กรอบแผนแม่บทระยะ 5 ปีที่ 6 อพ.สธ. - กสก

Page 1

แผนแมบท โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ ระยะ 5 ปที่หก (1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2564) กรมสงเสริมการเกษตร

ความเปนมา โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) เปนโครงการที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสืบทอดงานของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยู หั ว ทรงอนุ รักษตน ยางนา ตั้งแต ป 2503 ทรงเห็ นความสํ าคัญของการอนุ รักษพันธุกรรมพืช ทรง ดําเนินโครงการอนุรักษและพัฒ นาทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ ในป 2535 สมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดําริใหดําเนินการอนุรักษพืชพรรณของประเทศและ ดําเนินการเปนธนาคารพืชพรรณ โดยไดดําเนินการโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ และจัดสรางธนาคารพืชพรรณขึ้นในโครงการสวนพระองค สวนจิตรลดา ตั้งแตป 2536 เปนตนมา ปจจุบันมีการ ดําเนินงานใน 8 กิจกรรม โดยแบงตามกรอบการดําเนินงาน 3 กรอบ ดังนี้ 1) กรอบการเรียนรูทรัพยากร กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมปกปกพันธุกรรมพืช กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสํารวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพืช 2) กรอบการใชประโยชน กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอนุรักษและใชประโยชนพันธุกรรมพืช กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศูนยขอมูลพันธุกรรมพืช กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมวางแผนพัฒนาพันธุพืช 3) กรอบการสรางจิตสํานึก กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมสรางจิตสํานึกในการอนุรักษพันธุกรรมพืช กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษพันธุกรรมพืช ปจจุบันกรมสงเสริมการเกษตรรวมสนองพระราชดําริ ในกิจกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพืชตั้งแตป 2536 เปนตนมา และในป 2550 เริ่มดําเนินการในกิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษพันธุกรรมพืชตอเนื่องจนถึงปจจุบัน ซึ่งมี พื้นที่เขารวมโครงการ (ขอพระราชานุญาติ) ดําเนินงาน จํานวน 7 พื้นที่ ดังนี้ - โครงการรวบรวมพรรณพืชสวนและอนุรักษพันธุพืชสวนตามพระราชดําริ จังหวัดระยอง - โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชพื้นเมือง จังหวัดกระบี่ - โครงการอนุรักษพันธุกลวยพระราชทาน จังหวัดพิษณุโลก - โครงการรวบรวมสายพันธุพืชของประเทศไทย จังหวัดเชียงราย - โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชบานทุงตาหนอน อําเภอพนม จังหวัดสุราษฎรธานี - โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดชุมพร - โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดตรัง


-2วัตถุประสงค 1. ใหเขาใจและเห็นความสําคัญของพันธุกรรมพืช 2. ใหรวมคิด รวมปฏิบัติ จนเกิดประโยชนถึงมหาชนชาวไทย 3. ใหมีระบบขอมูลพันธุกรรมพืช สื่อถึงกันไดทั่วประเทศ แผน/นโยบายที่เกี่ยวของ 1. แผนแมบทโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ (อพ.สธ.) ระยะที่ 5 ปที่หก (1 ตุลาคม 2559-30 กันยายน 2564) โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ ไดกําหนดแนวทางและแผนการ ดํ าเนิ น งานตามแผนแม บ ท อพ.สธ. ระยะที่ 5 ป ที่ ห ก โดยมี กิ จ กรรม 8 กิจ กรรมที่ อ ยู ภ ายใต 3 กรอบการ ดําเนินงาน และ 3 ฐานทรัพยากร ไดแก ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและ ภูมิปญญา - กรอบการเรียนรูทรัพยากร : พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานดานการพัฒนาและ ดานการบริหารจัดการดานปกปกทรัพยากรของประเทศ จึงตองมีการเรียนรูทรัพยากรในพื้นที่ปาธรรมชาติดั้งเดิม ที่ป กป กรักษาไว โดยมีกิจ กรรมที่ ดําเนิ น งาน ไดแก กิจ กรรมที่ 1 กิจ กรรมปกป กพัน ธุ กรรมพื ช กิจ กรรมที่ 2 กิจกรรมสํารวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช และกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพืช - กรอบการใชประโยชน : พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานศึกษาวิจัยและประเมิน ศักยภาพของทรัพยากรตางๆ ใน อพ.สธ. ทั้งในดานการพัฒนาและการบริหารจัดการใหการดําเนินงานเปนไปใน ทิศทางเดียวกันและเอื้ออํานวยประโยชนตอกัน รวมทั้งพัฒ นาระบบขอมูลสารสนเทศ อพ.สธ. ใหเปนเอกภาพ สมบูรณและเปนปจจุบัน โดยบรรลุมุงหมายตามแนวพระราชดําริ โดยมีกิจกรรมที่ดําเนินงาน ไดแก กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอนุรักษและใชประโยชนพันธุกรรมพืช กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศูนยขอมูลพันธุกรรมพืช และกิจกรรมที่ 6 กิจกรรมวางแผนพัฒนาพันธุพืช - กรอบการสรางจิตสํานึก : ใหประชาชนกลุมเปาหมายตางๆ โดยเฉพาะเยาวชน นักเรียน นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป ไดมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับพืชพรรณไม และการอนุรักษพันธุกรรมพืชของประเทศ จนตระหนักถึงความสําคัญและประโยชนของการอนุรักษทรัพยากรที่กอใหเกิดประโยชนตอมหาชนชาวไทย โดยมี กิจกรรมที่ดําเนินงาน ไดแก กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมสรางจิตสํานึกในการอนุรักษพันธุกรรมพืช และกิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษพันธุกรรมพืช


