House@song

Page 1

บ้านไม้เมืองสอง ธีระพงษ์ พวงดอกไม้


2


บ้านไม้เมืองสอง

เมืองสอง เป็นอ�ำเภอหนึ่งอยู่ใต้การปกครองของจังหวัดแพร่ โดยมี ประวัติศาสตร์ควบคู่กับประวัติเมืองแพร่ โดยแม่น�้ำยม และ แม่น�้ำสอง ไหลผ่าน ตัวอ�ำเภอเมืองสอง และยังเป็นแหล่งที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งทรัพยากรป่าไม้ พื้นพรรณ ธัญญาหาร สัตว์ป่า ที่มีความสมบรูณ์ เหมาะแก่การเป็นที่ตั้งในการอยู่อาศัย จึงมี การตั้งชุมชนต่างในอ�ำเภอสอง โดยการอพยพเข้ามาของชนชาติต่างเช่น ลื้อ เงี้ยว พม่า พวน และชาวเมืองไกล้เคียงเมืองสอง รูปแบบสถาปัตยกรรมเมืองสาองนั้นใน อดีตจะแบ่งได้เป็นอาคารทางศาสนา อาคารพักคหบดี บ้านพักอาศัยของชาวบ้าน รวมถึงอาคารพานิชย์ เมื่อประมาณร้อยกว่าปีมานี้เมื่อชาวตะวันตก ได้แก่ ชาว อังกฤษและชาวเดนมาร์ก ได้เข้ามาท�ำป่าไม้ก็ได้น�ำเเรือนพักอาศัยในเมืองสองใน อดีต จะสร้างกันอยู่แบบง่าย เป็นเรือนเครื่องผูก (เรือนไม้บั่ว) สร้างเป็นเพิงพัก เป็น เรือน แบบง่าย และชาวเมืองสองยังได้รับรูปแบบการสร้างเรือนแบบชาวตะวันตก จึงนิยมหันมาสร้างด้วยเรือนไม้สักกันมากขึ้น โดยน�ำมาปรับเปลี่ยนให้มีห้องนอน เพิ่มขึ้นบานหน้าต่างมักผสมระหว่างบานลูกฟักแบบกระทุ้งและแบบบานเปิด มี ช่องไม้ระแนงอยู่บนกรอบวงกบประตูหน้าต่างและผนังห้องเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้ ทั้งหลังบันไดบ้านได้มีการสร้างหลังคาคลุมโดยการสร้างเรือนนั้นชาวบ้านได้น�ำทั้ง เรือนพื้นถิ่นของตน และรูปแบบการสร้างเรือนแบบตะวันตก มาประยุกต์เข้ากัน โดยปรับประยุกต์เอารูปแบบเรือนเดิมที่มี ชานแดด เติ๋น ห้องนอน คัวไฟ ยุ้งข้าว 3


เรือนพักอาศัยในเมืองสองในอดีต จะสร้างกันอยูแ่ บบง่าย เป็นเรือนเครือ่ งผูก (เรือนไม้บวั่ ) สร้างเป็นเพิงพัก เป็นเรือน แบบง่าย และชาวเมืองสองยังได้รบั รูปแบบ การสร้างเรือนแบบชาวตะวันตก จึงนิยมหันมาสร้างด้วยเรือนไม้สกั กันมากขึน้ โดยน�ำ มาปรับเปลีย่ นให้มหี อ้ งนอนเพิม่ ขึน้ บานหน้าต่างมักผสมระหว่างบานลูกฟักแบบกระทุง้ และแบบบานเปิด มีชอ่ งไม้ระแนงอยูบ่ นกรอบวงกบประตูหน้าต่างและผนังห้องเพือ่ ให้ อากาศถ่ายเทได้ทงั้ หลังบันไดบ้านได้มกี ารสร้างหลังคาคลุมโดยการสร้างเรือนนัน้ ชาว บ้านได้นำ� ทัง้ เรือนพืน้ ถิน่ ของตนและรูปแบบการสร้างเรือนแบบตะวันตก มาประยุกต์ เข้ากันโดยปรับประยุกต์เอารูปแบบเรือนเดิมทีม่ ี ชานแดด เติน๋ ห้องนอน คัวไฟ ยุง้ ข้าว มีการวางรูปแบบพืน้ ทีใ่ ช้สอยใหม่ให้เข้ากับยุคสมัยทีเ่ ปลีย่ นไปปรับรูปแบบหลังคาทีเ่ ดิม เป็นหลังคาจัว่ ปัน้ หยา มะนิลา ก็ปรับความสูงของจัว่ ลดลงให้มคี วามลาดเอียงของหลังคา น้อยลง วัสดุมงุ หลังคาทีก่ อ่ นหน้าทีเ่ ป็นแป้นเกล็ดไม้สกั หันมาใช้ กระเบือ้ งว่าว และ หลังคาสังกะสีมกี ารสร้างหลังคาคลุมบันไดทางขึน้ โดยหลังคาพักบันได้จะเป็นทรงจัว่

