เอกสารประกอบการอบรม
ชองทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน
e-Commerce www.mict4u.net
กิจกรรมสงเสริมและพัฒนาความรูดาน ICT จัดโดย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สารบัญ
ช่องทางและเทคนิ คการทําธุรกิ จออนไลน์ (e-Commerce)
หน้ า 1
1. ความรู้เกี,ยวกับการทําธุรกิ จออนไลน์ 1.1 รูจ้ กั พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce หรือ E-Commerce) 1.2 ประวัติ E-Commerce 1.3 ประโยชน์ของ E-Commerce 1.4 วิเคราะห์ SWOT ของธุรกิจ E-Commerce 1.5 รูปแบบของการทําธุรกิจออนไลน์ E-Commerce 1.6 โมเดลทางธุรกิจของ E-Commerce 1.7 รูปแบบประเภทของเว็บไซต์ E-Commerce 1.8 6 คําถามง่ายๆ ก่อนเริมH ต้นธุรกิจเว็บไซต์ (5W + 1H) 1.9 ขายอะไรผ่าน E-Commerce และเว็บไซต์ดสี ุด
1 1 2 2 4 4 5 7 9 10
2. การสาธิ ตการใช้งานและการทําธุรกิ จออนไลน์ บนเว็บไซต์ E-commercethai.com 3. คู่มือการสร้างร้านค้าออนไลน์ (เว็บไซต์ร้านค้าออนไลน์) E-commercethai.com
13 14
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 1
ช่องทางและเทคนิ คการทําธุรกิ จออนไลน์ (e-Commerce) 1. ความรู้เกี'ยวกับการทําธุรกิ จออนไลน์ 1.1 รู้จกั พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิ กส์ (Electronic Commerce หรือ E-Commerce) อีคอมเมิ รซ์ (E-Commerce) หรือพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ เป็ นคําศัพท์ทด6ี ูจะไม่ใช่ของใหม่ใน สังคมหรือในแวดวงการค้าขาย การรับรู้เกี6ยวกับรายละเอียดและวิธกี ารของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ต่างหากทีเ6 ป็นสิง6 ทีน6 ่าสนใจ ผูป้ ระกอบการรวมถึงผูบ้ ริโภคในส่วนต่างๆ ของสังคมอาจยังเข้าใจไม่ตรงกัน หรือเข้าใจกันไปถึงประสิทธิภาพของอีคอมเมิรซ์ คลาดเคลื6อนแตกต่างกันออกไป พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ ทีเ6 ริม6 ได้ยนิ กันบ่อยมากขึนC ทุกวันนีC หมายถึงการดําเนิ นกิ จการทางพาณิ ชยกรรมที' ใช้เครื'องมือหรือ สื'ออิ เล็กทรอนิ กส์เข้ามาช่ วย โดยส่วนมากเราเข้าใจว่าเป็ นการใช้อนิ เทอร์เน็ตมาเป็ นจุดเชื6อมการ ดําเนินธุรกิจให้สะดวกรวดเร็วมากขึนC แต่จริงๆ แล้ว พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์มมี านานมากแล้ว เราคงจะไม่ ลืมว่าเรามีบตั ร ATM ใช้กนั มานานมากก่อนอินเทอร์เน็ตจะแพร่หลายเครื6องโทรศัพท์ หรือเครื6องโทรสาร ก็นบั ได้ว่าเป็นเครือ6 งมือหนึ6งของพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์เหมือนกันและแน่นอนว่าเครือ6 งหักเงินบัตรเครดิต ทีม6 ที งั C ในห้างสรรพสินค้าหรือร้านอาหารต่างๆ ก็เป็นเครือ6 งมือในพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ทงั C สินC พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ในวันนีCพุ่งเป้าไปทีอ6 นิ เทอร์เน็ต เพราะว่าเป็ นเครื6องมือชินC ล่าสุดของระบบ พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ และคงปฏิเสธไม่ได้ครับว่าทุกวันนีCไม่มสี 6อื ใดๆ ที6มพี ลังและอนาคตเท่าสื6อ อินเทอร์เน็ตเพราะบริการบนอินเทอร์เน็ตมีหลายหลายมากไม่ว่า อีเมล์, เว็บไซต์หรือแม้แต่เทคโนโลยี ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ทก6ี ําลังจะเข้ามามีบทบาท เพิม6 มากขึนC ในการทําธุรกรรมบนอินเทอร์เน็ตให้มคี วาม รัดกุมเพิม6 ขึนC ในไม่ชา้ ทุกวันนีCคุณไม่จาํ เป็ นต้องกังวลในความยุ่งยากในการจัดทําเว็บไซต์อกี แล้ว เพราะมีบริษทั ทีร6 บั ทําเว็บไซต์ให้มากมายและราคาก็ไม่แพงอีกต่อไปแล้วครับ เนื6องจากภาวะการแข่งขันกันทําตลาดมาก ขึนC ทุกวันซึง6 เว็บไซต์ของคุณจะสวยงามเพียงไหน หรือหากมีการหักเงินผ่านบัตรเครดิตด้วยคุณต้องไป ติดต่อกับธนาคารที6คุณจะใช้บริการด้วยครับโดยทางธนาคารจะคอยช่วยเหลือคุณถึงวิธกี ารที6จะทําให้ เว็บไซต์ของคุณสามารถทําธุรกรรมหักบัญชีผ่านบัตรเครดิตได้เป็นอย่างดี E-commerce หรือเรียกกันทัวไปว่ ' า พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิ กส์ คือการทําธุรกรรมหรือธุรกิ จ ที'ผา่ นช่องอิ เล็กทรอนิ กส์ ในทุกๆ ช่องทาง เช่น อิ นเทอร์เน็ต, โทรศัพท์, วิ ทยุ, โทรทัศน์ , แฟกซ์ เป็ นต้ น ทังB ในรูปแบบ ข้อความ เสี ยง และภาพ รวมถึงการขายสิ นค้าและบริ การด้วยสื' อ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 2
อิ เล็กทรอนิ กส์ หรือ การขนส่ งผลิ ตภัณ ฑ์ที' เป็ นเนืB อ หาข้ อ มูลแบบดิ จิตอล ถือว่ าเป็ น ECommerce ทังB นันB ดังนันC การซือC ขายในรูปแบบ E-Commerce เกิดขึนC มานานแล้ว แต่คําว่า ECommerce เพิง6 มาเป็นทีร6 จู้ กั และยอมรับกัน หลังจากมีการค้าขายผ่านช่องทางอินเทอร์เน็ตมากขึนC E-Commerce ในปจั จุบนั เป็ นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ตกับการจําหน่ าย สินค้าและบริการโดยสามารถนําเสนอข้อมูลทีเ6 กีย6 วข้องกับตัวสินค้าหรือบริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตสู่คน ทัวโลกภายในระยะเวลาอั 6 นรวดเร็ว ทําให้การดําเนินการซืCอขายอย่างมีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิด รายได้ในระยะเวลาอันสันC 1.2 ประวัติ E-Commerce ประวัติ E-Commerce การค้าอิเล็กทรอนิกส์นนั C เริม6 ขึนC บนโลกครังC แรกเมื6อปี พ.ศ.2513 ซึง6 ได้ม ี การเริม6 ใช้ระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเอฟที (EFT = Electronic Fund Transfer) แต่ในขณะ นันC มีเพียงบริษทั ขนาดใหญ่และสถาบันการเงินเท่านันC ทีใ6 ช้งานระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ต่อมาอีก ไม่นานก็เกิดระบบการส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีดไี อ (EDI = Electronic Data Interchange) ซึง6 สามารถช่วยขยายการส่งข้อมูลจากเดิมที6เป็ นข้อมูลทางการเงินอย่างเดียวเป็ นการส่งข้อมูลแบบอื6น เพิม6 ขึนC เช่น การส่งข้อมูลระหว่างสถาบันการเงินกับผูผ้ ลิต หรือผูค้ า้ ส่งกับผูค้ า้ ปลีก เป็นต้น หลังจากนันC ก็มรี ะบบสื6อสารรวมถึงโปรแกรมอื6นๆ เกิดขึนC มากมายตังC แต่ระบบทีใ6 ช้ในการซือC ขาย หุน้ จนไปถึงระบบทีช6 ่วยในการสํารองทีพ6 กั ซึง6 เรียกได้ว่าโลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคของการสื6อสาร และเมื6อยุค ของอินเทอร์เน็ตมาถึงเมื6อประมาณปี พ.