ผาทอ ้ กะเหรี ย ่ ง ปกาเกอญอ อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน จักรกริช นันทชัย
้ ผาทอ
กะเหรี่ยง ปกาเกอญอ อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน จักรกริช นันทชัย
4
ชาวกะเหรี่ยง เรียกตนเองว่า “ปกาเกอญอ” ซึ่งแปลว่า “คน”
ชนเผ่าที่มีจำ�นวนมากที่สุดในประเทศไทย ในประเทศไทยแบ่แบ่ งออกได้ งออกได้ เป็นเป็4นกลุ4่ม กลุ ได้แ่มก่ สะกอ ได้แก่
หรือยางขาว สะกอ หรือยางขาว หรือ ปากกะญอ หรือ ปากกะญอ เป็นกลุเป็่มนที่มกลุีประชากรมากที ่มที่มีประชากรมากที ่สุด โป่สหรื ุด อโป โพล่ หรือ อยู โพล่่ในเขต อยู่ จัในเขตจั งหวัดแม่ งหวัฮด่องสอน แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียและลำ งใหม่�พูและลำ น ปะโอ �พูนหรืปะโอ อ ตองสู หรือและบะเว ตองสู และบะเว หรือ คะยาหรืในเขต อ คะ จัยางหวัในเขตจั ดแม่ฮ่องงสอน หวัดแม่ฮ่อถิงสอน ่นฐานเดิมของกะเหรี ถิ่นฐานเดิ่ยมงอยู ของกะเหรี ่บริเวณมองโกเลี ่ยงอยู่บริเวณมองโกเลี ยเมื่อกว่า2,000ปี ยเมื่อ กว่า2,000ปี มาแล้ ว ต่อมาได้ มาแล้ หนีวภต่ัยอจากการรุ มาได้หนีกภรานจากกองทั ัยจากการรุกรานจากกองทั พจีน มาอยู่ทพี่ธจีิเนบตมาอยู ถอยร่่ทนี่ธลงมาทาง ิเบต ถอย ร่นเลงมาทางใต้ ใต้ รื่อยๆ ตั้งแต่เรืบ่อริยๆ เวณทีตั่ร้งาบลุ แต่บ่มริแม่ เวณที น้ำ�แยงซี ่ราบลุเ่มกีแม่ ยงนลุ้ำ�แยงซี ่มน้ำ�สาละวิ เกียง นลุ่มมาถึ น้ำ�สาละวิ งคอคอดกระจั น มาถึง คอคอดกระจั หวั ดประจวบคีงรหวั ีขันดธ์ประจวบคีรีขันธ์ กะเหรีกะเหรี ่ยง กลุ่ย่มงคนพวกนี กลุ่มคนพวกนี ้เรียกตัว้เรีเองว่ ยกตัาวปกาเกอญอ เองว่า ปกาเกอญอ คนไทยเรียคนไทยเรี กว่า ยางยกว่า พวก ยาง กะเหรี่ยงจะกระจายตั ชาวกะเหรี ่ยงจะกระจายตั วอยูว่จอยู ังหวั ่จังดหวั ต่าดงๆ ต่างๆ ที่ได้มาตั ที่ได้้งมถิาตั ่นฐานเข้ ้งถิ่นฐานเข้ ามาอยูามาอยู ่ตั้งแต่่ตแั้งรกเริ แต่แ่มรกเริ ส่วน่ม ส่มากอาศั วนมากอาศั ยอยู่ทยางภาคเหนื อยู่ทางภาคเหนื อตอนบน อตอนบน มักเรียมักตั กเรีวยเองว่ กตัวาเองว่ บูคุนา โยบูคกะเหรี ุนโย ่ยกะเหรี ง ผู้ชายนิ ่ยง ยผูมใส่ ้ชาย