คู่มือการใช้งาน Qgis1 7 4

Page 1

คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4 เบื้องต้น

รวบรวมและจัดทาโดย นางสาวธัญลักษณ์ เอี่ยมณรงค์ฤทธิ์ สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) www.gistda.or.th

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

1


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

สารบัญ บทที่ 1 รู้จักโปรแกรม Quantum GIS ........................................................................................................... 5 แนะนาแหล่งในการดาวโหลดโปรแกรมและวิธีการติดตั้งโปรแกรม ..................................................................... 6 บทที่ 2 การใช้โปรแกรม Quantum GIS เบื้องต้น .......................................................................................11 2.1 Graphic User Interface ของโปรแกรม Quantum GIS ........................................................................ 11 2.2 การนาเข้าข้อมูล Shape file ................................................................................................................... 14 2.2.1 การนาเข้าข้อมูล Vector .................................................................................................................. 15 2.2.2 การนาเข้าข้อมูล Raster .................................................................................................................. 16 2.3 การเปลี่ยนสัญลักษณ์ Symbology .......................................................................................................... 16 2.4 การแสดงป้ายข้อมูลและการกาหนดข้อมูลอักษร (Label Feature) ......................................................... 18 2.5 การให้สัญลักษณ์ข้อมูลแผนที่ (Legend Type)........................................................................................ 21 2.6 วิธีการให้ค่าสัญลักษณ์แบบแยกสีตามค่า (Unique Value) ...................................................................... 23 2.7 วิธีการไล่ระดับสัญลักษณ์ (Graduate Symbol) ...................................................................................... 24 2.8 วิธีการไล่ระดับสี (Continuous Color) ................................................................................................... 25 บทที่ 3 การจัดการตารางและการสืบค้นข้อมูล (Spatial Search) ...............................................................27 3.1 การค้นหาหรือการให้ระบบช่วยสอบถามข้อมูล (Query) .......................................................................... 27 3.2 การสอบถามข้อมูล (Identify) .................................................................................................................. 29 3.3 การสืบค้นอย่างละเอียด (Advanced Search) ........................................................................................ 29 3.4 การสืบค้นแบบมีเงื่อนไข ........................................................................................................................... 30 3.5 การเชื่อมประโยคการสืบค้น (Combining expressions) ........................................................................ 30 สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

2


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

บทที่ 4 การสร้างฐานข้อมูล (Database) ...................................................................................................31 4.1 ขั้นตอนการสร้างข้อมูล Shape file แบบจุด (Point) ............................................................................... 31 4.2 ขั้นตอนการสร้างข้อมูล Shape file แบบเส้น (Line) ............................................................................... 37 4.3 ขั้นตอนการสร้างข้อมูล Shape file แบบพื้นที่ (Polygon) ...................................................................... 40 4.4 การคานวณเบื้องต้น (Calculations) ....................................................................................................... 43 4.2.1 ขั้นตอนการนาเข้าข้อมูลจากเครื่อง GPS ........................................................................................... 46 4.5 การนาเข้าข้อมูลจากเครื่อง GPS .............................................................................................................. 46 บทที่ 5 กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ ................................................................................................51 5.1 การ Select.............................................................................................................................................. 52 5.2 Clip ......................................................................................................................................................... 54 5.3 Intersect................................................................................................................................................. 55 5.4 Union...................................................................................................................................................... 57 5.5 Buffer ...................................................................................................................................................... 59 5.6 Dissolve.................................................................................................................................................. 61 บทที่ 6 การจัดทาแผนที่ Layout (Layout Creating) ................................................................................63 6.1 การสร้าง Map Layout ........................................................................................................................... 64 6.2 การนาเข้าตัวแผนที่ .................................................................................................................................. 66 6.3. การสร้างคาอธิบายสัญลักษณ์ (Legend) ................................................................................................. 67 6.4 การนาเข้าทิศ รูปภาพ และมาตราส่วน ..................................................................................................... 69 6.5 การเพิ่มข้อความ ...................................................................................................................................... 71 6.6 การสร้างเส้นกริด (Grid Line) .................................................................................................................. 72 สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

3


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6.7 การ Export แผนที่เป็นรูปภาพ ................................................................................................................ 75 บทที่ 7 การนาเข้าข้อมูลใน Google Earth .................................................................................................77 7.1 การติดตั้งโปรแกรม ................................................................................................................................. 77 7.2 การปักหมุด .............................................................................................................................................. 78 7.3 วิธีเอา “รูป” ลงใน Google Earth .......................................................................................................... 79 7.4 วิธีเอา VDO ลงใน Google Earth ........................................................................................................... 81

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

4


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

บทที่ 1 รู้จักโปรแกรม Quantum GIS Quantum GIS หรือ QGIS เป็นโปรแกรม Desktop GIS ประเภทหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการนามาใช้ จัดการข้อมูลปริภูมิ จัดอยู่ในกลุ่มของซอฟต์แวร์รหัสเปิด ( Free and Open Source Software: FOSS) ที่ใช้งาน ง่าย ลักษณะการใช้งานเป็นแบบ Graphic User Interface ซึ่งสะดวกต่อการใช้งาน ไม่ว่าจะเป็นการเรียกใช้ ข้อมูลภาพ ข้อมูลตาราง การแสดงผลตาราง การแสดงผลกราฟ ตลอดจนสามารถสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและ นาเสนอข้อมูลได้ในรูปแบบแผนที่ที่สวยงาม ในปี ค.ศ. 2002 กลุ่มนักพัฒน าจากเยอรมัน ได้พัฒนา Desktop GIS ที่ชื่อ Quantum GIS ที่สามารถ เรียกใช้ข้อมูลเวกเตอร์ ราสเตอร์ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐานแพร่หลาย เช่น Shape file และ GeoTIFF QGIS สามารถแก้ไข Shape file Format ได้ซึ่งเป็นที่ต้องการมากในเวลานี้ QGIS พัฒนาบนพื้นฐานของ Qt ที่เป็น ไลบรารี่สาหรับ Graphical User Interface (GUI) ที่ใช้งานได้ทั้ง UNIX, Window และ Mac การพัฒนาใช้ภาษา C++ เป็นหลัก นอกจากนั้น QGIS ยังสามารถเชื่อมต่อกับ Spatial RDBMS เช่น PostGIS/PostgreSQL สามารถ อ่านและเขียนฟีเจอร์ที่เก็บใน PostGIS ได้โดยตรง สามารถเชื่อมต่อกับ GRASS ได้ทาให้สามารถเรียกดูข้อมูลที่ จัดเก็บใน GRASS โดยตรง และสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันต่างๆ ของ GRASS ได้ สนับสนุนการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) ในเบื้องต้น และการแสดงผลข้อมูลเชิงตาแหน่งในรูปแบบของแผนที่ การสร้างและการแก้ไข ข้อมูลเชิงตาแหน่ง ( Spatial Data) และข้อมูลตาราง ( Attribute Data) สามารถจัดการข้อมูลได้ง่ายโดยเครื่องมือ ตาม GUI ที่กาหนดไว้ และนอกจากนี้ยังสามารถเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมด้วย Script ที่เป็นภาษา Python ได้อีก ด้วย ซึ่งผู้ที่สนใจโปรแกรมทางด้าน GIS สามารถ Download โปรแกรมมาใช้ได้ที่ www.qgis.org

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

5


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

แนะนาแหล่งในการดาวโหลดโปรแกรมและวิธีการติดตั้งโปรแกรม 1. ทาการดาวน์โหลดโปรแกรม Quantum GIS จาก URL: http://www.qgis.org/