ศ.2533 จํานวนผูใ้ ช้อนิ เทอร์เน็ตก็เพิม6 ขึนC อย่างรวดเร็ว การค้า อิเล็กทรอนิกส์กไ็ ด้เกิดขึนC เหตุผลทีท6 ําให้ระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์เติบโตอย่างรวดเร็วคือ โปรแกรม สนับสนุ นการค้าอิเล็กทรอนิกส์ท6ไี ด้รบั การพัฒนาขึนC มามากมาย รวมถึงระบบเครือข่ายด้วยพอมาถึง ประมาณปี พ.ศ.2537 – 2548 ก็ถอื ได้ว่าระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์หรืออีคอมเมิรซ์ ก็เป็ นทีย6 อมรับและ ได้รบั ความนิยมอย่างมากและรวดเร็ว ซึง6 วัดได้จากการทีม6 บี ริษทั ต่างๆ ในอเมริกาได้ให้ความสําคัญและ เข้าร่วมในระบบอีคอมเมิรซ์ อย่างมากมาย และเริม6 มีการขยายออกไปยังทัวโลก 6 จนพัฒนามาถึงทุกวันนีC 1.3 ประโยชน์ของ E-Commerce การนํา E-Commerce มาใช้ทาํ ให้เกิดการประโยชน์และการเปลีย6 นแปลงของโลกธุรกิจอย่างมาก เพราะช่วยลดช่องว่างและการแข่งแข่งขันระหว่างองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ กับขนาดเล็กได้ เพราะทุก
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 3
ธุรกิจไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ จะมีโอกาสเท่าเทียมกันเมือ6 เข้าสู่การโลกของการค้าขายผ่านอินเทอร์เน็ตหรือ E-Commerce ประโยชน์ของ E-Commerce ต่อผู้ประกอบการหรือผูข้ าย • เป็นการสร้างและเพิม6 ช่องทางการขายและจัดจําหน่ายมากขึนC จากตลาดภายในพืนC ที6 ออกสู่ตลาดโลกได้อย่างง่ายดาย • เปิดบริการให้บริการตลอด 24 ชัวโมง 6 ทุกวัน ไม่มวี นั ปิ ด (ยกเว้นเว็บไซต์คุณจะล่มไป เสียก่อน) • ลดค่าใช้จ่ายและต้นทุนในการบริหารและจัดการได้อย่างมหาศาล ทําให้สามารถลดราคา สินค้า เพื6อทําการแข่งขันได้ดขี นCึ • สร้างโอกาสให้เกิดการทําธุรกิจในรูปแบบใหม่มากมาย • เป็นช่องทางทีส6 ามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้โดยตรงและมีประสิทธิภาพ • เพิม6 ความสัมพันธ์กบั ลูกค้าให้ดขี นCึ • การให้บริการหลังการขายให้คาํ ปรึกษาเรือ6 งผลิตภัณฑ์ หรือการแก้ไขเบือC งต้นอย่าง รวดเร็ว • ช่วยทําการวิจยั การตลาดและการพัฒนาสินค้าได้อย่างรวดเร็วและประหยัด ประโยชน์ของ E-Commerce ต่อผูบ้ ริ โภคหรือผูซ้ ืBอ • เลือกซือC สินค้าได้ในราคาถูกกว่าทัวไป 6 • เลือกซือC สินค้าและบริการได้จากร้านค้าต่างๆ จากทัวทุ 6 กมุมโลก • มีโอกาสเลือกและเปรียบเทียบราคาสินค้าได้มากขึนC • ประหยัดเวลาไม่ตอ้ งเดินทางไปซือC สินค้าถึงที6 • รับสินค้าได้ทนั ที (หากเป็ นสินค้าประเภทสื6อดิจติ อล เช่น เพลง โปรแกรม และไม่มคี ่า ขนส่ง) • สามารถดูขอ้ มูลสินค้าได้ละเอียดมากขึนC จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทัวโลก 6 • ได้รบั ความสะดวกในการจัดส่ง เพราะสินค้าส่วนใหญ่จดั ส่งถึงบ้าน
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 4
1.4 วิ เคราะห์ SWOT ของธุรกิ จ E-Commerce
-
จุดแข็ง (Strength) เปิดให้บริการ 24 ชัวโมงตลอด 6 7 วัน ทําการค้าได้ทวโลกจากห้ ั6 องนอนคุณ สินค้าเข้าถึงตรงผูซ้ อCื เร็วและมีประสิทธิภาพ ผูซ้ อCื สามารถเปรียบเทียบได้อย่างเร็ว ราคาในการลงทุนถูกมาก ไม่ตอ้ งมีพนักงาน การโอนเงินรวดเร็ว เริม6 ต้นได้อย่างง่ายไม่ตอ้ งใช้เงินทุนสูง โอกาส (Opportunity) จํานวนผูใ้ ช้ Internet เพิม6 ขึนC อย่างต่อเนื6องทุกวัน คนยุคใหม่ใช้การซือC ของออนไลน์อย่างมาก เพราะสะดวกกว่า คนเริม6 มันใจในการซื 6 อC ของออนไลน์มากขึนC เทคโนโลยีมกี ารพัฒนาปรับปรุงอย่างดีขนCึ เรือ6 ยๆ
จุดอ่อน (Weakness) - การปฏิสมั พันธ์กบั เจ้าของร้านกับลูกค้าน้อย - บางครังC ลูกค้าต้องการเห็น-สัมผัสสินค้าก่อนซือC - บางครังC ค่าส่งสูง (หากส่งข้ามประเทศ)
อุปสรรค (Threat) - มีกลโกงเกิดขึนC ในโลกออนไลน์เกิดขึนC - การแข่งขันเริม6 มีมากขึนC อย่างต่อเนื6อง
1.5 รูปแบบของการทําธุรกิ จออนไลน์ E-Commerce ประเภทของ E-Commerce สามารถแบ่งตามลักษณะรูปแบบของกลุ่มและประเภทผู้ท6ที ํา ธุรกรรมร่วมกัน โดยสามารถแบ่งได้หลายประเภท ได้แก่ 1. การค้ารูปแบบ บุคคล กับ บุคคล – (C2C : Consumer to Consumer) เป็ นการค้า และทําธุรกรรมระหว่างบุคคลกับบุคคล หรือ ระหว่างผูใ้ ช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตด้วยกันเอง ทีไ6 ม่ใช่รูปแบบของร้านค้าหรือธุรกิจ ซึ6งการซืCอ-ขายนีCอาจทําผ่านเว็บไซต์ทจ6ี ดั ตังC ขึนC มา เป็ นการเฉพาะ อาทิ การซือC -ขายในรูปของการประกาศซือC -ขาย หรือประมูลสินค้า ทีผ6 ใู้ ช้ แต่ละคนสามารถนํ าข้อมูลสินค้าของตนมาประกาศซืCอ-ขายไว้บนเว็บไซต์ต่างๆ เช่น www.ThaiSecondhand.com, www.ebay.com 2. การค้ารูปแบบ ธุรกิ จ กับ บุคคล (B2C : Business to Consumer) เป็ นการค้าและ ธุรกรรมระหว่าง ธุรกิจทีเ6 ป็นรูปแบบบริษทั ฯ หรือร้านค้ากับผูบ้ ริโภคทีเ6 ป็ นบุคคลทัวไป 6 ซึง6 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 5
เป็ นการค้าแบบขายปลีก ทีม6 กี ารสังซื 6 อC สินค้า จํานวนไม่มากและมูลค่าการซือC -ขายแต่ละ ครังC จํานวนไม่สูงมากนัก โดยการค้าแบบนีCมกั ชําระเงินด้วยบัตรเครดิต เว็บไซต์ท6มี ี รูปแบบลักษณะนีC เช่น www.ToHome.com, www.MissLily.com 3. การค้ารูปแบบ ธุรกิ จ กับ ธุรกิ จ (B2B : Business to Business) เป็ นการค้าและทํา ธุรกรรมระหว่างธุรกิจทีเ6 ป็ นในรูปแบบ บริษทั หรือร้านค้าด้วยกัน ส่วนใหญ่จะมีการสังซื 6 อC สินค้าและมีมลู ค่าการซือC -ขายแต่ละครังC จํานวนสูง การค้าแบบนีCมกั ชําระเงินผ่านธนาคาร ในรูปของ Letter of Credit (L/C) หรือ ในรูปของ Bill of Exchange อื6นๆ เช่น www.TARADb2b.com, www.FoodMarketExchange.com 4. การค้ารูปแบบ ธุรกิ จ กับ รัฐบาล (B2G : Business to Government) เป็นการค้า ระหว่างธุรกิจทีเ6 ป็นในรูปแบบของเอกชนกับองค์กรของรัฐ การค้าลักษณะนีCทางรัฐบาลจะ เป็นผูก้ ําหนดกฎระเบียบทีเ6 กีย6 วข้องค่อนข้างมาก เช่น พวกการจัดซือC จัดจ้างของหน่วย งานรัฐบาลต่างๆ โดยเว็บไซต์ทเ6ี ปิดให้บริการลักษณะนีCได้แก่ www.gprocurement.or.th, www.gsa.gov 1.6 โมเดลทางธุรกิ จของ E-Commerce คุณสามารถเลือกรูปแบบโมเดลการทําธุรกิจของ E-Commerce ให้มเี หมาะสมกับธุรกิจของคุณ ได้ โดยรูปแบบของโมเดลทางธุรกิจมี 2 รูปแบบดังนีC 1. คลิ กและมอต้าร์ (Click* and Mortar**) คือ E-Commerce ทีม6 รี ปู