นาฏศิลป์ไทยพื้นฐาน

Page 1

1

ชุ ดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชุ ด นาฏศิลป์ ไทยพืน้ ฐาน เรื่อง ความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับนาฏศิลป์ ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1

โดย นางปวริศา คาแหง โรงเรียนมกุฎเมืองราชวิทยาลัย สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน


2

คานา ชุดการสอน ชุด นาฏศิลป์ ไทยพื้นฐาน เรื่ อง ความรู ้พ้นื ฐานเกี่ยวกับนาฏศิลป์ ไทย เล่มนี้จดั ทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ศิลปะ ระดับชั้น มัธยมศึกษา ปี ที่ 1 ซึ่งเป็ นชุดการสอนที่นกั เรี ยนสามารถศึกษาหาความรู ้ได้ดว้ ยตนเองอย่างอิสระ และเหมาะสมกับวัยของนักเรี ยนที่ชอบศึกษาหาความรู ้ดว้ ยตนเอง ชุดการสอนชุดนี้ มีจานวน 3 เล่ม คือ 1. ความรู ้พ้นื ฐานเกี่ยวกับนาฏศิลป์ 2. นาฏศัพท์ 3. ภาษาท่า ภาษาท่าทางและการตีบทในการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ในชุดการสอนแต่ละเล่มจะประกอบด้วย คาชี้แจง คาแนะนาการใช้ชุดการสอน จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ ข้อทดสอบก่อนเรี ยน - หลังเรี ยน ใบความรู ้ ใบงาน เฉลยใบ งานและเฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน-หลังเรี ยน หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าจะเป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนรู ้ต่อไป

นางปวริ ศา คาแหง ครู โรงเรี ยนมกุฎเมืองราชวิทยาลัย


3

สารบัญ เรื่อง คานา ก สารบัญ ข คาชี้แจง คาแนะนาการใช้ชุดการสอน จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ แบบทดสอบก่อนเรี ยน ใบความรู ้ที่ 1 เรื่ อง ความหมาย ที่มาและองค์ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย ใบงานที่ 1 เรื่ อง ความหมาย ที่มาและองค์ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย ใบความรู ้ที่ 2 เรื่ อง ประเภทของนาฏศิลป์ ไทย ใบงานที่ 2 เรื่ อง ประเภทของนาฏศิลป์ ไทย แบบทดสอบหลังเรี ยน เฉลยใบงานที่ 1 เรื่ อง ความหมาย ที่มาและองค์ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย เฉลยใบงานที่ 2 เรื่ อง ประเภทของนาฏศิลป์ ไทย เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน - หลังเรี ยน บรรณานุกรม

หน้ า

1 2 3 4 6 13 14 19 21 23 24 26 27


4

คาชี้แจง 1. เอกสารฉบับนี้ เป็ นเอกสารชุดการสอน รายวิชาศิลปะ สาระนาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ 21101 เรื่ อง นาฏศิลป์ ไทยพื้นฐาน ใช้สอนนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 2. เอกสารชุดนี้ประกอบด้วย 2.1 แบบทดสอบก่อนเรี ยน - หลังเรี ยน 2.2 ใบความรู้ 2.3 ใบงาน 2.4 เฉลยใบงาน 2.5 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน-หลังเรี ยน 3. การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใช้กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด 3 ขั้นตอน ได้แก่ 3.1 ขั้นนาเข้าสู่ บทเรี ยน 3.1.1 ทบทวนความรู ้เดิม เป็ นการกล่าวหรื ออ้างถึงสิ่ งที่เคยเรี ยนมาแล้ว หรื อเกี่ยวข้องกับบทเรี ยนใหม่ที่กาลังจะเรี ยน 3.1.2 แจ้งจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ให้นกั เรี ยนทราบถึงสิ่ งที่เป็ นเป้ าหมายใน การเรี ยน 3.2 ขั้นสอน อธิ บายและร่ วมสนทนาสิ่ งที่เรี ยนรู ้ ฝึ กและตรวจสอบความเข้าใจ 3.3 ขั้นสรุ ป นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอดในเรื่ องที่เรี ยนอีกครั้ง 4. ชุดการสอนชุดนี้ได้แบ่งกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใช้เวลาเรี ยนรู ้จานวน 6 ชัว่ โมง รวมกับปฐมนิเทศก่อนเรี ยน 0.30 ชัว่ โมง และสรุ ปหลังเรี ยนจบชุดการสอน 0.30 ชัว่ โมง รวมทั้งสิ้ น 6 ชัว่ โมง


5

คาแนะนาการใช้ ชุดการสอน

1. 2. 3. 1. 2.

3. 4.