4


ส่วนของบันไดจะเป็นหลังคาแบบทอดตัวตามความลาดเอียงลงไปจนสุดเสา แหล่งหมา ซึง่ มีความแตกต่างจากเรือนขนมปังขิงทีห่ ลังคาลาดคลุมบันไดจะเป็นหลังคา โค้งหรือหลังคาจัว่ ฝาเรือนปูแนวนอนแบบเข้าลิน้ เพือ่ ป้องกันการซึมเข้าของน�ำ้ ส่วนสี บ้านไม่นยิ มทาสีใด ๆ โดนจะเน้นการโชว์ไม้โดยขัดให้เรียบ หน้าต่างมีการปรับรูปแบบ เดิมเป็นแบบลูกฟักผสมกันสาดกระทุง้ แบบจีน ลดทอนเป็นแบบลูกฟักสองตอนเหนือ ช่องประตูหน้าต่าง ส่วนทีเ่ ป็นช่องลมทีเ่ คยประดับลายฉลุกเ็ ปลีย่ นเป็นระแนงไม้บาง และกระจกสีลวดลายต่างๆ หรือกระจกฝ้า ส่วนของเพดานก็ปรับเป็น ควัน่ หรือ หิง้ ที่ มีประโยชน์ในการเก็บของ และสะดวกในการซ่อมหลังคา ชานแดดมีการลดขนาดลง และเพิม่ ขนาดของเติน๋ ซึง่ เรือนในลักษณะนีเ้ ป็นทีน่ ยิ มมากในเมืองแพร่ เมืองสอง และ เมืองทีใ่ กล้เคียงมักจะน�ำช่างจากเมืองแพร่ เมืองสอง ไปสร้างบ้านเปลีย่ นไป ปรับรูป แบบหลังคาทีเ่ ดิมเป็นหลังคาจัว่ ปัน้ หยา มะนิลา ก็ปรับความสูงของจัว่ ลดลงให้มคี วาม ลาดเอียงของหลังคาน้อยลง วัสดุมงุ หลังคาทีก่ อ่ นหน้าทีเ่ ป็นแป้นเกล็ดไม้สกั หันมา ใช้ กระเบือ้ งว่าว และหลังคาสังกะสีมกี ารสร้างหลังคาคลุมบันไดทางขึน้ โดยหลังคาพัก บันได้จะเป็นทรงจัว่ ส่วนของบันไดจะเป็นหลังคาแบบทอดตัวตามความลาดเอียงลงไป จนสุดเสาแหล่งหมา ซึง่ มีความแตกต่างจากเรือนขนมปังขิงทีห่ ลังคาลาดคลุมบันไดจะ เป็นหลังคาโค้งหรือหลังคาจัว่ ฝาเรือนปูแนวนอนแบบเข้าลิน้ เพือ่ ป้องกันการซึมเข้าของ น�ำ้ ส่วนสีบา้ นไม่นยิ มทาสีใด ๆ โดนจะเน้นการโชว์ไม้โดยขัดให้เรียบ หน้าต่างมีการปรับ รูปแบบเดิมเป็นแบบลูกฟักผสมกันสาดกระทุง้ แบบจีน ลดทอนเป็นแบบลูกฟักสองตอน เหนือช่องประตูหน้าต่าง