แบบการทีม6 กี าร ผสมผสานกันระหว่าง ผูท้ ม6ี ธี ุรกิจร้านค้าหรือมีบริษทั เปิดให้บริการทําการค้าจริงๆ และมี เว็บไซต์เป็ นอีกช่องทางในการค้าขาย โดยการค้าในรูปแบบนีCจะเป็ นผสมผสานเชื6อมต่อ การซือC ขายทังC สองช่องทางด้วยกันได้ เพื6อให้ศกั ยภาพในการค้าสูงสุด ในการรองรับลูกค้า ทังC สองช่องทาง เช่น ลูกค้าสามารถสังซื 6 อC สินค้าผ่านเว็บไซต์ และไปรับสินค้าทีห6 น้าร้านได้ เป็ นต้น ยกตัวอย่างร้านขายสินค้า อาหารต่าง ชื6อ ร้านวิจติ ร ทีเ6 ปิดร้านค้าขายสินค้า อาหารทะเล เครื6องเทศ หรือ อุปกรณ์ทําอาหารต่างๆอยู่ ในตลาดย่านสะพานใหม่ ดอน เมือง มานาน ได้มาเปิดเว็บไซต์ช6อื www.VijitMarketThai.com ขึนC มา เพื6อเป็ นช่องทาง ใหม่ ให้ลูกค้าสามารถสังซื 6 อC สินค้าต่างๆ ผ่านทางเว็บไซต์ได้อย่างสะดวก โดยหลังจาก เปิดเว็บไซต์ พบกว่าลูกค้าสามารถทําการเลือกซือC สินค้าผ่านเว็บไซต์ได้ดว้ ยตัวเอง และ ทางร้านค้าจะจัดส่งสินค้าไปให้ได้ทวประเทศ ั6 หรือจะสามารถเลือกมารับสินค้าที6หน้ า ร้านค้าก็ได้ ซึง6 ถือเป็ นการนําเว็บไซต์มาผสมผสานกับหน้าร้านหรือธุรกิจได้อย่างลงตัว ทําให้เกิดศักยภาพทํางการค้าขายขึนC สูงจากเดิมมาก กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 6
2. คลิ กกับคลิ ก (Click and Click) คือ E-Commerce ทีม6 รี ปู แบบการค้าขายหรือการ ให้บริการ ผ่านทางเว็บไซต์และอินเทอร์เน็ต เพียงช่องทางเดียวเท่านันC ไม่มธี ุรกิจหรือ หน้าร้านค้าจริงๆ ให้คนสามารถไปซือC หรือรับสินค้าได้ ดังนันC เมือ6 ลูกค้าสังซื 6 อC สินค้าจาก เว็บไซต์ ทางเว็บไซต์จะทําการส่งสินค้าไปให้ลกู ค้าถึงทีอ6 ยูข่ องลูกค้านันC ๆ ยกตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ www.ToHome.com หมายเหตุ : คําว่า “คลิก” ในทีน6 Cีคอื เสียงคลิกเมาส์ เปรียบได้กบั การใช้เว็บไซต์เป็ นช่องทาง การค้าขายส่วนคําว่า "มอต้าร์” ในทีน6 Cีคอื การก่ออิฐสร้างบ้านอาคาร เปรียบได้กบั ธุรกิจทีม6 หี น้าร้านค้า จริงๆ เปรียบเทียบระหว่าง คลิกและมอต้าร์ และ คลิกกับคลิก หากเปรียบเทียบระหว่างการทํา E-commerce ในรูปแบบ คลิกและมอต้าร์ และคลิกกับ คลิก นันC มีขอ้ ดีขอ้ เสียแตกต่างกันออกไป แล้วแต่ว่าความเหมาะสมของแต่ละคนหรือธุรกิจ • คลิกกับคลิก จะเหมาะสําหรับ “ผูท้ ต6ี อ้ งการจะเริม6 ต้นทําธุรกิจใหม่” ข้อดี คือ เป็ นการลงทุนน้อยและสามารถเริม6 ต้นได้อย่างรวดเร็วเพราะแค่จดั ทําเว็บไซต์ ก็ สามารถเริม6 ต้นทําการค้าขายได้แล้ว และเป็ นรูปแบบการทํางานทีอ6 สิ ระ ไม่ยดึ ติดกับรูปแบบ บริษทั ทําให้มคี วามยืดหยุน่ สูงในการบริหารหรือจัดการ ข้อเสีย คือ ด้วยความทีเ6 ริม6 ต้นได้ง่าย และรวดเร็วทําให้บางครังC อาจขาดประสบการณ์ หรือ การบริหารและความชํานาญในการทําการตลาดหรือการเข้าใจธุรกิจทีท6 ําอยู่ รวมถึงการสร้าง ฐานลูกค้าจะต้องสร้างเองใหม่ทงั C หมด และการความน่ าเชื6อถือ เพราะธุรกิจทังC หมดอยู่บน เว็บไซต์ ซึง6 บางครังC ลูกค้าบางคนอาจจะไม่ค่อยเชื6อถือหรือมันใจในการทํ 6 าการค้าขายกับ ธุรกิจทีม6 แี ต่เว็บไซต์เหมือนกับธุรกิจที6มหี น้าร้านค้าจริงๆ (ดูวธิ กี ารสร้างความเชื6อถือให้กบั เว็บไซต์คุณ หน้า XX) • คลิกและมอต้าร์ เหมาะสําหรับ “ผูท้ ม6ี ธี ุรกิจการค้าเดิมอยูแ่ ล้ว” อยูแ่ ล้วละต้องการขยายเพิม6 ช่องทางการค้าไปยังทัวโลกหรื 6 อทัวประเทศ 6 ผ่านทาง E-Commerce ข้อดี คือ ผูท้ ท6ี าํ จะมีความชํานาญในด้านธุรกิจนันC ๆ อยูก่ ่อนแล้วทําให้การทํางานต่าง สามารถทําได้อย่างรวดเร็ว และนอกจากนีCยงั สามารถมีฐานลูกค้าเดิมอยูแ่ ล้ว ทําให้สามารถ เริม6 ต้นจากลูกค้ากลุ่มเดิมได้ และขยายออกไปได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงจะดูน่าเชื6อถือ และ สร้างความมันใจให้ 6 กบั ลูกค้าได้ดว้ ยเพราะมีตวั ตน มีหลักแหล่งทีต6 ดิ ต่อทีแ6 น่นอน ข้อเสีย คือ ผูท้ ท6ี าํ ได้จะต้องเป็นผูท้ ม6ี ธี ุรกิจอยูแ่ ล้วเท่านันC หากเป็นผูท้ ย6ี งั ไม่มธี ุรกิจและ ต้องการทําในรูปแบบนีCจะต้องมีการลงทุนทีส6 งู และยังจะต้องใช้คนเป็นจํานวนมากในการ บริหารและจัดการระบบต่างๆ ทังC หน้าร้านค้าจริงๆ รวมถึง เว็บไซต์เวลาการทํางานส่วนใหญ่ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 7
จะต้องยึดติดกับระบบการทํางานของหน้าร้านค้าหรือบริษทั เช่น เปิด – ปิด เป็นเวลา จันทร์ ถึงศุกร์ หากนอกเหนือเวลานีCกจ็ ะไม่มคี นมาคอยดูแลหรือรับรองลูกค้า 1.7 รูปแบบประเภทของเว็บไซต์ E-Commerce รูปแบบของการทําเว็บไซต์ E-Commerce มีหลายประเภททังC นีCและทังC นันC ต้องขึนC อยู่กบั ความ ต้องการและรูปแบบในการทําของแต่ละเว็บว่าจะมีรปู แบบเป็ นอย่างไร ซึ6งแต่ละแบบก็มคี วาม แตกต่างกันออกไป ซึง6 ลองมาดูกนั ว่า คุณจะเลือกรูปแบบการทํา E-Commerce รูปแบบไหน ที6 จะเหมาะสมกับคุณและธุรกิจของคุณมากทีส6 ุด 1. การประกาศซืBอ-ขาย (E-Classified) เป็ นรูปแบบเว็บไซต์ E-Commerce ทีเ6 ปิดโอกาส ให้ผทู้ ส6ี นใจประกาศความต้องการซือC -ขาย สินค้าของตนได้ภายในเว็บไซต์ โดยเว็บไซต์ จะทําหน้าทีเ6 หมือนกระดานข่าวและตัวกลางในการแสดงข้อมูลสินค้าต่างๆ และหากมีคน สนใจสินค้าทีป6 ระกาศไว้ ก็สามารถติดต่อตรงไปยังผูป้ ระกาศได้ทนั ทีจากข้อมูลทีป6 ระกาศ อยู่ภายในเว็บไซต์ โดยส่วนใหญ่จะมีการแบ่งหมวดหมู่ของประเภทสินค้าเอาไว้ เพื6อให้ ง่ายต่อการเข้าไปเลือกซือC -ขายสินค้าในเว็บไซต์ เช่น www.ThaiSecondhand.com การ ซือC ขายรูปแบบนีC ผูข้ ายไม่จาํ เป็ นต้องมีเว็บไซต์ของตัวเองเลย แค่อาศัยพืCนทีข6 องเว็บที6 เปิ ดโอกาสให้ประกาศขายของ ก็สามารถเริม6 ต้นการค้าขายได้แล้ว ข้อดีเริม6 ต้นได้ง่าย ทันที ฟรี ข้อเสียคือไม่เหมาะกับผูท้ ม6ี สี นิ ค้าเป็นจํานวนมากๆ 2. เว็บไซต์แคตตาล็อกสิ นค้าออนไลน์ (Online Catalog Web Site) เป็ นรูปแบบจัดทํา เว็บไซต์ E-Commerce ในรูปแบบแคตตาล็อกออนไลน์ ทีม6 รี ปู ภาพและรายละเอียด สินค้า พร้อมที6อยู่เบอร์โทรติดต่อ ไม่มรี ะบบการชําระเงินผ่านทางเว็บไซต์ หรือระบบช้อปปิC ง การ์ด (ตะกร้าสินค้าออนไลน์) โดยหากผูส้ นใจสินค้าก็เพียงโทรสอบถามและสังซื 6 อC สินค้า ได้ ซึ6งเป็ นการใช้เว็บไซต์เป็ นเหมือนโบรชัวร์หรือแคตตาล็อกออนไลน์ เพื6อให้ลูกค้า สามารถเข้ามาเลือกดูรายละเอียดสินค้าและราคาได้ จากทัวประเทศหรื 6 อทัวโลกผ่ 6 านทาง เว็บไซต์ ข้อดีของเว็บแบบนีCคอื สร้างได้งา่ ยเหมาะกับการค้าในพืนC ทีห6 รือประเทศเดียวกัน ข้อเสียคือ ไม่สามารถขายและรับเงินได้ทนั ทีจากลูกค้า ทีต6 อ้ งการชําระเงินผ่านเว็บไซต์ซง6ึ โดยส่วนใหญ่กว่า 70% ของเว็บไซต์ E-Commerce ในประเทศไทยจะเป็ นเว็บไซต์ใน ลักษณะนีC เพราะด้วย รูปแบบเว็บไซต์สามารถจัดทําได้ง่าย ไม่มคี วามซับซ้อนมากนัก ทํา ให้สามารถเริม6 ต้นทําได้งา่ ย เช่น www.PlatinumPDA.com
