บทที่ 3 ครูเพียงสุรีย์

Page 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

1

หลัก การปฏิบ ัต ิต นในงานอาชีพ

ผู้ที่พัฒนาตนเองย่อมเป็นบุคคลที่ประสบความสำาเร็จในหน้าที่การ งาน ได้รับความก้าวหน้าในสายอาชีพ ได้รับคำายกย่อง สรรเสริญ มากกว่าผู้ที่ทำางานอยู่ไปวัน ๆ โดยไม่สนใจที่จะพัฒนาความรู้และความ สามารถของตนเอง ชอบทำาตามคำาสั่งที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้างาน เท่านั้น ดังนั้นหากมีความอยากและต้องการที่จะประสบความสำาเร็จใน ชีวิต ไม่ควรรอให้หัวหน้างาน องค์การหรือผู้อื่นมาพัฒนาความรู้ ความ สามารถของตนเองในการทำางานเท่านั้น การเริ่มต้นที่จะพัฒนาตนเอง โดยไม่พึ่งผู้อื่นเป็นสิ่งที่ควรกระทำาอย่างยิ่ง และต้องตระหนักอยู่เสอมว่า “ชีวิตเรา เราเป็นผู้เลือกที่จะลิขิตหรือเลือกเส้นทางในการดำาเนินชีวิต เอง” อย่าปล่อยให้ผู้อื่นมาเป็นผู้มอ ี ิทธิพลและชี้นำาในการดำาเนินชีวิตของ เรา

1.

การพัฒ นาตนเองในงานอาชีพ

1.1 ความหมายของการพัฒ นาตนเองในงานอาชีพ การพัฒ นาตนเองในงานอาชีพ หมายถึง การพัฒนาความรู้ ความสามารถของตนเองให้ดีขึ้นทั้ง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

2

เพื่อให้ตนเป็นสมาชิกที่มีประสิทธิภาพของสังคม และเป็นประโยชน์ต่อผู้ อื่น ตลอดจนเพื่อการดำาเนินชีวิตของตนเองอย่างมีความสุข ดังนั้นการ พัฒนาตนเองให้พบกับความสำาเร็จในงานอาชีพขึ้นอยู่กับความพร้อม และความมุ่งมั่นของตนเอง ซึ่งหลักปฏิบัติตนที่สามารถทำาได้ด้วยแนวคิด ของ 4 self มีดังต่อไปนี้ 1.1.1) การรับ รู้ล ัก ษณะเฉพาะของบุค คล (Self Awareness) รู้จ ัก ตน (Self - awareness) คือ การเข้าใจความรู้สึกของตนเอง และจุด มุ่งหมายของชีวิตทั้งระยะสั้นและยาว ตลอดจนรู้จักจุดเด่นจุดด้อยของ ตนเอง อย่างไม่ลำาเอียงเข้าข้างตนเอง การรู้จ ัก ตน (อัต ตัญ ญุต า) หมายถึง การพิจารณาเข้าใจตนเอง ได้แก่ การรู้จักฐานะที่ตนเองเป็นอยู่ การประพฤติให้เหมาะสมกับฐานะ ของตน การปฏิบัติหน้าที่ที่เหมาสมกับตำาแหน่งของตน ไม่ก้าวก่ายสิทธิ และหน้าที่ของผูอ ้ ื่น

การที่เราเปิดเผยตัวเองมากเท่าไร ก็จะยิ่งให้เราเรียนรู้ที่จะเข้าใจ ตนเอง ยอมรับสภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้น การรู้จักตนเอง (Self awareness) รวมไปถึงการรับรู้และรู้จักความสามารถของตัวเราเองจะ ต้องรู้ว่าเราเป็นคนอย่างไร ชอบอะไร ไม่ชอบอะไร เก่งอะไร และที่ สำาคัญเราต้องรู้จักอารมณ์ของตนเองด้วยว่าขณะนี้เรามีอารมณ์เป็น อย่างไร การรู้จักอารมณ์ของตนเองจะนำาไปสู่ การควบคุมอารมณ์และ การแสดงออกที่เหมาะสมต่อไป ซึ่งการที่จะรู้จักตนเอง รูอ ้ ารมณ์ของ ตนเองได้ ต้องเริ่มจากการรู้ตัวหรือมีสติ การรู้จักตนเองเป็นรากฐานของ การสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง เพราะการรู้จักตนเองหมายรวมถึงขีด


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

3

ความสามารถของตัวเรา รู้ขอ ้ จำากัดของตัวเอง อะไรที่ทำาได้ อะไรที่เกิน ฝัน การรู้จักตนทำาให้เราเข้าใจผู้อื่นได้มากขึ้น เราจะพบว่ามีบางเรื่องที่ เราคล้ายคนอื่น และมีอีกหลายเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น เจตคติ ความเชื่อ ประสบการณ์ ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ผลักดันให้เรามีพฤติกรรมหรือการ แสดงออกที่แตกต่างกัน เมื่อเราได้เข้าใจปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ ก็จะทำาให้ เกิดการยอมรับและเข้าใจผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข 1.1.2) ความมีร ะเบีย บวิน ัย ตัว เอง (Self – discipline) หมายถึง การฝึกและควบคุมตนเองให้มีความประพฤติ การปฏิบัติที่ดี และมีการ ปรับปรุงตัวเองอย่างต่อเนื่อง สามารถปฏิบัติภารกิจได้โดยไม่หวั่น อารมณ์ ทำาให้ประสบความสำาเร็จในสิ่งที่อยากทำา การฝึกฝนตนเองให้มี วินัยมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ (1.) การยอมรับ (Acceptance) การมองเห็นภาพความจริงอย่าง ถูกต้อง ยอมรับความจริงได้ทุกรูปแบบอย่างที่มันเป็นจริง ๆ ไม่ใช่การคิด ปรุงแต่งไปเอง (2.) การมีค วามมุ่ง มั่น (Willpower) ความสามารถของตัวเราที่ จะสั่งตัวเองว่า “ต้องทำา” และ