คาแนะนาสาหรับครู ศึกษารายละเอียดของแผนการจัดการเรี ยนรู้ จัดเตรี ยมเอกสารวัสดุอุปกรณ์ให้ครบถ้วนตามจานวนนักเรี ยนหรื อจานวนกลุ่มของนักเรี ยน ดาเนินกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามขั้นตอนทักษะการคิดลงสู่ การปฏิบตั ิ คาแนะนาสาหรับนักเรียน ศึกษาจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ เพื่อให้ทราบว่า เมื่อจบชุดการสอนแล้ว นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้อะไร ได้บา้ ง ปฏิบตั ิกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1 ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน 2.2 ศึกษาใบความรู้เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง 2.3 ทาใบงานเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ 2.4 สรุ ปแนวคิดที่ได้จากการทาใบงาน สรุ ปบทเรี ยนทุกครั้ง ถ้าต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถค้นคว้าได้จากบรรณานุกรมท้ายเล่ม


6

จุดประสงค์ การเรียนรู้

เมื่อจบบทเรียนแล้ว นักเรียนสามารถ 1) อธิบายความหมายและที่มาของนาฏศิลป์ ไทยได้ 2) วิเคราะห์องค์ประกอบของนาฏศิลป์ ไทยได้ 3) อธิบายความหมายลักษณะและรู ปแบบของการแสดงนาฏศิลป์ ไทยได้ 4) วิเคราะห์รูปแบบของการแสดงนาฏศิลป์ ไทยประเภทต่าง ๆ ได้


7

แบบทดสอบก่ อนเรียน เรื่อง ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับนาฏศิลป์ คาสั่ง ให้นกั เรี ยนทาเครื่ องหมาย  ลงในช่อง  ของกระดาษคาตอบที่กาหนดให้โดยเลือกข้อที่ ถูกต้องเพียงข้อเดียว (ข้อสอบมีจานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ****************************************************************************** 1. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของคาว่า “นาฏศิลป์ ” ก. การฟ้ อนที่มนุษย์ประดิษฐ์ข้ ึนจากธรรมชาติ ข. ศิลปะแห่งการร่ ายรา ค. ศิลปะแห่งการละครหรื อการฟ้ อนรา ง. ศิลปะแห่งสี สันและลวดลาย 2. นาฏศิลป์ ไทยมีที่มาจากสิ่ งใด ก. จากการละเล่นของชาวบ้าน ข. จากการเลียนแบบธรรมชาติ ค. จากการรับอารยธรรมของอินเดีย ง. ถูกทั้ง ก ข และ ค 3. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของนาฏศิลป์ ไทย ก. มีอุปกรณ์ประกอบการแสดง ข. ท่ารามีความประณี ต อ่อนช้อย งดงาม ค. การแต่งกายแปลกใหม่ ทันสมัย ง. ใช้วงปี่ พาทย์บรรเลงดนตรี ประกอบการแสดง 4. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย ก. เนื้อร้อง ข. การสื่ อความหมาย ค. ลีลาท่ารา ง. การแต่งกาย 5. เพราะเหตุใดในการสร้างสรรค์การแสดงจึงใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์ ก. ทาให้การแสดงมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ข. ทาให้การแสดงเป็ นที่นิยมและมีชื่อเสี ยง ค. ทาให้การแสดงมีผสู ้ นใจร่ วมชมจานวนมาก ง. ทาให้การแสดงมีความสมบูรณ์ สวยงาม มีเอกลักษณ์


8

6. ข้อใดไม่ใช่รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ก. โขน ข. ระบา รา ฟ้ อน ค. ละคร ง. การเต้นรา 7. “ ระบา ” เป็ นการแสดงในข้อใด ก. มุ่งเน้นความงามในการร่ ายราเป็ นหลัก ข. มีการประดิษฐ์ท่าราอย่างใดก็ได้ ค. เน้นความพร้อมเพรี ยงในการแสดง ง. มีท่าราเฉพาะจะแก้ไขดัดแปลงไม่ได้ 8. การแสดงนาฏศิลป์ ไทยที่มีการสวมหน้า มีการพากย์เจรจาคือการแสดงชนิดใด ก. โขน ข. ละคร ค. ระบา ง. รา 9. ข้อใดต่อไปนี้ไม่เข้าพวก ก. ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนแพน ฟ้ อนที่ ข. ฟ้ อนมาลัย ฟ้ อนดาบ ฟ้ อนเจิ่ง ค. ฟ้ อนภูไท ฟ้ อนเก็บฝ้ าย ฟ้ อนตังหวาย ง. ฟ้ อนสาวไหม ฟ้ อนเทียน ฟ้ อนบายศรี 10. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของรา ก. ราเดี่ยว ข. รามาตรฐาน ค. ราอาวุธ ง. ราคู่


