prefab Housing Project Year 4th

Bike Community Project Year 4th


7

06 Urban DESIGN Historic City Project Year 5th

07

08

Tradition Thai Architecture Project Year 3rd

Competition Works Project Year 3rd-5th

THAI DESIGN

CHALLENGE

10 ARCH09 ABOARD

Chance to Study

OTHER


8

| ภาพทัศนียภาพ ของโครงการ ศูนย์การเรียนรู้และ ควบคุมคุณภาพน้ำ�เสีย เขต ธนบุรี ซึ่งมีสวนบำ�บัดน้ำ� แทรกตัวอยู่ ในโครงการ.

01

THESIS

วิทยานิพนธ์ : กลั่น คลอง เมืองใหม่ ศูนย์การเรียนรู้และควบคุมคุณภาพน้ำ�เสีบ ธนบุรี

City Can(al) Cure : Thonburi Waste Watertreatment Plant วิทยานิพนธ์ ในเรือ่ ง “กลัน่ คลอง เมือง ใหม่” มีความมุ่งหมายที่จะศึกษาปัญหาน้ำ�คลอง เน่าเสียในกรุงเทพมหานคร ซึ่งส่งผลกระทบต่อ สุขภาวะต่างๆ เพื่อสร้างกระบวนการเข้าใจปัญหา และแนวคิดวิธี ในการออกแบบ ตามที่มาที่ไปอย่าง เหมาะสม ด้วยวิธีทางสถาปัตยกรรม ซึ่ ง นำ � ไปสู่ วิ ธี ก ารศึ ก ษากระบวนการ ออกแบบ ผ่านวิธีการ 3 กระบวนการ อันได้แก่ เทคโนโลยี (โรงบำ�บัดน้ำ�เสีย) , ธรรมชาติ (สวน ชุ่มน้ำ�) และ ประสบการณ์ (ศูนย์การเรียนรู้).


9


10

| สภาพความเป็นเมืองชัน้ นำ�ของโลก การจัดการน�้ำ เสีย ในระบบของเมือง นั้นแสดงถึงศักยภาพและคุณภาพ ชีวิตของปนะชาชน กรุงเทพมหานครก็เช่นกัน


11

| กรุงเทพมีน้ำ�เสียค้างอยู่ ในระบบภึง 2.4 ล้าน ลบม. สิ่งที่คอยช่วยเหลือเมืองนั้น ก็คือ โรงบำ�บัดน้ำ�เสีย ซึ่ง หากตั้งคำ�ถามกันใหม่ จะได้วิธีแบบใหม่ ให้ตอบเมือง


12

| Process ของกระบวนการออกแบบ ตั้ ง แต่ การเลื อ กพื้ น ที่ โ ครงการ จนถึ งวิ ธี ผ สานพื้ น ที่ ข อง เทคโนโลยี พื้นที่สีเขียวสาธารณะ ให้เข้ากับการใช้สอย ของสถาปัตยกรรม รวมถึงขันกั้นน้ำ�แบบใหม่


13


14

| รูปโมเดลในการตรวจแบบครั้งสุดท้าย ใช้วัสดุเป็น acryric ใส แล้วจัดการ laser cutting ตัดเป็นชิ้น ส่วนมาประกอบกัน


15


16

| รูปด้านกน้าของสถาปัตยกรรม ถูกออกแบบให้เป็น Skin ลักษณะรวงผึ้ง ที่สามารถกรองทั้งแสง เสียง และกลิ่น จากถนนสายใหญ่หน้าอาคารได้

02

DECONSTRUCTION

ศูนย์พักอาศัยแบบใหม่ ตลาดท่านา

Thana Residential Complex

ศู น ย์ พั ก อาศั ย แบบใหม่ ตลาดท่ า นา อำ�เภอ นครชัยศรี จังหวัด นครปฐม การ ออกแบบทั้ ง หมดใช้ แ นวคิ ด กระบวนการของ Deconstruction ในการทำ�งาน โดยการเก็ บ ข้ อ มู ล ประสบการณ์ เ ชิ ง ปริมาณของผลกระทบทางสายตา เสียง ความเร็ว ของคนหรือรถยนต์ รวมถึงแสงและร่มเงา แล้ว นำ � มาตี ค วามเป็ น สถิ ติ เ ชิ ง เส้ น สายลงบน พื้ น ที่ ของชุดอาคารพักอาศัยพื้นฐาน ซ้อนทับลงไปใน ตำ�แหน่งที่ดีที่สุด เกิดงานออกแบบที่แปลกใหม่