“ต้องมีความรับผิดชอบในสิ่งที่ทำา” มี

คำากล่าวว่า ความแตกต่างระหว่างคนที่ประสบความสำาเร็จกับคนธรรมดา ทั่วไปอยู่ที่ “จิตใจที่มุ่งมั่น” ไม่ใช่อยู่ที่ “ความรู้” บางคนมีความรู้มากมาย แต่ขาดความมุ่งมั่นในการทำางาน ก็ไม่สามารถประสบความสำาเร็จได้ (3.) การทำา งานหนัก (Hard Work) คือความท้าทายในชีวิตอีก รูปแบบหนึ่งว่าคุณจะก้าวข้าม “ความขี้เกียจ” ในตัวไปได้หรือไม่ งานทุก อย่างล้วนสำาเร็จได้ถ้าคุณลงแรงทำาอย่างจริงจัง


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

4

(4. )การทำา งานด้ว ยความอุต สาหะ (Industry) คือ ความมุ่งมั่น ในการทำางาน ไม่ว่าจะเป็นงานยากหรืองานง่าย ถ้าขยันหมั่นเพียรทำาก็ ประสบความสำาเร็จได้อย่างแน่นอน (5.) การทำา งานด้ว ยความมุม านะ อดทน (Persistence) คือ การฝึกตัวเองให้มีความอดทนทำางานไก้ทุกสภาวะไม่ว่าอารมณ์จะเป็น อย่างไร

1.1.3) การปรับ ปรุง ตัง เอง (Self - improvement) เมื่อเราได้ วิเคราะห์ตนเอง แล้วรู้ข้อบกพร่องที่มีอยู่ ก็ควรพยายามเลิกพฤติกรรม นั้นเสีย บุคลิกภาพที่ไม่ดีบางอย่างอาจเกิดจากนิสัยที่ไม่ดี เช่น เป็นคน เจ้าอารมณ์ก็ควรพยายามฝึกให้เป็นคนอดทน เป็นต้น สิ่งที่จะต้อง ปรับปรุงตนเองมีดังนี้ (1). การยอมรับความสามารถของตนเอง (2.) การสร้างสัมพันธภาพที่ดี (3.)การสร้างความเชี่ยวชาญในการสื่อความ (4.) การสร้างความแข็งแกร่งทั้งด้านร่างกายและจิตใจเพื่อ ชีวิตที่เป็นสุข (5.) การปรับทัศนคติให้ถูกต้อง (6.) การพัฒนาความชำานาญในการทำางานอย่างเพียงพอ (7.) การแสดงออกและยืนยันในสิ่งที่ถูกต้อง (8.) วิธีการจัดระเบียบการทำางานและวิถีชีวิตให้สอดคล้อง กัน


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

5

(9.) การหยุดผัดวันประกันพรุ่ง (10.) การสร้างศักยภาพอย่างสร้างสรรค์ (11.) การสร้างจิตสำานึกในการพัฒนางานตลอดเวลา (12.) การสร้างอารมณ์ขัน 1.1.4 ) การประเมิน ผลลัก ษณะเฉพาะของบุค คล (Self evaluation) เป็นการประเมินผลการปฏิบัติตนของตนว่าประสบความ สำาเร็จไปมากน้อยแค่ไหนบ้างซึ่งเราต้องประเมินผลตนเองเป็นระยะ อย่างต่อเนื่องอยู่เสมอ ทั้งนี้คำาถามหลัก ๆ ที่ตอ ้ งประเมินตนเองนั่นคือ เรายังสามารถทำาเป้าหมายที่กำาหนดขึ้นให้เป็นจริงได้นั้นตามเงื่อนไขที่ ถูกกำาหนดขึ้นไว้แล้วได้หรือไม่ เรามีความรู้และความสามารถเพียงพอ หรือยัง เราต้องทำาอย่างไรบ้างในการทำาให้มีความรู้และมีความสมามา รถเพิ่มขึ้นในอันที่จะทำาให้เป้าหมายบรรลุผลสำาเร็จ ทั้งนี้การประเมิน ตนเองนั้นควรกำาหนดขึ้นเป็นระยะ ๆ เช่น ทุกไตรมาส ทุกครึ่งปี หรือทุก ปีเป็นต้น เช่น เราสามารถประเมินความรู้ว่าเมื่อเรียนปริญญาโทแล้ว คุณรู้อะไรเพิ่มมากขึ้นหรือไม่ ความรู้อะไรบ้างที่เราอยากรู้และยังไม่รู้ และต้องทำาอย่างไรบ้างเพื่อให้มีความรู้เพิ่มขึ้นในสิ่งที่ตนเองยังไม่รู้ เป็นต้น จะเห็นได้ว่า การพัฒนาตนเองให้ประสบความสำาเร็จนั้นไม่ยาก ขอเพียงแต่ว่าเราต้องมีความมุ่งมั่นและตั้งใจที่จะบริหารตนเอง (Self) ด้วยการตระหนักรู้ในความคาดหวังของตนเอง การสร้างวินัยในการ ปฏิบัติตนตามเงื่อนไขของเวลาที่กำาหนด การปรับปรุงความรู้ความ สามารถของตนเองอยู่เสมอ และสุดท้ายก็คือ การประเมินผลสำาเร็จใน เป้าหมายที่ตัวเราเป็นผู้ลิขิตขึ้นเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