9

ใบความรู้ ที่ 1 เรื่อง ความหมาย ทีม่ าและองค์ ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย 1. ความหมาย ทีม่ าและองค์ ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ ไทย จัดเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติอย่างหนึ่งที่เราควรเรี ยนรู ้เกี่ยวกับ ประวัติความเป็ นมา ดังนี้ 1.1 ความหมาย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 ได้ให้ความหมายของคาว่า “ นาฏศิลป์ ” ไว้วา่ “ เป็ นศิลปะแห่งการละครหรื อการฟ้ อนรา ” นอกจากนี้ ยังมีนกั การศึกษา และท่านผูร้ ู ้ได้ให้นิยามความหมายของนาฏศิลป์ แตกต่างกันออกไป ดังนี้ 1. ความช่าชองในการละครและฟ้ อนรา 2. ศิลปะการละครหรื อการฟ้ อนราของไทย 3. การร้องราทาเพลง เพื่อให้เกิดความบันเทิงเริ งใจ 4. การฟ้ อนราที่มนุษย์ประดิษฐ์ข้ ึน โดยการเลียนแบบท่าธรรมชาติดว้ ย ความประณี ตลึกซึ้ง 5. ศิลปะการฟ้ อนราหรื อความรู ้แบบแผนของการฟ้ อนรา ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่ มนุษย์ประดิษฐ์ข้ ึนด้วยความงามอย่างมีแบบแผน

จากความหมาย และนิยามดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุ ปได้วา่ นาฏศิลป์ มีความเกี่ยวข้องกับ ศิลปะด้านการละคร การฟ้ อนรา การเคลื่อนไหวอิริยาบถต่าง ๆ ทั้งมือ แขน ขา ลาตัว และ ใบหน้าเพื่อถ่ายทอดความหมาย และอารมณ์ให้ผชู ้ มเกิดความรู ้สึกสะเทือนอารมณ์และมีความ สนุกสนานเพลิดเพลิน


10

2 ทีม่ า สันนิษฐานว่านาฏศิลป์ ไทยมีกาเนิดมาพร้อม ๆ กับชนชาติไทย ที่เป็ นเช่นนี้เพราะนาฏศิลป์ ไทยเป็ นส่ วนหนึ่งที่บ่งบอกถึงวิถีชีวติ ความเป็ นอยู่ การแต่งกาย คติ และความเชื่อของคนไทยใน อดีตจนถึงปั จจุบนั ทั้งนี้อาจสรุ ปได้วา่ นาฏศิลป์ ไทยน่าจะมีที่มาจาก 4 แหล่ง ดังนี้ 1. 2. 3. 4.

จากการเลียนแบบธรรมชาติ จากการละเล่นของชาวบ้าน จากการแสดงที่เป็ นแบบแผน จากการรับอารยธรรมของอินเดีย

1. จากการละเล่นของชาวบ้านในท้องถิ่น หลังจากเสร็ จสิ้ นจากภารกิจ ในแต่ละวันชาวบ้านก็หาเวลาว่างมาร่ วมกัน ร้องรา ทาเพลง โดยมีการนาเอาดนตรี มาประกอบด้วย และตามนิสัยของคนไทยที่เป็ นคนเจ้าบทเจ้ากลอนชอบร้อง เพลงโต้ตอบระหว่างชายกับหญิงจนเกิดเป็ นพ่อเพลง แม่เพลงขึ้นโดยจะมีลูกคู่ คอยร้องรับกันเป็ นที่ สนุกสนานครื้ นเครงทั้งนี้อาจจะเป็ นกุศโลบายอย่างหนึ่ง เพื่อให้ลืมความเหน็ดเหนื่อยจากการ ทางานในแต่ละวัน

การร้องราทาเพลงหรื อการร้องเพลงโต้ตอบกันระหว่างหญิง-ชายทาให้เกิด นาฏศิลป์ พื้นบ้านขึ้น เช่น เพลงเรื อ เป็ นต้น

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)