17


18

| กระบวนการของวิธีทับซ้อนของ เส้นผลกระทบเชิง เส้นในระดับต่างๆ จนทำ�ให้เกิดพื้นที่รับรู้ประสบการณ์ ใหม่ๆ นั่นเอง


19


20


21 | ลักษณะของมวลอาคาร ถูกออกแบบด้วยรูปทรง ง่ายๆ ผ่าออกเป็นขิน้ ๆ เพือ่ ให้แสงเข้าตามทีต่ อ้ งการ โดยมีกระบวนจัดวางเริม่ จากบริบทโดยรอบเสียก่อน

03

MUSEUM

พิพิธภัณฑ์ ศิลปะ / เงา / แสง

Light Slit Museum / Art

การออกแบบ พิพิธภัณฑ์ ศิลปะ ในโครงการนี้ มีแนวคิดทีจ่ ะต้องการทดลอง การควบคุ ม คุ ณ ภาพแสงที่ จ ะเข้ า มาแต่ ล ะ ส่วนอย่างชัดเจน โดยมีการแบ่งมวลของ อาคาร เป็นสามส่วน โดยใช้เครื่องมือการ ผ่าแสงตัดลงไปในอาคาร เพือ่ ให้เกิดความรู้ สึกเปลื่ยนผ่านของพื้นที่ และคุณภาพแสงที่ เปลื่ยนไป อีกทั้งรูปแบบของรูปทรงอาคาร พยายามจะให้มันกลืนไปกับบริบทชุมชนเล็ก และตึกสูงไปด้วยกัน และเจาะทางเดินถึง พื้นที่ติดริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา


22

| แบบรูปด้าน รูปตัดของอาคาร และภาพทัศยภาพ ภายใน แสดงให้เห็นการควบคุมคุณภาพแสงภายใน อาคารทั้งหมด


23


24

| รูปทัศยภาพของโครงการทัง้ หมด รูปหน้าของอาคาร และภายในห้องพักอาศัย

04

PREFABICATION

อาคารพักอาศัย ก่อสร้างสำ�เร็จรูป

Prefabication Housing

โครงการออกแบบอาคารพั ก อาศั ย ก่อสร้างด้วยระบบสำ�เร็จรูป เป็นการศึกษาความ เป็นไปได้ของส่วนประกอบในแต่ละชิ้นส่วน ตั้งแต่ ผนัง พื้น คาน ฐานราก ให้สามารถนำ�มาประกอบ ด้วยจำ�นวนแบบที่น้อยและมีประสิทธิภาพในการ ก่อสร้างให้ ได้มากที่สุด อีกทั้งยังศึกษารอยต่อ ในการประกอบชิ้ น ส่ ว นทั้ ง หมด กระบวนการ ก่อสร้างทั้งขั้นตอนเปียก ขั้นตอนแห้ง ได้ถูกคำ� นวนระยะเวลาทำ � งานไปด้ ว ย ควบคู่ ไ ปกั บ การ ออกแบบรูปลักษณะหน้าตาให้สวยงามด้วย


25


26

ผังพื้นที่ชั้นที่ 1

ผังพื้นที่ชั้นที่ 2

ผังพื้นที่ชั้นที่ 3


| ชิ้นส่วนประกอบแต่ชิ้นส่วนของอาคารได้ถูกคิดให้ ผสานไปทั้งระบบของชุดอาคาร

27


28

| โดยรูปทรงของพื้นที่ส่วนใหญ่ของโครงการนี้ เกิด จากเส้นทางของการปั่นจักรยานที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะ สมที่สุดในพื้นที่