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

6


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

2. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วให้ดับเบิลคลิกไฟล์ QGIS-OSGeo4W-1.7.4-d211b16-Setup.exe เพื่อทาการติดตั้ง โปรแกรม จากนั้น คลิก Run แล้วกด Next

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

7


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

3. ในส่วน License Agreement เป็นการยอมรับลิขสิทธิ์ของโปรแกรม แล้วคลิก I Agree

4. จากนั้นโปรแกรมจะถามว่าต้องการที่จะติดตั้งไว้ที่ไหน ในส่วนนี้ไม่ต้องทาอะไรให้คลิก Next ไปได้เลย

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

8


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

5. ในส่วนนี้โปรแกรมจะถามว่า คุณต้องการที่จะเลือกติดตั้งส่วนประกอบอะไรบ้าง ในส่วนนี้ไม่ต้องเลือกให้คลิก Install เพื่อเริ่มทาการติดตั้งโปรแกรม

6. เมื่อทาการติดตั้งโปรแกรมเสร็จแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Finish

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

9


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

7. ทดลองเปิดโปรแกรม Quantum GIS โดยไปที่ Start >> All Program >> Quantum GIS Copiapo >> Quantum GIS (1.7.4) หรือดับเบิลคลิกไอคอน

ที่หน้าจอ Desktop ถ้าได้ดังรูปข้างล่างนี้ก็ถือว่าเป็นการติดตั้งที่เสร็จสมบรูณ์แล้ว

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

10


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

บทที่ 2 การใช้โปรแกรม Quantum GIS เบื้องต้น 2.1 Graphic User Interface ของโปรแกรม Quantum GIS

1. Menu Bar คือ แถบเมนูเป็นที่เก็บคาสั่งทั้งหมดของโปรแกรม การเรียกใช้งานแถบเมนูทาได้โดยการเลื่อนเมาส์ มาวางที่ชื่อเมนูที่ต้องการเปิด แล้วเลื่อนเมาส์ไปตามรายการคาสั่ง เมื่อต้องการใช้ คาสั่งใด ๆ ก็ให้คลิกเมาส์ที่คาสั่ง นั้น โปรแกรมก็จะทาการเรียกใช้งานคาสั่งนั้น ๆ ถ้าคาสั่งนั้นมีเมนูย่อย ๆ

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

11


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

โปรแกรมก็จะแสดงรายการคาสั่งย่อย ๆ ออกมาให้เลือกต่อไป ซึ่งมีคาสั่งทั้งหมดได้แก่ File, Edit, View, Layer, Settings, Plugins, Vector และ Help

2. Tools Bar คือ แถบเครื่องมือ เป็นสัญลักษณ์ (Icon) ที่ใช้แทนคาสั่งต่าง ๆ แถบเครื่องมือที่โปรแกรมได้ จัดเตรียมไว้ให้นั้นมีอยู่มากมายหลายชุดด้วยกัน แต่แถบเครื่องมือเหล่านี้จะไม่ได้ถูกแสดงให้เห็นทั้งหมดใน โปรแกรม 3. Layers คือ เป็นการแสดงให้เห็นแต่ละประเภทของชั้นข้อมูลตามสัญลักษณ์ ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับสารบัญ บล็อก (Table of Content: TOC) ของ ArcGIS Desktop, ArcView 4. Overview คือ การแสดงภาพรวมทั้งหมดของแผนที่ (Map Display) 5. Map Display คือ การแสดงแผนที่ ที่เราได้ทาการนาเข้าข้อมูลมาในแต่ละประเภท 6. Map Coordinate at mouse curser position คือ แสดงค่าพิกัดบนแผนที่ เมื่อเราเลื่อนเมาส์ไปที่ใน บริเวณ Map Display ค่าพิกัดก็จะเปลี่ยนไปด้วย 7. Current Map Scale คือ มาตราส่วนแผนที่ 8. Project Properties คือ การกาหนดคุณสมบัติของเส้นโครงแผนที่

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

12


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

แนะนาเครื่องมือที่ใช้บ่อย o Add data (Vector) o Select Feature ไอคอน คุณสมบัติ

(Raster)

Shot cut

วิธีอื่น ๆ

เลือกข้อมูล

-

-

ไม่เลือกข้อมูลทุกชั้นข้อมูล

-

ใช้ปุ่มเลือกข้อมูลไปเลือกตรงบริเวณไม่มีข้อมูล

เลื่อนแผนที่

-

ใช้ลูกศร ขึ้น ลง ซ้าย ขวา

ขยายแผนที่

Ctrl + +

Scroll เม้าส์ตรงกลางขึ้น

ย่อแผนที่

Ctrl + -

Scroll เม้าส์ตรงกลางลง

ขยายเต็มแผนที่

Ctrl + Shift + F -

ขยายชั้นข้อมูลที่เลือก

-

คลิ๊กขวาที่ชั้นข้อมูลเลือกแถบขยายชั้นข้อมูลที่เลือก

ขยายไปที่เลือก

Ctrl + J

-

ขยายล่าสุด

-

-

ขยายไปข้างหน้า

-

-

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

13


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

2.2 การนาเข้าข้อมูล Shape file ไฟล์ที่เก็บข้อมูลเวคเตอร์ (Vector) และชั้นข้อมูล (Layer) แต่ละประเภทไว้อย่างใดอย่างหนึ่ง สาหรับ Shape file หนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยไฟล์อย่างน้อย 3 ไฟล์ ที่มีการอ้างอิงถึงกันและกันและไม่สามารถขาดไฟล์ หนึ่งไฟล์ใดได้ ได้แก่ ไฟล์ประเภท ( .shp) ไฟล์นี้จะประกอบไปด้วยข้อมูลเวคเตอร์แต่ละประเภทไว้ ซึ่งแต่ละเวคเตอร์ที่ ประกอบเป็น Shape file นั้นจะอ้างอิงพิกัด UTM ไฟล์ประเภท (.dbf) ไฟล์นี้จะประกอบไปด้วยข้อมูลในรูปแบบตารางฐานข้อมูลเพื่อแสดงรายละเอียดของ แต่ละเวคเตอร์ ไฟล์ประเภท (.shx) ไฟล์นี้จะทาหน้าที่ในการผสานไฟล์ (.shp) และ (.dbf) เข้าด้วยกัน มีหน้าที่คล้าย ตัวเชื่อมต่อไฟล์ทั้งสอง

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

14


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

2.2.1 การนาเข้าข้อมูล Vector คลิกปุ่ม

Add Vector Layer บนแถบ Tools Bar เพื่อเลือกชั้นข้อมูลที่ต้องการ มาแสดงผลบน Map

Display ซึ่งการนาเข้าข้อมูลมีทั้งหมด 3 แบบ คือ จุด (Point) เส้น (Line) และพื้นที่ปิด (Polygon) คาอธิบาย school.shp คือ ชั้นข้อมูลโรงเรียน trans.shp คือ ชั้นข้อมูลถนน amphoe.shp คือ ชั้นข้อมูลขอบเขตอาเภอ

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

--> จุด --> เส้น --> พื้นที่รูปปิด

15


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

2.2.2 การนาเข้าข้อมูล Raster คลิกปุ่ม Add Raster Layer บนแถบ Tools Bar เพื่อเลือกข้อมูลที่เป็น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ ข้อมูลจาลองความสูงเชิงเลข (DEM)

2.3 การเปลี่ยนสัญลักษณ์ Symbology การปรับแต่งสัญลักษณ์สามารถทาได้โดย คลิกขวาบนชั้นข้อมูลที่ต้องการปรับเปลี่ยน คุณสมบัติ แล้วเลือกคาสั่ง Properties หรือ Double Click ที่ Shape file ที่ ต้องการปรับเปลี่ยน