-32. นโยบายสําคัญของกรมสงเสริมการเกษตร ขยายผลโครงการพระราชดําริ เกษตรกรรมยั่งยืน และเศรษฐกิจพอเพียง - ขยายผลการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ - สงเสริมการทําเกษตรกรรมยั่งยืนและเศรษฐกิจพอเพียง โดยเฉพาะเกษตรกรายยอย เพื่อสราง ความมั่นคงในอาชีพ สรางความมั่นคงทางอาหารในระดับครัวเรือนและชุมชน - สงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรและเกษตรกรประกอบอาชีพและดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กลไกการขับเคลื่อนเชิงนโยบาย 1. แตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินงานโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ กรมสงเสริม การเกษตร (อพ.สธ. - กสก.) 2. แตงตั้งคณะทํางานขับเคลื่อนการดําเนินงานโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ กรมสงเสริมการเกษตร 3. คณะกรรมการบริหารศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจําตําบล เปนผูสนับสนุนการสํารวจ และรวบรวมขอมูลทรัพยากรของตําบล แนวทางการดําเนินงาน ในแผนแมบทโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระยะที่ 5 ปที่หก (1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2554) กรมสงเสริมการเกษตร เขารวมสนองพระราชดําริใน 3 กรอบ 3 กิจกรรม ประกอบดวย กรอบการเรียนรูทรัพยากร : กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการปลูกรักษาพันธุกรรมพืช เป นกิจกรรมตอเนื่ องจากกิจกรรมสํารวจเก็บ รวบรวมพัน ธุกรรมพืช โดยการนําพัน ธุกรรมไป เพาะปลูกในพื้นที่ที่ปลอดภัย เชน พื้นที่ของหนวยงานที่รวมสนองพระราชดําริ พื้นที่จังหวัด เปนตน แนวทางการดําเนินกิจกรรม ดังนี้ 1) การปลูกรักษาตนพันธุกรรมพืชในแปลงปลูก ใหมีการสํารวจสภาพพื้นที่และสรางสิ่งอํานวย ความสะดวกในการปฏิบัติงาน ปลูกพันธุกรรมพืชและบันทึกผลการเจริญเติบโต รวมทั้ง ดําเนินการขยายพันธุพืช 2) ข อ มู ล ที่ ได จ ากกิ จ กรรมการปลู ก รั ก ษาพั น ธุ ก รรมพื ช ให นํ าไปจั ด การและเก็ บ เข า สู งาน ฐานขอมูลในกิจกรรมศูนยขอมูลพันธุกรรมพืช โดยกรมสงเสริมการเกษตร มีพื้นที่ดําเนินการในกิจกรรมการปลูกรักษาพันธุกรรมพืช รวม 8 แหง ไดแก