11

2. จากการแสดงที่เป็ นแบบแผน เป็ นที่ทราบกันดีวา่ นาฏศิลป์ ไทยที่เป็ นมาตรฐานจะได้รับ การปลูกฝัง และถ่ายทอดมาจากปรมาจารย์ทางนาฏศิลป์ ไทยในวังหลวง ที่ฝึกให้แก่ผหู ้ ญิงและ ผูช้ ายที่อยูใ่ นวังเป็ นนักแสดงโขน และละคร เพื่อใช้การแสดงในโอกาสต่าง ๆ และจากการที่ นาฏศิลป์ ไทยบางส่ วนได้รับการถ่ายทอดมาจากวังหลวงนี้เอง ทาให้ทราบว่านาฏศิลป์ ไทยมีที่มา ตั้งแต่สมัยสุ โขทัยเป็ นราชธานี เพราะได้มีการจารึ กไว้ในหลักศิลาจารึ กหลัก ที่ 8 ว่า “ ระบา รา เต้น เล่น ทุกฉัน” ซึ่ งศิลปะการฟ้ อนราก็ได้รับการสื บทอดต่อเนื่องกันเรื่ อยมา จนถึงสมัยรัตนโกสิ นทร์ จึงได้มีการนาศิลปะการฟ้ อนราที่เป็ นแบบแผนมาสู่ ระบบการศึกษา ซึ่ งบรรจุอยูใ่ นหลักสู ตรของ โรงเรี ยนนาฏศิลป์ หรื อวิทยาลัยนาฏศิลป์ ในปัจจุบนั 3. จากการรับอารยธรรมของอินเดีย ประเทศอินเดียเป็ นประเทศหนึ่งที่มีอารยธรรมเก่าแก่และ เจริ ญรุ่ งเรื องมาตั้งแต่โบราณกาล โดยเฉพาะการละครในอินเดียรุ่ งเรื องมาก ประกอบกับชนชาติ อินเดียนับถือ และเชื่อมัน่ ในศาสนา พระผูเ้ ป็ นเจ้า ตลอดจนสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ต่าง ๆ พระผูเ้ ป็ นเจ้าที่ชาว อินเดีย ได้แก่ พระศิวะ(พระอิศวร) พระวิษณุ และพระพรหม ในบางยุคของชาวอินเดียถือว่าพระ อิศวรเป็ นเทพเจ้าที่มีผเู ้ คารพนับถือมาก ยุคนี้ถือว่าพระอิศวรทรงเป็ นนาฏราช (ราชาแห่งการร่ ายรา) มีประวัติท้ งั ในสวรรค์และในเมืองมนุษย์ในการร่ ายราของพระอิศวรแต่ละครั้งพระองค์ทรงให้พระ ภรตฤาษีเป็ นผูบ้ นั ทึกท่ารา แล้วนามาสั่งสอนแก่เหล่ามนุษย์จนเป็ นที่มาของตานานการฟ้ อนรา ซึ่งการเรี ยนนาฏศิลป์ ไทยผูเ้ รี ยนทุกคนจะต้องเข้าพิธีไหว้ครู โขน-ละครก่อน ได้แก่ พระอิศวร พระนารายณ์ พระพรหม พระพิฆเนศวร พระพิราพ และพระภรตฤาษี


12

4. จากการเลียนแบบธรรมชาติ กิริยาท่าทางตามธรรมชาติของมนุษย์จะบ่งบอกความหมาย และสื่ อความหมายกับผูอ้ ื่นได้ควบคู่ไปกับการพูด ในการฟ้ อนราจะช่วยให้ท่าราสื่ อความหมายกับ ผูช้ มเช่นเดียวกัน จะเห็นได้วา่ การแสดงบางชุดจะไม่มีเนื้อร้อง แต่มีทานองเพลงเพียงอย่างเดียว นักแสดงก็จะฟ้ อนราไปตามทานองเพลงนั้น ๆ ด้วยลีล่าท่าราต่าง ๆ ลีลาท่าราเหล่านี้ก็เป็ นท่าทาง ธรรมชาติที่ใช้สื่อความหมาย ด้วยเหตุผลที่วา่ ต้องการให้ผชู ้ มเข้าใจความหมายในการรา และใช้ท่า ราในการดาเนินเรื่ องด้วย ถึงแม้วา่ ท่าราส่ วนใหญ่จะมีลีลาที่วจิ ิตรสวยงาม กว่าท่าทางธรรมชาติไปบ้างแต่ก็ยงั คงใช้ ท่าทางธรรมชาติเป็ นพื้นฐานในการประดิษฐ์ท่ารา และเลือกใช้ได้เหมาะสมบ่งบอกความหมายได้ ถูกต้อง เช่น หากต้องการบ่งบอกถึงบุคคลอื่นก็จะชี้ไป เป็ นต้น ดังนั้นอาจกล่าวได้วา่ ท่าราเกิด จากการเลียนแบบท่าทางธรรมชาติ

ระบานกสามหมู่เกิดจากการเลียนแบบธรรมชาติ

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)


13

1.3 องค์ ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย ดังที่กล่าวมาแล้วว่า นาฏศิลป์ ได้หมายรวมไปถึงการร้องราทาเพลง ดังนั้นองค์ประกอบ ของนาฏศิลป์ ก็จะประกอบไปด้วยการขับร้อง การบรรเลงดนตรี และการฟ้ อนรา ทั้งนี้เพราะ การแสดงออกของนาฏศิลป์ ไทยจะต้องอาศัยบทร้อง ทาเพลงประกอบการแสดง เพราะฉะนั้น ก่อนที่จะมาเป็ นนาฏศิลป์ ไทยได้จะต้องประกอบไปด้วยองค์ประกอบสาคัญ ๆ ดังต่อไปนี้ 1.1 การฟ้อนรา เป็ นท่าทางของการเยื้องกรายฟ้ อนที่สวยงาม โดยมีมนุษย์เป็ นผูป้ ระดิษฐ์ท่าราเหล่านั้น ให้ถูกต้องตามแบบแผน รวมทั้งบทบาท และลักษะของตัวละคร ประเภทของการแสดง และการสื่ อความหมายที่ชดั เจน 1.2 จังหวะ เป็ นส่ วนย่อยของบทเพลงที่ดาเนินไปเป็ นระยะและสม่าเสมอ การฝึ กหัดนาฏศิลป์ ไทย จาเป็ นต้องใช้จงั หวะเป็ นพื้นฐานในการฝึ กหัดเพราะจังหวะเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ และมีอยูใ่ นตัวมนุษย์ทุกคน หากผูเ้ รี ยนมีทกั ษะทางการฟังจังหวะแล้วก็สามารถราได้สวยงาม แต่ถา้ ผูเ้ รี ยนไม่เข้าใจจังหวะก็จะทาให้ราไม่ถูกจังหวะหรื อเรี ยกว่า “ บอดจังหวะ” การราก็จะ ไม่สวยงามและไม่ถูกต้อง