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

16


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

เลือกแถบคาสั่ง Style ให้ Legend type เป็น Single Symbol จากนั้นก็เลือกปรับเปลี่ยนสีได้ตามใจชอบ แล้วกด ปุ่ม OK หรือปรับเปลี่ยนสัญลักษณ์ของข้อมูลจุด ให้มีสัญลักษณ์เป็นรูปแบบอื่นๆ

** ชั้นข้อมูลประเภท เส้น หรือ พื้นที่รูปปิด ก็สามารถปรับเปลี่ยนคุณสมบัติ ได้ในลักษณะเช่นเดียวกัน **

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

17


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

2.4 การแสดงป้ายข้อมูลและการกาหนดข้อมูลอักษร (Label Feature) การแสดงป้ายข้อมูล (Label) สามารถทาได้โดย คลิกขวาที่ชั้นข้อมูลที่ต้องการ แล้วเลือกคาสั่ง Properties

จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Layer properties ขึ้นมา ให้เลือกแถบคาสั่ง Labels จากนั้นให้ติกกากบากที่ช่อง Display labels

1 2

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

18


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

ในส่วนของ Tab : Label Properties จะมีการกาหนดค่าอยู่ 5 ส่วน ได้แก่ 1. Basic label options

Field containing label: เป็น Drop-Down list ให้เราเลือก Field ที่ต้องการจะแสดงป้ายข้อมูล Default label: เป็นการกาหนดค่า Default ให้กับ Field ที่ต้องการจะแสดงป้ายข้อมูล Font size: เป็นการกาหนดขนาดของตัวอักษร 2. Placement เป็นการกาหนดตาแหน่งของการแสดงป้ายข้อมูล

3. Use scale dependent rendering

เป็นการกาหนดให้แสดงป้ายข้อมูล ตามค่ามาตราส่วน (Scale) ที่กาหนดไว้

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

19


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

4. Buffer label

เป็นการสร้างพื้นหลังให้กับป้ายข้อมูล 5. Offset

เป็นการ Offset ของป้ายข้อมูล จะเป็นการขยับตัวอักษรเลื่อนออกจากตาแหน่งข้อมูล หลังจากที่ทาการตั้งค่าเสร็จแล้วก็จะได้ ดังภาพข้างล่างนี้

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

20


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

2.5 การให้สัญลักษณ์ข้อมูลแผนที่ (Legend Type) ชั้นข้อมูลต่างๆ เมื่อนาเข้าในช่อง Layers หรือ TOC (Table of Content) จะแสดงเป็นสัญลักษณ์ เดียว ผู้ใช้สามารถให้สัญลักษณ์กับชั้นข้อมูลได้ตามลักษณะข้อมูลและความเหมาะสม เปลี่ยนสัญลักษณ์ได้ที่แถบ คาสั่ง Symbology การให้สัญลักษณ์ข้อมูลสามารถแบ่งข้อมูลได้ 2 ประเภทคือ 1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ สัญลักษณ์ที่ให้กับข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ - การให้ค่าสัญลักษณ์รูปแบบเดียว (Single Symbol) เป็นค่าเริ่มต้น (Default) ของโปรแกรม ซึ่งสี ของแผนที่จะเป็นสีเดียว

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

21


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

- การให้ค่าสัญลักษณ์แบบแยกสีตามค่า (Unique Value) เป็นการให้สัญลักษณ์ในแต่ละรูปร่างซึ่ง แสดงออกมาแตกต่างกันตามค่าในฟิลด์ในตารางที่ใช้กาหนด

2. ข้อมูลเชิงปริมาณ สัญลักษณ์ที่ให้กับข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ - การไล่ระดับสัญลักษณ์ (Graduate Symbol) เป็นการให้ขนาดสัญลักษณ์แก่ข้อมูลเชิงปริมาณที่ แบ่งเป็นอันภาคชั้น

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

22


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

- การไล่ระดับสี (Continuous Color) เป็นการให้สัญลักษณ์โดยการให้สีไล่ระดับไปตามค่าของ ข้อมูลเชิงปริมาณนั้นๆ

2.6 วิธีการให้ค่าสัญลักษณ์แบบแยกสีตามค่า (Unique Value) เมื่อเราได้นาเข้าข้อมูลแต่ละประเภทมาแล้ว จากนั้นเราก็จะเปลี่ยนสัญลักษณ์แบบค่าสัญลักษณ์แบบ แยกสีตามค่า โดยคลิกขวาบนชั้นข้อมูลที่ต้องการปรับเปลี่ยนคุณสมบัติ แล้วเลือกคาสั่ง Properties 2 1

3 4

6

5

ผลลัพธ์ที่ได้ทุกๆ อาเภอมีสีที่ไม่ซ้ากัน คือ 1 อาเภอ แสดง 1 สี

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

23


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

2.7 วิธีการไล่ระดับสัญลักษณ์ (Graduate Symbol)

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

24


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ขนาดของสัญลักษณ์จะมีขนาดแตกต่างออกกันไป

2.8 วิธีการไล่ระดับสี (Continuous Color)

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

25


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ในแต่ละเมืองจะมีการไล่ระดับสีไปตามค่าของข้อมูลเชิงปริมาณ

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

26


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

บทที่ 3 การจัดการตารางและการสืบค้นข้อมูล (Spatial Search) การจัดการตารางและการสืบค้นข้อมูล ( Spatial Search) จะสืบค้นข้อมูลเชิงบรรยายและข้อมูลเชิง พื้นที่ โดยในบทนี้จะเรียนรู้การจัดการกับข้อมูลเชิงบรรยายทั้งสิ้น 4 หัวข้อ คือ 1. การค้นหาหรือการให้ระบบช่วยสอบถามข้อมูล (Query) 2. การสอบถามข้อมูล (Identify) 3. การสืบค้นอย่างละเอียด (Advanced Search) 4. การสืบค้นแบบมีเงื่อนไข 3.1 การค้นหาหรือการให้ระบบช่วยสอบถามข้อมูล ( Query) คือ การค้นหาข้อมูลที่ต้องการ โดยระบุสิ่งที่ ต้องการถามจากลักษณะที่ผู้ศึกษาทราบ เช่น เราต้องการทราบว่า อาเภอต่าง ๆ โรงเรียน สถานที่สาคัญ แม่น้า ตั้งอยู่บริเวณใด เป็นต้น ตัวอย่าง อาเภอแก่งกระจาน อยู่ตรงส่วนไหนของจังหวัดเพชรบุรี ขั้นตอนการสืบค้น Query 1. เมื่อนาเข้าข้อมูล Amphoe.shp ขึ้นมาแล้ว อยากต้องการทราบว่าอาเภอเมือง อยู่ตรงส่วนไหนของ จังหวัดเพชรบุรี สามารถทาได้โดย คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล Amphoe แล้วเลือก Query…

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

27


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

2. จากนั้นจะมีหน้าต่าง Query Builder ปลากฎขึ้นมา ในช่อง Field ให้ดับเบิลคลิก Amphoe_E จากนั้น ให้คลิกปุ่มเครื่องหมายเท่ากับ (=) แล้วที่ช่อง Value คลิกปุ่ม All จากนั้นให้ดับเบิลคลิกที่คาว่า Kang Krachan แล้วคลิกที่ปุ่ม OK

4 1 3 2

5

ผลลัพธ์จากการ Query

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

28


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

3.2 การสอบถามข้อมูล ( Identify) คือ เป็นการค้นหาข้อมูลโดยเลือกจากส่วนที่เป็นกราฟิก เพื่อแสดงข้อมูล รายละเอียดที่ต้องการทราบ ขั้นตอนการ Identify 1. คลิกเลือกชั้นข้อมูล Amphoe จากนั้นคลิกที่ปุ่ม คลิกบนส่วนที่เป็นกราฟิกของชั้นข้อมูล Amphoe จะปรากฏหน้าต่าง Identify Results แสดงข้อมูลที่อธิบายรายละเอียด