นิเสืย้อมใส่ สีแดงเสื้อรัดสีเอวด้ แดง วรัดยเชืเอวด้ อก วมียเชื พู่ อและโพกผ้ ก มีพู่ และโพกผ้ าสีต่างๆาสีผูต้ห่าญิงๆ งที่ยผูัง้หไม่ญิแงต่ทีง่ยงานนุ ังไม่แต่่งงกระโปรง งานนุ่ง ทรงกระสอบ สีขาวยาวมี กระโปรงทรงกระสอบ สีขาวยาวมี ปัก บ้างเล็ ปักกบ้น้าองเล็ ย ส่กวน้นคนที อย ส่ว่แนคนที ต่งงาน่แต่แล้ งงาน วนิยแล้ มใส่วเนิสืย้อมใส่ แขนสั เสื้นอ สีน้ำ�เงิ้นนสีเข้นม้ำ�เงิส่นวเข้นล่ แขนสั ม าส่งประดั วนล่างประดั บด้วยลูบกด้ปัวดยลูสีแกดงและขาว ปัดสีแดงและขาว สวม สวมกระโปรงสี กระโปรงสีแดงแดง ลายตั ลายด ตัโพกผ้ ด โพกผ้ าสีแาดงสีแดง
5
ก ะ เ ห รี่ ย ง ท อ ผ้ า จ น เ ป็ น
วั ฒ นธรรมประจำ � เผ่ า เสื้ อ เด็ ก และหญิ ง สาวจะเป็ น ชุ ด ทรงกระสอบผ้ า ฝ้ า ยพื้ น ขาว ทอหรือปักประดับลวดลายให้งดงาม ส่ ว นหญิ ง ที่ มี ค รอบครั ว แล้ ว จะสวมเสื้ อ สีดำ� น้ำ�เงิน และผ้านุ่งสีแดงคนละท่อน ตกแต่งด้วยลูกเดือยหรือทอยกดอก ยก ลาย สำ�หรับผู้ชายกะเหรี่ยงนั้นส่วนมาก จะสวมเสื้อตัวยาวถึงสะโพก ตัวเสื้อจะมี การตกแต่งด้วยแถบสีไม่มีการปักประดับ เหมือนเสื้อผู้หญิง นุ่งกางเกงสะดอ นิยม ใช้สร้อยลูกปัดเป็นเครื่องประดับ และสวม กำ�ไลเงินหรือตุ้ม
6
สำ � หรั บ ผู้ ช ายกะเหรี่ ย งนั้ น ส่ ว น มากจะสวมเสื้อตัวยาวถึงสะโพกตัวเสื้อ จะมี ก ารตกแต่ ง ด้ ว ยแถบสี ไ ม่ มี ก ารปั ก ประดับเหมือนเสื้อผู้หญิง นุ่งกางเกงสะ ดอนิยมใช้สร้อยลูกปัดเป็นเครื่องประดับ และสวมกำ�ไลเงินหรือตุ้ม
7
ชุ ด ผู้ ห ญิ ง ก ะ เ ห รี่ ย ง ที่ ยั ง ไ ม่ แต่งงาน จะใส่ชุดทอด้วยมือทรงกระบอก สีขาวยาวกรอมเท้า และกระโปร่งมีความ ยาวถึงแค่หัวเข่า การสวมใส่ชุดสีขาวของ สาวโสดโดยชุดสีขาวนิยมเรียกว่า เช้เว้ จะ ใส่ต้ังแต่เด็กจนถึงวันที่จะแต่งงานเพราะ จะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่ามีความบริสุทธิ์
8