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 8
3. ร้านค้าออนไลน์ (E-Shop Web Site) เป็ นรูปแบบเว็บไซต์ E-Commerce สมบูรณ์แบบ ทีม6 ที งั C ระบบการจัดการสินค้าระบบตะกร้าสินค้า (Shopping Cart) ระบบการชําระเงิน รวมถึงการขนส่งสินค้า ครบสมบูรณ์แบบ ทําให้ผซู้ อCื สามารถสังซื 6 อC สินค้าและทําการชําระ เงินผ่านเว็บไซต์ได้ทนั ที โดยการชําระเงินส่วนใหญ่สามารถชําระเงินผ่าน บัตรเครดิต เป็ นส่วนมากในการจัดทําเว็บไซต์ลกั ษณะนีC จะต้องมีระบบหลายๆ อย่างประกอบอยู่ ภายใน ทําให้มคี วามซับซ้อนและมีรายละเอียดในการจัดทําค่อนข้างมาก แต่ตอนนีCก็ม ี เว็บไซต์ Ecommerce สําเร็จรูป ที6พร้อมใช้บริการและมีทุกอย่างพร้อมสรรพ ทําให้ สามารถเริม6 ต้นทําเว็บลักษณะนีCได้อย่างรวดเร็ว หากท่านสนใจ ร้านค้าออนไลน์ สามารถ สมัครใช้บริการฟรี ได้ท6ี www.TARADquickwe.com 4. การประมูลสิ นค้า (Auction) เป็นเว็บไซต์ E-Commerce ทีม6 รี ปู แบบของการนําสินค้า ของไปประมูลขายกัน โดยจะเป็นการแข่งขันใน การเสนอราคาสินค้า หากผูใ้ ดเสนอราคา สินค้าได้สงู สุดในช่วงเวลาทีก6 ําหนด ก็จะชนะการประมูลและสามารถซือC สินค้าชินC นันC ไปได้ ด้วยราคาทีไ6 ด้กําหนดไว้ โดยส่วนใหญ่สนิ ค้าทีน6 ํามาประมูล หากเป็นสินค้าใหม่ ซึง6 หลัง การประมูลสินค้าจะมีราคาทีไ6 ม่สงู กว่าราคาท้องตลาด ยกเว้นสินค้าเก่า บางประเภท หาก ยิง6 เก่ามากยิง6 มีราคาสูง เช่น ของเก่าของสะสม เป็นต้น เช่น http://auction.tarad.com, www.ebay.com 5. ตลาดกลางอิ เล็กทรอนิ กส์ (E-Marketplace) เป็ นเว็บไซต์ E-Commerce ทีม6 รี ปู แบบ เป็ นตลาดนัดขนาดใหญ่ โดยภายในเว็บไซต์จะมีการรวบรวมเว็บไซต์ของร้านค้าและ บริษทั ต่างๆ มากมาย โดยมีการแบ่งหมวดหมู่ของสินค้าเอาไว้ เพื6อให้ผใู้ ช้สามารถเข้าไป ดูสนิ ค้าภายในร้านค้าต่างๆ ภายในตลาดได้อย่างง่ายดายและสะดวก โดยรูปแบบของ ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ บางแห่งมีการแบ่งออกเป็ นหลายรูปแบบ ตามลักษณะของ สินค้าทีม6 อี ยู่ภายในตลาดแห่งนันC เช่น ตลาดสินค้าทัวไป 6 www.TARAD.com เว็บไซต์ ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์เกี6ยวกับอาหารwww.FoodMarketExchange.com เว็บไซต์ ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ของสินค้า OTOP อย่าง www.thaitambon.com เป็นต้น ดังนันC จะเห็นว่า รูปแบบของ E-Commerce มีอยู่ 5 รูปแบบ ดังนันC การเริม6 ต้นและการนําไป ประยุกต์ใช้กบั ธุรกิจ และการค้าขายของคุณ ก็ควรเลือกรูปแบบทีม6 คี วามเหมาะสม และอาจจะค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไปก็ได้ หรือจะผสมผสานทําหลายๆ อย่างพร้อมกันในครังC เดียวกันก็ได้เช่น มีเว็บไซต์รา้ นค้า
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 9
ออนไลน์ (E-Shop Web Site) และไปใช้บริการ การประกาศซือC -ขาย (E-Classified) หรือการประมูล สินค้า (Auction) เป็นช่องทํางเสริมในการทําให้ คนรูจ้ กั เว็บไซต์ของเรามากขึนC ก็ได้เช่นกัน 1.8 6 คําถามง่ายๆ ก่อนเริ' มต้นธุรกิ จเว็บไซต์ (5W + 1H) หลาย ๆ คนทีอ6 ยากจะเริม6 ต้นทําธุรกิจ เว็บไซต์ หรือ ทํา E-Commerce มัก จะมาถามผมว่าจะเริม6 ต้นทําธุรกิจเว็บไซต์ต้องทําอย่างไร และต้องใช้อะไรบ้าง ซึง6 ส่วนใหญ่ผมก็มกั จะถามเค้ากลับไปว่า คุณได้วเิ คราะห์ธุรกิจทีค6 ุณจะทํารึ ยังว่ามีความพร้อมแค่ไหน ซึง6 ส่วนใหญ่มกั จะถามกลับมาว่า เค้าต้องวิเคราะห์อะไรบ้าง? และ จะต้องทําอย่างไร? วิธงี ่ายๆ ที6จะทําให้ธุรกิจเว็บไซต์ของคุณเติบโตได้คอื คุณต้องเข้าใจว่า “ลูกค้า” ของคุณ “ต้องการ” อะไร? และคุณก็หา ”วิธกี าร” ทีค6 ุณจะนํามามาตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าคุณให้ได้ โดยการวางแผนเริม6 ต้นธุรกิจเว็บไซต์ หรือธุรกิจทัวๆไป 6 คุณอาจจะ ต้องไปนังวางแผนกั 6 นเป็นอาทิตย์ๆ เพื6อทีจ6 ะได้แผนในการเริม6 ต้นและดําเนินธุรกิจออกมา แต่ผม มีแค่คําถามง่ายๆ 6 ข้อ ถ้าหากคุณตอบได้ทงั C หมด ธุรกิจเว็บไซต์ทค6ี ุณจะทําก็คงจะสามารถทํา ให้ประสพความสําเร็จได้ไม่ยาก โดยใน 6 ข้อนีCประกอบไปด้วย 5W กับ 1H 1. W – Who - ใครคือลูกค้าคุณ? ใครคือกลุ่มเป้าหมายเว็บไซต์ของคุณ? คุณ ควรจะระบุ ลักษณะของกลุ่มเป้าหมายของคุณ ได้เช่น เพศ, อายุ, อาชีพ, ฐานเงินเดือน, พืนC ที,6 พฤติกรรม ฯลฯ เพราะข้อมูลเหล่านีCจะช่วยทําให้คุณสามารถ ระบุกลุ่มเป้าหมายลูกค้าของ คุณให้เด่นชัด เพื6อที6คุณจะสามารถวางแผนการตลาด หรือสร้างสินค้าหรือบริการที6 สามารถตอบสนองกับพฤติกรรมของกลุ่มคนเหล่านีC ได้อย่างถูกต้อง 2. W – What - อะไรคือสิ' งที'ลกู ค้าต้องการ? คุณ ควรจะทราบว่าสินค้าหรือบริการรูปแบบ ไหนที6 ลูกค้าของคุณต้องการ และคุณก็ควรที6จะสามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าคุณได้ และอะไรทีจ6 ะสร้างความแตกต่างให้กบั สินค้าหรือบริการของคุณจากคู่แข่ง คุณได้? 3. W – Where - ลูกค้าคุณอยู่ที'ไหน? คุณจะสามารถหาลูกค้าของคุณได้จากทีไ6 หนบ้าง? และทีไ6 หนคือทีๆ6 ลูกค้าของคุณมักจะไปอยู่ และ คุณสามารถสื6อสารกับลูกค้าได้ ด้วยวิธ ี อะไร? 4. W – When – เมื'อไรที'เค้าต้องการคุณ? คุณควรจะทราบถึงความต้องการของลูกค้าของ คุณว่า เค้าจะต้องการสินค้าหรือบริการของคุณเมื6อไร? ในช่วงเวลาไหน? และต้องการ
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 10
