จอมเกเร

Page 1

บทบาทของสื่อมวลชนต่อการเผยแพร่ข่าวกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย โดย นางสาวสิราภรณ์ ชาวหน้าไม้

1.1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน คือ กิจกรรมที่จัดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็ก ตลอดจนพัฒนาเด็กให้ใช้ประโยชน์จากการอ่านเพื่อแสวงหาความรู้ ทาให้เกิดความสนใจหรือมีรสนิยมในการ อ่านมากขึ้น และเห็ น ความสาคัญ ของการอ่าน พยายามพัฒ นาการอ่านของตนจนเกิดเป็นนิสัยรักการอ่าน (Chompoosri, 2006 : p.42) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่ดีจะต้องเร้าใจ จูงใจ กระตุ้นให้ อยากรู้ อยากเห็ น อยากอ่านเรื่องราวในหนังสือหรือสื่อที่นามาเป็นเป้าหมายในการจัดกิจกรรม จนเด็กสามารถนาความรู้ไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ (Chavalit, 2001 : p.15) จากความสาคัญของกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ภาครัฐจึงได้มีการจัดทา “แผนแม่บทส่งเสริมวัฒนธรรม การอ่านสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ของไทย พ.ศ. 2560-2564” เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการดาเนินงานและบูรณา การการท างานร่ ว มกั น ของหน่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การส่ ง เสริ ม การอ่ า น อาทิ กระทรวงวั ฒ นธรรม , กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงมหาดไทย,กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, สานักกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สานักอุทยานการเรียนรู้, สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, สมาคมผู้จัดพิมพ์ และผู้จาหน่วยหนังสือแห่งประเทศไทย, สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย, มูลนิธิสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน, มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก ฯลฯ ข้อมูลของสานักงานสถิติแห่งชาติ ได้ดาเนินการสารวจการอ่านของประชากร ครั้งแรกในปี 2546 โดย ได้ดาเนินการสารวจข้อมูล เฉพาะประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปี ขึ้นไป ต่อมาในปี 2551 จึงได้ดาเนินการสารวจ ข้อมูลเพิ่มในเรื่องการอ่านของเด็กเล็ก (อายุต่า กว่า 6 ปี) หลังจากนั้นในปี 2558 ได้ขยายคานิยามของการอ่าน ให้ครอบคลุมมากขึ้น สาหรับการสารวจปี 2561 ได้เก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2561 จากจานวนครัวเรือนตัวอย่าง 55,920 ครัวเรือน การอ่านของเด็กเล็ก (อายุต่ากว่า 6 ปี) ในที่นี้หมายถึง การ อ่านหนังสือหรือบทความทุกประเภทด้วยตนเองหรือผู้ใหญ่อ่านให้ฟังในช่วงนอกเวลาเรียน ทั้งที่เป็นรูปเล่ม/ เอกสาร หรือการอ่านทางสื่ ออิเ ล็ กทรอนิกส์ โดยการอ่านมี ทั้ งที่ มีการเชื่อมต่อและไม่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ ต (สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2561) ข้อมูลของสานักสถิติแห่งชาติพบว่าจานวนประชากร เด็กเล็กหรือเด็กปฐมวัย (0-6 ปี) ทั่วประเทศมีประมาณ 4.41 ล้านคน เด็กปฐมวัยในช่วงนี้ถือได้ว่าเป็นช่วงแรกของชีวิตและเป็นช่วงเวลาของการพัฒนาที่สาคัญที่สุดใน ชีวิตของเด็ก โดยจากการสารวจการอ่านหนังสือของประชากร ในปี พ.ศ. 2561 พบว่าเด็กเล็กที่อยู่ในกิจกรรม การอ่านมีประมาณ 2.7 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 61.2 ของจานวนเด็กเล็กทั้งประเทศ โดยที่ อัตราการอ่านของ เด็กเล็กนั้นจะมีความแตกต่างกันระหว่างเขตการปกครองและภาค โดยในเขตเทศบาลมีอัตราการอ่านสูงกว่า นอกเขตเทศบาล (ร้อยละ 66.3 และ 57.4 ตามลาดับ) เด็กเล็กในกรุงเทพมหานคร มีอัตราการอ่านสูงสุด (ร้อย