5


ส่ ว นสี บ ้ า นไม่ นิ ย มทาสี ใ ดๆโดนจะเน้ น การโชว์ ไ ม้ โ ดยขั ด ให้ เ รี ย บ หน้ า ต่ า งมี ก ารปรั บ รู ป แบบเดิ ม เป็ น แบบลู ก ฟั ก ผสมกั น สาดกระทุ ้ ง แบบจี น ลดทอนเป็ น แบบลู ก ฟั ก สองตอนเหนื อ ช่ อ งประตู ห น้ า ต่ า งส่ ว นที่ เ ป็ น ช่ อ งลม ที่ เ คยประดั บ ลายฉลุ ก็ เ ปลี่ ย นเป็ น ระแนงไม้ บ างและกระจกสี ล วดลายต่ า งๆ หรือกระจกฝ้า ส่วนของเพดานก็ปรับเป็น ควั่น หรือ หิ้งที่มีประโยชน์ใน การเก็บของ และสะดวกในการซ่อมหลังคา ชานแดดมีการลดขนาดลงและ เพิ่มขนาดของเติ๋น ซึ่งเรือนในลักษณะนี้เป็นที่นิยมมากในเมืองแพร�่ำเมือง สอง และเมืองที่ใกล้เคียงมักจะน�ำช่างจากเมืองแพร่ เมืองสอง ไปสร้างบ้าน

6


7


เรือนไม้เมืองสอง ได้มีรูปแบบการพัฒนาของเรือนพื้นถิ่นเดิม และ รูปแบบ สถาปัตยกรรมตะวันตก ได้พัฒนาเป็นแบบเรือนไม้เมืองสอง โดยเรือนไม้เมืองสอง จะพบได้ ๒ แบบ คือ เรือนที่มียุ้งข้าวติดกับตัวเรือน และเรือนที่สร้างยุ้งข้าวแยก ออกจากตัวเรือน โดยลักษณะของเรือนจะคล้ายกันแต่แตกต่างกันที่ยุ้งข้าว เรือนที่ มียุ้งข้าวจะมีขนาดที่ใหญ่กว่าเรือนที่สร้างยุ้งข้าวแยกออกจากตัวเรือน การสร้างยุ้ง ข้าวติดกับตัวเรือนนั้น อาจเป็นเพราะ สะดวกเมื่อเวลาในการตักข้าวไปสี ตักข้าว มาประกอบอาหาร ดูแลได้ไกล้ชิด และยังป้องกันขโมยได้อีกประการ ส่วนเรือนที่ มียุ้งข้าวแยกออกจากตัวเรือนนั้น จะมีขนาดที่เล็กลงมาเพราะได้สร้างยุ้งข้าวแยก ออกตัวเรือน การแยกยุ้งข้าวออกจากเรือนนี้เป็นเพราะ กลัวเกิดไฟไหม้ถ้าไฟไหม้ เรือนยังมียุ้งข้าวที่มีข้าวให้เรากิน แต่ถ้าไฟไหม้ยุ้งข้าวยังมีเรือนให้เราอยู่อาศัย โดย เหตุนี้จึงทำ�ให้ได้สร้างยุ้งข้าวแยกออกตัวเรือน โดยหน้าที่การใช้งานภายในเรือน นั้นมีลักษณะที่เหมือนกัน ก่อนขึ้นเรือนจะพบจุดที่ล้างเท้าก่อนขึ้นเรือน และบันได ทางขึ้นเรือนจะนิยมสร้างหลังคาลาดคลุมบันไดไว้ ตรงหัวบันไดจะเป็นเติ๋นหน้าบัน ได้จะทำ�เป็นที่นั่งเพื่อเป็นที่ต้อนรับแขกและเป็นที่พักผ่อนก่อนจะเข้าไปในตัวเรือน ภายในเรือนจะพบ ห้องนอน เติ๋นในเรือน ห้องครัว ชาน โดยห้องนอนจะนิยม สร้างเป็นสองห้อง โดยห้องนอนมักจะอยู่ทางทิศตะวันออก และมักหันหัวนอน ไปทางทิศตะวันออก ในห้องนอนจะพบ หิ้งผีเรือน หีบใส่ของ และจะมีหน้าต่าง จำ�นวนมาก เพื่อเป็นที่ระบายอากาศให้ถ่ายเทสะดวก เติ๋น ในเรือนจะเป็นพื้นที่ โล่งภายในเรือน เป็นจุดเชื่อมต่อต่างภายในเรือน จะเป็นที่พักผ่อนในเวลากลาง วัน ที่ทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ที่นั่งเล่น อาจจะเป็นที่รับแขก โดยบริเวณภายในบ้านจะ พบหิ้งผีปู่ย่าภายในเรือน ห้องครัว หรือ คัวไฟนั้น ใช้เป็นพื้นที่ประกอบอาหาร และเก็บของใช้ต่าง ๆ ในอดีตมีเตาไฟเป็นก้อนหินสามเส้าวางบนกระบะสี่เหลี่ยม และได้มาเปลี่ยนเป็นเตาอั้งโล่ เหนือเตาไฟมีชั้นวางของทำ�จากไม้ไผ่สานโปร่งๆให้ วางเครื่องใช้ประเภทเครื่องจักสาน เก็บเครื่องปรุง เก็บพริก หอม กระเทียม จะ ช่วยป้องกันมด มอด แมลงต่างๆได้ ฝาผนังครัวไฟจะทำ�แบบตาห่าง ๆ หรือทำ�เป็น แบบไม้ระแนงเพื่อเป็นที่ระบายอากาศจากครัวเรือน ส่วนชานบ้าน มักจะอยู่หลัง 8