บ่อยแค่ไหน? ซึง6 จะช่วยทําให้คุณสามารถกําหนดและวางแผนการต่างๆ ให้ตรงกับความ ต้องการของลูกค้าได้อย่างถูกต้อง 5. W – Why – ทําไมเค้าต้องมาซืBอหรือใช้บริ การของคุณ? ทําไมลูกค้าเลือกซือC สินค้า หรือบริการของคุณ แทนทีจ6 ะซือC จากคู่แข่ง? ทําไมคุณต้องเข้ามาทําธุรกิจทางด้านนีC 6. H – How – คุณจะเข้าถึงลูกค้าของคุณได้อย่างไร? คุณจะสามารถเข้าถึงลูกค้าคุณได้ ด้วยวิธไี หน อย่างไร? ซึ6งคุณควรจะมีการวางแผนและกําหนดวิธกี ารที6คุณจะสามารถ เข้าถึงลูกค้าของคุณได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพมากทีส6 ุด 1.9 ขายอะไรผ่าน E-Commerce และเว็บไซต์ดีสดุ 1. สิ นค้าราคาถูกว่าท้องตลาด หากคุณสามารถหาแหล่งสินค้าราคาถูกกว่าท้องตลาด นันC หมายถึงความได้เปรียบการขาย เพราะด้วยราคาทีถ6 ูกกว่า นันC จะช่วยทําให้ผซู้ อCื สนใจและ จดจําร้านค้าคุณได้ รวมถึงการบอกต่อไปยังคนอื6นๆ ได้อกี ด้วย แต่หากคุณขายสินค้าผ่าน อินเทอร์เน็ตหรือเว็บไซต์เป็นหลัก คุณก็สามารถลดต้นทุนไปได้มากแล้ว เพราะไม่ต้องมา เสียค่าเช่า ค่านํC า ค่าไฟ ค่าจ้างพนักงาน เพราะคุณสามารถทําเองได้หมด ทําให้ไม่ จําเป็ นต้องตังC ราคาสูงเท่ากับร้านค้าทัวไป 6 หรือบางคนอาจจะรูแ้ หล่งสินค้าราคาถูกใน ท้องถิน6 ของคุณซึง6 หากสินค้าชินC นันC ไปขายทีอ6 6นื ก็จะสามารถขายได้ราคาดีกว่า เช่น คุณ อาจจะอยู่จงั หวัด ขอนแก่น ใกล้แหล่งผ้าไหม คุณก็อาจจะเปิดร้านขายผ้าไหมรวดลาย พิเศษ หายาก ผ่านเว็บไซต์ไปยังทัวประเทศและต่ 6 างประเทศก็ได้ นีCคอื ตัวอย่างคร่าวๆ ที นีCกล็ องมานึกดูสคิ รับ ว่าใกล้ๆ ตัวคุณมีแหล่งสินค้าราคาถูกอะไรบ้าง ทีส6 ามารถนํามาขาย ได้ 2. สิ นค้าเฉพาะกลุ่ม สินค้าทีเ6 ข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเฉพาะกลุ่ม (Niche Market) โดยไม่ได้ เน้นไปทีก6 ลุ่มลูกค้ากลุ่มคนทัวไป 6 (Mass Market) เช่น สินค้าสําหรับคนอ้วน, สินค้า สําหรับคนท้อง, สินค้าสําหรับแม่, สินค้าสําหรับเจ้าสาว-คู่แต่งงาน, สินค้าสําหรับเกย์ หรือ กระเทย เป็ นต้น ซึง6 การทีเ6 ราจับกลุ่มลูกค้าโดยเฉพาะกลุ่ม จะทําให้เราสามารถเจาะและ เข้าถึงลูกค้าเฉพาะได้งา่ ยมาก หากลุ่มลูกค้าได้งา่ ยลูกค้าจดจําคุณได้ง่าย และนันC หมายถึง โอกาสการขายก็มมี ากกว่าการทีเ6 ราไปเปิดเว็บไซต์ขายของเหมือนคนทัวไป 6 ตลาดกลุ่มนีC จะเป็ นตลาดเฉพาะ กลุ่มอาจจะไม่ใหญ่มาก แต่ถ้าคุณจับและเข้าถึงได้แล้วละก็ ยอดขาย น่าจะมีเข้ามาอย่างต่อเนื6อง กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 11
3. สิ นค้า "ไม่" ยอดนิ ยม ลองหาสินค้า ที6 "ไม่ค่อยนิยม" ลองมาขายดู เพราะส่วนใหญ่ เว็บไซต์ ต่างๆ ชอบขายสินค้าที6 "นิยม" ซึง6 ทําให้เกิดการแข่งขันในสินค้าประเภทนีCมาก ทําให้โอกาส สินค้าของคุณจะเป็ นทีร6 จู้ กั เป็ นได้ยาก แต่หากคุณเน้นไปที6 สินค้าไม่เด่น ก็จะทําให้เว็บไซต์ ของคุณเป็ นทีร6 จู้ กั ได้งา่ ยกว่า เช่น เปิดเว็บไซต์ ขายเทปเพลงเก่า พระเครื6อง รุ่นทีไ6 ม่ค่อยมีคน นิยม 4. สิ นค้าไม่ต้องการเปิ ดเผยตัวตน สินค้าบางอย่างผูซ้ อCื ไม่ต้องการเปิดเผยตัวตน เพราะอาจจะมี ความอาย หรือไม่ต้องให้ผขู้ ายรูจ้ กั หรือเห็นหน้า ดังนันC การซือC ผ่านเว็บไซต์ หรืออินเทอร์เน็ต ดู จะเป็ นช่องทางทีห6 ลายๆ คน เลือกใช้ ในการซือC สินค้าลักษณะนีC เช่น สินค้าเกี6ยวกับเรื6องเพศ ถุงยางอนามัย, อุปกรณ์หรือเครือ6 งมือต่างๆ, ชุดชันC ใน Sexy เป็นต้น 5. สิ นค้ามีสไตล์เฉพาะตัว (Unique) หากสินค้า หรือบริการของคุณ มีความเฉพาะตัว แตกต่าง ไม่เหมือนใคร (Unique)ก็สามารถขายได้ดเี ช่นกัน เพราะลูกค้าไม่สามารถหาซือC ที6อ6นื ๆ ได้ นอกจากของคุณเท่านันC เช่น เสือC ผ้า ลายผ้า ทีม6 ดี ไี ซน์เฉพาะตัว, สินค้า Handmade ประเภท ต่างๆ แต่ต้องสร้างความมันใจให้ 6 กบั ลูกค้า ว่าสินค้าของเราเป็ นของดี มีคุณภาพ เพราะสินค้า ลักษณะนีC ส่วนใหญ่ลูกค้าจะไม่รจู้ กั มาก่อน หรือไม่มมี าตรฐานทีแ6 น่ นอน ดังนันC การสร้างความ น่ าเชื6อถือ การทําให้ลูกค้ามันใจ 6 และการให้รายละเอียดสินค้าทีเ6 พียงพอ ครบถ้วน เช่นการมี รูปภาพเยอะๆ การให้รายละเอียดหรือคําอธิบายสินค้าเยอะๆ หรือมี VDO อธิบายสินค้า ดูน่าจะ เป็นวิธที จ6ี ะช่วยทําให้ลกู ค้ามันใจ 6 และซือC สินค้าลักษณะนีCได้ไม่ยาก 6. สิ นค้าที'มีนํBาหนักเบา การขายสินค้าทีม6 นี Cําหนักเบา จะได้มคี วามได้เปรียบ ในด้านการส่งสินค้า ให้ลกู ค้าเพราะจะส่งได้ง่ายกว่า ประหยัดกว่า โดยเฉพาะสินค้าทีม6 ขี นาดเล็กๆ แต่มรี าคา เช่น มี หลายคนๆ ขายแสตมป์เป็ นชุด บางชุดมีราคาหลายพันบาทเลย ส่งง่ายเพราะแค่สอดเข้าซอง จดหมายก็ส่งได้แล้ว ดังนันC สินค้าบางอย่างทีม6 นี Cําหนักเบา มีราคาสูง ก็อาจจะช่วยทําให้การ ค้าขายมีกําไรได้มาก แต่อาจจะต้องให้ความสําคัญกับการขนส่งสินค้าที6มกี ารลงทะเบียนที6จะ ช่วยสร้างความมันใจให้ 6 กบั ผูซ้ อCื ได้เช่นกัน 7. สิ นค้าที'มีเรื'องราว สินค้าหรือของทีม6 เี รื6องราว มีประวัตปิ ระกอบด้วย จะทําให้สนิ ค้าชินC นันC ๆ มี ั C นเผา แต่ผมก็มใี ห้ขอ้ มูลและประวัตขิ อง ความน่ าสนใจมากขึนC เช่น ผมอาจจะขาย เครื6องปนดิ ั C นเผาแต่ละชุดที6ผมขาย เป็ นแบบจําลองมาจาก เครื6องปนดิ ั C นเผาสมัยสุโขทัย มี เครื6องปนดิ ประวัตยิ าวนาน ซึ6งข้อมูลเหล่านีCจะแจ้งในเว็บไซต์ และแพ็กเกจทีส6 ่งไปให้ลูกค้า ซึง6 จะทําให้
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 12
ั C นเผาอันนีCมมี ลู ค่ามากกว่า เครื6องปนดิ ั C นเผาธรรมดาๆ ทีข6 ายอยู่ทวไป เครื6องปนดิ ั 6 นีCคอื ข้อดีของ สินค้าทีม6 เี รือ6 งราวอยูด่ ว้ ย 8. สิ นค้าที'หายาก สินค้าทีห6 ายากย่อมมีคนต้องการ แต่เนื6องจากเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต ทําให้ การเข้าถึงข้อมูลต่างๆ เป็นไปได้งา่ ย ดังนันC หากคุณขายสินค้าทีห6 ายาก และทําให้คนสามารถหา เจอได้ง่ายๆ ในอินเทอร์เน็ต เช่น.คน ค้นหา (search) เจอได้ง่ายโอกาสการขายก็เป็ นไปได้ ง่ายๆ ยกตัวอย่างสินค้า เช่น พระเครือ6 งเก่าๆ, ของเก่า-ของสะสม ประเภทต่างๆ เป็นต้น 9. สิ นค้าที'สามารถ ทําด้วยตัวเอง (Do it yourself - DIY) หลายๆ คนชอบซือC สินค้าทีส6 ามารถ ซือC ไปแล้ว ไปทําเองได้ เช่น ชุดทักโครเช่, ชุดทําอาหารง่ายๆ, อุปกรณ์แต่งบ้าน ต่างๆ เป็ นต้น ซึง6 สินค้าทีเ6 ป็ นลักษณะ ทําด้วยตัวเอง มักจะเป็ นสินค้าที6 ฝรังชอบนิ 6 ยมซือC ไปติดตังC หรือทําด้วย ตัวเองทังC หมดนีCเป็นส่วนทีช6 ่วยทําให้ คุณพอได้ไอเดีย ในการไปคิดต่อว่า เราจะขายสินค้าอะไรดี ผ่านเว็บไซต์ไปยังคนทัวโลก 6 แต่อย่าลืมนะครับ สินค้าเป็ นเพียงแค่ "องค์ประกอบ" หนึ6งเท่านันC การจะขายของบนอินเทอร์เน็ตให้ได้ นันC จะประกอบไปด้วยอีก หลาย ๆปจั จัยด้วยกันเช่น ความ น่ าเชื6อถือ (Trust), การตลาด (Marketing), การรูจ้ กั และรักษาลูกค้า (CRM) และอื6นๆ อีกมาก ดังนันC หลังจากหาสินค้าได้แล้ว ก็เริม6 มาทําปจั จัยในการค้าขายออนไลน์ให้สมบูรณ์กนั