ชุ ด ผู้ ห ญิ ง กะเหรี่ ย งที่ แ ต่ ง งาน แล้วจะสวมผ้ า ทอประดับประดาด้ว ยลูก เดือยหรือฝ้ายสี การประดับลวดลายและ การใช้สีสันต่างๆ คิดค้นโดยสิ่งแวดล้อม รอบข้ า งที่ ม องเห็ น เช่ น นำ � ลู ก เดื อ ยมา เรียนกัน 2 เมตรหมายถึงรอยเท้าสุนัข การจัดเรียงให้เป็นรูปดอกไม้คือการปัก ไขว้ ด้ ว ยด้ า ยได้ สี แ ดงเป็ น รั ศ มี ห มายถึ ง พระอาทิตย์เป็นต้น ผู้ ห ญิ ง กะเหรี่ ย งมั ก ใส่ เ สื้ อ ตั ว สั้นเลยเอว เป็นรูปตัววี แขนในตัวสั้นเลย ไหล่ เสื้อนี้เรียก เช้ชู จะสวมผ้าซิ่นทั้งเสื้อ และผ้าซิ่นเปลี่ยนเครื่องหมายแสดงว่ามี เจ้าของแล้ว และไม่มีชายอื่นมาข้องเกี่ยว เสื้ อ ของผู้ ห ญิ ง ที่ แ ต่ ง งานแล้ ว จะต้ อ งมี ลายปั ก เพราะถ้ า ไม่ มี เ ชื่ อ กั น ว่ า จะทำ � ให้ ไม่มีลูก และยังมีความเชื่อของลูกเดือยที่ สามารถช่วยป้องกันผีได้ ผู้หญิงกะเหรี่ยง ที่ แ ต่ ง งานแล้ ว จะนั บ ถื อ ผี จ ะใส่ ซิ่ น ที่ มี ลายกี่ เ ส้ น ของผู้ ห ญิ ง ที่ แ ต่ ง งานแล้ ว จะ มีลวดลายมากมายแสดงถึงความขยัน หมั่นเพียรของผู้ทำ�มากเท่านั้น
ชุ ด ของกะเหรี่ ย งผู้ ช ายเป็ น เสื้ อ ทรงกระบอก คอเสื้อเป็นรูปตัววี ตรงชาย เสื้อมีพู่ห้อยติดลงมาด้านข้างสมัยก่อน เสื้อสีแดงของชายโสดจะมีพู่ห้อยยาวลง มาถึงชายเสื้อ ส่วนเสื้อสีแดงของผู้ชาย กะเหรี่ยงที่แต่งงานแล้วนั้นจะติดพู่ห้อย ถึงแค่เสมอเท่าชายเสื้อ เพราะการมีพู่ห้อย ยาวจะไม่สะดวกต่อการทำ�งานมาก การ ใส่เสื้อที่มีพู่ยาวจะทำ�ให้รุงรัง ยากต่อการ ทำ�งานผู้ชายส่วนใหญ่จะสวมกางเกงแบบ คนไทยภาคเหนือ หรือสวมแค่เสื้อแล้ว เวลาทำ�งานร้อนก็จะเอาคอเสื้อออกมาทำ� เป็นโสร่งแทน ทั้งนี้การสวมใส่เสื้อสีแดง ของผู้ชายกะเหรี่ยง จะนิยมใช้ผ้าโพกศีรษะ ซึ่งมีลวดลายสีแดง และมีถุงย่ามที่ออก แดงเช่นเดียวกัน 9
ผ้าซิ่น
ผู้ ห ญิ ง ชาวกะเหรี่ ย งที่ แ ต่ ง งาน แล้ ว ลั ก ษณะของผ้ า ซิ่ น ของผู้ ห ญิ ง ชาว กะเหรี่ยงที่แต่งงานแล้ว รูปแบบการตัด เย็บ คือ นำ�ผ้า 2 หรือ 3 ชิ้น มาเย็บต่อ เนื่องกัน การทอผ้าของชาวกะเหรี่ยง นั้นเป็นการทอผ้าแบะคาดหลังผ้าที่ได้จะ เป็นผ้าหน้าแคบ ฉะนั้นจึงต้องนำ�มาเย็บ ต่อกัน ผ้าซิ่นของชาวกะเหรี่ยงนิยมการ ทอลายริ้วๆ ลายขวางลำ�ตัว หรือที่ชาว กะเหรี่ยงเรียกว่า ซิ่นลายโก้ง และนิยม ใช่เทคนิคการทอ เช่นการมัดหมี่ การขิด เป็นต้น