การแสดงนาฏศิลป์ ไทยประเภทการฟ้ อนราจะสวยงามได้หากนักแสดงทักษะ ทางการฟังจังหวะที่ดี

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)


14

1.3 เนือ้ ร้ องและทานองเพลง การแสดงลีลาท่าราแต่ละครั้งจะต้องสอดคล้องตามเนื้อร้อง และทานองเพลง ทั้งนี้เพื่อบอก ความหมายของท่ารา ถ่ายทอดอารมณ์ความรู ้สึกในการแสดงได้ตามเนื้อเรื่ อง ตลอดจนสามารถ สื่ อความหมายให้ผชู ้ มเข้าใจตรงกันได้ เช่น การแสดงอารมณ์รัก ผูร้ าจะประสานมือทาบไว้ที่ หน้าอก ใบหน้ายิม้ ละไม สายตามองไปยังตัวละครที่ราคู่กนั เป็ นต้น 1.4 การแต่ งกาย ในการแสดงนาฏศิลป์ สามารถบ่งบอกถึงยศ และบรรดาศักดิ์ของนักแสดงละครตัวนั้น ๆ โดยเฉพาะการแสดงโขน การแต่งกายจะเปรี ยบเสมือนแทนสี กายของตัวละคร เช่น เมื่อแสดงเป็ น หนุมาน นักแสดงจะต้องแต่งกายด้วยชุดสี ขาวมีลายปั กเป็ นลายทักษิณาวัตร สวมหัวโขนลิงสี ขาว ปากอ้า เป็ นต้น

การแต่งกาย เป็ นองค์ประกอบส่วนหนึ่งที่ทาให้นกั แสดงดูสวยงาม และบอกลักษณะเฉพาะของตัวละครได้

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)


15

1.5 การแต่ งหน้ า เป็ นองค์ประกอบหนึ่งที่ทาให้นกั แสดงสวยงาม และอาพรางข้อบกพร่ องบนใบหน้าของ นักแสดงได้ นอกจากนี้ก็ยงั สามารถใช้วธิ ี การแต่งหน้า เพื่อบอกวัยบอกลักษณะเฉพาะของตัวละคร ได้ เช่น แต่งหน้านักแสดงหนุ่มให้เป็ นคนแก่ แต่งหน้าให้นกั แสดงเป็ นตัวตลก เป็ นต้น 1.6 เครื่องดนตรีทบี่ รรเลงประกอบการแสดง การแสดงนาฏศิลป์ จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องใช้เครื่ องดนตรี บรรเลงประกอบการแสดงดังนั้น นักแสดงจะต้องราให้สอดคล้องตามเนื้อร้อง และทานองเพลง ในขณะเดียวกันดนตรี ก็เป็ น องค์ประกอบหลักที่สาคัญในการช่วยเสริ มให้การแสดงสมบูรณ์ และสามารถสื่ อความหมายได้ ชัดเจนมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยเสริ มสร้างบรรยากาศในการแสดงให้สมจริ งยิง่ ขึ้นด้วย 1.7 อุปกรณ์ การแสดงละคร การแสดงนาฏศิลป์ ไทยบางชุด อาจต้องมีอุปกรณ์ประกอบการแสดงละครด้วย เช่น ระบา พัด ระบานกเขา ฟ้ อนเทียน ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนร่ ม เป็ นต้น อุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้ประกอบการแสดง จะต้องมีความสมบูรณ์ สวยงาม และสวมใส่ ได้พอดี หากเป็ นอุปกรณ์ที่ตอ้ งนามาใช้ประกอบการ แสดง เช่น กลอง ร่ ม เป็ นต้น นักแสดงจะต้องมีทกั ษะในการใช้อุปกรณ์ได้อย่างคล่องแคล่ว สามารถจัดวางตาแหน่งให้อยูใ่ นระดับที่ถูกต้องสวยงาม