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 13
2. การสาธิ ตการใช้งานและการทําธุรกิ จออนไลน์ บนเว็บไซต์ E-commercethai.com E-commercethai.com คือ ผูใ้ ห้บริการร้านค้าและบริการออนไลน์ เว็บไซต์สําเร็จรูปเว็บไซต์ฟรี ประกาศซือC -ขาย โปรโมทและแนะนํ าร้านค้าและบริการทัวประเทศ 6 รวมทังC สาระความรูเ้ กี6ยวกับธุรกิจ สินค้า บริการ และตลาด ทังC ในประเทศและต่างประเทศ ภายใต้การบริหารงานของบริษทั อินฟินิตCี ไอ เดีย จํากัด ด้วยแนวคิดทีต6 ้องการให้ระบบอินเตอร์เน็ตและเว็บไซต์เป็ นเครื6องมือช่องทางการตลาดและ การบริหารจัดการธุรกิจและบริการให้สามารถเข้าถึงลูกค้าและกลุ่มเป้าหมายโดยตรง โดยใช้ต้นทุนทีต6 6 ํา และคุม้ ค่ามากทีส6 ุด และทําให้เรื6องของการตลาดโดยเฉพาะทางอินเตอร์เน็ตเป็ นเรื6องง่ายสําหรับทุกคน จึงได้เปิดโอกาสให้ทุกท่านทีต6 อ้ งการมีเว็บไซต์รา้ นค้า/บริการ เป็ นของตัวเอง แต่ขาดความเชีย6 วชาญ ไม่ มีความรู้ และประสบการณ์ในการทําเว็บไซต์มาก่อน สามารถสร้างเว็บไซต์ บริหารเว็บไซต์ และเป็ น เจ้าของเว็บไซต์ได้ดว้ ยตนเองเริม6 ต้นด้วยแพ็คเก็จฟรี และแพ็คเก็จอื6นๆ เราสามารถเข้าเยีย6 มชมเว็บไซต์ ของ E-commercethai.com ได้ท6ี http://www.e-commercethai.com/
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 14
3. คู่มือการสร้างร้านค้าออนไลน์ (เว็บไซต์ร้านค้าออนไลน์ ) E-commercethai.com E-commercethai.com Manual คู่มอื การสร้างร้านค้าออนไลน์ (เว็บไซต์รา้ นค้าออนไลน์) นีC เรา E-commercethai.com จัดทําขึนC เพื6อประโยชน์และเป็นคู่มอื สาหรับการใช้งานให้กบั สมาชิก ทังC นีCเพื6อประโยชน์และความสําเร็จยิง6 ขึนC ของ สมาชิก ให้สมาชิกอัพเดทความรูแ้ ละเทคนิคใหม่ๆ ได้ทเ6ี ว็บไซต์ของเรา www.e-commercethai.com ที6 เมนู “เทคนิ คการสร้างร้านค้าออนไลน์ ” สําหรับขันC ตอนในการสร้างร้านค้าออนไลน์ มีดงั นีC • เปิดร้านค้าออนไลน์ • สร้างร้านค้าออนไลน์ เปิ ดร้านค้าออนไลน์ 1. เริ'มสมัครเปิ ดร้านค้า สําหรับผูท้ ส6ี มัครสมาชิกเปิดร้านค้าแล้ว สามารถทีจ6 ะ Login เข้าสู่ระบบบริหารจัดการร้านค้า ออนไลน์ได้โดยเลือกประเภทสมาชิก “สมาชิกเปิดร้านค้า” จากนันC กรอก Username และ Password และกดปุม่ ก็สามารถเข้าบริหารจัดการร้านค้าออนไลน์ได้ สําหรับผู้ท6ยี งั ไม่ได้สมัครสมาชิกสามารถสมัครได้โดยเข้าไปที6 www.e-commercethai.com จากนันC คลิกเลือกทีเ6 มนู » เปิ ดร้านค้าฟรี » สมัครสมาชิ ก / เปิ ดเว็บไซต์ » เปิ ดร้านสมาชิ ก / เปิ ด เว็บไซต์ จากนันC กดเลือกทีป6 มุ่ ยอมรับเงือ6 นไข ไม่ยอมรับเงื6อนไข (เพื6อยอมรับเงื6อนไขการสมัคร เปิดร้านค้าและสมาชิกกับ อีคอมเมิรซ์ ไทยดอทคอม และกรณีท่านกดปุม่ ไม่ยอมรับเงื6อนไข ขันC ตอนการ สมัครก็ยุตลิ ง) และกดทีป6 ุม่
จากนันC ทําการกรอกข้อมูลส่วนตัว และข้อมูลธุรกิจ รวมทังC
ข้อมูลอื6นๆ ทีเ6 กี6ยวข้อง เมื6อกรอกข้อมูลครบถ้วนแล้วให้กดปุม่ เป็ นอันเสร็จสินC การสมัคร สมาชิก การกรอกรายละเอียดข้อมูลเว็บไซต์ ในส่วนของข้อมูลส่วนตัวจะเป็ นข้อมูลสําคัญสําหรับใช้ Login ส่วนข้อมูลธุรกิจจะเป็ นข้อมูลทีจ6 ะแสดงอยู่ในส่วน “เกี6ยวกับเรา” (About Us) และ “ติดต่อเรา” (Contact Us) ภายในเว็บไซต์ สําหรับการกําหนดชือ6 ธุรกิจหรือร้านค้า (Shop Name) การกําหนดชื6อร้าน จะต้องมีจาํ นวนตัวอักษรระหว่าง 2-30 ตัวอักษร (สําหรับชื6อร้านต้องกําหนดชื6อร้านทังC ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ซึง6 จะไปกําหนดทีหลัง หลังจากสมัครและ Login แล้ว) และการกําหนดชื6อ URL (URL
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 15
Name) ชื6อเว็บไซต์ของท่าน โดยกรอกลงไปในช่อง “ชื6อเว็บไซต์ทค6ี ุณสมัครกับ e-commercethai” เช่น กรอกคําว่า thaishop ก็จะได้ URL หรือสามารถเข้าชมเว็บไซต์ท่านได้ท6ี http:// thaishop.ecommercethai.com (กําหนดให้ช6อื URL เป็ นตัวอักษรภาษาอังกฤษ (a-z, A-Z), ตัวเลข (0-9), เครือ6 งหมาย “-” เท่านันC ห้ามมีการเว้นวรรคเด็ดขาด) หมายเหตุ ควรใช้ช6อื URL เป็นชื6อเดียวกับชื6อร้าน แต่เป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ เพื6อลดความ สับสนของลูกค้าเมือ6 เข้าเยีย6 มชมเว็บไซต์ของท่าน
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
หน้า 16
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 17
หลังจากสมัครสมาชิกเรียบร้อยแล้ว ให้สมาชิกกรุณาแฟกซ์สําเนาบัตรประชาชน มาที6 02 635 3178 หรือสแกนและส่งมาทางอีเมล์ท6ี id@e-commercethai.com โดยในสําเนาบัตรประชาชนให้ลงชื6อ พร้อมเขียนกํากับในสําเนาว่า "ใช้สาหรับสมัครสมาชิกเว็บไซต์อคี อมเมิรซ์ ไทย ดอทคอม เท่านันC " และ เขียนชื6อร้าน พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ของท่าน เริ'มสร้างร้านค้าออนไลน์ 1. เริ'มสมัครเปิ ดร้านค้า สําหรับท่านทีส6 มัครสมาชิกเปิดร้านค้าแล้ว สามารถทีจ6 ะ Login เข้าสู่ระบบบริหารจัดการร้านค้า ออนไลน์ได้โดยเลือกประเภทสมาชิก “สมาชิกเปิดร้านค้า” จากนันC กรอก Username และ Password และกดปุม่ ก็สามารถเข้าบริหารจัดการร้านค้าออนไลน์ได้
ภาพแสดงระบบหลังร้าน สําหรับการบริหารจัดการของสมาชิก
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 18
ระบบหลังร้านของสมาชิ กเมื'อ Login เข้าไปแล้วจะประกอบไปด้วยเมนู ดังนีB 1. เมนูสาํ หรับการจัดการร้านค้าของท่าน ในกรณีทเ6ี พิง6 Login เข้ามาครังC แรก เมนูนCีจะชื6อ ว่า “เปิ ด ร้านค้า” และเมือ6 ท่านได้ทาํ การใส่ขอ้ มูลในร้านของท่านแล้ว การ Login เข้ามาครังC ต่อๆ ไป เมนู นีCจะมีช6อื ว่า “แก้ไขร้านค้า” (การเปิดร้านหรือแก้ไขข้อมูลของร้านให้คลิกทีเ6 มนูนC)ี 2. เมนูขอ้ มูลสมาชิก ซึง6 ประกอบไปด้วย เมนูขอ้ มูลสมาชิก และเมนรหัสผ่าน ไว้สาหรับจัดการหรือ แก้ไขข้อมูลของสมาชิก 3. เมนูระบบประกาศ ซึง6 ประกอบไปด้วย - เมนูประกาศซือC /ขาย เป็ นเมนูสาหรับจัดการประกาศซือC ขาย ซึง6 จะแสดงรายการทีท6 ่านได้ ลงประกาศ รวมทังC แก้ไข หรือลบประกาศของท่าน
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 19