3.3 การสืบค้นอย่างละเอียด (Advanced Search) กรณีที่มีข้อมูลจานวนมาก เราจะใช้วิธีที่ผ่านมา อาจจะทาให้ไม่สะดวกในการสืบค้น ดังนั้น ให้ใช้ วิธีสืบค้นอย่าง ละเอียด ซึ่งการสืบค้นแบบนี้เราจะต้องทราบ ชื่อ Filed ที่ต้องการสืบค้น คาสั่งในการสืบค้นจะให้ภาษา SQL (Structured Query Language) โดยสืบค้นจากการระบุคาสั่งให้กับ โปรแกรม ชื่อฟิลด์ = ค่าที่ต้องการค้นหา ตัวอย่าง อาเภอแก่งกระจานมีกี่ตาบล อะไรบ้าง

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

29


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

3.4 การสืบค้นแบบมีเงื่อนไข คาสั่ง มากกว่า น้อยกว่า ไม่เท่ากับ การใช้เครื่องหมาย มากกว่า ( >) น้อยกว่า (<) มากกว่าหรือเท่ากับ ( >=) น้อยกว่าหรือเท่ากับ ( <=) และเครื่องหมาย ไม่เท่ากับ (<>) ในการค้นหาตัวอักษรได้ ด้วย เช่น ตัวอย่าง ตาบลที่มีพื้นที่น้อยกว่า 1,000,000 ตารางเมตร ใช้คาสัง่ Area < 1,000,000 3.5 การเชื่อมประโยคการสืบค้น (Combining expressions) สามารถเชื่อมด้วยตัวดาเนินการ AND และ OR ตัวอย่าง จานวนนักเรียนที่มีมากกว่า 1000 คน แต่ไม่เกิน 2000 มีกี่โรงเรียน ใช้คาสั่ง Student > 1000 And Student <= 2000 แตกต่างจาก Student > 1000 Or Student <= 2000 อย่างไร ??

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

30


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

บทที่ 4 การสร้างฐานข้อมูล (Database) การนาเข้าข้อมูลปริภูมิ (Digitize) จะเป็นการสร้างข้อมูล Shape files ขึ้นมาใหม่ แล้วจะทาการดิจิไทซ์ ( Digitize) ข้อมูล ซึ่งจะ ยกตัวอย่างในการสร้างข้อมูล 3 รูปแบบ ได้แก่ จุด (Point) เส้น (Line) พื้นที่ (Polygon) 4.1 ขั้นตอนการสร้างข้อมูล Shape file แบบจุด (Point) 1. เริ่มจากการสร้างข้อมูล Shape file โดยไปที่เมนู Layer >> New >> New Shape file Layer… หรือจะใช้วิธี ลัดที่แป้นพิมพ์คือ Ctrl + Shift + N ดังรูป

2. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง New Vector Layer ในส่วนของ Type: ให้เลือกแบบ Point

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

31


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

3. ส่วนในช่อง CRS ID ให้คลิกที่ปุ่ม Specify CRS เพื่อที่จะกาหนดระบบพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์โดยกาหนดให้ เป็น WGS84 UTM Zone 47N แล้วคลิก OK

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

32


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

4. สร้างข้อมูลเชิงบรรยายในส่วน New Attribute หรือการสร้าง Filed (Column) ยกตัวอย่างเช่น ให้สร้างขึ้นมา 2 Field คือ ID และ Name ซึ่งค่าที่กาหนดอยู่ตารางด้านล่าง

5. จากนั้นก็กาหนดใส่ค่าข้อมูลเชิงบรรยายตามที่กาหนดในตาราง ตามด้านล่างนี้

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

33


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6. จากนั้นก็จะทาการตั้งชื่อไฟล์ และทาการบันทึก

7. ซึง่ จะได้ชั้นข้อมูล Shape files แบบจุด (Point) ขึ้นมาใหม่ ดังภาพ

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

34


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

8. เมื่อได้ชั้นข้อมูล Shape files แบบจุดแล้ว ให้ทาการ Digitize ข้อมูล โดยคลิกที่ปุ่ม ก็สามารถเริ่มทาการนาเข้าข้อมูล (Digitize) ได้

Toggle editing

9. เริ่มทาการ Digitize ข้อมูลโดยใช้ปุ่ม Capture Point แล้วคลิกไปยังตาแหน่ง สถานที่ที่ต้องการ จะมีหน้าต่างให้ใส่ข้อมูล Attribute แล้วก็คลิก OK

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

35


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

10. ผลลัพธ์การนาเข้าข้อมูลแบบจุด (Point) ทั้งหมด

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

36


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

4.2 ขั้นตอนการสร้างข้อมูล Shape file แบบเส้น (Line) 1. ในการสร้างข้อมูล Shape file แบบเส้น (Line) จะมี ขั้นตอนการสร้างชั้นข้อมูลเหมือนกับการสร้างข้อมูล Shape file แบบจุด (Point) เพียงแต่เปลี่ยนประเภท (Type) ให้เป็น “เส้น Line” เท่านั้น 2. สร้างข้อมูล Shape file โดยไปที่เมนู Layer >> New >> New Shape file Layer… หรือจะใช้วิธีลัดที่ แป้นพิมพ์คือ Ctrl+Shift+N ดังรูป

3. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง New Vector Layer ในส่วนของ Type: ให้เลือกแบบ Line

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

37


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

4. ส่วนในช่อง CRS ID ให้คลิกที่ปุ่ม Specify CRS เพื่อที่จะกาหนดระบบพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์โดยกาหนดให้ เป็น WGS84 UTM Zone 47N แล้วคลิก OK

5. คลิกที่ปุ่ม Toggle editing ก็สามารถเริ่มทาการนาเข้าข้อมูล (Digitize) ได้ โดยสามารถเลือกเครื่องมือใน การแก้ไขข้อมูลแบบเส้น ตามข้างล่างนี้

6. เริ่มทาการนาเข้าข้อมูล ( Digitize) โดยคลิกที่ปุ่ม Capture Line แล้วใช้เมาส์ทาการ Digitize ไปตาม เส้นถนน ทางรถไฟ แม่น้า หรือลักษณะที่เป็นแบบเส้น จากนั้นก็ใส่ข้อมูล Attribute ในช่องว่าง แล้วคลิกปุ่ม OK ตามดังรูปข้างล่าง

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

38


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

7. ผลลัพธ์การนาเข้าข้อมูลแบบเส้น (Line) ทั้งหมด

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

39


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

4.3 ขั้นตอนการสร้างข้อมูล Shape file แบบพื้นที่ (Polygon) 1. ในการสร้างข้อมูล Shape files แบบพื้นที่ (Polygon) จะมีขั้นตอนการสร้างชั้นข้อมูลเหมือนกับการสร้างข้อมูล Shape file แบบจุด (Point) และเส้น (Line) เพียงแต่เปลี่ยนประเภท (Type) เป็นแบบพื้นที่ (Polygon) 2. สร้างข้อมูล Shape file โดยไปที่เมนู Layer >> New >> New Shape file Layer… หรือจะใช้วิธีลัดที่ แป้นพิมพ์คือ Ctrl+Shift+N ดังรูป

3. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง New Vector Layer ในส่วนของ Type: ให้เลือกแบบ Line

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

40


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

4. ส่วนในช่อง CRS ID ให้คลิกที่ปุ่ม Specify CRS เพื่อที่จะกาหนดระบบพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์โดยกาหนดให้ เป็น WGS84 UTM Zone 47N แล้วคลิก OK