ละ 76.2) ภาคใต้ มีอัตราการอ่าน คิดเป็นร้อยละ 56.9 ซึ่งเป็นอัตราการอ่านรองลงมาจากภาคเหนือ ที่มีอัตรา การอ่าน ร้อยละ 59.1 และลาดับสุดท้ายคือภาคอีสาน ร้อยละ 55.9 (สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2561)

ภาพที่ 1 แสดงอัตราการอ่านของเด็กเล็กนอกเวลาเรียน จาแนกตามเพศ และเขตการปกครอง ข้อมูลที่ได้ทาให้เห็นถึงสถานการณ์การอ่านว่ายังเป็นจุดอ่อนของเด็กไทย ซึ่งพ่อแม่และผู้ปกครองมี ส่วนสาคัญในการสร้างเสริมการอ่านให้เด็กและเยาวชนอย่างมาก จากการสารวจการอ่านหนังสือของประชากร พ.ศ. 2561 กลุ่มเด็กเล็กที่ไม่อ่านด้วยตนเอง และไม่มีผู้ใหญ่อ่านให้ฟัง มีประมาณ 1.7 ล้านคน หรือประมาณ 2 ใน 5 (ร้อยละ 38.8) ของเด็กเล็กทั่วประเทศ สาเหตุสาคัญส่วนใหญ่ที่ผู้ใหญ่ไม่อ่าน คือ เด็กยังเล็กเกินไป (ร้อย ละ 63.8) รองลงมาคือ อ่านไม่ออก (ร้อยละ 18.4) ชอบดูโทรทัศน์ มากกว่า (ร้อยละ 7.9) อ่านได้ไม่คล่องหรือ อ่านได้เพียงเล็กน้อย (ร้อยละ 4.0) จะเห็นได้ว่า สาเหตุสาคัญที่เกินกว่าครึ่งหนึ่งของเด็กเล็กที่ไม่อ่านเนื่องจาก ผู้ใหญ่เข้าใจผิดคิดว่าเด็กยังเล็กเกินไปจึงไม่อ่านให้เด็กฟัง ดังนั้นการรณรงค์ให้ผู้ใหญ่รับทราบถึงประโยชน์ที่จะ ได้รับ และได้ตระหนักถึงความสาคัญในการอ่านให้เด็กเล็กฟังตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือแรกคลอดจึงมีความสาคัญ และต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน (สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2561) ส่วนหนึ่งของการแก้ไขปัญหานั้นเป็นบทบาท และเป็นหน้าที่หลักของสื่อมวลชน (สื่อมวลชนไม่มีหน้าที่ หลักในการแก้ปัญหา แต่มีหน้าที่รายงานปัญหาให้สังคมรับรู้ และกระตุ้นให้หน่วยงานเกี่ยวข้องรับผิดชอบแก้ไข ให้เกิดความเปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้น) โดยเฉพาะอย่างยิ่งสังคมในสภาพยุคปัจจุบันที่เรียกได้ว่าเป็น สังคมยุคสื่อสาร ที่มีความรวดเร็ว และปรับเปลี่ยนได้ตลอดเวลา ซึ่งความเจริญก้าวหน้าหรือความอยู่รอดของสังคม จะขึ้นอยู่ กับคนในสังคมว่าได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องทันเวลา และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมเพียงใด สื่อมวลชนต่างๆ จึงมีบทบาทสาคัญในการเสนอข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ตลอดจน เป็นผู้ชี้นาความคิดของคนในสังคม ด้วย (เยาวภา บัวเวช, 2564)


การเผยแพร่ข่าว (publicity) หมายถึง การให้ข้อมูล หรือเรื่ องราวข่าวสารเกี่ยวกับบุคคล ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ จะปรากฏเป็นข่าวอยู่ในสื่อกระจายเสียงและสื่อพิมพ์ต่าง ๆ (Belch and Belch. 1993 : 643) การเผยแพร่ข่ าวกิจ กรรมส่ งเสริ มการอ่านในเด็กปฐมวัย จึงหมายถึ งการให้ ข้อมู ล หรือ เรื่องราวข่าวสารที่ เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย เป็นรูปแบบการนาเสนอข่าวที่สาคัญรูปแบบหนึ่ง เนื่องด้วย หัวข้อข่าวทางการศึกษาจะถูกแยกออกเป็นหัวข้อข่าวเฉพาะ ที่สื่อแทบทุกสื่อจะต้องมีหัวข้อข่าวที่เกี่ยวข้องกับ การศึกษา แต่จากการตรวจสอบเนื้อหาของข่าวย้อนหลังหลายปีจะเห็นได้ว่า ประเด็นการเผยแพร่ข่าวกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ยังเป็นประเด็นที่ ไม่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชน ยกตัวอย่างเนื้อหาข่าวจาก เว็บไซต์มติชนออนไลน์ วันที่ 28 ธันวาคม 2563 หัวข้อข่าว 10 ข่าวเด่นปีชวด “การศึกษา-ศาสนา-วัฒนการ ธรรม” จะพบว่าไม่มีข่าวที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย หรือข่าวการส่งเสริมการอ่าน ติด อันดับข่าวเด่นของปี จากการสังเกตข่าวส่วนใหญ่ ที่ติดอันดับ จะเป็นข่าวที่สามารถสร้างกระแสในสังคม และ เกี่ยวข้องกับเรื่องดราม่า หรือเป็นการทาข่าวที่เป็นปัญหาปรับย้าย การสร้างนโยบาย และแสดงถึงปัญหาของ บุคคลมากกว่าที่จะแสดงถึงปัญหาส่วนรวมของประเทศ (มติชนออนไลน์ ,2563)

ภาพที่ 2 แสดงเนื้อหาของหัวข้อข่าวการศึกษาที่ไม่มีข่าวที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย (https://www.matichon.co.th/education/news_2502330)


สมควร กวียะ (2547) กล่าวว่า การนาเสนอข่าวสารต่างๆ ของสื่อมวลชนมีอิทธิพลและส่งผลกระทบ ต่อสังคมโดยรวมได้ ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และจิตวิทยา แต่จากการเข้าสืบค้นข้อมูล หัวข้อข่าวทางการศึกษาเบื้องต้น เห็นถึงการแสดงเนื้อหาของข่าวอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมส่งเสริมการ อ่านในเด็กปฐมวัย จึ งเห็ น สมควรที่จ ะศึกษาเพื่อให้ ทราบถึงบทบาทของสื่ อมวลชนในการนาเสนอข่าวการ ส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ว่ามีเทคนิค การประเมินคุณค่าข่าว หรือควรมีวิธีการนาเสนอข่าวอย่างไร และ ตรวจสอบข้อมูล หรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยว่ามีปัญหาและอุปสรรคใดบ้างใน การเขียนข่าวเผยแพร่การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ว่าควรเขียนข่าวหรือนาเสนอเนื้อหาข่าว อย่างไรให้น่าสนใจ เพื่อให้สื่อมวลชนนาข่าวไปเผยแพร่มากขึ้น

1.2. วัตถุประสงค์ในการศึกษา 1.2.1. เพื่อศึกษาบทบาทของสื่อมวลชนในการเผยแพร่ข่าวกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย 1.2.2. เพื่อศึกษาเทคนิค วิธีการ การประเมินคุณ ค่าข่าวของสื่อมวลชนที่จะทาให้ข่าวกิจกรรมส่งเสริม การอ่านในเด็กปฐมวัยมีความน่าสนใจและกระตุ้นสื่อมวลชนในการนาเสนอข่าว 1.2.3. เพื่ อศึกษาปั ญ หาของหน่ วยงานส่ งเสริม การอ่ าน มีปั ญ หาและอุป สรรค อัน ใดบ้างจากการ นาเสนอข่าวหรือไม่นาเสนอข่าวส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยจากสื่อมวลชน

1.3. วิธีที่ใช้ในการศึกษา 1.3.1. การเก็บ รวบรวมข้อมูล จากการสัมภาษณ์ เจาะลึ กนักวิช าชีพด้านสื่อมวลชน จานวน 5 ท่าน แบ่งเป็น -

ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ จานวน 1 ท่าน ประเภทสื่อโทรทัศน์ จานวน 1 ท่าน ประเภทสื่อวิทยุ จานวน 1 ท่าน ประเภทสื่อออนไลน์ จานวน 2 ท่าน