-41. โครงการรวบรวมพรรณพืชสวนและอนุรักษพันธุพืชสวนตามพระราชดําริ จังหวัดระยอง เริ่มดําเนินการในป 2536 โดยการรวบรวมพันธุไมผลที่ชนะการประกวดและพันธุพืชสวนพันธุดี หายากไว ณ ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดระยอง ตําบลแมน้ําคู อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง เพื่อประโยชนดานการศึกษาและคนควาทางดานพันธุกรรมพืช โดยนอมเกลาฯ ถวายเปนแหลงอนุรักษพืชสวน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพื้นที่ ดําเนินการทั้งสิ้นประมาณ 90 ไร 2. โครงการอนุรักษพนั ธุกรรมพืชพื้นเมือง จังหวัดกระบี่ เริ่มดําเนินการในป 2543 โดยกรมสงเสริมการเกษตรมีนโยบายใหศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพ การเกษตรจังหวัดกระบี่ ซึ่งตั้งอยูที่ตําบลเขาคราม อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ รวบรวมพันธุกลวยไมพื้นเมือง โดยมี เหตุผลคือ กลวยไมลูกผสมใหมๆ ของไทย ที่มีการปลูกเลี้ยงเปนการคาในป จจุบัน และทํารายไดเขาประเทศปละ หลายรอยลานบาท มีพื้นฐานมาจากกลวยไมพันธุพื้นเมืองและกลวยไมปา ซึ่งประเทศไทยเปนแหลงกําเนิดกลวยไมที่ สําคัญแหงหนึ่งของโลก และยังมีพันธุไมพื้นเมืองอื่นๆ อีกเปนจํานวนมาก ที่มีคนบุกรุกเขาไปเก็บและทําลาย 3. โครงการอนุรักษพันธุกลวยพระราชทาน จังหวัดพิษณุโลก ในป 2545 กรมส งเสริ มการเกษตรได มอบหมายให ศู นย ส งเสริ มและพั ฒ นาอาชี พการเกษตร จั งหวั ดพิ ษณุ โลก ดํ าเนิ น การรวบรวมพั น ธุ กล วยเพาะเลี้ ยงเนื้ อเยื่ อที่ ได รั บ พระราชดํ าทานจากสมเด็ จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งองคกรกลวยนานาชาติ (INIBAP) ทูลเกลาฯ ถวายพันธุจํานวน 26 สายพันธุ เพื่อนําไปปลูกศึกษาทดสอบความเปนไปไดสําหรับแนวทางการสงเสริมใหเปนกลวยเศรษฐกิจพอและขยายผลตอไป และในป 2550 กรมสงเสริมการเกษตรมีนโยบายใหศูนยฯ ดําเนินการรวบรวมสายพันธุกลวยที่ไดรับพระราชทาน จากแหลงอื่น มาปลูกรวบรวมพรอมทั้งศึกษาและจัดเก็บขอมูลตามระบบสากลเพื่อใชประโยชนในอนาคต 4. โครงการรวบรวมสายพันธุพืชของประเทศไทย จังหวัดเชียงราย เริ่ ม ดํ าเนิ น การในป 2549 โดยกรมส งเสริ ม การเกษตรได จั ด ทํ าโครงการเฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ในป 2549 และพระชนมายุครบ 80 พรรษา ในป 2550 ณ ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดเชียงราย (เกษตรที่สูง) ตําบลหวยสัก อําเภอ เมือง จังหวัดเชียงราย พื้นทีด่ ําเนินการ 84 ไร 5. โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดสุราษฎรธานี 5.1 บานทุงตาหนอน ตําบลคลองชะอุน อําเภอพนม เริ่มดํ าเนิ นการในป 2550 โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดแจงขอความรวมมือในการ ดําเนินงานในพื้นที่บานทุงตาหนอน หมูที่ 1 ตําบลคลองชะอุน อําเภอพนม จังหวัดสุราษฎรธานี พื้นที่ดําเนินการ 100 ไร 2 งาน โดยมีหนวยงานรวมบูรณาการ ไดแก กรมสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ กรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน และสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดสุราษฎรธานี โดยเนนการรวบรวมพันธุพืชหายาก มีคาทาง เศรษฐกิจ และพืชทองถิ่น ในสวนของกรมสงเสริมการเกษตรมอบหมายใหศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดสุราษฎรธานี รับผิดชอบดําเนินการในสวนของแปลงไมดอกไมประดับ และสํานักงานเกษตรจังหวัดสุราษฎร ธานีรับผิดชอบดําเนินการในสวนของแปลงพืชสมุนไพร


-55.2 ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดสุราษฎรธานี เริ่มดําเนินการในป 2536 โดยรวบรวมพันธุไมดอกไมประดับเมืองรอน และพันธุพืช ทองถิ่นภาคใต ในพื้นที่ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดสุราษฎรธานี ถนนสุ ราษฎรธานี-นาสาร ตําบลขุนทะเล อําเภอเมืองสุราษฎรธานี จังหวัดสุราษฎรธานี ประกอบดวย แปลงแมพันธุ/รวบรวมพันธุ ปลูกไม ดอกไมประดับเมืองรอนรวม ๕๐ ชนิด ๑๐๐ สายพันธุ ประกอบดวย ดาหลาดอกสีตางๆ พืชสกุลขิงขา พืชสกุล เฟน พืชสกุลเตย และไมดอกไมประดับอื่นๆ เปนตน 6. โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดชุมพร เริ่มดําเนินการในป 2550 โดยเลขาธิการสํานักพระราชวังไดแจงใหกรมสงเสริมการเกษตรสนับสนุน การดํ าเนินงานโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชที่มีแผนการรวบรวมปลูกรักษาพันธุพืชที่ชนะการประกวดของภาคใต เพื่อรวบรวมพันธุกรรมพืชพันธุที่ชนะการประกวดของจังหวัดตางๆ มาปลูกไวในแปลงสวนพฤกษศาสตรของโครงการ ของกรมสงเสริมการเกษตร ซึ่งไดดําเนินการในพื้นที่อําเภอทาแซะ และอําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร โดยมอบหมาย ใหสํานักงานเกษตรจังหวัดชุมพรเปนผูดําเนินการ 7. โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดตรัง เริ่มดําเนินงานศึกษาวิจัยเรื่องการขยายพันธุกลวยไมปาในภาคใต ตั้งแตป 2549 เปนตนมา โดย ไดรับงบประมาณจากคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ โครงการสรางการมีสวนรวมในการอนุรักษและขยายพันธุกลวยไม ป า แนวเทื อ กเขาบรรทั ด ซึ่ งป จ จุ บั น รวบรวมพั น ธุ ก ล ว ยไม ป า ไว ในพื้ น ที่ 9 ไร และขยายพั น ธุ ก ล ว ยไม ป าใน หองปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ


กรมสงเสริมการเกษตรมีการดําเนินงานในกรอบการเรียนรูทรัพยากร กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการปลูกรักษาพันธุกรรมพืช ไดแก

ลําดับที่

โครงการ/งานวิจัย/ กิจกรรม เรื่อง

F1A3 แปลงปลูกรักษา พันธุกรรมพืชของ หนวยงานและพื้นที่ โครงการ

2560 เปาหมาย

พื้นที่เปาหมาย งปม.