ถุงย่าม
ลักษณะของถุงย่าม จะเป็นการ นำ�ผ้า 2 ชิ้นมาเย็บติดกัน โดยทอชิ้นหนึ่ง ให้มีขนาด ยาวเพื่อทำ�เป็นยาว และอีกชิ้น เพื่อเป็นเนื้อที่ในการใส่ของ ซึงรูปแบบจะ เหมือนกันถุงยามทั่วไป จะใช้สี ขาวแดง ดำ� เป็นสีหลัก แต่หลังมาได้รับความนิยม ในการใช่สีในกลุ่มคนชาวกะเหรี่ยงมากขึ้น
10
ผ้าห่ม หรือ ผ้าซอศพ
ผ้าห่ม หรือ ผ้าซอศพ ของชาว กะเหรี่ยงผ้าซอศพ เป็นผ้าที่มีลักษณะเนื้อ หนา มีการตกแต่งลวดลายให้สวยงาม นิยมใช่สีแดง หรือ สีขาว โดยการเอาผ้า มาเย็บต่อกัน ทำ�ให้ติดกันหรือ ไม่ติดก็ได้ ผ้าชนิดนี้เป็นผ้าที่มักนิยมใช้ในพีธีซอศพ ของชาวกะเหรี่ยง
การปักและประดิษฐ์ลวดลาย
การปั ก และประดิ ษ ฐ์ ล วดลาย เป็นการทำ�ลวดลายบนพื้นผ้าให้สวยงาม จากการเย็บให้เป็นเครื่องนุ่งห่มแล้ว ส่วน ใหญ่ ช าวกะเหรี่ ย งสะกอจะนิ ย มมั ก ปั ก ประดั บ ลวดลายบนเสื้ อ ผู้ ห ญิ ง แม่ เ รื อ น ลักษณะการประดับประดาจะใช้ด้ายหลาก สีปักสลับกับลูกเดือย ซึ่งเป็นพืชที่ของชาว กะเหรี่ยง ต้องปลูกไว้เพื่อใช้ในกิจกรรม นี้โดยเฉพาะ ส่วนผู้หญิงกะเหรี่ยงโป มักตกแต่งด้วยลวดลาย โดยการทอ มากกว่าปัก ลวดลายปัก/ประดิษฐ์ของ กะเหรี่ยง ส่วนใหญ่เป็นการลอกเลียนจาก ธรรมชาติ ทั้งลายปักด้วยด้ายและลายปัก ลูกเดือย 11
12
ต
ามคำ�บอกเล่าบอกต่อกันมาของบรรพบุรุษของชนเผ่ากะเหรี่ยง ในเรื่อง ลวดลายผ้าทอกะเหรี่ยงในเขตอำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน ได้เล่าถึงสามีภรรยาคู่หนึ่ง สามีชื่อ พูเนาะเร ภรรยาชื่อ มึกเอ ทั้งคู่ใช้ชีวิตปกติ อยู่มาวันหนึ่งสามีบอกว่านางมึกเอ วันนี้อย่าปล่อยหมู เพราะพูเนาะเรจะออกไปข้างนอกหมู่บ้าน โดยภรรยาได้รับปาก แต่ สายมาหมูของตนร้องและไม่ยอมกินข้าว ภรรยาจึงสงสารเลยปล่อยหมูให้ออกไปหา อาหารกินอย่างเช่นทุกวัน พอตกบ่ายชาวบ้านมาตะโกนบอกมึกเอ ว่าหมูของนางมึก เอถูกงูเหลือมรัดอยู่ที่ท้ายหมู่บ้าน ชาวบ้านที่พบพยาย่ามตีงูเหลือมให้ปล่อยหมูแต่ก็ ไม่มีใครช่วยได้ เหมือนยิ่งตีงูก็ยิ่งรัดแน่นขึ้น มึกเอจึงคว้าฟืมตอกผ้ามาตีงูเหลือม งูได้ ปล่อยหมูแต่หันมารัดนางมึกเอแทน