บ้าน เป็นที่ล้างถ้วยล้างจาน ล้างผักปลา ตากพริก ตากปลา ที่เก็บถ้วยชามหม้อ ต่างๆ และจะมีฮี้ในการปลูกผักต่าง ๆ เช่น ต้นหอม ผักชี ยี่หร่า ผักชีฝรั่งอยู่ โดย เป็นที่โล่งแจ้งไม่มีอะไรกัน และแป้นไม้พื้นจะมีตาที่ห่างๆเพื่อระบายน้ำ�ได้ง่าย ส่วน ใต้ถุนเรือนนั้น จะเป็นที่พักผ่อนยามกลางวัน และเป็นที่เก็บข้าวของต่าง ๆ ยังเป็น ที่ทำ�กิจกรรมต่าง ๆ เช่น ทอผ้า ปั่นฝ้าย ย้อมผ้า ซอยยา เลี้ยงลูกหลาน เป็นต้น

9


บ้านนายรัตน์ ร่องสาย บ้ า นนายรั ต น์ ร่ อ งสาย มี ลั ก ษณะเด่ น ตรงบั น ไดทางขึ้ น บ้ า นมี ก าร สร้ า งหลั ง คาคลุ ม บั น ได มี เ ติ๋ น เชื่ อ มส่ ว นต่ า งๆของบ้ า น จึ ง ท� ำ ให้ เ ป็ น ที่ มี เติ๋ น ขนาดใหญ่ หลั ง คาทรงจั่ ว มุ ง ด้ ว วกระเบื้ อ งว้ า ว ภายหลั ง เปลี่ ย นเป็ น สั ง กสี ด้ า นหลั ง เรื อ นมี ช านแดดเชื่ อ มต่ อ กั บ คั ว ไฟ และสร้ า ยุ ้ ง ข้ า วอยู ่ ภายในเรื อ น บริ เ วรใต้ ถุ น เรื อ นเป็ น ที่ เ ลี้ ย งสั ต ว์ เ ก็ บ อุ ป กรณ์ ก ารเกษตร