5. คลิกที่ปุ่ม Toggle editing ก็สามารถเริ่มทาการนาเข้าข้อมูล ( Digitize) ได้ โดยสามารถเลือกเครื่องมือ ใน การแก้ไขข้อมูลแบบเส้น ตามข้างล่างนี้

6. เริ่มทาการนาเข้าข้อมูล (Digitize) โดยคลิกที่ปุ่ม Capture Line แล้วใช้เมาส์ทาการ Digitize ไปตามรูป อาคารตึก สิ่งก่อสร้าง หรือลักษณะที่เป็นแบบพื้นที่ จากนั้นก็ใส่ข้อมูล Attribute ในช่องว่าง แล้วคลิกปุ่ม OK ตาม ดังรูปข้างล่าง

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

41


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

7. ผลลัพธ์การนาเข้าข้อมูลแบบพื้นที่รูปปิด (Polygon) ทั้งหมด

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

42


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

8. แสดงภาพรวมการนาเข้าข้อมูลทั้งหมด 3 แบบ คือ จุด (Point) เส้น (Line) และพื้นที่รูปปิด (Polygon)

4.4 การคานวณเบื้องต้น (Calculations) 4.4.1. การคานวณพื้นที่ สามารถใช้ Arithmetic operators เช่น + - * / หากต้องการแปลงพื้นที่ขอบเขตอาเภอ (Amphoe) จาก หน่วยตารางเมตร เป็น พื้นที่หน่วย ไร่ - กดที่ edit table รูปดินสอ 1 - คลิก New Column  Add Attribute 2

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

43


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

1

2

3

Add Column - ที่ name กรอกคาว่า Area_Rai - Comment คาอธิบาย พื้นที่หน่วยเป็นไร่ - Type คือ กาหนดประเภทของฟิลด์นั้น ในที่นี้ ค่าเป็นตัวเลข เลือก Real จานวนจริง o Integer จานวนเต็ม o Real จานวนจริง จะมีค่าทศนิยม o Text เป็นตัวอักษร - Wide ความกว้างตัวอักษรหรือตัวเลข กรอกค่า 20 และ Precision กรอก 2 และกด OK - ต่อมากดที่ รูปเครื่องคิดเลข 3

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

44


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

1

2

4

3 5

1. คลิกที่ updates existing field เพื่อทาการปรับปรุงข้อมูลในช่องตารางที่ต้องการ 2. เลือกหัวตารางที่ชื่อ Area_rai 3. ช่อง Operators คลิกเลือก area จะปรากฏที่ช่อง Field calculator expression 4. กด OK 4.4.2 การคานวณระยะทาง ก็ทาเช่นเดียวกับขั้นตอนของการหาพื้นที่ ต่างกันตรงที่ช่อง Operators คลิกเลือก  length

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

45


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

4.5 การนาเข้าข้อมูลจากเครื่อง GPS คือ เป็นการนาเอาค่าพิกัดจากเครื่อง GPS ที่ทาการวัดตาแหน่งของจุดที่ต้องการสารวจแล้ว เราก็จะ นาเอาค่าพิกัดในตาแหน่งต่างๆ มาทาการพิมพ์ใส่ใน Notepad จากนั้นจะทาการบันทึกเป็น Text file และนาเข้า ด้วยโปรแกรม QGIS 4.2.1 ขั้นตอนการนาเข้าข้อมูลจากเครื่อง GPS 1. ใส่ค่าพิกัดที่ได้จากเครื่อง GPS ในโปรแกรม Notepad โดยจะต้องมีสัญลักษณ์ “,” คั้นไว้ที่เพื่อแทนเป็น Column จากนั้นก็ Save ไว้ที่โฟล์เดอร์ที่เราต้องการจะเก็บไว้

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

46


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

2. ในส่วนของโปรแกรม QGIS โดยคลิกที่ปุ่ม

Add Delimited Text Layer จากนั้นจะมีหน้าต่างใหม่ขึ้นมา

3. จากนั้นให้คลิกที่ปุ่ม Browse เพื่อที่จะเลือกไฟล์ Text ที่ได้ทาการบันทึกไว้ ที่ชื่อว่า GPS.txt และเลือก Selected delimiters เป็น Comma และกดปุ่ม OK ก็จะได้ดังภาพข้างล่างนี้ 1 2

3

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

47


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

4. ตาแหน่งค่าพิกัดจากที่ได้จากการนาเข้าข้อมูล เครื่อง GPS

5. เมื่อลองเปิดข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณที่เก็บค่าพิกัดจากเครื่อง GPS จะเห็นได้ว่าตาแหน่งค่าพิกัดตรงกับ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

48


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6. จากนั้นทาการ Save ข้อมูลให้เป็นข้อมูลแบบ Shape file โดยทาการคลิกขวาที่ชั้นข้อมูล GPS >> Save as… ดังภาพด้านล่าง

7. จากนั้นจะมีหน้าต่าง Save vector layer as… ปรากฏขึ้นมา Format: ให้เลือกเป็นแบบ ESRI Shape file Save as: ให้เลือกที่เก็บไฟล์เพื่อทาการบันทึกข้อมูล โดยคลิกที่ปุ่ม Browse จากนั้นจะมีหน้าต่างใหม่ ขึ้นมาแล้วทาการตั้งชื่อไฟล์จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Save แล้วก็คลิกที่ปุ่ม OK เราก็จะได้ข้อมูลที่เป็น Shape file

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

49


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

8. จากนั้นลองทาการเปิดข้อมูลที่เราได้บันทึกเป็ นแบบ Shape file ที่ชื่อว่า GPS_Bkk.shp

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

50


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

บทที่ 5 กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาตั้งแต่ระดับง่ายไปถึงยาก ซึ่งโดยทั่วไปเป็นการ แสดงผลระหว่างความสัมพันธ์ของโทโพโลจี (Topology) กับข้อมูลเชิงบรรยาย โดยไม่ต้องผ่านขั้นตอนการทางาน ที่ยุ่งยาก เช่น การระบุข้อมูลเชิงบรรยายของกราฟิก การวัดระยะทาง การคานวณพื้นที่ เป็นต้น หรือแม้กระทั่ง การวิเคราะห์ที่มีความซับซ้อน การค้นหาผลการซ้อนทับปัจจัย การวิเคราะ ห์ เส้นทางเข้าถึงที่ใกล้ที่สุด การวิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมในการสร้างสิ่งปลูกสร้าง หรือการพยากรณ์แนวโน้นความเปลี่ยนแปลง เป็นต้น ในบทเรียนนี้ ได้นาเสนอฟังก์ชันการทางานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้นและ อย่างง่าย ตามลักษณะการทางานได้ 2 กลุ่มหลัก คือ

2.