และก็ยังพานางมึกเอไปยังถ้ำ�ที่พญางูได้อาศัย อยู่ และช่วงที่มึกเออยู่ในถ้ำ� นางมึกเอก็ทอผ้า โดยแกะลายงูเหลือมที่ตัวเองเห็นอยู่ ทุกวัน จนได้ลายสี่ตะกอขึ้นมา ส่วนฝ่ายนายพูเนาะเรก็เสียใจที่ช่วยนางมึกเอไม่ได้ แต่ ก็พยายามช่วยให้นางมึกเอออกมาให้ได้ แต่ก็ไม่สำ�เร็จ งูเหลือมบอกว่าปล่อยนางมึก เอก็ต่อเมื่อนายพูเนาะเรตายแล้วเท่านั้น นายพูเนาะเรจึงใช่มีดกรีบแขนตัวเองจนเลือด ไหล และได้นอนตายอยู่หน้าปากถ้ำ�ของงูเหลือม งูเหลือมจึงได้ปล่อยนางมึกเอออก มา และในวันที่ชาวบ้านเผาศพนายพูเนาะเรนั่นเอง ขณะที่ไฟกำ�ลังลุกไหม้นางมึกเอก็ กระโดดเข้าไปในกองเพลิงเพื่อเผาตัวเองให้ตายไปพร้อมกับสามี และนี่จึงเป็นที่มาทาง ด้านความเชื่อของลวดลายที่เกี่ยวข้องกับงูเหลือมและธรรมชาติ
13
การใช้สีในกลุ่มกะเหรี่ยง
สี่หลักคือ ดำ� แดง เหลือง และ ขาว โดยจะใช้ทุกสีและให้น้ำ�หนักกับ สีดำ� และสี แ ดงส่ ว นสี เ หลื อ งและสี ข าวเป็ น สี ตกแต่ง สี่ประกอบได้แก่ ชมพู น้ำ�เงิน ส้ม เขียว เป็นกลุ่มสีที่นำ�มาใช้ในภายหลัง และ นิยมใช้กันมากขึ้นส่วนใหญ่มักซื้อที่ย้อม สำ�เร็จแล้วมาใช้ โดยให้เหตุผลว่าสีสวย และไม่ตก
14
15
การทอผ้าของกะเหรี่ยงปกาเกอญอ ก ารทอลวดลาย ผ้าของชาวกะเหรี่ยงที่ทอใช้ส่วน การทอแบบธรรมดา
ใหญ่จะมีลวดลายประกอบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ การใช้ ป ระโยชน์ แ ละความนิ ย มเช่ น ชุ ด ผู้ หญิงจะมีลายขวางบริเวณเหนืออก ผ้าถุง ผู้หญิงแต่งงานแล้ว จะมีลวดลายสลับ สีตลอดทั้งตัว จะทอให้มีลวดลายบริเวณ ไหล่อย่างสวยงามเป็นต้น การทอเป็น ลวดลายจะเป็ น ที่ นิ ย มในกลุ่ ม ผู้ ห ญิ ง โป มากกว่าการประดิษฐ์ลวดลายในผืนผ้า ขณะทอมี 5 วิธีคือ
การทอผ้ า ธรรมดาหรื อ การขั ด เป็นการสอดด้ายทางขวางเข้าไประหว่าง ด้ายเส้นยืน ซึ่งแยกสลับกัน ขึ้น 1 ลง 1หรือ ขึ้น 2 ลง 2 ตามจำ�นวนเซนได้ที่เหลือเมื่อ คื น เครื่ อ งทอผ้ า จะทำ � เป็ น สี เ ดี ย วกั น ทั้ ง พื้นและเนื้อผ้าจะสม่ำ�เสมอ เป็นวิธีการทอ ผ้าขั้นพื้นฐาน ใช้ผ้าสำ�หรับเย็บชุดเด็กของ ผู้หญิงชาวกะเหรี่ยงและเย็บกางเกงของ ผู้ชายเท่านั้น ปัจจุบันกะเหรี่ยงนิยมสวม กางเกงสำ�เร็จรูปซึ่งซื้อจากตลาดพื้นราบ ได้ไม่ยาก ปกติด้ายเส้นยืนและด้ายเส้น ขวาง ซึ่งใช้การทอแบบธรรมดาจะมีจำ�นวน เส้นที่เท่ากัน ยกเว้นกรณีการใช้ได้ต่าง ชนิดเช่นด้ายเส้นยืนเป็นด้ายสำ�เร็จรูปและ ด้ายเส้นขวางเป็นได้พื้นเมือง ดังนั้นจึง ต้องใช้จำ�นวนมากกว่าด้ายเส้นขวางคือ ด้ายเส้นยืน 2 ด้ายเส้นขวาง 1 เป็นต้น ู้หญิงแต่งงานแล้ว จะมีลวดลายสลับ สีตลอดทั้งตัว จะทอให้มีลวดลายบริเวณ ไหล่อย่างสวยงามเป็นต้น การทอเป็น ลวดลายจะเป็ น ที่ นิ ย มในกลุ่ ม ผู้ ห ญิ ง โป มากกว่าการประดิษฐ์ลวดลายในผืนผ้า ขณะทอมี 5 วิธีคือ
ลายในเนื้อผ้า
ลักษณะลวดลายจะปรากฏเป็น เส้นนูนตามแนวตั้ง หรือแนวนอนก็ได้ หากเป็นลายนูนตามแนวตั้ง การกำ�หนด ลวดลายจะทำ�พร้อมกับการเรียงด้าย คือ ใช้จำ�นวนด้ายเพิ่มขึ้นกว่าปกติ ในที่ที่ ต้องการให้เป็นลายนูนส่วนด้ายขวางใช้ จำ�นวนเท่าปกติการทอวิธีนี้นิยมใช้ทอเสื้อ ผู้ชายสูงอายุของเผ่ากะเหรี่ยง
16
ล
ายสลับสี เป็นการทอดแบบธรรมดาคือใช้ด้ายยืน และ ด้ายขวาง จำ�นวน ปกติแต่แทรกด้วยสีต่างๆ สลับเข้าไปในขณะเรียง ด้ายยืนหรือเมื่อสอด. ด้ายขวาง เช่น การทอผ้าห่อ ย่าม และผ้าถุงของผู้หญิงที่แต่งงานแล้ว (ลวดลายผ้าถุง บางท้องถิ่น จะมีลักษณะพิเศษกว่าการทอ ลายสลับสีธรรมดา คือจะใช้ด้ายย้อม. มัดหมี่ หรือยอม แบบลายน้ำ�ไหล เป็นด้ายยืนเมื่อไหร่ที่ปรากฏบนเนื้อผ้ามีลักษณะงดงามมาก) บางครั้ง กะเหรี่ยงจะทอลวดลาย สลับสีเป็นเส้นนูนในเนื้อผ้า เช่น บริเวณเหนืออกของชุดเด็กผู้ หญิงกะเหรี่ยงสะกอ และผ้าถุงของผู้หญิงกะเหรี่ยงคะยา 17
ลายจก เป็นการสอดด้ายสลับสี (ซึ่ง
นอกจากนั้นยังใช้ทอลวดลายบริเวณไหล่ ของชุดหญิงสาวและเสื้อผู้หญิงแต่งงาน แล้ ว เป็ น ที่ น่ า สั ง เกตว่ า การทอแบบนี้ ลวดลายที่ปรากฏอยู่ในหน้าผ้าด้าน ตรง ข้ามกับผู้ทอ ดังนั้นผู้โกรธจึงมีความ ชำ�นาญมาก ในการกำ�หนดลวดลายว่าจะ สอดด้ายในลักษณะใดจึงจะได้ลวดลาย ตามที่ ต้ อ งการนั บ เป็ น สิ่ ง ที่ น่ า ภู มิ ใ จ ลักษณะการทอผ้าลายจกของกะเหรี่ยง มีความคล้ายคลึงกับชาวไทยพื้นราบ ใน จังหวัดสุโขทัย อุตรดิตถ์ และราชบุรีมา แต่ ความละเอียดในด้านสื่อสารและลวดลาย มีน้อยกว่า ซึ่งพื้นฐานทักษะเช่นนี้หาก มีการพัฒนาฝีมือจะทำ�ให้ สามารถผลิต งานที่มีคุณค่ามากขึ้น