1.3.2. การเก็บ รวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ เจาะลึ กผู้ เชี่ยวชาญในการส่งเสริมการอ่านในเด็ก ปฐมวัย จานวน 5 ท่าน แบ่งเป็น - ประธานมูลนิธิสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน จานวน 1 ท่าน - บรรณาธิการหนังสือสาหรับเด็ก จานวน 1 ท่าน - อาจารย์ด้านวรรณกรรมสาหรับเด็ก จานวน 1 ท่าน - นักพัฒนากิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จานวน 2 ท่าน 1.3.3. สรุปและวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เจาะลึกนักวิชาชีพด้านสื่อมวลชน และผู้เชี่ยวชาญใน การส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย


หัวข้อ และข้อคาถามในการสัมภาษณ์เจาะลึกนักวิชาชีพด้านสื่อมวลชน ประเภท ชนิด 1.นักวิชาชีพด้าน 1.1 สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อมวลชน

ข้อคาถาม หมายเหตุ - ปั จ จั ย ที่ ใ ช้ ใ นการคั ด เลื อ กข่ า วการศึ ก ษาเพื่ อ ลงสื่ อ จานวน 1 ท่าน สิ่งพิมพ์ - ข่าวส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ควรจัดให้อยู่ในหมวด ใดของข่าวการศึกษาในสื่อสิ่งพิมพ์ - เหตุใดข่าวกิจกรรมส่ งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ถึง ไม่ได้รับความสนใจในการนาเสนอข่าวในสื่อสิ่งพิมพ์ - เทคนิ ค ในการเขี ย นกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การอ่ า นในเด็ ก ปฐมวัย เพื่อสร้างความน่าสนใจในการนาเสนอข่าวในสื่อ สิ่งพิมพ์ - ข้ อ เสนอแนะในการจั ด ท าหั ว ข้ อ ข่ า วการอ่ า นในเด็ ก ปฐมวัยเพื่อเป็นการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์สาหรับสื่อ สิ่งพิมพ์

1.2 สื่อโทรทัศน์ - ปั จ จั ย ที่ ใ ช้ ใ นการคั ด เลื อ กข่ า วการศึ ก ษาเพื่ อ ลงสื่ อ จานวน 1 ท่าน โทรทัศน์ - ข่าวส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ควรจัดให้อยู่ในหมวด ใดของข่าวการศึกษาในสื่อโทรทัศน์ - เหตุใดข่าวกิจกรรมส่ งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ถึง


ประเภท

ชนิด

1.3 สื่อวิทยุ

ข้อคาถาม หมายเหตุ ไม่ได้รับความสนใจในการนาเสนอข่าวในสื่อโทรทัศน์ - เทคนิ ค ในการเขี ย นกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การอ่ า นในเด็ ก ปฐมวัย เพื่อสร้างความน่าสนใจในการนาเสนอข่าวในสื่อ โทรทัศน์ - ข้ อ เสนอแนะในการจั ด ท าหั ว ข้ อ ข่ า วการอ่ า นในเด็ ก ปฐมวัยเพื่อเป็นการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์สาหรับสื่อ โทรทัศน์ - ปัจจัยที่ใช้ในการคัดเลือกข่าวการศึกษาเพื่อลงสื่อวิทยุ จานวน 1 ท่าน - ข่าวส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ควรจัดให้อยู่ในหมวด ใดของข่าวการศึกษาในสื่อวิทยุ - เหตุใดข่าวกิจกรรมส่ งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ถึง ไม่ได้รับความสนใจในการนาเสนอข่าวในสื่อวิทยุ - เทคนิ ค ในการเขี ย นกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การอ่ า นในเด็ ก ปฐมวัย เพื่อสร้างความน่าสนใจในการนาเสนอข่าวในสื่อ วิทยุ - ข้ อ เสนอแนะในการจั ด ท าหั ว ข้ อ ข่ า วการอ่ า นในเด็ ก ปฐมวัยเพื่อเป็นการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์สาหรับสื่อ วิทยุ