6

1.2 ความสำา คัญ ของการพัฒ นาตนเองในงานอาชีพ บุคคลล้วนต้องการเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ หรืออย่างน้อยก็ต้องการ ชีวิตที่เป็นสุขในสังคม ประสบความสำาเร็จตามเป้าหมายและความ ต้องการของตนเอง พัฒนาตนเองได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใน สังคมโลก การพัฒนาตนจึงมีความสำาคัญดังนี้ 1.2.1) ความสำา คัญ ต่อ ตนเอง จำา แนกได้ด ัง นี้ (1.) เป็นการเตรียมตนให้พร้อมในด้านต่าง ๆ เพื่อรับกับ สถานการณ์ทั้งหลายได้ด้วยความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง (2.) เป็นการปรับปรุงสิ่งที่บกพร่อง และพัฒนาพฤติกรรมให้เหมาะ สม ขจัดคุณลักษณะที่ไม่ต้องการออกจากตัวเอง และเสริมสร้าง คุณลักษณะที่สังคมต้องการ (3.) เป็นการวางแนวทางให้ตนเองสามารถพัฒนาไปสู่เป้าหมายใน ชีวิตได้อย่างมั่นใจ (4.) ส่งเสริมความรู้สึกในคุณค่าแห่งตนสูงให้ขึ้น มีความเข้าใจ ตนเอง สามารถทำาหน้าที่ตามบทบาทของตนเองได้เต็มศักยภาพ 1.2.2) ความสำา คัญ ต่อ บุค คลอื่น เนื่องจากบุคคลย่อมต้อง เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน การพัฒนาในบุคคลหนึ่งย่อมส่งผลต่อบุคคลอื่น ด้วย การปรับปรุงและพัฒนาตนเองจึงเป็นการเตรียมตนให้เป็นสิ่ง แวดล้อมที่ดข ี องผู้อื่น ทั้งบุคคลในครอบครัวและเพื่อนที่ทำางาน สามารถ


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

7

เป็นตัวอย่างหรือเป็นที่อ้างอิงให้เกิดการพัฒนาในคนอื่น ๆ ต่อไป เป็น ประโยชน์ร่วมกันทั้งชีวิตส่วนตัวและการทำางาน และการอยู่ร่วมกันอย่าง เป็นสุขในชุมชนที่จะส่งผลให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและพัฒนาอย่างต่อ เนื่อง

2.

คุณ สมบัต ข ิ องผูป ้ ฏิบ ต ั ิง านในงานอาชีพ

รูปแบบการทำางานในยุคปัจจุบันไม่ว่าองค์กรขนาดใหญ่ องค์กร ขนาดเล็ก หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานภาคเอกชนก็ตาม มัก เป็นการทำางานในรูปแบบที่เรียกว่า การทำางานเป็นทีม (Teamwork) หมดยุคของการทำางานคนเดียว รับผิดชอบงานคนเดียวในทุกเรื่องหรือ เก่งคนเดียวอีกต่อไป ฉะนั้นในยุคปัจจุบันคนที่เก่งเพียงอย่างเดียวแต่ ขาดการเรียนรู้เรื่องการทำางานเป็นทีม ขาดมนุษย์สัมพันธ์ในการทำางาน และเพื่อนร่วมงาน ไม่สามารถปรับตัวและทำางานร่วมกับคนอื่นได้ ก็ยาก ที่จะประสบความสำาเร็จอีกต่อไป การเรียนรู้หลักการสร้างความสัมพันธ์ ที่ดีกับเพื่อนร่วมงานในทุกระดับทั้งกับเจ้านาย เพื่อนร่วมงานในระดับ เดียวกัน รวมทั้งลูกน้องจึงเป็นสิ่งจำาเป็น การสร้างความสัมพันธ์ในที่ ทำางานเพื่อความสำาเร็จมีดังนี้ 2.1 บุค ลิก ภาพ คำาว่าบุคลิกภาพ (Personality) ทีด ่ ี ไม่ใช่แค่รูปร่างหน้าตา ท่าทาง และการแต่งกายที่ดีเท่านั้น แต่บุคลิกภาพที่ดีตอ ้ งประกอบทั้งรูปลักษณ์ ภายนอก รวมถึงสิ่งที่อยู่ภายใน คือ ความคิด ค่านิยม ทัศนคติ วิสัยทัศน์


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

8

อีกด้วย ลักษณะของคนที่มีบุคลิกภาพที่ดีคือ รูปลักษณ์ภายนอกโดยภาพ รวมต้องดูดี รู้จักกาลเทศะ รู้จักแสดงออกเรื่องอารมณ์อย่างเหมาะสม และสามารถสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างได้เป็นอย่างดี ดังนั้น คนที่มีบุคลิกภาพที่ดีพร้อมทั้งภายนอกและภายในจะเป็นคนที่มีเสน่ห์ เป็นที่รักใคร่ และเป็นที่ยอมรับของเพื่อนร่วมงาน ทำาให้การทำางานราบ รื่นและระสบความสำาเร็จได้ 2.2 มีค วามอ่อ นน้อ มถ่อ มตน ความอ่อนน้อมถ่อมตน (Modesty) คือ การมีกริยามารยาทสุภาพ สงบเสงี่ยม ไม่ยกตนข่มท่าน ไม่ควรถือว่าการถ่อมตนหรือการยอมให้ คนอื่นเป็นการเสียศักดิ์ศรี แต่คิดว่าจะนำามาซึ่งความรักใคร่เพราะไม่มี ใครชอบคนที่ยกตนข่มท่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อาวุโสกว่าหรือผู้ บังคับบัญชา ฉะนั้นการทำาตัวอ่อนน้อมถ่อมตน ผูอ ้ าวุโสและเจ้านายจะ เอ็นดู พร้อมจะให้ความช่วยเหลือสนับสนุนและสอนงานให้ ถ้าสามารถ ทำาตัวเป็นที่รักใคร่เอ็นดูของเพื่อนร่วมงานและเจ้านายได้ถือว่าสามารถ สร้างความสำาเร็จในการทำางานได้เกินครึ่ง ในขณะเดียวกันในฐานะเจ้า นาย การสร้างความสัมพันธ์กับลูกน้อง ก็ไม่ควรใช้พระเดชคือการใช้ อำานาจหรือสั่งการเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ลูกน้องได้แสดง ความคิดเห็นบ้าง และต้องสอนงานรวมทั้งแนะนำาเมื่อลูกน้องไม่เข้าใจ หรือมีข้อผิดพลาดในการทำางาน 2.3