05

COMMUNITY DESIGN

จุดพักนักปั่นจักรยาน

Ride to Velo World

โครงการ จุดพักนักปั่น เกิดจาก กระแสของเครื อ ข่ า ยกลุ่ ม ผู้ ใ ช้ จั ก รยาน ได้ มี ม ากขึ้ น ในสั ง คมไทย และหากมี ส ถานที่ ใ ห้ กลุ่ ม ดั ง กล่ า ว สถาปั ต ยกรรมให้ จั ก รยาน จะเป็นยังไง จึงเกิดแนวคิดในการออกแบบ สถาปั ต ยกรรมที่ ทำ � ให้ ค นที่ ชื่ น ชอบการปั่ น จักรยาน และคนทีจ่ ะเริม่ ต้นได้เข้ามามีกจิ กรรม ร่วมกัน โดยออกแบบจะให้มพี นื้ ทีท่ างจักรยาน และอาคารผสานเข้าด้วยกันตลอดโครงการ อีกทั้งยังมีเวโลโดมเป็น landmark อีกด้วย


29


30

| กระบวนการขัน้ ตอน วิเคราะห์ศกั ยภาพพืน้ ที่ เพือ่ สร้าง เส้นทางจักรยานในโครงการให้มีประสิทธิภาพที่สุด นั่น ทำ�ให้เกิดการผสานพื้นที่อาคารไปด้วยกัน


31


32

| โมเดลภาพรวมของโครงการพัฒนาพื้นที่ทั้งหมด ไม่ ได้เพียงออกแบบผังอย่างเดียว แต่ลงไปถึงพืน้ ที่ใช้สอย เล็กๆ ระหว่างอาคารด้วย

06

URBAN DESIGN

โครงการพัฒนาชุมชนคอนเซปชัญ

Conception Urban Develop

การทำ � งานกลุ่ ม ทั้ ง สตู ดิ โ อ ร่ ว มกั น ออกแบบและพั ฒ นาผั ง และ สถาปั ต ยกรรมในพื้ น ที่ ชุ ม ชน คอน เซปชั ญ ย่ า นสามเสน โดยศึ ก ษาทั้ ง การอยู่ อ าศั ย เดิ ม การใช้ พื้ น ที่ เ ดิ ม ประวั ติ ศ าสตร์ ศั ก ยภาพที่ ค วรแก้ ไ ข และพัฒนาไปในอนาคต โดยมีโจทย์อยู่อย่างเดียวที่ ท้าทาย คือการทำ�ให้พื้นที่นี้ เกิด FAR ที่ ตรงตามแผนพัฒนาที่ดินของผังเมือง


33


34

| พืน้ ที่ ทีก่ ลุม่ ย่อยได้รบั มอบหมาย ถูกออกแบบจากแนวคิดทีจ่ ะเก็บอาคารเก่า ให้ได้มากที่สุด และดึงรั้วบ้านเดิมมาออกแบบพื้นที่สาธารณะใหม่


35


36

| ทัศนียภาพของชุมชนคอนเซปชัญ ที่ถูกปรับปรุงใหม่ โดยรูปแบบอาคารยังเป็น organic ตามต้นฉบับดัง้ เดิม


37


38

07

THAI DESIGN

ออกแบบเรือนไทยประเพณี

Thai Tradition Architecture

สถาปั ต ยกรรมไทยประเพณี ประจำ � ถิ่ น ทางภาควิ ช าสถาปั ต ยกรรม หลัก ชองมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้บรรจุ หลักสูตรการสอนเอาไว้ด้วย การออกแบบรูปทรงและองค์ ประกอบพื้นที่แบบที่ถูกสอนมาตั้งแต่อดีจ โดยมีอาจารย์ฤทัย จงใจรัก เป็นต้นแบบ การศึกษา เราถูกสอนให้เขียนแบบและศึกษา พื้นที่ลักษณะเฉพาะของบ้านพื้นที่ ไทยภาค กลาง และเรือนประเพณีของภาคเหนือ


39 | สถาปัตยกรรมไทยภาคกลาง และภาคเหนือ


40 | ผลงานการประกวดแบบตั้งปี 2013-2015

08

CHALLENGE

งานประกวดแบบ

Competition Works ตั้งแต่ปี 2013-2015 ผมไล่ ทำ�การประกวดแบบไปจำ�นวนมาก ตั้งแต่ สเกลบ้ า นพั ก อาศั ย พื้ น ที่ ภ ายในอาคาร ปรั บ ปรุ ง บ้ า นเก่ า จนไปถึ ง แนวคิ ด การ พั ฒ นาเมื อ ง อี ก ทั้ ง ประกวดออกแบบ กระเป๋า