ไม่ไช่ด้าย เส้นเดียวกับด้ายขวาง) เข้าไป เป็นบางส่วนในเนื้อผ้าตามลวดลายและ สีในตำ�แหน่ง ที่ต้องการ การยกด้ายยืน จะไม่เปลี่ยนไปตามการยกตะกอ แต่ผู้ทอ จะใช้นิ้วมือหรือ ขนเม่นช่วยสอดยกด้าย ขึ้นตามจำ�นวนที่กะไว้ และสอดด้ายสีที่ ต้องการเข้าไป ระหว่างด้ายยืนนั้น ฉะนั้น ลวดลายที่ ป รากฏบนผื น ผ้ า ทั้ ง ผื่ น อาจ จะไม่เหมือนกันก็ได้ การทอลายเช่นนี้ กะเหรี่ ย งโปนิ ย มใช้ ย่ า มโดยเฉพาะยาม ของผู้ชาย จะประดิษฐ์ประดอยลวดลาย สวยงามเป็นพิเศษ เนื่องจากพูดคือผู้ หญิ ง ที่ พึ ง ใจในตั ว ผู้ ช ายและทอย่ า มนี้ ขึ้นมาเพื่อเป็นของขวัญแก่คนที่ตนพึงใจ
18
ล
ายขิด คือการทอผ้าโดยให้ ลวดลายที่ ป รากฏเหมื อ นกั น ทั้ ง ผื่ น ลั ก ษณะลายแบบยกดอกในตั ว โดย กำ�หนดสีตามด้ายยืน การแยกด้ายยืน ใช้วิธีนับ เส้นเป็นช่องๆ และสอดไม้หน่อ สะยาเข้าไปเป็นตัวนำ� ไม้จะช่วยแยกด้าย ให้ช่องระหว่างด้ายยืนกว้างความสะดวก ในการสอดด้ายขวาง ปัจจุบันในบางพื้นที่ เช่นอำ�เภอลี้ จังหวัดลำ�พูน ใช้ตะกอช่วย ในการแยกด้ายหลายอัน. การคล้อง แต่ ก็จะทำ�ขณะเรียงด้ายขึ้นเครื่องทอ ดังนั้น จึงต้องเพิ่มไหมหน่อสะยา เพื่อช่วยในการ กำ�หนดตะกอ วิธีนี้ผู้ทอจะต้องมีความ ชำ�นาญมาก ตั้งแต่การคำ�นวณจนแล้ว เสร็จเป็นผืน
19
การทอลวดลายโดยใช้วัสดุอื่นประกอบ การทอประกอบลูกเดือย
การทอประกอบพู่หรือกระจุกด้าย
ปกติ ก ารประดั บ ลู ก เดื อ ยจะ ประดับชายเสื้อ ผู้หญิงจะใช้วิธีการฝาก หลังจากการเย็บผ้าประกอบเป็นตัวเสื้อ แล้ว แต่ในระยะหลังใช้วิธีประกอบเข้าไป พร้อมกับขณะการทอผ้า โดยร้อยลูกเดือย เข้ากับเส้นด้ายขวางระหว่างเส้นด้ายยืน โดยให้ลูกด้วยลอยตัวอยู่บนพื้นผ้า เมื่อ ประกอบเป็ น ลวดลายแล้ว จึง ปักประดับ ด้ายสลับสีลงไปในช่วงระหว่างลูกเดือย เหล่านั้น