1.4 สื่อออนไลน์ - ปั จ จั ย ที่ ใ ช้ ใ นการคั ด เลื อ กข่ า วการศึ ก ษาเพื่ อ ลงสื่ อ จานวน 2 ท่าน ออนไลน์ - ข่าวส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ควรจัดให้อยู่ในหมวด ใดของข่าวการศึกษาในสื่อออนไลน์ - เหตุใดข่าวกิจกรรมส่ งเสริ มการอ่านในเด็กปฐมวัย ถึง ไม่ได้รับความสนใจในการนาเสนอข่าวในสื่อออนไลน์ - เทคนิ ค ในการเขี ย นกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การอ่ า นในเด็ ก ปฐมวัย เพื่อสร้างความน่าสนใจในการนาเสนอข่าวในสื่อ ออนไลน์ - ข้ อ เสนอแนะในการจั ด ท าหั ว ข้ อ ข่ า วการอ่ า นในเด็ ก ปฐมวัยเพื่อเป็นการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์สาหรับสื่อ ออนไลน์


หัวข้อ และข้อคาถามในการสัมภาษณ์เจาะลึกผู้เชี่ยวชาญในด้านการส่งเสริมการอ่านใน เด็กปฐมวัย ประเภท ชนิด 2. ผู้เชี่ยวชาญใน 2.1 ผู้จัดการมูลนิธิ ด้านการส่งเสริม สร้างเสริมวัฒนธรรม การอ่านในเด็ก การอ่าน ปฐมวัย

2.2 บรรณาธิการ หนังสือสาหรับเด็ก

ข้อคาถาม หมายเหตุ - ที่ผ่านมาเคยได้มีการติดต่อสื่อมวลชน และจัดส่ง จานวน 1 ท่าน ข่าวส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ผ่านสื่อมวลชน หรือไม่ - หากได้ เคยติ ด ต่ อ สื่ อ มวลชน ได้ จั ด ส่ งข่ าวผ่ า น สื่อมวลชนเป็นข่าวลักษณะใด (ข่าวประชาสัมพันธ์ , VDO, คลิปสั้น ฯลฯ) หรือติดต่อในรูปแบบใด - ส่วนใหญ่ได้จัดส่งข่าวผ่ านสื่อมวลชนให้นาเสนอ ข่าว ผ่านทางช่องทางไหนบ้าง - ข่ า วกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การอ่ า นในเด็ ก ปฐมวั ย ลั กษณะไหนที่มั กจะได้ รับ ความสนใจได้น าเสนอ จากสื่อมวลชน - การนาเสนอข่าวกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็ก ปฐมวั ย จากสื่ อ มวลชนนั้ น มี ผ ลดี อ ย่ า งไรในการ ส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย - ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลมีผลต่อการนาเสนอข่าว หรือไม่ - การที่สื่อมวลชนไม่นาเสนอข่าวกิจกรรมส่งเสริม การอ่านในปฐมวัยนั้น มีผ ลอย่างไรต่อหน่ว ยงาน องค์กร และบุคคล หรือไม่ - ข้ อ เสนอแนะถึ ง สื่ อ ต่ า งๆ ในการเผยแพร่ ข่ า ว กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย - ที่ผ่านมาเคยได้มีการติดต่อสื่อมวลชน และจัดส่ง จานวน 1 ท่าน ข่าวส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ผ่านสื่อมวลชน หรือไม่ - หากได้ เคยติ ด ต่ อ สื่ อ มวลชน ได้ จั ด ส่ งข่ าวผ่ า น สื่อมวลชนเป็นข่าวลักษณะใด (ข่าวประชาสัมพันธ์ , VDO, คลิปสั้น ฯลฯ) หรือติดต่อในรูปแบบใด - ส่วนใหญ่ได้จัดส่งข่าวผ่านสื่อมวลชนให้นาเสนอ ข่าว ผ่านทางช่องทางไหนบ้าง


ประเภท

ชนิด

ข้อคาถาม - ข่ า วกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การอ่ า นในเด็ ก ปฐมวั ย ลั กษณะไหนที่มั กจะได้ รับ ความสนใจได้น าเสนอ จากสื่อมวลชน - การนาเสนอข่าวกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็ก ปฐมวั ย จากสื่ อ มวลชนนั้ น มี ผ ลดี อ ย่ า งไรในการ ส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย - ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลมีผลต่อการนาเสนอข่าว หรือไม่ - การที่สื่อมวลชนไม่นาเสนอข่าวกิจกรรมส่งเสริม การอ่านในปฐมวัยนั้น มีผ ลอย่างไรต่อหน่ว ยงาน องค์กร และบุคคล หรือไม่ - ข้ อ เสนอแนะถึ ง สื่ อ ต่ า งๆ ในการเผยแพร่ ข่ า ว กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย

หมายเหตุ

2.3 อาจารย์ด้าน - ที่ผ่านมาเคยได้มีการติดต่อสื่อมวลชน และจัดส่ง จานวน 1 ท่าน วรรณกรรมสาหรับเด็ก ข่าวส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ผ่านสื่อมวลชน หรือไม่ - หากได้ เคยติ ด ต่ อ สื่ อ มวลชน ได้ จั ด ส่ งข่ าวผ่ า น สื่อมวลชนเป็นข่าวลักษณะใด (ข่าวประชาสัมพันธ์ , VDO, คลิปสั้น ฯลฯ) หรือติดต่อในรูปแบบใด - ส่วนใหญ่ได้จัดส่งข่าวผ่านสื่อมวลชนให้นาเสนอ ข่าว ผ่านทางช่องทางไหนบ้าง - ข่ า วกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การอ่ า นในเด็ ก ปฐมวั ย ลั กษณะไหนที่มั กจะได้ รับ ความสนใจได้น าเสนอ จากสื่อมวลชน - การนาเสนอข่าวกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็ก ปฐมวั ย จากสื่ อ มวลชนนั้ น มี ผ ลดี อ ย่ า งไรในการ ส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย - ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลมีผลต่อการนาเสนอข่าว หรือไม่ - การที่สื่อมวลชนไม่นาเสนอข่าวกิจกรรมส่งเสริม การอ่านในปฐมวัยนั้น มีผ ลอย่างไรต่อหน่ว ยงาน องค์กร และบุคคล หรือไม่


ประเภท

ชนิด

ข้อคาถาม - ข้ อ เสนอแนะถึ ง สื่ อ ต่ า งๆ ในการเผยแพร่ ข่ า ว กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย

หมายเหตุ

2.4 นักพัฒนากิจกรรม - ที่ผ่านมาเคยได้มีการติดต่อสื่อมวลชน และจัดส่ง จานวน 2 ท่าน ส่งเสริมการอ่าน ข่าวส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ผ่านสื่อมวลชน หรือไม่ - หากได้ เคยติ ด ต่ อ สื่ อ มวลชน ได้ จั ด ส่ งข่ าวผ่ า น สื่อมวลชนเป็นข่าวลักษณะใด (ข่าวประชาสัมพันธ์ , VDO, คลิปสั้น ฯลฯ) หรือติดต่อในรูปแบบใด - ส่วนใหญ่ได้จัดส่งข่าวผ่านสื่อมวลชนให้นาเสนอ ข่าว ผ่านทางช่องทางไหนบ้าง - ข่ า วกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การอ่ า นในเด็ ก ปฐมวั ย ลั กษณะไหนที่มั กจะได้ รับ ความสนใจได้น าเสนอ จากสื่อมวลชน - การนาเสนอข่าวกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็ก ปฐมวั ย จากสื่ อ มวลชนนั้ น มี ผ ลดี อ ย่ า งไรในการ ส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย - ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลมีผลต่อการนาเสนอข่าว หรือไม่ - การที่สื่อมวลชนไม่นาเสนอข่าวกิจกรรมส่งเสริม การอ่านในปฐมวัยนั้น มีผ ลอย่างไรต่อหน่ว ยงาน องค์กร และบุคคล หรือไม่ - ข้ อ เสนอแนะถึ ง สื่ อ ต่ า งๆ ในการเผยแพร่ ข่ า ว กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย

1.4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.4.1. ศึกษาบทบาทของสื่อมวลชนในการเผยแพร่ข่าวกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย 1.4.2. ได้ทราบ เทคนิค และวิธีการ ในการประเมินคุณข่าวของสื่อมวลชน ทาให้ข่าวกิจกรรมส่งเสริม การอ่านในเด็กปฐมวัยมีความน่าสนใจยิ่งขึ้น


1.4.3. หน่ วยงานส่ งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย ได้ทราบถึงวิธีการนาเสนอข่าวสามารถน าวิธีการ เทคนิคการเขียนข่าว เพื่อปรับรูปแบบการเขียนข่าวประชาสัมพันธ์กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยได้ ถูกต้อง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.