- เมนู ลงประกาศซืCอ/ขาย เป็ นเมนู สาหรับลงประกาศซืCอขาย ซึ6งจะแสดงรายละเอียด เกีย6 วกับประกาศให้ท่านกรอกเพื6อลงประกาศ สําหรับเมนู พเิ ศษ เฉพาะสมาชิกที6ต้องการทําการค้าแบบมืออาชีพ และได้สมัครแพ็คเก็จ Deluxe, Executive และExcellence เรามีบริการระบบอัจฉริยะ รองรับให้ท่านสามารถมีโอกาสในการ ทําการค้าได้มากขึนC และวิเคราะห์ค่แู ข่งของท่านได้ คือ 1. ระบบ Business Matching เป็ นระบบอัจฉริยะทีร6 ะบบจะทําการหาและส่งรายงานพร้อม รายละเอียดความต้องการซือC สินค้าหรือบริการของลูกค้าทีต6 รงกับสินค้าหรือบริการทีท6 ่าน ขายหรือให้บริการอยู่ เรียกว่าเป็ นการจับคู่และส่งตรงให้กบั ท่านโดยอัตโนมัตทิ ุกครังC ที6ม ี ความต้องการซือC เกิดขึนC แบบเรียลไทม์ (Real Time) 2. ระบบ Message Matching เป็ นระบบอัจฉริยะที6ระบบจะส่งข้อความหรือรายงาน รายละเอียดความต้องการทีล6 ูกค้าส่งหาท่าน จากหน้าฟอร์มในส่วนประกาศหรือตรงหน้า ฟอร์มที6แสดงสินค้าของท่าน เรียกว่าส่งตรงให้กบั ท่านโดยอัตโนมัตทิ ุกครังC ที6มกี ารส่ง ข้อความเกิดขึนC แบบเรียลไทม์ (Real Time) 3. ระบบ Finding Competitors เป็นระบบอัจฉริยะทีร6 ะบบจะทําการหาและส่งรายงานพร้อม รายละเอียดของคู่แข่งของท่านทีข6 ายสินหรือให้บริการประเภทเดียวกับท่าน เรียกว่าส่ง ตรงให้กบั ท่านโดยอัตโนมัตทิ ุกครังC ทีม6 คี ่แู ข่งของท่านเกิดขึนC ในระบบแบบเรียลไทม์ (Real Time) มาเริ'มต้นสร้างร้านค้า.... เมือ6 Login เข้าสู่ระบบแล้วให้คลิกทีเ6 มนู “เปิ ดร้านค้า” หรือ “แก้ไขร้านค้า” จากนันC ระบบจะเปิด หน้าต่างใหม่ เพื6อเข้าสู่ระบบจัดการร้านค้าของท่าน เมื6อเข้าสู่ระบบหลังร้านแล้วมารูจ้ กั ชื6อเมนู และการ ทําหน้าทีข6 องแต่ละเมนู (ดูรปู ข้างล่างประกอบ)
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
หน้า 20
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
แสดงภาพเมือ คลิกทีเ มนู“เปิ ดร้านค้า” หรือ “แก้ไขร้านค้า” กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
หน้า 21
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
แสดงภาพเมือ คลิกเมนู “ตัง# ค่าพื#นฐานเว็บไซต์” กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
หน้า 22
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 23
เมนู ตังB ค่าพืBนฐานเว็บไซต์ ใช้สาํ หรับการจัดการเว็บไซต์ โดยมีเมนูยอ่ ย คือ 1. ปิดการใช้งานเว็บไซต์ชวคราว ั6 : ใช้คลิกเมื6อต้องการปิ ดใช้งานเว็บไซต์ชวคราว ั6 (โดยปกติ เว็บไซต์ของท่านจะอยูใ่ นสถานะ “เว็บไซต์ของท่านใช้งานอยูต่ ามปกติ”) 2. Meta Tag : ใช้สาหรับกรอกข้อมูลสําหรับการค้นหาของระบบ SEO : Search Engine Optimization Support ซึง6 เป็ นการทําการตลาดเพื6อให้การค้นหาของ Search Engine เช่น Google, yahoo, msn ตรงกับกลุ่มเป้าหมายของสินค้าหรือบริการของท่านหรือตรงตามความ ต้องการ โดยTitle Tag : ใส่รายละเอียดเกี6ยวเว็บไซต์ สินค้า หรือคําทีต6 ้องการให้ Search Engine ค้นหาเจอเว็บไซต์ของเรา Description : ใส่รายละเอียดเกี6ยวเว็บไซต์ สินค้า หรือคําที6 ต้องการให้ Search Engine ค้นหาเจอเว็บไซต์ของเรา ซึง6 เป็ นการอธิบายเกี6ยวกับเว็บไซต์ของ เรา โดยเป็ นคําอธิบายทีม6 คี วามหมาย ตรงกับข้อมูลในเว็บไซต์ และข้อความหรือคําแต่ละ ข้อความไม่ควรยาว Keyword : ใส่รายละเอียดเกีย6 วเว็บไซต์ สินค้า หรือคําทีต6 ้องการให้ Search Engine ค้นหาเจอเว็บไซต์ของเรา โดยทัวไปอาจจะเป็ 6 นคําหรือข้อความทีเ6 หมือนหรือสัมพันธ์กบั คําหรือข้อความใน Title Tag, Description 3. ตังC ค่าทัวไป 6 : ประกอบไปด้วยเมนูสพี นCื หลังเว็บไซต์ ใช้คลิกเมื6อต้องการเลือกหรือเปลีย6 นสีพนCื หลังของเว็บไซต์ โดยคลิกในช่องสีเ6 หลีย6 มเล็กๆ กล่องสีกจ็ ะปรากฏขึนC มา จากนันC ใช้เมาส์คลิก เลือกไปทีส6 ที ต6ี ้องการ เมื6อได้สที 6ตี ้องการแล้ว กดที6ปุม่ OK ก็จะได้สพี Cนื หลังเว็บไซต์ตามที6 ต้องการ (ทังC นีCท่านต้องกดปุม่ Save ก่อน ข้อมูลทังC หมดจึงจะถูกบันทึก) สีช6อื ธุรกิจหรือสีของชื6อ ร้านของท่าน โดยวิธกี ารเลือกสีกท็ าํ แบบเดียวกับการเลือกสีพนCื หลัง 4. ตังC ค่าหัวข้อหลัก : เป็นการตังC ค่าสีและขนาดของตัวอักษร รวมทังC สีพนCื หลังของเมนูหวั ข้อหลัก (เมนูหวั ข้อหลัก เช่น สถิตเิ ว็บไซต์ สินค้าแนะนํา ) สําหรับวิธกี ารเลือกสีพนCื หลังหัวข้อหลักและสี ตัวตัวอักษรหัวข้อหลักทําแบบเดียวกับการเลือกสีพนCื หลังเว็บไซต์ 5. ตังC ค่า Footer : เป็นการตังC ค่าสีและขนาดของตัวอักษร รวมทังC สีพนCื หลังของ Footer สําหรับ วิธกี ารเลือกสีพนCื หลังหัวข้อหลักและสีตวั ตัวอักษรหัวข้อหลักทําแบบเดียวกับการเลือกสีพนCื หลัง เว็บไซต์ คําแนะนา : ท่านควรทีจ6 ะกรอกข้อมูลต่างๆ ในเมนูนCี ก่อนทีท6 ่านต้องกดปุม่ Save เพื6อบันทึก ข้อมูลทังC หมดทีท6 ่านกรอกลงไปเพื6อท่านจะได้ไม่ต้องทําหลายครังC และหากท่านจะเพิม6 เติมหรือแก้ไข ข้อมูลทีท6 ่านบันทึกไปแล้ว ท่านก็สามารถเพิม6 หรือแก้ไขได้ และต้องต้องกดปุม่ Save เพื6อบันทึกข้อมูล ทุกครังC ทีเ6 พิม6 หรือแก้ไขข้อมูล
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 24
เมนู หัวเว็บไซต์ ใช้สาํ หรับเลือกแบบของส่วนหัวเว็บไซต์ โดยมีแบบต่างๆ ให้ท่านเลือก โดยเมือ6 ต้องการเลือกให้ คลิกไปในช่องวงกลมใต้แบบของหัวของเว็บไซต์ จากนันC ก็กดปุม่ Save เพื6อบันทึกข้อมูล จากนันC หัวของ เว็บไซต์ทเ6ี ลือกก็จะแสดงใน “หัวเว็บไซต์ปจั จุบนั ของท่าน” เมนู หน้ าแรกเว็บไซต์ ใช้สาหรับใส่ขอ้ มูลต่างๆ พร้อมทังC ใส่รปู ได้ดว้ ย เช่น การใส่ขอ้ มูลเกริน6 นาเกี6ยวกับร้านหรือสินค้า ของร้าน โดยการพิมพ์ขอ้ มูลต่างๆ จากนันC ก็กดปุม่ Save เพื6อบันทึก รายละเอียดทังC หมดก็จะปรากฏ ตรงหน้าแรกของเว็บไซต์ หมายเหตุ : สาหรับเมนูหวั เว็บไซต์ และหน้าแรกเว็บไซต์นCี จะมีเฉพาะแพ็คเก็จฟรี เท่านันC เมนู ตกแต่งเว็บไซต์ เป็ นเมนู สําหรับการจัดการส่วนของการตกแต่งเว็บไซต์ เช่น อัตราเลือกเปลี6ยน ตรวจสอบ รหัสไปรษณีย์ นาฬิกา และลูกเล่นอื6นๆ ทีม6 ใี ห้เลือก เมนู Template เป็นเมนูสาหรับให้สมาชิกแพ็คเก็จ Standard, Superior, Deluxe, Executive และ Excellence เลือกเทมเพลท หรือรูปแบบของเว็บไซต์ตามทีต6 อ้ งการ โดยเลือกจากส่วนของ “เปลีย6 นเทมเพลท” โดยเมือ6 ต้องการเลือกให้คลิกไปในช่องวงกลมใต้แบบของหัวของเว็บไซต์ จากนันC ก็กดปุม่ Save เพื6อบันทึกข้อมูล จากนันC เทมเพลทของเว็บไซต์ทท6ี ่านเลือกก็จะแสดงใน “เทมเพลทปจั จุบนั ของท่าน”