เป็นการทอของชาวกะเหรี่ยงโป บางหมู่ บ้ า นในเขตจั ง หวั ด แม่ ฮ่ อ งสอน เชียงใหม่ ลำ�พูน ใช้ประกอบกับชุดของผู้ หญิง ได้ชุดเด็กผู้หญิงเท่านั้น การทอจะ ใช้ ด้ า ยสี แ ดงและดำ � รวมกั น เป็ น กระจุ ก ประมาณ เท่าปลายนิ้วก้อย ตัดเป็นท่อนๆ ยาวประมาณ 1 นิ้วนำ�ส่วนนี้สอดเข้าไป ตาม เส้นด้ายยืนเป็นระยะๆ สลับกับด้าย ขวาง ทอเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนได้ลวดลายที่ ต้องการ แล้วเกลี่ยปลายด้าย ที่สอดให้ แตกจะปรากฏลวดลายกระจุกด้ายเรียง กันเป็นรูปต่างๆ เช่น สี่เหลี่ยม ขนมเปียก ปูน วงกลม เป็นต้น
20
ผ้าทอกะเหรี่ยงในเขตอำ�เภอแม่ทาและมีกรรมวิธีผลิต การในการทอแบบดังเดิม โดยใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติไม่ว่า จะเป็นเสื้อ ซิ่น ย่าม ผ้าห่อ และยิ่งไปกว่านั้นการสวมใส่ของ ชุดผู้ชายและชุดเด็กหาดูได้ยากเพราะมีการเปลี่ยนแปลงไป ตามยุคสมัย จากการศึกษาในเขตอำ�เภอแม่ทาจึงมีประชากร ตัวอย่างการศึกษา และผลของการศึกษาคือไม่มีผู้ชายและเด็ก ที่ยังสวมใส่ชุดประจำ�เผ่า ส่วนมากจะหันไปใช้ชุดพื้นเมืองตาม สมัยนิยม แต่สำ�หรับผู้หญิงแม่บ้าน แต่ผู้เฒ่า ยังคงจะพบเห็น ใส่เสื้ออยู่บ้านและโอกาสสำ�คัญและในวันพิเศษ ซึ่งในปัจจุบัน นอกจากย่ามที่มีการผลิตและใช้ในชีวิตประจำ�วัน ผ้าห่มยังมี ความสำ�คัญในพิธีการสำ�คัญอยู่ตลอด แต่สิ่งที่ขาดหายคือการ ผลิตที่น้อยลงของคนในชุมชน จึงมีการอนุรักษ์สืบต่อโดยการ ตั้งกลุ่มทอผ้ากะเหรี่ยงของชุมชนเพื่อเป็นการผลิต และการสืบ ต่อให้กับลูกหลานต่อไป
ผ้าทอกะเหรี่ยงปกาเกอญอในเขต อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน จักรกริช นันทชัย ภาพและเนื้อเรื่อง 2016 (พ.ศ. 2559) โดย จักรกริช นันทชัย สงวนลิขสิทธ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพ์ครั้งแรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย จักรกริช นันทชัย ออกแบบโดยใช้ฟอนต์ Kanyanut uni 16pt. หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานทางวิชาการ จัดทำ�ขึ้นเพื่อส่งเสริมและต่อยอดศักยภาพการศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่