16

ใบงานที่ 1 เรื่อง ความหมาย ทีม่ าและองค์ ประกอบของนาฏศิลป์

สมาชิกในกลุ่ม 1…………………………………….. 2……………………………………… 3…………………………………….. 4……………………………………… คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนศึกษาจากใบความรู้ที่ 1.1 เรื่ อง ความหมาย ที่มาและองค์ประกอบของ นาฏศิลป์ อภิปรายภายในกลุ่ม สรุ ปสาระสาคัญลงในแผนผังความคิดรวบยอดให้สมบูรณ์ที่สุด และคัดเลือกตัวแทนกลุ่ม 1 คน นาเสนอหน้าชั้นเรี ยน ( กาหนดเวลาในการนาเสนอ 3 – 5 นาที )

นาฏศิลป์ ไทย


17

ใบความรู้ ที่ 2 เรื่อง ประเภทของนาฏศิลป์ ไทย การแสดงนาฏศิลป์ ไทย สามารถแบ่งออกได้หลายประเภท ดังนี้ 1. ระบา ระบา หมายถึง ศิลปะการร่ ายราที่แสดงพร้อมกันเป็ นหมู่ ไม่ดาเนินเรื่ องราว ใช้เพลง บรรเลง อาจมีเนื้อร้องหรื อไม่มีเนื้อร้องก็ได้ เน้นการแปรแถวในลักษณะต่าง ๆ อย่างมีระเบียบ งดงามและเน้นความพร้อมเพียงเป็ นหลัก เช่น ระบาชุมนุมเผ่าไทย ระบาโบราณคดี ระบานกสาม หมู่ ระบาเชียงแสน ระบาสุ โขทัย ระบาทวารวดี ระบาลพบุรี ระบาศรี วชิ ยั เป็ นต้น

ระบาศรี วชิ ยั

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)

ระบานกสามหมู่

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)


18

2. รา รา หมายถึง การแสดงท่าทางการเคลื่อนไหวร่ างกายประกอบจังกวะเพลงร้องหรื อเพลง บรรเลงจะเป็ นศิลปะการราเดี่ยว ราคู่ ราประกอบเพลง ราอาวุธ ราทาบทหรื อราใช้บท โดยเน้น ท่วงท่าลีลาการร่ ายราที่งดงาม เช่น ราสี นวล ราฉุ ยฉาย เป็ นต้น

ราฉุยฉาย

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)

ระบาอาวุธ

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)


19

3. ฟ้อน ฟ้ อน หมายถึง ระบาที่มีนกั แสดงพร้อมกันเป็ นหมู่ เป็ นศิลปะการร่ ายราที่มีลีลาเฉพาะ ในท้องถิ่นล้านนา ที่เป็ นการเคลื่อนไหวแขน ขา ยืดยุบเข่าตามจังหวะ เพื่อความอ่อนช้อยสวยงาม เช่น ฟ้ อนเมือง ฟ้ อนเงี้ยว ฟ้ อนม่านมุย้ เชียงตา ฟ้ อนสาวไหม ฟ้ อนลาวดวงเดือน เป็ นต้น

ฟ้ อนสาวไหม

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)

ฟ้ อนลาวดวงเดือน

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)


20

4. เซิ้ง เซิ้ง หมายถึง การร้องราทาเพลงแบบพื้นเมืองอีสาน ลีลาและจังหวะการร่ ายราจะ รวดเร็ วกระฉับกระเฉง การแต่งกาย จะแต่งกายตามแบบพื้นเมืองของชาวอีสาน ส่ วนใหญ่การเซิ้ง จะใช้สาหรับนากระบวนแห่ต่าง ๆ แต่ต่อมาภายหลังได้มีการปรับปรุ งการเซิ้งแบบใหม่เพิ่มเติม ขึ้นมาอีก เช่น เซิ้งสวิง เซิ้งกระติบข้าว เซิ้งโปงลาง เซิ้งตังหวาย เซิ้งกระโป๋ เป็ นต้น

เซิ้งกระโป๋

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)

เซิ้งสวิง

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)


21

5. ละคร ละคร หมายถึง มหรสพอย่างหนึ่งที่แสดงเป็ นเรื่ องราว โดยนาภาพจากประสบการณ์ และจิตนาการของมนุษย์มาผูกเป็ นเรื่ อง มีจุดมุ่งหมายเพื่อแสดงอารมณ์ความรู ้สึกก่อให้เกิดความ บันเทิง และความสนุกสนาน เพลิดเพลินโดยมีนกั แสดงเป็ นผูส้ ื่ อความหมาย และเรื่ องราวต่อผูช้ ม

การแสดงละครพันทาง เรื่ อง ราชาธิราช

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556) 6. โขน โขน หมายถึง ศิลปะการแสดงนาฏศิลป์ ของไทยรู ปแบบหนึ่ง อากัปกิริยาของตัวละคร จะมีท้ งั การรา และการเต้นที่ออกท่าทางเข้ากับดนตรี นักแสดงจะถูกสมมติให้เป็ นตัวยักษ์ ตัวลิง มนุษย์ เทวดา โดยการสวมหน้ากากหรื อเรี ยกว่า “หัวโขน” ส่ วนนักแสดงเป็ นมนุษย์ และเทวดาจะ ไม่สวมหัวโขน การแต่งกายแต่งยืนเครื่ องครบถ้วนตามลักษณะของยักษ์ ลิง มนุษย์ นักแสดงไม่ ต้องร้องหรื อเจรจาเอง เพราะจะมีผพู้ ากย์เจรจาขับร้องแทน