2561 เปาหมาย

พื้นที่

ชนิด สาย พันธุ/ตน

งปม.

พื้นที่

ชนิด สาย พันธุ/ตน

งบประมาณดําเนินงาน 2562 เปาหมาย งปม. ชนิด สาย งปม. พื้นที่ พันธุ/ตน

2563 เปาหมาย

2564 เปาหมาย

พื้นที่

ชนิด สาย พันธุ/ตน

งปม.

พื้นที่

ชนิด สาย พันธุ/ตน

0.25

50 ไร

110/ 18,460

0.25

50 ไร

120/ 18,650

0.25

50 ไร

130/ 18,750

0.25

50 ไร

140/ 19,000

0.25

50 ไร

150/ 20,000

0.25

50 ไร

15/ 22,500

0.25

50 ไร

15/ 22,500

0.25

50 ไร

15/ 22,500

0.25

50 ไร

15/ 22,500

0.25

50 ไร

15/ 22,500

0.15

30 ไร

164/ 355

0.15

30 ไร

164/ 355

0.15

30 ไร

164/ 355

0.15

30 ไร

164/ 355

0.15

30 ไร

164/ 355

0.42

84 ไร

15/ 30,030

0.42

84 ไร

20/ 30,035

0.42

84 ไร

25/ 30,040

0.42

84 ไร

30/ 30,045

0.42

84 ไร

35/ 30,050

0.04

2.5 ไร

152/ 500

0.04

2.5 ไร

152/ 500

0.04

2.5 ไร

152/ 500

0.04

2.5 ไร

152/ 500

0.04

2.5 ไร

152/ 500

0.27

53 ไร

78/ 2,400

0.27

53 ไร

78/ 3,690

0.27

53 ไร

78/ 3,780

0.27

53 ไร

78/ 3,780

0.27

53 ไร

78/ 3,780

0.10

15 ไร

5/500

0.10

15 ไร

5/500

0.10

15 ไร

5/500

0.10

15 ไร

5/500

0.10

15 ไร

5/500

8. ศูนยสงเสริมและพัฒนา อาชีพการเกษตร จ.ตรัง

0.20

9 ไร

258/ 21,028

0.20

9 ไร

300/ 21,958

0.20

9 ไร

342/ 22,888

0.20

9 ไร

384/ 23,818

0.20

9 ไร

426/ 24,748

-6-

1. ศูนยสงเสริมและพัฒนา อาชีพการเกษตร จ.ระยอง 2. ศูนยสงเสริมและพัฒนา อาชีพการเกษตร จ.กระบี่ 3. ศูนยสงเสริมและพัฒนา อาชีพการเกษตร จ.พิษณุโลก 4. ศูนยสงเสริมและพัฒนา อาชีพการเกษตร จ.เชียงราย (เกษตรที่สูง) 5. โครงการอนุรักษพันธุกรรม พืชบานทุงตาหนอน ต.คลอง ชะอุน อ.พนม จ.สุราษฎรธานี 6. ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพ การเกษตร จ.สุราษฎรธานี 7. โครงการอนุรักษพันธุกรรม พืชฯ จ.ชุมพร

รวมงบประมาณทั้งสิ้น 8.40 ลานบาท หมายเหตุ : งบประมาณดําเนินงาน หนวย : ลานบาท


-7กรอบการใชประโยชน : กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศูนยขอ มูลพันธุกรรมพืช เปนการดําเนินงานของศูนยขอมูลพันธุกรรมพืชที่สวนจิตรลดา บันทึกขอมูลของการสํารวจเก็บ รวบรวม การศึกษาประเมิน การอนุรักษ และการใชประโยชน รวมทั้งงานจัดทําฐานขอมูลพรรณไมแหง นอกจากนั้น ยังรวมถึงฐานขอมูลทรัพยากรอื่นๆ นอกเหนือจากพันธุกรรมพืช เชน ฐานขอมูลของสัตว และจุลินทรีย การจัดการ ฐานขอมูลทรัพยากรทองถิ่น ขอมูลตางๆ จากการทํางานในกิจกรรมที่ 1-4 โดยทําการบันทึกลงในระบบฐานขอมูล เพื่อเปนฐานขอมูลพันธุกรรมพืชของประเทศ และใหมีระบบฐานขอมูลที่สามารถสื่อกันไดทั่วประเทศ โดยเชื่อมโยง กับฐานขอมูลทรั พยากรของหน วยงานที่ รวมสนองพระราชดํ าริ อพ.สธ. นํ าไปสู การวางแผนพั ฒนาพันธุพื ชและ ทรัพยากรตางๆ แนวทางการดําเนินกิจกรรม หน ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบโครงการอนุ รั กษ พั น ธุ กรรมพื ช อั น เนื่ องมาจากพระราชดํ าริ ของกรม สงเสริมการเกษตร ทั้ง 8 แหง นําขอมูลที่ไดจากการการปลูกรักษาพันธุกรรมพืชในพื้นที่โครงการ เขาเก็บไวใน ศูนยขอมูลพันธุกรรมพื ช ของ อพ.สธ. เพื่อการประเมินคุณคาพันธุกรรมและนําไปสูการวางแผนพัฒนาพันธุพืช * และทรัพยากรอื่นๆ โดยสวนกลางจะจัดฝกอบรมเจาหนาที่ พรอมจัดทําคูมือในหลักสูตรแนวทางการสํารวจและ บัน ทึกขอมูลในระบบของ อพ.สธ. (ตามกรอบการสรางจิต สํานึก : กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนั บสนุน การ อนุรักษพันธุกรรมพืช)