ความเป็น เพื่อ น และมีน ำ้า ใจช่ว ยเหลือ

ความเป็นเพื่อน (Friendly) และมีนำ้าใจช่วยเหลือ (Helpful) ควร ทำาตัวให้สนิทสนมกับเพื่อนร่วมงาน ให้ความเป็นกันเอง วางตัวธรรมดา ไม่ควรถือตัวหรือหยิ่งจองหอง ไม่ว่าฐานะทางเศรษฐกิจหรือฐานะทาง


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

9

สังคมของเราจะสูงกว่าเพื่อนร่วมงานก็ตาม แต่เมื่อทำางานร่วมกันก็ต้อง ถือว่ามีฐานะเท่ากัน รวมทั้งเต็มใจช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานอย่างเต็มกำาลัง ทั้งกายและใจ กำาลังความคิด ในลักษณะเอือ ้ เฟื้อเผื่อแผ่ มีนำ้าใจโอบอ้อม อารีต่อเพื่อนร่วมงาน มีความเป็นเพื่อนร่วมงานได้เป็นอย่างดี และถ้าเป็น เจ้านายการสร้างความรู้สึกให้พนักงานเกรงกลัวเพียงอย่างเดียวจะไม่ ก่อให้เกิดบรรยากาศทีด ่ ีในการทำางาน ลูกน้องจะเครียดและไม่กล้า แสดงความคิดเห็น แต่ควรสร้างบรรยากาศให้พอเหมาะพอดีระหว่าง ความเคารพยำาเกรงกับการกล้าแสดงออก กล้าโต้แย้งหรือแสดงความคิด เห็น

2.4

มีค วามกระตือ รือ ร้น และความรับ ผิด ชอบ

ความกระตือรือร้น (Enthusiasm) และความรับผิดชอบ (Responsibility) คือ มีความกระตือรือร้นในการทำางานทุกชนิด ทำางาน ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ สนุกกับงาน มีความภูมิใจใน หน้าที่และงานที่ทำา ทำางานด้วยความกระฉับกระเฉง รวมทั้งรับผิดชอบ ต่องานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี และเป็นคนที่รับผิดชอบต่อคำาพูด คำามั่นสัญญา รักษาเวลา ทำาตัวให้เป็นคนมีเกียรติ

เป็นที่เชื่อถือได้ มี

ความซื่อตรงสุจริตในงานที่ทำา เป็นที่มาของความสำาเร็จในการทำางาน ทุกชนิด ในฐานะลูกน้องก็ต้องทำางานให้เสร็จทันเวลาที่ได้รับมอบหมาย ทำางานที่ได้รับผิดชอบอย่างเต็มความสามารถ ในขณะเดียวกันถ้าเป็น เจ้านายก็ตอ ้ งรักษาคำาพูด รักษาสัญญาที่ให้ไว้แก่ลูกน้อง เช่น เรื่องของ


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

10

การให้โบนัส การขึ้นเงินเดือน ให้รางวัลพิเศษ หรือการเลื่อนตำาแหน่ง ก็ ต้องทำาตามสัญญาที่ให้ไว้เช่นกัน 2.5

มีป ฏิภ าณไหวพริบ และความคิด สร้า งสรรค์

ในการปฏิบัติงานต้องมีปฏิภาณไหวพริ บ (Intelligence) ทีด ่ ี รวมทั้งการ สร้างความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน จำาชื่อและรายละเอียดของคนที่ต้อง ติดต่องานว่าให้ความสำาคัญกับเขา และถ้าผู้บังคับบัญชาระดับสูง สามารถจำาชื่อและรายละเอียดเกี่ยวกับพนักงานระดับล่างได้จะยิ่งสร้าง ความประทับใจและความชื่นชมในตัวผู้บริหารมากขึ้น รู้จักการแก้ ปัญหาเฉพาะหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนเป็นเจ้านาย หน้าที่หลักอีก ประการหนึ่งคือต้องาสมารถช่วยลูกน้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เสมอ ที่ สำาคัญต้องมีความคิดสร้างสรรค์ เป็นความคิดในทางที่ดีเพื่อสร้างความ สำาเร็จและความเจริญก้าวหน้าในการทำางานและองค์การโดยรวมคนที่มี ความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่ (Constructive) จะมีคุณสมบัติโด่ดเด่นใน ที่ทำางานและก้าวหน้าในหน้าด้านหน้าที่การงานได้ไม่ยาก 2.6

มีค วามขัน และความพยายาม

ความขยันขันแข็ง (Diligent) และความพยายาม (Attempt) คือ การขยันทำางานตามหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ ต้องมีความเพียร ความ พยายาม ฝึกฝน การเรียนรู้เพื่อการทำางานที่พัฒนาขึ้นกว่าเดิม รู้จัก ปรับปรุงตนเอง เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ขวนขวายหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ เพราะปัจจุบันความรู้และเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว คนที่ เรียนรู้ ปรับตัว พัฒนาตนเองอยู่เสมอเท่านั้นจึงประสบความสำาเร็จได้ ฉะนั้นคนที่ขยันขันแข็ง มีความพยายาม จะเป็นที่ยอมรับของเพื่อนร่วม งาน และกลายเป็นคนโปรดของเจ้านายได้


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

11

2.7

มีค วามอดทน

ความอดทน (Patient) คือ อดทนต่อความเหนื่อยและความลำาบาก ในการทำางาน เพราะความสำาเร็จทุกอย่างไม่ได้มาโดยง่าย แต่ต้องมี ความอดทน ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค และไม่กลัวความล้มเหลวทั้งอุปสรรค ในการทำางานและอุปสรรคในการสร้างความสัมพันธ์ในที่ทำางาน โดย เฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นเด็กใหม่หรือคนใหม่ในองค์กร มักจะถูกตั้งข้อ รังเกียจหรือตั้งกำาแพงจากเพื่อนร่วมงานและต้องทำาตัวให้เป็นที่ยอมรับ โดยใช้เวลามามาก 2.8