1. การซ้อนทับเชิงพื้นที่ (Spatial Overlay) - Intersect - Union - Clip การสร้างแนวกันชน (Buffer Operation) - Buffer - Dissolve

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

51


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

การซ้อนทับเชิงพื้นที่ (Spatial Overlay) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ส่วนใหญ่ ผู้ศึกษาจาเป็นต้องวิเคราะห์ความสัมพัน ธ์ระหว่างปัจจัยมากกว่า 1 ปัจจัย วิธีการที่นิยมใช้ตอบโจทย์ปัญหาเชิงพื้นที่ลักษณะดังกล่าว คือ “การซ้อนทับชั้นข้อมูล ” ซึ่งเป็นการกระทา ระหว่างชั้นข้อมูลมากกว่าหรือเท่ากับ 2 ชั้นข้อมูลขึ้นไป 5.1 การ Select ก่อนการดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล เราจะต้องทาการคัดเลือกขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ( โดยใช้วิธีการ Select เลือกพื้นที่ที่สนใจ เช่น ต้องการขอบเขตของอาเภอเมืองเพชรบุรี

Study area) ก่อน

1. กรณีทราบว่าอยู่บริเวณใดของภาพ ให้ทาการเลือกโดยใช้เครื่องมือ Select แล้วคลิกเลือกที่ ขอบเขตของพื้นที่ชั้นข้อมูลที่ต้องการ กรณีไม่ทราบว่าขอบเขตพื้นที่ศึกษาอยู่บริเวณใด ให้กลับไปดู บทที่ 3 การสืบค้นข้อมูล (หน้าที่ 29)

2. จากนั้นทาการส่งออกข้อมูล เพื่อจัดเก็บขอบเขตของพื้นที่ศึกษาที่ต้องการ โดยคลิกขวาที่ชั้นข้อมูล Amphoe >> เลือก Save Selection as

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

52


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

3. ที่ช่อง Save as ให้กดที่ Browse เพื่อทาการ Save ข้อมูล โดยตั้งชื่อ Muang Phetburi.shp เมื่อตั้ง ชื่อเสร็จกด Save และ กดที่ OK 1

4

2

3

4. ให้เปิดชั้นข้อมูลอาเภอเมืองเพชรบุรีขึ้นมา โดยคลิกที่ Add vector

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

53


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

5.2 Clip

คือ เป็นฟังก์ชันสาหรับตัดข้อมูลที่ต้องการตามขอบที่กาหนด โดยตัดข้อมูลแผนที่ออกจากชั้น ข้อมูลที่ต้องการด้วยแผนที่หรือพื้นที่ที่เป็นขอบตัด (Clip feature)

ขั้นตอนการ Clip 1. เปิดชั้นข้อมูล Colorado และ counties ขึ้นมา จากนั้นให้ไปที่เมนู Vector >> Geoprocessing Tools >> Clip

2. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Clip ขึ้นมา เลือก Input vector layer เป็น counties ส่วน Clip layer เลือกเป็น colorado จากนั้นก็เลือกที่เก็บ Output shape file แล้วก็คลิก OK

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

54


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

ผลลัพธ์ของการ Clip

5.3 Intersect

คือ เป็นการซ้อนทับ (Overlay) ข้อมูลระหว่าง 2 ชั้นข้อมูล โดยชั้นข้อมูลผลลัพธ์ (Output) จะเป็นข้อมูลที่อยู่ทั้งขอบเขตพื้นที่ของทั้ง 2 ชั้นข้อมูล ซึ่งจะไม่มีขอบเขตเกินจากข้อมูล ทั้ง 2 ชั้นข้อมูล

ขั้นตอนการ Intersect 1. เปิดชั้นข้อมูลที่ชื่อว่า lakes และ counties ขึ้นมา จากนั้นให้ไปที่เมนู Vector >> Geoprocessing Tools >> Intersect

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

55


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

2. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Intersect ขึ้นมา เลือก Input vector layer เป็น lakes ส่วน Intersect layer เลือกเป็น counties จากนั้นก็เลือกที่เก็บ Output shape file แล้วก็คลิก OK

ผลลัพธ์ของการ Intersect

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

56


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

5.4 Union คือ เป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่เกิดจากการสนใจพื้นที่ของวัตถุที่ซ้อนกันมากกว่า 2 พื้นที่ โดยรวมคุณลักษณะทั้งหมดของชั้นข้อมูลนาเข้าทั้งสองไว้ด้วยกัน และสร้างเป็นข้อมูลใหม่ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดจะต้อง เป็น Polygon เท่านั้น ทั้งนี้การเลือกข้อมูลนาเข้าหรือชั้นข้อมูล ที่ใช้ซ้อนทับสามารถสลับกันได้ โดยไม่มีผลต่อ ผลลัพธ์

ขั้นตอนการ Union 1. เปิดชั้นข้อมูล states และ counties ขึ้นมา จากนั้นให้ไปที่เมนู Vector >> Geoprocessing Tools >> Union

2. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Union ขึ้นมา เลือก Input vector layer เป็น lakes ส่วน Union layer เลือกเป็น states จากนั้นก็เลือกที่เก็บ Output shape file แล้วก็คลิก OK

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

57


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

ผลลัพธ์ของการ Union

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

58


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

การสร้างแนวกันชน (Buffer Operation) 5.5 Buffer

คือ เป็นการสร้างระยะทางที่ห่างจากฟีเจอร์ตามค่าที่กาหนดหรือใช้ค่าจากฟิลด์ การสร้าง Buffer เป็นการวิเคราะห์เพียง 1 ชั้นข้อมูล และเป็นการสร้างพื้นที่ล้อมรอบฟีเจอร์ของชั้นข้อมูลที่ได้คัดเลือกไว้ บางส่วน หรือหากไม่ได้เลือกไว้โปรแกรมจะสร้าง Buffer ให้ทั้งชั้นข้อมูล ผลลัพธ์ที่ได้คือ ชั้นข้อมูลใหม่ที่มีขนาด ความกว้างของพื้นที่จากตาแหน่งที่เลือก เท่ากับขนาดของ Buffer ที่ได้กาหนดและมีหน่วยตามที่กาหนด

ขั้นตอนการ Buffer 1. เปิดชั้นข้อมูล cities_ext ขึ้นมา จากนั้นให้ไปที่เมนู Vector >> Geoprocessing Tools >> Buffer(s)

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

59


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

2. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Buffer(s) ขึ้นมา เลือก Input vector layer เป็น cities_ext ส่วน Buffer distance กาหนดเป็น 2 (หน่วยเป็น Degree) จากนั้นก็เลือกที่เก็บ Output shape file แล้วก็คลิก OK

ผลลัพธ์ของการทา Buffer

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

60


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

5.6 Dissolve

คือ คาสั่งนี้ใช้สาหรับรวมกลุ่มข้อมูลพื้นที่ที่มีคุณสมบัติ หรือค่า Attribute เหมือนกันที่อยู่ ติดกันเข้าด้วยกัน เพื่อลดความซ้าซ้อนของชั้นข้อมูลให้น้อยลง

ขั้นตอนการทา Dissolve 1. เปิดชั้นข้อมูล buffers ขึ้นมา จากนั้นให้ไปที่เมนู Vector >> Geoprocessing Tools >> Dissolve

2. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Dissolve ขึ้นมา เลือก Input vector layer เป็น buffers ส่วน Dissolve field กาหนดเป็น Dissolve all จากนั้นก็เลือกที่เก็บ Output shape file แล้วก็คลิก OK

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

61


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

ผลลัพธ์จากการทา Dissolve

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

62


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

บทที่ 6 การจัดทาแผนที่ Layout (Layout Creating) แผนที่เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสดงผลข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งอาจเป็นการแสดงผล ข้อมูลที่ถูกจัดเก็บหรือข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ ข้อมูลแผนที่ที่ถูกนาเข้าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ส่วนใหญ่ จะได้จากแผนที่ภูมิประเทศ ( Topographic Map) และแผนที่เฉพาะเรื่อง ( Thematic Map) โดยแผนที่ ภูมิประเทศ เป็นแผนที่ซึ่งแสดงลักษณะพื้นผิวโลกและรายละเอียดของข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ทั้ง 3 มิติ ดังนั้นแผนที่ภูมิประเทศจึงเป็นแผนที่พื้นฐานหรือเป็นแหล่งข้อมูลของแผนที่เฉพาะเรื่องนั่นเอง สาหรับ แผนที่เฉพาะเรื่อง เป็นแผนที่ที่แสดงรายละเอียดข้อมูลเชิงคุณภาพ หรือเชิงปริมาณของภูมิลักษณ์ต่างๆ ที่เฉพาะเจาะจง (Specific feature) โดยมีความสัมพันธ์กับรายละเอียดของภูมิประเทศบางอย่างที่จาเป็น องค์ประกอบพื้นฐานของแผนที่ องค์ประกอบพื้นฐานของแผนที่ (Basic map element) ที่จาเป็นมีดังต่อไปนี้ 1. ตัวภาพแผนที่ (Map Body) 2. คาอธิบายสัญลักษณ์ (Legend) 3. ชื่อแผนที่ (Map Title) 4. มาตราส่วนแผนที่และรายละเอียดเส้นโครงแผนที่ (Map Scale and Projection) 5. ทิศเหนือ (North Arrow) 6. รายละเอียดเส้นโครงแผนที่ หรือระบบพิกัด (Projection) 7. แหล่งที่มาของข้อมูล (Source Statement) 8. ผู้จัดทาแผนที่ (Cartographer Name)