หมายเหตุ : (*) พันธุพืช หมายถึง ชนิดพืชที่มีความสําคัญในชุมชน ไดแก พืชที่กําลังจะสูญพันธุ พืชดั้งเดิม พืชเศรษฐกิจ เปนตน


กรมสงเสริมการเกษตรมีการดําเนินงานในกิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศูนยขอมูลพันธุกรรมพืช ไดแก ลําดับ ที่

โครงการ/งานวิจัย/ กิจกรรม เรื่อง

F2A5 กิจกรรมการเก็บรวบรวม ขอมูลพันธุพืชในพื้นที่ โครงการ

พื้นที่เปาหมาย

2561

2563

งปม.

เปาหมาย

งปม.

เปาหมาย

งปม.

เปาหมาย

งปม.

เปาหมาย

งปม.

เปาหมาย

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

5,000

1 จุด

รวมงบประมาณทั้งสิ้น 200,000 บาท หมายเหตุ : งบประมาณดําเนินงาน หนวย : บาท

2564

-8-

1. ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการ เกษตร จังหวัดระยอง 2. ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการ เกษตร จังหวัดกระบี่ 3. ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการ เกษตร จังหวัดพิษณุโลก 4. ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการ เกษตร จังหวัดเชียงราย (เกษตรที่สูง) 5. โครงการอนุรักษพนั ธุกรรมพืชบาน ทุงตาหนอน ตําบลคลองชะอุน อําเภอพนม จังหวัดสุราษฎรธานี (จังหวัดสุราษฎรธานีดําเนินการ) 6. ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการ เกษตร จังหวัดสุราษฎรธานี 7. โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.ชุมพร 8. ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการ เกษตร จังหวัดตรัง