ให้ค วามเคารพนับ ถือ และรู้จ ัก แสดงความยิน ดีห รือ สรรเสริญ ผู้อ ื่น ด้ว ยความจริง ใจ

การสร้างความสัมพันธ์ในที่ทำางานและเพื่อนร่วมงานที่ดีต้องไม่ขัด เขินในการแสดงความยินดีกับผู้ที่ควรได้รับการยกย่อง เช่น เพื่อนร่วม งานได้เป็นพนักงานดีเด่น สร้างชื่อเสียงให้องค์การ นอกจากนี้ควรให้ ความเคารพนับถือ (Respect) ในความอาวุโส ตำาแหน่งหรือผู้ที่มี ประสบการณ์มากกว่า เพราะ

วัฒนธรรมองค์การของการทำางาน

กับคนไทยและคนเอเชียคือการให้ความสำาคัญกับผู้อาวุโส ผูท ้ ี่มี ประสบการณ์มากกว่านั่นเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าอยู่ในฐานะเจ้านาย ต้องรู้จักการชมเชยลูกน้องเมื่อทำางานดี ทำางานสำาเร็จ เพราะคำาชมและ การยอมรับผลงานของเจ้านายบางครั้งมีค่าแก่พนักงานมากกว่าการขึ้น เงินเดือนด้วยซำ้า


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

12

ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ในที่ทำางานได้เป็นอย่างดี หรือพูดอีกนัยการทำาตัวให้เป็นที่ยอมรับนับถือ เป็นที่รักใคร่ของเพื่อน ร่วมงาน จะนำามาซึ่งความช่วยเหลือ การให้ความร่วมมือในการทำางานที่ ดี จะนำามาซึ่งความสุข ความสำาเร็จในการทำางานในที่สุด

3.

การสำา รวจและพัฒ นาตนเองในงานอาชีพ

การสำารวจตนเอง หมายถึงการรับรู้สภาพการดำารงชีวิตที่เป็นอยู่ ในปัจจุบันว่ากำาลังอยู่ในสภาวะที่กำาลังเผชิญปัญหาอยูห ่ รือไม่ เช่น มี ความลำาบากกาย ลำาบากใจ มีความสับสนวุ่นวายใจ หรือภาวะเครียด หรือความจำาเป็นด้านใดบ้าง การพิจารณาสภาพปัญหา หรือความ ต้องการของตน มีประโยชน์ต่อการกำาหนดลักษณะปัญหาหรือ พฤติกรรมเป้าหมายในการพัฒนาตนต่อไป การรับรู้สภาวะแห่งตนใน ด้านต่าง ๆ จำาเป็นต้องมีความถูกต้องชัดเจน 3.1 วิธ ีก ารสำา รวจตัว เอง วิธ ีก ารสำา รวจตัว เองทำา ได้ 2 วิธ ี คือ 3.3.1) การสัง เกต จะทำาให้ทราบลักษณะนิสัยของตนเอง เพราะ ไม่มีใครรู้จักตัวเองได้ดีเท่าตนเอง การสังเกตตนเองจะเชื่อถือได้เพียงใด ขึ้นอยู่กับการทำาใจเป็นกลาง ไม่เข้าข้างตนเองหรือดูถูกผู้อื่น ซึ่งทำาได้ ยาก การสังเกตตนเองทำาได้โดยพิจารณาดังนี้ (1.) เกี่ย วกับ สภาพร่า งกาย มีสิ่งที่ควรพิจารณาประเมินตนเอง ได้หลายประการ เช่น สุขภาพร่างกาย กริยาท่าทาง บุคลิกภาพโดยรวม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

13

(2. ) เกี่ย วกับ อารมณ์แ ละจิต ใจ มีลักษณะที่ควรศึกษาสำารวจ เช่น สุขภาพทางจิต นิสัยใจคอ และการมีวินัยในตนเอง (3.) เกี่ย วกับ พัฒ นาการทางสัง คม หมายถึง ความสามารถ ทั่วไปในการติดต่อสัมพันธ์กับคนอื่น มีลักษณะที่อาจประเมินได้หลาย ประการ เช่น ความสามารถในการติดต่อสือ ่ สาร พฤติกรรมการ แสดงออกและความสัมพันธ์กับผู้อื่น (4.) เกี่ย วกับ สติป ัญ ญา ความสามารถและการประกอบอาชีพ การงานมีลักษณะที่พึงประเมินได้หลายประการ เช่น ความรู้ทั่วไป การ ตัดสินใจ การแก้ปัญหา และการบริหารเวลา (5.) เกี่ย วกับ การศึก ษาและความสามารถเฉพาะตัว จบการ ศึกษาระดับใด จากสถาบันการศึกษาใด เคยผ่านการฝึกงานหรือไม่ มี มาตรฐานฝีมอ ื แรงงานหรือไม่ มีประสบการณ์ในการทำางานมากี่ปี มี ความสามารถพิเศษอะไรบ้าง เป็นต้น 3.1.2) การบอกกล่า วของผู้ใ กล้ช ิด จะบอกได้ว่าตัวเรามีนิสัย อย่างไร คิดอะไร ต้องการอะไร มีความเชื่อ ความนิยมชมชอบเรื่องอะไร คำาบอกเล่าของผู้อื่นจะทำาให้เรารู้ลักษณะนิสัยบางอย่างและเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาในสิ่งที่ตนไม่รู้ ทั้งนี้ต้องทำาใจให้กว้าง ยอมรับ ฟัง และไม่พยายามแก้ตัว 3.2 การพัฒ นาตนเอง การพัฒ นาตนเองมีข ั้น ตอนดัง นี้ 3.2.1) การควบคุม ตนเอง (Self - control) คือ การที่บุคคลเป็นผู้ ดำาเนินการในการพัฒนาหรือปรับปรุงพฤติกรรมด้วยตนเองทั้งหมด ไม่ ว่าจะเป็นการเลือกเป้าหมาย หรือวิธีการดำาเนินการทั้งหมดเพื่อที่จะให้