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

63


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

แบบฝึกหัดนี้ เป็นการฝึกการสร้างแผนที่โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากแบบฝึกหัดที่แล้ว 6.1 การสร้าง Map Layout 6.1.1 เปิดโครงการที่ Save ไว้ใน Lab 02 ที่ชื่อ “Population Map.qgs” โดยไปที่ >> เมนู “แฟ้ม” >> เลือก “เปิดโครงการ”

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

64


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6.1.2 ไปที่เมนู “แฟ้ม” >> เลือก “การพิมพ์” หรือ คลิกที่

ปุ่ม

ก็จะได้หน้าต่างดังภาพ

ด้านล่าง

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

65


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6.2 การนาเข้าตัวแผนที่ 6.2.1 คลิกที่ปุ่ม “เพิ่มแผนที่” ที่ Tool Bar เพื่อนาตัวภาพแผนที่เข้ามา

6.2.2 ลากกรอบสี่เหลี่ยมบนพื้นที่ว่างในขนาดที่เหมาะสม เพื่อสร้างตัวแผนที่ 6.2.3 การปรับขนาดของตัวภาพแผนที่ในกรอบที่สร้างไว้ ให้ไปที่แถบ “หัวข้อ” ด้านขวาของหน้าต่างแบบ จัดแต่งองค์ประกอบ โดยเปลี่ยนตัวเลขที่มาตราส่วน

Tips เครื่องมือที่ใช้ในการจัดแต่ง

Layout ที่สาคัญมี 2 ปุ่ม คือ

ปุ่ม เลือก/ย้าย หัวข้อ -- > สาหรับย้ายกรอบของเนื้อหา ปุ่ม ย้ายหัวข้อเนื้อหา --> สาหรับย้ายเนื้อหาหรือตัวแผนที่ สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

66


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6.3. การสร้างคาอธิบายสัญลักษณ์ (Legend) 6.3.1. คลิกปุ่ม “เพิ่มสัญลักษณ์เชิงเส้น” คลิกบนพื้นที่ว่างใน Layout ดังภาพ

เพื่อเพิ่มคาอธิบายสัญลักษณ์ ( Legend)

>> แล้ว

ชื่อหัวข้อสัญลักษณ์ตอนนี้ คือ “ขอบเขตจังหวัดภาคกลาง _wgs” เราจะต้องเปลี่ยนชื่อให้สอดคล้อง กับแผนที่ที่เราทา นั่นคือ “แผนที่จานวนประชากรรายจังหวัดภาคกลาง ปี 54” การให้สัญลักษณ์ข้อมูลจึงใช้ แทนจานวนประชากร เพราะฉะนั้น ชื่อหัวข้อสัญลักษณ์จึงต้องเปลี่ยนให้ถูกต้อง 6.3.2 ที่แถบ “หัวข้อ” ในหน้าต่างด้านขวา >> คลิกที่แถบ “ทั่วไป” ในเปลี่ยนหัวเรื่องจาก “สัญลักษณ์” เป็น “จานวนประชากร (คน)” >> แล้วคลิกที่ “รายการแบบตัวอักษร” ให้เปลี่ยนขนาดอักษรเป็น size 16 6.3.3 ในช่องอื่นๆ ได้แก่ ความกว้าง และความสูงของสัญลักษณ์ , ช่องว่างของชั้นข้อมูล , ช่องว่างของ สัญลักษณ์ , ช่องว่างของ Icon Label และ กล่องว่าง สามารถปรับเปลี่ยนตัวเลขได้ตามต้องการ โดยคลิกที่ปุ่ม ลูกศรขึ้นและลง 6.3.4 เมื่อตั้งค่าที่แถบ “ทั่วไป” เสร็จแล้ว >> ให้คลิกที่แถบ “หัวข้อสัญลักษณ์” สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

67


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6.3.5 เมื่อปรากฏหน้าต่าง “หัวข้อคุณสมบัติของสัญลักษณ์” ให้เปลี่ยนชื่อจาก “ขอบเขตจังหวัดภาค กลาง_wgs” เป็น “ประชากร (คน)” >> แล้วคลิก OK

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

68


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6.3.6 ให้ลบข้อความในช่อง “รายการตัวหนังสือ” ออก >> แล้วคลิก OK

6.4 การนาเข้าทิศ รูปภาพ และมาตราส่วน 6.4.1 การนาเข้าทิศ คลิกที่ปุ่ม “เพิ่มภาพ” แล้วคลิกลงบนพื้นที่ว่าง ซึ่งจะปรากฏเป็นกรอบ สี่เหลี่ยมเล็กๆ ให้นาเข้าทิศเหนือเข้ามาใน Layout >> โดยไปที่แถบ “หัวข้อ” ด้านขวาของหน้าต่าง >> แล้ว เลือก “ภาพทิศเหนือ” ในช่อง “ภาพร่าง”

6.4.2 คลิกที่ปุ่ม “เพิ่มมาตราส่วนแบบแท่ง” มาตั้งค่าในกรอบด้านขวาที่แถบมาตราส่วนแบบแท่ง ดังนี้ ขนาดของชิ้นส่วน (หน่วยแผนที่) -หน่วยแผนที่ ต่อ หน่วยแท่ง -ชิ้นส่วนด้านขวา -รูปแบบ -หน่วยของตัวอักษร -สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

แล้วคลิกลงบนพื้นที่ว่าง จากนั้นให้ > ใส่ค่า 50,000 > ใส่ค่า 1,000 > เปลี่ยนเป็น 3 > เปลี่ยนเป็น กล่องคู่ > พิมพ์คาว่า กิโลเมตร 69


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

สามารถตั้งค่าต่างๆ ของ Item ต่าง เช่น แบบตัวอักษร ขนาดตัวอักษร สีของ ตัวอักษร สีของกรอบ ขนาดเส้นกรอบ และสีพื้นหลังได้ โดยไปที่แถบ “เงื่อนไขทั่วไป” ที่อยู่ ด้านล่างสุด

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

70


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6.5 การเพิ่มข้อความ 6.5.1 คลิกปุ่ม “เพิ่มตัวอักษร” เพื่อเพิ่มชื่อแผนที่และข้อความต่างๆ >> ให้พิมพ์ชื่อแผนที่ที่ กล่องข้อความด้านขวา ว่า “แผนที่ประชากรรายจังหวัด ภาคกลาง ปี 2553”

6.5.2 คลิกที่ปุ่ม “แบบตัวอักษร” >> เปลี่ยน Size อักษรเป็น 22 >> Bold (ตัวหนา) และเลือก Font ตามชอบ >> เสร็จแล้วคลิก OK