การแสดงโขน ฉากจะสร้างประกอบให้ดูสมจริ ง โดยจะเปลี่ยนแปลงไปตามท้องเรื่ อที่กาลังดาเนินอยู่

(ที่มาของภาพ www.oknation.net/สื บค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2556)


22

ใบงานที่ 2 เรื่อง ประเภทของนาฏศิลป์ ไทย

ชื่อ...............................................................................................เลขที่.....................ชั้น...................... คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะเด่นและยกตัวอย่างชื่อชุดการ แสดงของนาฏศิลป์ ไทยประเภทต่าง ๆ การแสดงนาฏศิลป์ ไทย

ความหมาย

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง

ความหมาย

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง

ความหมาย

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง

ระบา

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย

รา

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย

ฟ้ อน


23

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย

ความหมาย

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง

ความหมาย

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง

ความหมาย

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง

เซิ้ง

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย

โขน

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย

ละคร


24

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับนาฏศิลป์ คาสั่ง ให้นกั เรี ยนทาเครื่ องหมาย  ลงในช่อง  ของกระดาษคาตอบที่กาหนดให้โดยเลือกข้อที่ ถูกต้องเพียงข้อเดียว (ข้อสอบมีจานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

…………………………………………………………………………………………… 1. นาฏศิลป์ ไทยมีที่มาจากสิ่ งใด ก. จากการละเล่นของชาวบ้าน ข. จากการเลียนแบบธรรมชาติ ค. จากการรับอารยธรรมของอินเดีย ถูกทั้ง ก ข และ ค 2. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของนาฏศิลป์ ไทย ก. มีอุปกรณ์ประกอบการแสดง ข. ท่ารามีความประณี ต อ่อนช้อย งดงาม ค. การแต่งกายแปลกใหม่ ทันสมัย ง. ใช้วงปี่ พาทย์บรรเลงดนตรี ประกอบการแสดง 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย ก. เนื้อร้อง ข. การสื่ อความหมาย ค. ลีลาท่ารา ง. การแต่งกาย 4. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของคาว่า “นาฏศิลป์ ” ก. การฟ้ อนที่มนุษย์ประดิษฐ์ข้ ึนจากธรรมชาติ ข. ศิลปะแห่งการร่ ายรา ค. ศิลปะแห่งการละครหรื อการฟ้ อนรา ง. ศิลปะแห่งสี สันและลวดลาย 5. เพราะเหตุใดในการสร้างสรรค์การแสดงจึงใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์ ก. ทาให้การแสดงมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ข. ทาให้การแสดงเป็ นที่นิยมและมีชื่อเสี ยง ค. ทาให้การแสดงมีผสู ้ นใจร่ วมชมจานวนมาก ง. ทาให้การแสดงมีความสมบูรณ์ สวยงาม มีเอกลักษณ์


25

6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่เข้าพวก ก. ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนแพน ฟ้ อนที่ ข. ฟ้ อนมาลัย ฟ้ อนดาบ ฟ้ อนเจิง ค. ฟ้ อนภูไท ฟ้ อนเก็บฝ้ าย ฟ้ อนตังหวาย ง. ฟ้ อนสาวไหม ฟ้ อนเทียน ฟ้ อนบายศรี 7. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของรา ก. ราเดี่ยว ข. รามาตรฐาน ค. ราอาวุธ ง. ราคู่ 8. ข้อใดไม่ใช่รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ก. โขน ข. ระบา รา ฟ้ อน ค. ละคร ง. การเต้นรา 9. “ ระบา ” เป็ นการแสดงในข้อใด ก. มุ่งเน้นความงามในการร่ ายราเป็ นหลัก ข. มีการประดิษฐ์ท่าราอย่างใดก็ได้ ค. เน้นความพร้อมเพรี ยงในการแสดง ง. มีท่าราเฉพาะจะแก้ไขดัดแปลงไม่ได้ 10. การแสดงนาฏศิลป์ ไทยที่มีการสวมหน้า มีการพากษ์เจรจาคือการแสดงชนิดใด ก. โขน ค. ละคร ค. ระบา ง. รา