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

14

บรรลุเป้าหมายนั้น ถ้าบุคคลใดมีทักษะการควบคุมตนเองได้ดี สิ่งเร้า ภายนอกจะมีอิทธิพลต่อบุคคลนั้นน้อยมาก และในทางกลับกัน คนที่มี ทักษะในการควบคุมตนเองอยู่ในระดับตำ่า สิ่งเร้าภายนอกจะมีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมของบุคคลนั้นได้มาก การควบคุมตนเองมีเทคนิควิธีใช้ได้ หลายวิธี เช่น การควบคุมสิ่งเร้า การเตือนตนเอง การเสริมแรงตนเอง และการลงโทษตนเอง การทำาสัญญากับตนเอง การเปลี่ยนการตอบ สนอง 3.3.2) การทำา สัญ ญากับ ตน (Self - contract) เป็นเครื่องมือที่มี พลังต่อการก้าวไปสู่ความสำาเร็จ การทำาสัญญากับตนเป็นข้อตกลงที่ เขียนเป็นลายลักษณ์ที่ทำากับตนเอง ระบุขั้นตอนที่ดำาเนินการและเมื่อ บรรลุเป้าหมายจะให้อะไรกับตนเอง การทำาสัญญากับตนก็เหมือนกับ การทำาสัญญาอื่น ๆ คือ จะต้องมีข้อความที่ระบุในสัญญาว่าจะให้เวลา เท่าไร ซึ่งอาจให้เวลา 2 – 3 นาที เป็นสัปดาห์ เป็นเดือน เป็นปี การเขียน สัญญาควรเขียนเฉพาะสิ่งที่รู้ว่าสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อบรรลุตาม สัญญาก็เปลี่ยนไปสู่พฤติกรรมเป้าหมายขั้นต่อไป การทำาสัญญากับตน หากนำาไปใช้ควบคู่กับวิธีการหรือเทคนิคการพัฒนาตนอื่น ๆ จะช่วยให้ วิธีการหรือเทคนิคนั้นเพิ่มประสิทธิภาพมากขึ้น 3.2.3 )การกำา กับ ตน (Self - regulation) เป็นเทคนิคการพัฒนา ตนอีกวิธีหนึ่ง เป็นการกำากับพฤติกรรมของตน การกำากับตนประกอบ ด้วย มาตรฐานของพฤติกรรม ความรู้สึกต่อพฤติกรรม และการเปรียบ เทียบระหว่างสองพฤติกรรม 2 อย่าง และเมื่อใดมีความรู้สึกว่าพฤติกรรม นั้นไม่เหมาะสม การปรับพฤติกรรมโดยวิธีการกำากับตน หรือวิธีอื่นก็จะ เกิดขึ้น กระบวนการกำากับตนจะเกิดขึ้นซำ้า ๆ จนกว่าจะได้มาตรฐาน เกิด


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

15

เป็นทักษะ เกิดเป็นนิสัย หรือจนกว่าจะยอมแพ้ อันแสดงถึงการไม่สารมา รถกำากับตนเองได้ 3.2.4 ) การปรับ ตน (Self - modification) การปรับตนจะ สามารถทำาได้สำาเร็จต้องอาศัยองค์ประกอบคือ การรู้จักตน (Self knowledge) การวางแผน (Planning) การรวบรวมสารสนเทศ (Information Gathering) และการปรับเปลี่ยนแผน โดยอาศัยสารสนเทศ ใหม่ การปรับตนมีขั้นตอนดังนี้ 1.) การกำา หนดเป้า หมาย และกำา หนดพฤติก รรมที่ต ้อ งการ เปลี่ย นแปลงตามเป้า หมาย ในขั้นนี้เริ่มด้วยการสังเกตตน เพื่อหา ข้อมูลเกี่ยวกับตนในการที่จะรู้จักตน เป็นกุญแจสำาคัญสำาหรับการปรับ ตน การกระทำาทุก ๆ อย่าง อันได้แก่ พฤติกรรม ความคิด ความรู้สึก ตลอดจนการแสดงออกในสถานการณ์ต่าง ๆ จะต้องได้รับการสังเกต อย่างจริงจัง และเมื่อเราสังเกตอย่างจริงจังจะค้นพบความจริง หลังจาก นั้นจึงตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน 2.) สัง เกตพฤติก รรมเป้า หมาย ในขั้นตอนนี้ผู้ที่ปรับตนจะต้อง มีการบันทึก โดยบันทึกพฤติกรรมเป้าหมายมีการแจงนับว่ามีการแสดง พฤติกรรมเป้าหมายนั้นบ่อเพียงใด และพยายามค้นให้พบว่า อะไรที่ กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมเหล่านั้น และผลตอบแทนที่ได้จากการกระทำา พฤติกรรมเหล่านั้นคืออะไร การบันทึกพฤติกรรมเป้าหมาย มีหลักการ ดังนี้ (1.) จดบันทึกทันทีเมื่อมีพฤติกรรมเกิดขึ้น อย่าทิ้งไว้นาน (2.) นับพฤติกรรมที่แสดงออกมาอย่างละเอียด ถูกต้อง และเคร่งครัด