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
แสดงภาพเมือ คลิกเมนู “หัวเว็บไซต์” กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
หน้า 25
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
แสดงภาพเมือ คลิกเมนู “หน้าแรกเว็บไซต์”
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
หน้า 26
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 27
เมนู ระบบเมนู เป็นเมนูสาํ หรับการจัดการส่วนของเมนูต่างๆ ในเว็บไซต์ เช่น เมนู หน้าแรก เกี6ยวกับเรา สินค้า วิธกี ารชาระเงิน วิธกี ารสังซื 6 อC วิธกี ารรับสินค้า ข่าวสาร โปรโมชัน6 เว็บบอร์ด ติดต่อเรา และเมนูอ6นื ๆ ทีม6 ี ให้เลือก ซึง6 ในระบบเมนูนCจี ะประกอบไปด้วย เมนูดา้ นบน เมนูดา้ นข้าง หมวดสินค้า โดยเมนูทงั C หมดทีจ6 ะ เพิม6 ถือได้ว่าเป็ นเมนู หลักของเว็บไซต์ ท่านสามารถเลือกเพิม6 เมนูต่างๆ ได้ตามต้องการ โดยทังC เมนู ด้านบนและเมนู ดา้ นข้าง จะมีการวิธกี ารเพิม6 ที6เหมือนกัน ทังC นีCในการเพิม6 ทังC ด้านบนและด้านข้างเพื6อ อํานวยความสะดวกให้กบั ผูเ้ ข้ามาใช้งานเว็บไซต์ได้เลือกใช้ได้ง่ายและสะดวก สําหรับการเริม6 เพิม6 เมนู จากการกดทีป6 มุ่ จากนันC กรอกข้อมูล ชื'อเมนูภาษาไทย ท่านสามารถใส่ช6อื ว่าอะไรก็ได้แต่ให้มคี วามหมายสือ6 ถึงประเภทเมนูทท6ี ่านเลือก เช่น เลือก ประเภทเมนู “หน้าแรก” ท่านอาจจะกรอกคาว่า “หน้าแรก” หรือ “หน้าหลัก” เป็นต้น ชื'อเมนูภาษาอังกฤษ ท่านสามารถใส่ช6อื ว่าอะไรก็ได้แต่ให้มคี วามหมายสื6อถึงประเภทเมนูทท6ี ่านเลือก ประเภทเมนู ท่านสามารถเลือกประเภทเมนู แต่ทงั C นีCตอ้ งมีความหมายตรงกับชื6อเมนูทท6ี ่านกรอกลงไป เช่น เลือกประเภทเมนู “หน้าแรก” ลําดับในการแสดง ท่านสามารถใส่ลาดับเมนูต่างๆ ทีท6 ่านต้องการแสดง โดยหน้าเว็บไซต์จะแสดงลาดับในเมนู ด้านบนจากลําดับน้อยไปคือจากซ้ายไปขวา ส่วนเมนูดา้ นข้างจากลําดับน้อยไปคือจากบนลงล่าง คําอธิ บายเมื'อเอาเมาส์ไปชีB ภาษาไทย ท่านสามารถใส่ช6อื ว่าอะไรก็ได้แต่ให้มคี วามหมายสื6อถึงประเภทเมนูทท6ี ่านเลือก คําอธิ บายเมื'อเอาเมาส์ไปชีB ภาษาอังกฤษ ท่านสามารถใส่ช6อื ว่าอะไรก็ได้แต่ให้มคี วามหมายสื6อถึงประเภทเมนูทท6ี ่านเลือก
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 28
รูปแบบในการแสดง มีให้ท่านเลือกว่าเมือ6 คลิกไปทีเ6 มนูนนั C ๆ แล้ว จะให้มกี ารเปิดหน้าต่างเดิม และเปิดหน้าต่างใหม่ โดยการคลิกเลือกในช่องวงกลมหน้าข้อความทีท6 ่านต้องการ (ตัวอย่างตามรูปด้านล่าง) เมือ6 กรอกข้อมูล เสร็จเรียบร้อยแล้วให้กดปุม่ Save เพื6อบันทึกข้อมูล จากนันC ก็ทําการเพิม6 เมนูอ6นื ๆ ตามขันC ตอนดังกล่าว ข้างต้น คําแนะนํา การเลือกเมนูควรเรียงเมนูตามลําดับมาตรฐานทัวไป 6 เพือ6 ป้องกันการสับสนของผูเ้ ข้ามาเยีย6 มชม สําหรับการแก้ไข หรือลบข้อมูลต่างๆ สามารถทําได้โดยคลิกไปทีเ6 ครือ6 งหมายทีแ6 สดงเป็นสัญลักษณ์ตาม ทีร6 ะบุความหมายไว้ดา้ นล่าง
แสดงภาพเมือ คลิกเมนู “ด้านบน”
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
หน้า 29
แสดงภาพตัวอย่างการกรอกข้อมูลเพือ เพิม เมนูของเมนูดา้ นบน
แสดงภาพตัวอย่างเมือ มีการเพิม เมนูของเมนูดา้ นบน หมายเหตุ ความหมายของสัญลักษณ์ หมายถึง ไม่แสดงผล (ปิด)
หมายถึง แสดงผล (เปิด)
หมายถึง แก้ไขข้อมูล
หมายถึง ลบข้อมูล
คําแนะนํา ในการเพิม เมนูสามารถเพิม ได้ตามความต้องการ สําหรับเมนูดา้ นบนควรเลือกเมนูให้ เหมาะสม ทัง# นี#เมนูดา้ นบนเพือ ความสวยงามควรมีไม่เกิน 9 เมนู ส่วนเมนูดา้ นข้างได้ไม่จาํ กัด
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
แสดงภาพตัวอย่างการกรอกข้อมูลเพือ เพิม เมนูของเมนูดา้ นข้าง
แสดงภาพตัวอย่างเมือ มีการเพิม เมนูของเมนูดา้ นข้าง
แสดงภาพเมือ คลิกเมนู “หมวดสินค้า” กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
หน้า 30
р╕Кр╣Ир╕нр╕Зр╕Чр╕▓р╕Зр╣Бр╕ер╕░р╣Ар╕Чр╕Др╕Щр╕┤р╕Др╕Бр╕▓р╕гр╕Чр╣Нр╕▓р╕Шр╕╕р╕гр╕Бр╕┤р╕Ир╕нр╕нр╕Щр╣Др╕ер╕Щр╣М (e-Commerce)
р╣Бр╕кр╕Фр╕Зр╕ар╕▓р╕Юр╕Хр╕▒р╕зр╕нр╕вр╣Ир╕▓р╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╕Бр╕гр╕нр╕Бр╕Вр╣Йр╕нр╕бр╕╣р╕ер╣Ар╕Юр╕╖р╕н р╣Ар╕Юр╕┤р╕б р╣Ар╕бр╕Щр╕╣р╕лр╕бр╕зр╕Фр╕кр╕┤р╕Щр╕Др╣Йр╕▓
р╣Бр╕кр╕Фр╕Зр╕ар╕▓р╕Юр╕Хр╕▒р╕зр╕нр╕вр╣Ир╕▓р╕Зр╣Ар╕бр╕╖р╕н р╕бр╕╡р╕Бр╕▓р╕гр╣Ар╕Юр╕┤р╕б р╣Ар╕бр╕Щр╕╣р╕Вр╕нр╕Зр╣Ар╕бр╕Щр╕╣р╕лр╕бр╕зр╕Фр╕кр╕┤р╕Щр╕Др╣Йр╕▓
р╕Бр╕┤р╕Ир╕Бр╕гр╕гр╕бр╕кр╣Ир╕Зр╣Ар╕кр╕гр╕┤р╕бр╣Бр╕ер╕░р╕Юр╕▒р╕Тр╕Щр╕▓р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╕╣р╕Фр╣Й р╕▓р╣Й р╕Щ ICT (р╕Ыр╕╡ 2554) р╕Бр╕гр╕░р╕Чр╕гр╕зр╕Зр╣Ар╕Чр╕Др╣Вр╕Щр╣Вр╕ер╕вр╕╡р╕кр╕▓р╕гр╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕ир╣Бр╕ер╕░р╕Бр╕▓р╕гр╕кр╕╖р╕н6 р╕кр╕▓р╕г
р╕лр╕Щр╣Йр╕▓ 31
р╕Кр╣Ир╕нр╕Зр╕Чр╕▓р╕Зр╣Бр╕ер╕░р╣Ар╕Чр╕Др╕Щр╕┤р╕Др╕Бр╕▓р╕гр╕Чр╣Нр╕▓р╕Шр╕╕р╕гр╕Бр╕┤р╕Ир╕нр╕нр╕Щр╣Др╕ер╕Щр╣М (e-Commerce)
р╣Бр╕кр╕Фр╕Зр╕ар╕▓р╕Юр╣Ар╕бр╕╖р╕н р╕Др╕ер╕┤р╕Бр╣Ар╕бр╕Щр╕╣ тАЬр╣Ар╕Бр╕╡р╕в р╕зр╕Бр╕▒р╕Ър╣Ар╕гр╕▓тАЭ
р╕Бр╕┤р╕Ир╕Бр╕гр╕гр╕бр╕кр╣Ир╕Зр╣Ар╕кр╕гр╕┤р╕бр╣Бр╕ер╕░р╕Юр╕▒р╕Тр╕Щр╕▓р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╕╣р╕Фр╣Й р╕▓р╣Й р╕Щ ICT (р╕Ыр╕╡ 2554) р╕Бр╕гр╕░р╕Чр╕гр╕зр╕Зр╣Ар╕Чр╕Др╣Вр╕Щр╣Вр╕ер╕вр╕╡р╕кр╕▓р╕гр╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕ир╣Бр╕ер╕░р╕Бр╕▓р╕гр╕кр╕╖р╕н6 р╕кр╕▓р╕г
р╕лр╕Щр╣Йр╕▓ 32
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
แสดงภาพตัวอย่างการกรอกข้อมูลเพือ เพิม เมนู “เกีย วกับเรา”
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
หน้า 33
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
แสดงภาพเมือ คลิกเมนู “ติดต่อเรา”
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
หน้า 34
ช่องทางและเทคนิคการทําธุรกิจออนไลน์ (e-Commerce)
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรูด้ า้ น ICT (ปี 2554) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ6 สาร
หน้า 35