Font style เป็น

6.5.3 เพิ่มที่มาของแผนที่และผู้จัดทาแผนที่ โดยคลิกปุ่ม “เพิ่มตัวอักษร” จากนั้นให้พิมพ์ข้อความลงไปใน ช่องตัวอักษร ดังนี้ ที่มา ผู้จัดทา

: สานักงานสถิติแห่งชาติ : --ให้ใส่เป็นชื่อโรงเรียนของน้องๆ--

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

71


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6.6 การสร้างเส้นกริด (Grid Line) 6.6.1 คลิกที่ตัวแผนที่ให้ Active >> จากนั้นคลิกแถบ “กริด” ด้านขวาของหน้าต่าง

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

72


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6.6.2 จากนั้นให้ตั้งค่าต่างๆ ดังนี้ - ทาเครื่องหมาย x ในกล่องสี่เหลี่ยม เพื่อแสดงกริด - ชนิดของกริดให้เลือกเป็น ทึบ - กาหนดช่วงค่า x และ y เท่ากับ 150,000 - ทาเครื่องหมาย x ที่กล่องวาดตัวหนังสือ - ทิศทางของตัวอักษร เลือกเป็น ทิศทางของขอบเขต - ความแม่นยาของค่าพิกัด เท่ากับ 0

ข้อควรระวัง !!! การตั้งค่าต่างๆ ในส่วนของการ สร้างกริดนั้น ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องตั้งค่าตามที่คู่มือ นี้กาหนดเสมอไป ขึ้นอยู่กับมาตราส่วนและ ความเหมาะสมของแผนที่นั้นๆ ด้วย

ชนิดของกริด

แบบทึบ

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

แบบตัดกัน

73


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

ทิศทางของตัวอักษร

แนวราบ

แนวตั้ง

แนวทิศทางของขอบเขต

แนวราบและแนวดิ่ง

6.6.3 ใส่กรอบให้แผนที่ โดยไปที่ปุ่ม “เพิ่มรูปร่างพื้นฐาน” แล้วลากเป็นกรอบ ซึ่งในครั้งแรกจะ เป็นรูปวงรี ให้เข้าไปเปลี่ยนเป็นสี่เหลี่ยมที่แถบ “หัวข้อ” ด้านขวา ในส่วนของ Shape จะมีให้เลือก 3 แบบ คือ วงรี สี่เหลี่ยม และสามเหลี่ยม >> ในที่นี้ให้เลือกเป็นสี่เหลี่ยม

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

74


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

6.6.4 ถ้าต้องการเปลี่ยนสีกรอบ สีพื้นหลัง ความกว้างของเส้น ให้ไปที่แถบ “เงื่อนไขทั่วไป”

6.6.5 หลังจากตั้งแค่เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้จัดองค์ประกอบต่างๆ ของแผนที่ให้สวยงาม 6.7 การ Export แผนที่เป็นรูปภาพ 6.7.1 ไปที่เมนูแฟ้ม ในหน้าต่างแบบจัดแต่งองค์ประกอบ >> เลือก “ส่งออกเป็นภาพ” 6.7.2 ให้ Save ไว้ใน D:\Excercise\Lab_03 ตั้งชื่อไฟล์ว่า “Layout Population map” >> แล้ว คลิก Save และเลือกรูปแบบภาพ เป็นไฟล์นามสกุล .jpeg 6.7.3 ลองเข้าไปเปิดภาพที่ได้ Save ไว้ใน D:\Excercise\Lab_03 ชื่อไฟล์ Layout Population map. jpeg ซึ่งจะสามารถ Copy ไปวางในรายงานหรือนาใช้ในการนาเสนอในสื่อต่างๆ ได้

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

75


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

ภาพแผนที่ที่ได้จากการ Export ไฟล์

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

76


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

บทที่ 7 การนาเข้าข้อมูลใน Google Earth 7.1 การติดตั้งโปรแกรม 1. ทาการดาวน์โหลดโปรแกรม Google Earth จาก URL: http://www.google.com/intl/th/earth/index.html

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

77


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

7.2 การปักหมุด หากเราต้องการปักหมุด จุดสถานที่สาคัญลงใน Google Earth ทาได้โดย - ค้นหาสถานที่ที่ต้องการปักหมุ ด เช่น วัดมิ่งเมือง ศาลหลักเมือง จ.น่าน

- เมื่อเจอสถานที่หรือพื้นที่ที่ต้องการปักหมุดแล้ว ให้คลิกที่ เพิ่มหมุด - ชื่อ : ระบุชื่อสถานที่ - คาอธิบาย : ใส่คาอธิบายเพิ่มเติมในรายละเอียดของสถานที่นั้นๆ 1

2

3

วัดมิ่งเมือง ตั้งอยู่ที่ถนนสุริยพงศ์ เป็น เป็นที่ประดิษฐานเสาหลักเมืองของจังหวัดน่าน ประวัติของวัดมิ่งเมือง คือ เดิมเป็นวัดร้าง มีเสาหลักเมืองที่เป็นท่อนซุงขนาดใหญ่สองคนโอบ พบที่ซากวิหาร ในราวปี 2400 เจ้า อนันตวรฤทธิเดช เจ้าครองนครน่านสถาปนาวัดใหม่ ตั้งชื่อว่า วัดมิ่งเมือง ตามชื่อที่เรียกเสาหลักเมืองว่า เสา มิ่งเมือง ต่อมาปี 2527ได้มีการรื้อถอนและสร้างอุโบสถหลังใหม่เป็นแบบล้านนาร่วมสมัยแบบในปัจจุบัน สถาบั นพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ 78 http://www.paiduaykan.com/76_province/north/nan/watmingmuang.html

สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

7.3 วิธีเอา “รูป” ลงใน Google Earth ทาได้ 2 วิธีคือ 1. Upload รูปจากในเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง (ข้อนี้จะเปิดดูได้เฉพาะในเครื่องของตนเองเท่านั้น) 2. Upload รูปผ่านเว็บ เว็บที่ฝากรูป  http://www.flickr.com/ (แนะนา) แต่ต้องมี Account e-mail ของ Yahoo http://photobucket.com/ http://imageshack.us/

3. จากนั้น คลิกขวาที่หมุดเดิม >> เลือก คุณสมบัติ

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

79


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

4. ที่ช่องคาอธิบาย

ใส่ Code HTML ง่ายๆ คือ

<img src = “ที่อยู่ไฟล์/ชื่อไฟล์.jpg”></img> <img src="D:/Picture/watmingmuang.jpg" ></img>

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

80


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

7.4 วิธีเอา VDO ลงใน Google Earth 1. วิธีที่ ง่ายที่สุดคือ Upload VDO ของเราไว้ใน Youtube (www.youtube) หรือ ค้นหา VDO จาก Youtube ตัวอย่าง สืบค้นคาว่า “วัดมิ่งเมือง” http://www.youtube.com/watch?v=zRxx5FPZJyY&feature=related 2. จากนั้นไปที่ คาว่า “ฝัง” ให้ Copy code ด้านล่างมาแป๊ะ ไว้ใน Google Earth ที่เราปักหมุดไว้ วางไว้ตรง คาอธิบาย

<iframe title="YouTube video player" width="480" height="390" src="http://www.youtube.com/embed/zRxx5FPZJyY" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

81


คู่มือโปรแกรม Quantum GIS Version 1.7.4

3. ผลลัพธ์ที่ได้ คือ จะมีทั้งคาอธิบายสถานที่ รูปภาพ และวิดีโอ

4. จากนั้น Save สถานที่ไว้เป็นสถานที่ของตัวเอง คลิกขวาที่สถานที่ที่เราปักหมุด  บันทึกสถานที่เป็น Watmingmuang.kmz

สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

82


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.