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

16

(3.) จดบันทึกให้ละเอียดชัดเจน (4.)ทำาระบบการจดบันทึกให้ง่ายที่สุดเท่าที่จะง่ายได้ และพยายามทำา ระบบบันทึกให้เหมาะกับนิสัยตน 3. )สาเหตุท ี่ท ำา ให้ก ารปรับ ตนประสบความล้ม เหลว การปรับ ตนอาจจะประสบความล้มเหลวได้ด้วยสาเหตุต่อไปนี้ (1.) ล้มเหลวในการสังเกตตน (2.) ไม่ยอมใช้เทคนิควิธี (3.) ไม่เชื่อว่าเทคนิควิธีจะช่วยได้ (4.) ไม่เชื่อว่าจะบรรลุเป้าหมายที่ต้องการได้ (5.) ไม่ต้องการที่จะปรับตนอย่างจริงจัง (6.) ไม่ใช้เวลาและความพยายามเต็มที่ (7.) เริ่มต้นด้วยความสำาเร็จ แต่เกิดความไม่กล้าในภายหลัง (8.) มีบุคคลอื่นทำาให้เกิดความไม่กล้าที่จะใช้เทคนิค โดยบอกว่าแก้ ปัญหาไม่ได้หรือไม่ฉลาดเลยที่ใช้เทคนิคนั้น เป็นต้น จะเห็นว่าเทคนิคในการพัฒนาตนที่กล่าวมาทั้งหมดจะมี กระบวนการที่คล้ายกัน คือ ในแทบทุกเทคนิคจะมีการกำาหนดพฤติกรรม เป้าหมายหรือพฤติกรรมเป้า มีการวางแผน มีการประเมิน ตลอดจนมี การเสริมแรง ในขณะเดียวกันสามารถใช้เทคนิคหนึ่งในอีกเทคนิควิธี หนึ่งได้ เช่น เทคนิคการทำาสัญญากับตนสามารถจะนำาไปใช้กับทุกๆ เทคนิค ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่มีประสิทธิผล


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

17

กิจ กรรมตรวจสอบความเข้า ใจที่ 3.1

จงตอบคำา ถามต่อ ไปนี้ 1)

ตอบ

การพัฒนาตนเองในงานอาชีพหมายถึงอะไร การพั ฒ นาความรู้ ความสามารถของตนเองให้ ดี ขึ้ น ทั้ ง

ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม เพื่อให้ตนเป็นสมาชิกที่มีประสิทธิภาพ ของสังคม และเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ตลอดจนเพื่อการดำาเนินชีวิตของ ตนเองอย่างมีความสุข

2)

ตอบ

การพัฒนาตนเองให้พบกับความสำาเร็จในงานอาชีพยึดหลักอะไร แนวคิดของ 4 self มีดังต่อไปนี้


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

18 1)

การรับรู้ลักษณะเฉพาะของบุคคล (Self Awareness) รู้จัก ตน (Self - awareness)

2)

ความมีระเบียบวินัยตัวเอง (Self – discipline)

3)

การปรับปรุงตังเอง (Self - improvement)

4)

3)

ตอบ

การประเมินผลลักษณะเฉพาะของบุคคล (Self evaluation)

การพัฒนาตนมีความสำาคัญต่อตนอย่างไร 1.) เป็นการเตรียมตนให้พร้อมในด้านต่าง ๆ เพื่อรับกับ สถานการณ์ทั้งหลายได้ด้วยความรู้สึกที่ดีต่อ ตนเอง 2.) เป็นการปรับปรุงสิ่งที่บกพร่อง และพัฒนาพฤติกรรมให้เหมาะ สม ขจัดคุณลักษณะที่ไม่ต้องการออกจากตัวเอง และเสริมสร้าง คุณลักษณะที่สังคมต้องการ 3.) เป็นการวางแนวทางให้ตนเองสามารถพัฒนาไปสู่เป้าหมายใน

ชีวิตได้อย่างมั่นใจ 4.) ส่งเสริมความรู้สึกในคุณค่าแห่งตนสูงให้ขึ้น มีความเข้าใจ ตนเอง สามารถทำาหน้าที่ตามบทบาทของตนเองได้เต็มศักยภาพ

4)

ตอบ

คุณสมบัติของบุคคลในการพัฒนาตนเองประกอบด้วยอะไรบ้าง 1. บุคลิกภาพ


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

19

2. มีความอ่อนน้อมถ่อมตน 3. ความเป็ นเพื่อน และมีนาใจช่ ้ ำ วยเหลือ 4. มีความกระตือรื อร้น และความรับผิดชอบ 5. มีปฏิภาณไหวพริ บ และความคิดสร้างสรรค์ 6. มีความขันและความพยายาม 7. มีความอดทน ให้ ความเคารพนับถือและรู้ จักแสดงความยินดีหรือสรรเสริญผู้อนื่ ด้ วยความจริงใจ 5)

ตอบ

การพัฒนาตนเองมีกี่ขั้นตอนอะไรบ้าง มี 4 ขัน ้ ตอน ดังนี้

1)

การควบคุมตนเอง (Self - control)

2)

การทำาสัญญากับตน (Self - contract)

3)

การกำากับตน (Self - regulation)

4)

การปรับตน (Self - modification)

4. แนวทางในการพัฒ นาตนเองในงานอาชีพ


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

20

การพัฒนาตนเองเพื่อสร้างความงอกงามและเพิ่มความสมบูรณ์ใน ชี วิ ต ของบุ ค คลมี ห ลายแนวทางและหลายแนวคิ ด ซึ่ ง สรุ ป หลั ก การที่ สำาคัญอยู่ใน 3 แนวทาง คือ การพัฒนาตนเองเชิงการแพทย์ การพัฒนา ตนเองเชิงจิตวิทยา และการพัฒนาตนเองเชิงพุทธศาสตร์ 4.1

แนวทางการพัฒ นาตนเองเชิง การแพทย์

เน้นความสำา คัญของการรักษาสภาวะแวดล้อมภายในร่างกายให้ สมดุล หรือมีการเปลี่ยนแปลงอย่าเหมาะสมกับการทำาหน้าที่ต่าง ๆ ของ ร่างกาย เพราะร่างกายประกอบด้วยอวัยวะต่าง ๆ ที่ทำา งานประสานกัน ถ้าทุกระบบทำางานปกติ จะเป็นสภาวะการเจริญเติบโตและการดำารงชีวิต ตามปกติของบุคคล แต่ถ้าหากระบบใดระบบหนึ่งไม่สามารถทำางานตาม หน้ า ที่ ได้อ ย่า งสมบู รณ์ ย่อ มเป็ น อุ ป สรรค์ ต่ อ การดำา รงชี วิ ต ต่ อ กาเจริ ญ เติบโตและการพัฒนา ทำา ให้เกิดปัญหาต่อบุคคลนั้น เทคนิคการพัฒนา เชิงการแพทย์ที่สำาคัญได้แก่ 4.1.1) ต ร ว จ ร่ า ง ก า ย โ ด ย ทั่ ง ไ ป ทั้ ง ร ะ บ บ ภ า ย ใ น แ ล ะ ภายนอก ด้วยการสังเกตตนอย่างสมำ่าเสมอ และรับการตรวจจากแพทย์ อย่างน้องปีละครั้ง 4.1.2) ปรึก ษ า ผู้ช ำา น าญ ก า ร เ พื่อ ส ร้า ง ภูม ิค ุ้ม กัน ต น เ อ ง จ า ก โรคภัย ต่า ง ๆ ตามที่สมควร เหมาะสมกับเพศและวัย