10


บ้านนายสมบุญ ถุงแก้ว บ้านนายสมบุญ ถุงแก้ว มีลกั ษณะของหลังคาเป็นหลังคาหน้าจัว่ มีรางริน เชือ่ ม ต่อตัวเรือนสองหลังใหญ่เข้าด้วยกัน ด้านหน้าของรางริน เชือ่ มกับชานหน้าบันได บันได ใช้สว่ นชายคาปกคลุมบันได หน้าต่างเป็นแบบบานลูกฟักสองท่อน มีเติน๊ เชือ่ มส่วนต่างๆ ของบ้าน มีหอ้ งนอนสองห้อง มีหอ้ งน�ำ้ ภายในตัวเรือน มียงุ้ ข้าวภายในตัวเรือนจึงท�ำให้ เรือนมีขนาดทีใ่ หญ่ ใต้ถนุ เรือนเป็นทีผ่ กั ผ่อนท�ำกิจกรรมต่างๆ เเละเก็บข้าวของต่าง

11


บ้านนางมา ค�ำชื่น บ้านนางมา ค�ำชืน่ เป็นบ้านชัน้ เดียวใต้ถนุ สูง หลังคาทรงจัว่ มุงด้วยกระเบืง้ ว่าว และปัจจุบนั เปลีน่ เป็นสังกะสีแทน บันไดมีการสร้างหลังคาลาดคุม หน้าต่างเป็น หน้าต่างกรอบลูกฟัก มีผาไหลอยูส่ ว่ นหน้าของเรือน มีองค์ประกอบของ ชานบันได เติน๊ เชือ่ มกับครัวไปและห้องโถง มีจำ� นวนห้องนอนสองห้อง ใต้ถนุ เรือนเป็นทีพ่ กั ผ่อน ท�ำกิจกรรมต่างๆ หน้าบันไดบ้านจะมีโอ่งไว้ลา้ งเท้า และมีสวนผักเล็กๆอยูห้ น้าบันได

12


บ้านนางต่าย ปัญญาเวช บ้านของนางต่าย เป็นเรือนไม้ชั้นเดียว ใต้ถุนสูง มีบันไดทางขึ้นโดยสร้าง หลังคาลาดคลุมบันได มีองค์ประกอบของเติ๋น ชานแดด ห้องนอน คัวไฟ ฮ้านน�้ำ หมม้อ หลังคามุ้งกระเบื้องว่าว ปัจจุบันเปลี่เป็นสังกะสี หน้าต่างเรือนเป็นแบบ ลูกฟักสองท่อน และหน้าต่างฝาไหล ใต้ถุนเรือนเป็นที่เก็บอุปกรณ์การเกษตร

13


บันไดบ้าน จะสร้างหลังคา คลุมบันได และหน้าบันไดยังมีอ่าง ล้างเท้า หน้าบันไดบ้านยังปลูก ดอกไม้ ผักสวนครัวต่างๆ

เติ๊น เป็นที่โล่งๆไว้เป็นที่พัก ที่ก�ำกิจกรรมยามกลางคืนและยัง เป็นที่พักผ่อน

ห้องนอน จะเป็นห้องเล็กอยู่ ทางทิศตะวันออก จะมีหน้าต่างมาก และจะที่ระแนงช่องล่มมาก เพื่อให้ อากาศถ่ายเทได้สะดวก 14