2560

งบประมาณดําเนินงาน 2562


-9กรอบการสรางจิตสํานึก : กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษพันธุกรรมพืช เปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหหนวยงานตางๆ เขารวมสนับสนุนงานของ อพ.สธ. ในรูปแบบตางๆ ไมวา จะเปนในรูปของทุนสนับสนุน หรือดําเนินงานที่เกี่ยวของและสนับสนุนกิจกรรมตางๆ ของอพ.สธ. โดยอยูในกรอบ ของแผนแมบท อพ.สธ. นอกจากนั้นยังเปดโอกาสใหเยาวชนและประชาชนไดสมัครเขามาศึกษาหาความรูเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติในสาขาตางๆ ตามความถนัดและสนใจ โดยมีคณาจารยผูเชีย่ วชาญในแตละสาขาใหคําแนะนํา และใหแนวทางการศึกษา ไดแก ชมรมนักชีววิทยาอพ.สธ. และชมรมคณะปฏิบัติงานวิทยาการอพ.สธ. ซึ่งจะเปน ผูนําในการถายทอดความรูและสรางจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรของประเทศใหแกเยาวชนและประชาชน ชาวไทยตอไป แนวทางการดําเนินกิจกรรม 1) อบรมสรางจิตสํานึกและหาแนวทางการอนุรักษในชุมชน เปนสนับสนุนใหชุมชนมีจิตสํานึกและมีแนวทางในการอนุรักษพันธุพืชและภูมิปญญาที่มีอยู ในชุมชน โดยใหใชเทคนิคการจัดทําเวทีชุมชน ใหผูนําชุมชนคัดเลือกเกษตรกรที่สนใจ มีความพรอมในการเขารับ การฝกอบรมอยางจริงจัง มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรของทองถิ่น หากมีเกษตรกรที่เปนอาสาสมัครเกษตร ในพื้นที่ ควรพิจารณาเปนลําดับแรก ในการจัดทําเวทีชุมชนผูมีสวนรวมในการทําเวที ประกอบดวย เกษตรกรผูใช ประโยชน ผูรวบรวม และผูรูเกี่ยวกับพันธุพืชและภูมิปญญาทองถิ่นในชุมชน โรงเรียน เจาหนาที่เกษตรประจํา ตําบล รวมกันคนหาพันธุพืช/ภูมิปญญา ในชุมชน และการใชประโยชน โดยมีขั้นตอนกระบวนการดังนี้ 1.1) การจัดเวทีชุมชน - สถานที่จัดเวทีเรียนรู สถานที่เปนปจจัยสําคัญ ที่ตองคํานึงในการจัดเวทีเรียนรูเพราะ จะเปนสวนชวยในการสรางบรรยากาศการเรียนรูสําหรับเกษตรกร ฉะนั้น การเลือกสถานที่ตองเหมาะสมและมี ความพรอมที่จะจัดเวที ซึ่งตองคํานึงถึงความสะดวกแกทุกคนที่จะเดินทางเขารวมเวที เปนสถานที่ที่เปนศูนยกลาง ของชุมชนหรือของกลุมผูเรียนรู หากมีการฝกปฏิบัติหรือดูงานดวย บริเวณขางเคียงของเวทีควรมีจุดดูงานหรือ สถานที่ฝกปฏิบัติไดมีสภาพแวดลอมที่ดี ผังของเวที ตองจัดใหทุกคนเห็นหนากัน ทั้งผูเขารวมเวที ผูสังเกตการณ และวิทยากร - ผูรวมเวที ในการจัดเวทีเรียนรูสิ่งที่ตองคํานึงสิ่งหนึ่งคือ จํานวนของผูเขารวมเวที ซึ่ง ควรมีจํานวนผูเขารวมทั้งหมด 30 - 50 คน ผูเขารวมตองเปนผูที่สนใจ หรือเกี่ยวของกับเรื่องหรือประเด็นการ เรียนรูที่กําหนดไวเปนผูที่พรอมจะให และเปดใจรับในเรื่องและประเด็นนั้นๆในเวทีเรียนรู อาจมีผูนําชุมชนทั้งที่ เป นทางการและไมเป นทางการเขารวมดวย บุ คคลอีกกลุมหนึ่ งคือ นักวิชาการ ผูรูจริง ผูมีป ระสบการณต รง ปราชญชาวบานเพื่อเปนผูใหขอคิดในการตัดสินใจของเวที - การจัดเวทีเรียนรูเมื่อจัดเสร็จแลวควรมีการประชุมผูเกี่ยวของเพื่อสรุปการจัดเวทีเพื่อ รวมกันประเมินวาบรรลุวัตถุประสงค เปาหมายการจัดเวทีที่กําหนดไวหรือไม โดยในการจัดทําเวทีชุมชนเพื่อการ อนุรักษของโครงการ มีวัตถุประสงคในการดําเนินการเพื่อใหไดผลลัพธดังนี้ - ขอมูลแผนที่พันธุพืช (แผนที่เสนทางไปยังพันธุพืชในชุมชน) ขอมูลภูมิปญญาในชุมชน โดยใหสมาชิกในชุมชน โรงเรียน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น เขามามีสวนรวม - แนวทางการอนุรักษและใชประโยชนจากพันธุพืช/ภูมิปญญาในชุมชน