41


42

| การออกแบบหน้าอาคารพยายามจะซ่อนรูปลักษณ์แบบ เดิมไว้ ด้วยผนังไม้ไผ่ ที่ราคาถูกและสามารถเปลื่ยนได้ง่าย


43

08.1

ประกวดแบบ ปรับปรุงบ้านตึกแถว ได้รับรางวัลอันดับ 2

Won 2nd Prize SCB Home Renovation

โจทย์ของการประกวดครั้งนี้ก็คือ การ ปรั บ ปรุ ง อาคารตึ ก แถวเดิ ม โดยให้ ง บกำ � หนดมา 250,000 บาท ให้เกิดประสิทธิภาพให้มากที่สุด แนวความคิดในการออกแบบการประกวด ครั้งนี้ก็คือการ “เบลอ” พื้นที่ ใช้สอยต่างๆ ให้กลาย เป็นหนึ่งเดียว และทีเด็ดของการออกแบบก็คือ ทำ�ให้ พื้นที่ข้างในเหมือนการอยู่พื้นที่ข้างนอกตึกแถว โดย การกำ�หนดให้คนในบ้านเห็นท้องฟ้าข้างนอก


44

| นอกจากออกแบบ Unit แล้ว เรายังออกแบบ Node ที่คอยสร้างปฏิสัมพันธ์คนกับน้ำ�และระบบขนส่ง รถต่อ เรือ อีกทั้งจัดการระบบขยะด้วย


45

08.2 ประกวดแบบพื้นฟูเมืองน้ำ�

Water City Competition Future-Arch Co. โจทย์ของการประกวดนั่นก็คือ ให้ออกแบบแนวคิดในการพัฒนาเมือง ให้ กลายเป็นเมืองน้ำ�ของโลก แนวคิ ด ในการออกแบบก็ คื อ เรามองว่ากรุงเทพมหานครมีพื้นที่ริมน้ำ� รกร้างและเสื่อมโทรม และยากที่จะเข้าถึง จึงได้ออกแบบ Unit ที่สามารถแทรกแซง และปรับปรุงพื้นที่ทางเดินริมน้ำ�ให้เกิดขึ้น ด้วยคนในชุมชน อีกทัง้ ยังบำ�บัดน�้ำ เสียไปใน ตัวได้ด้วย เมื่อทุกอย่างสำ�เร็จก็จะนำ� Unit มารวมกันเป็น Public ปากน้ำ�ใหม่


46

09

ABOARD

โครงการแลกเปลื่ยนนักศึกษาศถาปัตย์ มหาวิทยาลัย ตงไห่ (ไต้หวัน)

Tunghai Architecture Exchange Student Program

ผมได้ ถู ก รั บ คั ด เลื อ กเป็ น หนึ่ ง ในตัวแทนของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ไปศึกษาระยะสั้นที่ มหาวิทยาลัยตงไห่ (ไต้หวัน) โดยได้เลือกเรียนวิชา Urban Design ของหลักสูตรมหาบันฑิตของที่ นั่น และยังได้ทำ�การ Workshop หลาย ครั้งด้วย อีกทั้งยังได้เดินทางศึกษาดูงาน สถาปัตยกรรมในไต้หวันทั่วประเทศ


47


48

ฝึกงานสถาปัตย์ นาเรนดา เดนเกิล (อินเดีย)

Architecture Internship Narendra Dengle & Associates จากที่ได้ไปศึกษาที่ไต้หวัน มีการ บรรยายงานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยจาก อินเดีย ทำ�ให้รู้จักอาจารย์นาเรนดา เดน เกิล ผู้ที่ออกแบบวัด 5 ศาสนา ทำ�ให้เกิด แรงบันดาลใจ ให้ ได้เดินทางไปฝึกงานกับ แก ที่อิน เดีย เพื่อศึกษาปรัชญาและการ ออกแบบงานสถาปัตยกรรมของอินเดีย ยุคใหม่ ขณะที่ ได้ ไปทำ�งานด้วยนั้น ได้ทำ� แบบมหาวิทยาลัย ปูเณ่ รวมถึงตัดโมเดล อีกด้วย


49



NOT YET


10




























Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.