ห้องครัว จะสร้างห้องเเยก ออกจากตัวเรือน และไม้แป้นพื้นจะ มีความห่าง

เติ๊นเชื่อมทางต่างของบริเวร ภายในบ้าน จะเชือมกับ เติ๊นหน้า บ้าน ห้องนอน ห้องครัว

ยุ้งข้าวที่สร้างติดกับเรือนเพื่อ ความสะดวกในการเก็บรักษาและ ดูแลได้ง่าย

15


16


บริเวณพืน้ ทีร่ อบ ๆ บ้านนัน้ โดยในพืน้ ทีร่ อบบ้านนัน้ นิยมอยูร่ ว่ มกันเป็นเครือ ญาติโดยจะมีเฮือนเก้า หรือ เรือนของพ่อแม่ และจะมีเรือนของลูก ๆ อยูใ่ นรัว้ เดียวกัน โดยการสร้างรัว้ นีจ้ ะนิยมสร้างรัว้ ด้วยไม้ไผ่สานเป็นตามีทงั้ รัว้ ตาแสง และรัว้ สะลาบ และยังมีรวั้ ไม้ปกี คือรัว้ ทีน่ ำ� เศษไม้จากการสร้างเรือนมาท�ำเป็นรัว้ บริเวณรัว้ มักจะ นิยมปลูกดอกไม้ จ�ำพวก ดอกบานไม่รโู้ รย ดอกบานชืน่ ดอกดาวเรือง เพือ่ เก็บไปบูชา พระทีว่ ดั ได้ บางครัง้ ก็จะปลูกผักบริเวณรอบรัว้ และพืน้ ทีบ่ ริเวณหน้าเรือนมี บ่อน�ำ้ ยุง้ ข้าว ตัง้ อยูบ่ ริเวณบ้านมักจะมีขว่ ง เป็นพืน้ ทีโ่ ล่งกว้างบริเวณหน้าเรือน ด้านข้างของรัว้ บางหลัง ก็จะมีหอผีปยู่ า่ (หอบรรพบุรษุ ) แยกออกมา ตัง้ อยูด่ า้ นข้างของตัวเรือน รอบ ๆ รัว้ มักปลูกผลไม้ยนื ตัน อาทิ มะม่วง ล�ำไย ลิน้ จี่ เพือ่ เป็นร่มเงาและเก็บผลผลิต ใกล้ กับบันไดทางขึน้ ของเรือนมีอา่ งน�ำ้ ขนาดเล็กไว้สำ� หรับล้างเท้าก่อนขึน้ เรือน บริเวณหน้า บันได จะมักมีสวนหย่อมเล็ก มักปลูกต้นโกศล ดอกมะลิ ดอกกระดังงา ต้นหอม ผักชี ผักชีฝรัง่ สาระแหน่ เป็นต้น ส่วนหลังเรือนเป็นทีป่ ลูกพืชผักสวนครัวและพันธุไ์ ม้ทใี่ ช้ใน ชีวติ ประจ�ำวัน จ�ำพวก พริก มะเขือ ต้นกล้วย ต้นอ้อย มะพร้าว และห้องน�ำ้ มักจะสร้าง อยูด่ า้ นหลังเรือน ส่วนของใต้ถนุ เรือนจะเป็นทีท่ ำ� กิจกรรมต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นที่ ทอผ้า ปัน่ ฝ้าย ย้อมผ้า ซอยยา เสียบยา ตากยา หรือเป็นทีเ่ ก็บอุปกรณ์ทางการเกษตรต่าง ๆ

17


บริเวรบ้านจะมีข่วงบ้าน และ จะท�ำเป็นที่โล่งๆ เป็นที่ท�ำกิจกรรม ต่าง

ข่วงบ้านจะเป็นที่โลงและไม่ ค่อยมีหญ้าเพื่อป้องกัน งู ตะขาบ สัตว์มีพิษต่างๆเข้าบ้าน และยังเป็นที่ ตากพริก ตากข้าว ท�ำกิจกรรมต่างๆ

รั้วบ้านสร้างด้วยเศษไม้ที่ เหลือจากการสร้างบ้านน�ำมาสร้าง เป็นรั้วบ้าน

18


19


บ้านไม้เมืองสอง ธีระพงษ์ พวงดอกไม้ ภาพและเนื้อเรื่อง © 2017 (พ.ศ. 2560) โดย ธีระพงษ์ พวงดอกไม้ สงวนลิขสิทธิ์ พิมพ์ครั้งแรก ตุลาคม พ.ศ. 2560 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย ธีระพงษ์ พวงดอกไม้ ใช้แบบอักษร TH Sarabun New ขนาด 16pt หนังสือเล่มนี้ เป็นผลงานทางวิชาการ จัดท�ำขึ้นเพื่อส่งเสริมและต่อยอดศักยภาพ การศึกษาภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.