-101.2) การอบรมใหความรู อบรมให ความรู กับ สมาชิ กของ อพ.สธ. ตามหลั กสู ต ร “อนุ รั กษพัน ธุพื ช /ภู มิป ญ ญา ทองถิ่น” ซึง่ มีแผนการเรียนการสอน 4 เรื่อง ดังนี้ - การสรางจิตสํานึกในการอนุรักษพันธุพืชทองถิ่น - พันธุพืชที่มีประโยชนในทองถิ่น - รูปแบบการอนุรักษพันธุพืชทองถิ่น - ภูมิปญญาทองถิ่นกับการใชประโยชน เพื่อใหชุมชนนําความรูที่ไดไปปฏิบัติใหสอดคลองกับแนวทางการอนุรักษของชุมชน โดยศูนยปฏิบัติการเปนผูผลิต ปจ จัย ตน แบบและวัสดุ อุปกรณ ที่จําเป น ในการฝ กอบรมสนั บ สนุ น ให ชุ มชน และให สํ านั กงานเกษตรจังหวัด ที่ เกี่ยวของ ประสานพื้นที่เปาหมายในการดําเนินงานรวมกับศูนยฯ โดยการอบรมถายทอดความรูใหดําเนินการ ในกลุมเปาหมายที่เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) / สถานศึกษาที่รวมสนองพระราชดําริ อพ.สธ. (เปนสมาชิก อพ.สธ.) กอน และเชิญชวนหนวยงานหรือกลุมบุคคลที่ยังไมไดเปนสมาชิกของ อพ.สธ. ใหเขา รวมเปนสมาชิกเพื่อสรางเครือขายการอนุรักษเพิ่มมากขึ้น และเมื่อเสร็จสิ้นการดําเนินงานใหสรุปรายงานผล การดําเนินงาน พรอมภาพถาย ใหสวนกลางทราบ 2) การฝกอบรมเจาหนาที่เรื่องการบันทึกฐานขอมูลศูนยขอมูลพันธุกรรมพืช อพ.สธ. เปนการนําขอมูลทรัพยากรตางๆ ที่ไดจากการดําเนินการในกิจกรรมการปลูกรักษาพันธุกรรม พืชของกรมสงเสริมการเกษตร มาบั น ทึกลงในระบบ เพื่อเปน ฐานขอมูลและมีระบบเชื่ อมตอถึงกัน ได โดยใช โปรแกรมสําเร็จรูปของ อพ.สธ. ในการบันทึกขอมูลทรัพยากร ซึ่งจะมีการจัดสงเจาหนาที่ที่รับผิดชอบเขารับการ ฝกอบรมและนําโปรแกรมดังกลาวไปใชในการบันทึกขอมูลทรัพยากรของหนวยงานได 3) สนับสนุนการสํารวจและจัดเก็บขอมูลทรัพยากรในชุมชน เปนการสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสํารวจและเก็บรวบรวมขอมูลทรัพยากร ทั้ง 3 ฐานในชุ มชน โดยมีเกษตรกรตําบลในฐานะเลขานุ การคณะกรรมการบริห ารศูน ยบ ริการและถายทอด เทคโนโลยีการ เกษตรประจําตําบล ใหการสนับสนุนและผลักดันการอนุรักษทรัพยากรเขาสูแผนการพัฒนาการ เกษตรของตําบล โดยเนนการมีสวนรวมของคนในชุมชนใหเกิดจากการวิเคราะหของชุมชนเปนสําคัญ 4) การจัดทําเว็บไซต อพ.สธ. - กรมสงเสริมการเกษตร และการประชาสัมพันธ เป น การเผยแพร โครงการ/กิจ กรรม รวมทั้ งผลการดํ าเนิ น งานที่ ห น วยงานเขารว มสนอง พระราชดําริในโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ ผานสื่อตางๆ เชน การทําเอกสาร เผยแพรประชาสัมพันธ วีดีทัศน เว็บไซต ซึ่งตองขออนุญาตใชตราสัญลักษณ อพ.สธ. โดยสงยกรางรูปเลม หรือ ไฟลไปยัง อพ.สธ. เพื่อพิจารณากอนลวงหนา 5) การจัดนิทรรศการในงานประชุมวิชาการและนิทรรศการทรัพยากรไทย กรมสงเสริมการเกษตร กําหนดเขารวมจัดนิทรรศการในงานประชุมวิชาการและนิทรรศการ ในฐานะหนวยงานที่รวมสนองพระราชดําริ ซึ่งทาง อพ.สธ. จัดขึ้นทุก 2 ป โดยในแผนแมบทโครงการอนุรักษ พันธุ กรรมพืชอัน เนื่ องมาจากพระราชดํ าริ ระยะ 5 ป ที่ห ก (1 ตุ ลาคม 2559 - 30 กัน ยายน 2564) ในป 2560, 2562 และป 2564


-11-

การจัดเวทีชุมชน

ผูมีสวนรวม - อบต. - เจาหนาที่เกษตร - ผูมีความรู (ภูมิปญญา ในชุมชน) - ผูที่ใชประโยชนจาก พืชในชุมชน - ผูเก็บรวบรวมและ พัฒนาพันธุพืช - โรงเรียน สนับสนุน ปจจัยตนแบบ

- คนหาภูมิปญญา/ ทรัพยากรในชุมชน - อดีต-ปจจุบัน - สภาพ/การใชประโยชนของภูมิปญญา/ ทรัพยากรในชุมชนในปจจุบัน นํากลับสูชุมชน - แนวทางการอนุรักษภูมิปญญา/ ทรัพยากร - แนวทางใชประโยชน/ ภูมิปญญา/ ทรัพยากร อบรมถายทอดความรูเรื่องการอนุรักษพันธุพืชทองถิ่น นําสูการปฏิบัติโดยชุมชน ประเมินผล

แผนภาพแสดงกระบวนการขับเคลื่อนการดําเนินงานสูชุมชน


กรมสงเสริมการเกษตรมีการดําเนินงานในกิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษพันธุกรรมพืช ไดแก ลําดับ ที่

โครงการ/งานวิจัย/กิจกรรม เรื่อง

F3A8 อบรมสรางจิตสํานึก/แนวทาง การอนุรักษ

พื้นที่เปาหมาย ศูนยปฏิบัติการ/สํานักงานเกษตร จังหวัด

งบประมาณดําเนินงาน 2560 2561 2562 2563 2564 งปม. เปาหมาย งปม. เปาหมาย งปม. เปาหมาย งปม. เปาหมาย งปม. เปาหมาย 0.42 300 0.42 300 ราย 0.42 300 ราย 0.42 300 ราย 0.42 300 ราย ราย

สวนกลาง

0.06

40 คน

-

-

0.06

40 คน

-

-

0.06

40 คน

ศบกต.

2.49

1,245 จุด

2.49

1,245 จุด

2.49

1,245 จุด

2.49

1,245 จุด

2.49

1,245 จุด

สวนกลาง

-

1 ครั้ง

-

1 ครั้ง

-

1 ครั้ง

-

1 ครั้ง

-

1 ครั้ง

สวนกลาง

0.09

1 เรื่อง

0.09

1 เรื่อง

0.09

1 เรื่อง

0.09

1 เรื่อง

0.09

1 เรื่อง

F3A8 การจัดนิทรรศการในการประชุม วิชาการและนิทรรศการ ทรัพยากรไทย

พื้นที่จัดประชุมรวมกับ อพ.สธ.