26

เฉลยใบงานที่ 1 เรื่อง ความหมาย ทีม่ าและองค์ ประกอบของนาฏศิลป์ สมาชิกในกลุ่ม 1…………………………………….. 2……………………………………… 3…………………………………….. 4……………………………………… คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนศึกษาจากใบความรู้ที่ 1.1 เรื่ อง ความหมาย ที่มาและองค์ประกอบของ นาฏศิลป์ อภิปรายภายในกลุ่ม สรุ ปสาระสาคัญลงในแผนผังความคิดรวบยอดให้สมบูรณ์ที่สุด และคัดเลือกตัวแทนกลุ่ม 1 คน นาเสนอหน้าชั้นเรี ยน ( กาหนดเวลาในการนาเสนอ 3 – 5 นาที ) ความหมายของนาฏศิลป์ ไทย ศิลปะแห่งการฟ้ อนรามีท่ารา อ่อนช้อยงดงามมีการแต่งกาย ที่ประณี ตงดงาม

นาฏศิลป์ ไทย

องค์ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย - การฟ้ อนรา - จังหวะ - เนื้อร้อง - การแต่งกาย - การแต่งหน้า - เครื่ องดนตรี - อุปกรณ์การแสดง

ทีม่ าของนาฏศิลป์ - เลียนแบบธรรมชาติ - การละเล่นของชาวบ้าน - การแสดงที่เป็ นแบบแผน - การรับอารยธรรมของอินเดีย


27

เฉลยใบงานที่ 2 เรื่อง ประเภทของนาฏศิลป์ ไทย

ชื่อ...............................................................................................เลขที่.....................ชั้น...................... คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะเด่นและยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง ของนาฏศิลป์ ไทยประเภทต่าง ๆ การแสดงนาฏศิลป์ ไทย ระบา

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย รา

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย ฟ้ อน

ความหมาย ศิลปะการร่ ายรา ที่เน้นความ พร้อมเพรี ยงและการแปรแถวดาเนิน เป็ นเรื่ องราว อาจมีเนื้อร้องหรื อไม่มี ก็ได้

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง - ระบาชุมนุมเผ่าไทย - ระบาโบราณคดี - ระบาสี่ ภาค - ระบากฤดาภินิหาร

ความหมาย ศิลปะการร่ ายราที่เน้นลีลา การร่ ายราที่งดงามใช้เพลงบรรเลงที่ มีเนื้อร้องหรื อไม่มีก็ได้

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง - ราอาวุธ - ราสี นวล - ราฉุยฉาย - ราแม่บท

ความหมาย ศิลปะการร่ ายราที่มี นักแสดงพร้อมกันเป็ นหมู่เน้นลีลา ความอ่อนช้อยจังหวะช้า

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง - ฟ้ อนสาวไหม - ฟ้ อนเทียน - ฟ้ อนลาวดวงเดือน - ฟ้ อนบายศรี


28

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย เซิ้ง

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย

โขน

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย

ละคร

ความหมาย ศิลปะการร่ ายราแบบพื้นเมือง อีสานที่เน้น ลีลาและจังหวะรวดเร็ ว กระฉับกระเฉง

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง - เซิ้งสวิง - เซิ้งกระติบข้าว - เซิ้งโปงลาง - เซิ้งตังหวาย

ความหมาย ศิลปะการแสดงที่ผสมผสาน ระหว่างการราและการเต้น ผูแ้ สดง จะถูกสมมติให้เป็ นตัวยักษ์ ลิง มนุษย์ เทวดา โดยสวมหน้ากาก เรี ยกว่าหัวโขน ผูแ้ สดงจะทาท่าทาง ตามบทพากษ์

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง - รามเกียรติ์ - อิเหนา

ความหมาย มหรสพที่แสดงเป็ นเรื่ องราว โดยนาภาพจากประสบการณ์และ จินตนาการของมนุษย์มาผูกเป็ น เรื่ องราว

ยกตัวอย่างชื่อชุดการแสดง - ละครชาตรี - ละครนอก - ละครใน - ละครพันทาง - ละครเสภา - ละครร้อง


29

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับนาฏศิลป์ ไทย

ข้ อที่ 1. 2. 3. 4. 5.

ข้ อทีถ่ ูก ง ง ค ข ง

ข้ อที่ 6. 7. 8. 9. 10.

ข้ อทีถ่ ูก ง ค ก ค ข

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับนาฏศิลป์ ไทย

ข้ อที่ 1. 2. 3. 4. 5.

ข้ อทีถ่ ูก ง ค ข ง ง

ข้ อที่ 6. 7. 8. 9. 10.

ข้ อทีถ่ ูก ค ข ง ค ก


30

บรรณานุกรม สุ ภาพร ต่อมคา. (2548).แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้ นมัธยมศึกษา ปี ที่ 1 (ภาคเรียนที่ 1-2 ) ตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2554. กรุ งเทพ ฯ:บริ ษทั สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด สุ มนมาลย์ นิ่มเนติพนั ธ์. (2553).การละครไทย. กรุ งเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช. สุ มิตร เทพวงษ์. (2541). นาฏศิลป์ ไทย. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์ . สุ มนมาลย์ นิ่มเนติพนั ธ์ และคณะ. (2544). หนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ดนตรี -นาฏศิลป์ . กรุ งเทพฯ : อจท. www.oknation.net


31


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.