-

-

0.30

1 ครั้ง

-

-

0.30

1 ครั้ง

-

-

รวมงบประมาณทั้งสิ้น 15.78 ลานบาท

หมายเหตุ : 1) งบประมาณดําเนินงาน หนวย : ลานบาท 2) (*) กิจกรรมสนับสนุนการสํารวจและจัดเก็บขอมูลทรัพยากรในชุมชนรวมกับ อปท. แผนงานและงบประมาณ ขึ้นกับปริมาณงานที่ อปท. ดําเนินงานในแตละป

-12-

F3A8 การฝกอบรมเจาหนาที่หลักสูตร การบันทึกตามระบบฐานขอมูล ศูนยขอมูลพันธุกรรมพืช อพ.สธ. F3A8 สนับสนุนการสํารวจและจัดเก็บ ขอมูลทรัพยากรในชุมชนรวมกับ อปท. * F3A8 จัดทํา/ปรับปรุงเว็บไซต อพ.สธ. กรมสงเสริมการเกษตร F3A8 จัดทําเอกสารประชาสัมพันธ


ตารางสรุปแผนแมบทโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ ระยะ 5 ปที่หก หนวยงานรวมสนองพระราชดําริ อพ.สธ. หนวยงาน : กรมสงเสริมการเกษตร รวมงบประมาณ 24,380,000 บาท โครงการ/งานวิจัย/กิจกรรม เรื่อง

F1A3

แปลงปลูกรักษาพันธุกรรมพืชของ ศูนยปฏิบัติการ/พื้นที่ หนวยงานและพื้นที่โครงการ โครงการ อพ.สธ. รวมจํานวน 1 กิจกรรมยอย สํารวจและบันทึกขอมูลพันธุพืช ศูนยปฏิบัติการ/พื้นที่ ในรูปแบบของระบบฐานขอมูล โครงการ อพ.สธ. รวมจํานวน 1 กิจกรรมยอย อบรมสรางจิตสํานึก/แนวทางการ ศูนยปฏิบัติการ/สํานักงาน อนุรักษ เกษตรจังหวัด การฝกอบรมเจาหนาที่หลักสูตรการ สวนกลาง บันทึกตามระบบฐานขอมูลศูนย ขอมูลพันธุกรรมพืช อพ.สธ. สนับสนุนการสํารวจและจัดเก็บขอมูล ศบกต. ทรัพยากรในชุมชนรวมกับ อปท. * จัดทํา/ปรับปรุงเว็บไซต อพ.สธ. สวนกลาง กรมสงเสริมการเกษตร จัดทําเอกสารประชาสัมพันธ สวนกลาง

F2A5 F3A8 F3A8 F3A8 F3A8 F3A8 F3A8

การจัดนิทรรศการในการประชุม วิชาการและนิทรรศการทรัพยากรไทย รวมจํานวน 6 กิจกรรมยอย รวมทั้งสิ้น 8 กิจกรรมยอย

พื้นที่เปาหมาย

พื้นที่จัดประชุมรวมกับ อพ.สธ.

2560 งปม. เปาหมาย 1.68 293.5 ไร

2564 งปม. เปาหมาย 1.68 293.5 ไร

1.68 0.04

8 จุด

1.68 0.04

8 จุด

1.68 0.04

8 จุด

0.04 0.42

300 ราย

8 จุด

1.68 0.04

8 จุด

1.68 0.04

300 ราย

0.04 0.42

300 ราย

0.04 0.42

300 ราย

0.04 0.42

300 ราย

0.04 0.42

0.06

40 คน

-

-

0.06

40 คน

-

-

0.06

40 คน

2.49

2.49

-

1,245 จุด 1 ครั้ง

2.49

-

1,245 จุด 1 ครั้ง

2.49

-

1,245 จุด 1 ครั้ง

2.49

-

1,245 จุด 1 ครั้ง

-

1,245 จุด 1 ครั้ง

0.09

1 เรื่อง

0.09

1 เรื่อง

0.09

1 เรื่อง

0.09

1 เรื่อง

0.09

1 เรื่อง

-

-

0.30

1 ครั้ง

-

-

0.30

1 ครั้ง

-

-

3.06 4.78

3.30 5.02

3.06 4.78

3.30 5.02

หมายเหตุ : (*) กิจกรรมสนับสนุนการสํารวจและจัดเก็บขอมูลทรัพยากรในชุมชนรวมกับ อปท. แผนงานและงบประมาณ ขึ้นกับปริมาณงานที่ อปท. ดําเนินงานในแตละป

3.06 4.78

-13-

ลําดับที่

งบประมาณดําเนินงาน (หนวย : ลานบาท) 2561 2562 2563 งปม. เปาหมาย งปม. เปาหมาย งปม. เปาหมาย 1.68 293.5 ไร 1.68 293.5 ไร 1.68 293.5 ไร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.