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

21

4.1.3) ส่ง เสริม ความส มบูร ณ์ข อ งร่า งกาย แล ะจิต ใ จด้ว ย วิธ ี ต่า ง ๆ เช่น ฝึกนิสัยการกินที่ดี รักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงโดยวิธี ธรรมชาติ ไม่รอพึ่งยาเฉพาะที่เวลาเจ็บป่วยเท่านั่น 4.1.4) หมั่น ออ กกำา ลัง กาย ในที่อ ากาศ บริส ุท ธิ์ เพื่อบริหารทุก ส่วนของร่างกายอย่างสมำ่าเสมอ 4.1.5) มองโลกในแง่ด ี ทำา อารมณ์แ ละจิต ใจให้ผ ่อ งใส 4.1.6) ศึก ษาหาความรู้ เรื่องการผ่อนคลายความเครียด และการ ลดความวิตกกังวลด้วยตนเอง

4.2

แนวทางการพัฒ นาตนเองเชิง จิต วิท ยา

แนวคิ ด ทางจิ ต วิ ท ยามีห ลายกลุ่ ม แต่ แ นวคิ ด จิ ต วิ ท ยาพฤติ กรรม นิ ยม (Behaviorism) และจิตวิ ทยาปั ญญานิย ม (Cognitive Psychology) ให้หลักการที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองค่อนข้างมาก 4.2.1) แ น ว คิ ด จิ ต วิ ท ย า พ ฤ ติ ก ร ร ม นิ ย ม มี ค ว า ม เ ชื่ อ ว่ า พฤติ ก รรมของมนุ ษ ย์ ไ ม่ ว่ า พฤติ ก รรมที่ เ ป็ น ปั ญ หา หรื อ พฤติ ก รรมที่ ต้ อ งการพั ฒ นาล้ ว นเกิ ด จากการเรี ย นรู้ คื อ เป็ น ผลของการที่ ม นุ ษ ย์ มี สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม พฤติกรรมที่ไม่ปกติของบุค คล (ยกเว้นเหตุจาก พันธุกรรม ความผิดปกติทางชี วเคมี และจากความบกพร่ องของระบบ ประสาท) เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ที่ไม่ถูกต้อง ถ้าจะปรับปรุง หรือแก้ไขก็ทำาได้โดยให้การเรียนรู้เสียใหม่ การพัฒนาตนเองจึงจำาเป็น


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

22

ต้อ งเข้าใจหลักการสำา คัญ ของการเรีย นรู้ เพื่ อ ปรั บ พฤติ กรรมโดยการ ควบคุมตนเอง ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ (Operant Conditioning) เป็นแนวคิดสำาคัญของจิตวิทยา พฤติกรรมนิยมที่เป็นหลักการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการพัฒนาหรือปรับปรุงตนเอง ซึ่งอธิบายว่า พฤติกรรมของมนุษย์เป็นผลพวงเนื่องจากการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงออกมาจะเปลี่ยนแปลงไปได้เนื่องจาก ผลกรรม (Consequences) ที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมนั้น ผลกรรมนี้มี 2 ประเภท คือ ผลกรรมที่เป็นตัวเสริมแรง (Reinforce) ที่มีผลให้พฤติกรรม ที่บุคคลกระทำาอยู่มอ ี ัตราการกระทำาเพิ่มมากขึ้น และผลของกรรมที่เป็น ตัวลงโทษ (Punisher) ที่มีผลให้พฤติกรรมที่บุคคลกระทำาอยู่นั้นลดลง 4.2.2 )

แนวคิด จิต วิท ยาปัญ ญานิย ม มีแนวความเชื่อว่า

พฤติกรรมของมนุษย์ไม่ได้เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากปัจจัย ทางสภาพแวดล้อมเพียงอย่างเดียว แต่จะเกี่ยวข้องกับ 3 ปัจจัยสำาคัญ ได้ เก่ สติปัญญา ลักษณะทางชีวภาพ และกระบวนการอื่น ๆ ภายใน ร่างกาย ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม และปัจจัยด้านพฤติกรรม ได้แก่ การกระทำาต่าง ๆ ซึ่งปัจจัยทั้งสามนี้ทำาหน้าที่กำาหนดซึ่งกันและกัน (Reciprocal Determinism) แต่ไม่ได้หมายความว่าจะมีอิทธิพลต่อกัน และกันอย่างเท่าเทียมกัน และอาจไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมกัน บางปัจจัยอาจ มีอิทธิพลมากกว่า ซึ่งอาจต้องอาศัยระยะเวลาเป็นตัวประกอบด้วยในการ กำาหนดให้เกิดผลกระทบต่อปัจจัยอื่น


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

23

1.) แนวคิด เกี่ย วกับ การเสริม แรง จิตวิทยาปัญญานิยมไม่ได้ มองการเสริมแรงเป็นเพียงแต่การทำาให้พฤติกรรมมีความถี่เพิ่มขึ้น เท่านั้น แต่ยังทำาหน้าที่อื่น ๆ อีก 3 อย่างคือ (1) เป็นข้อมูลให้บุคคลรู้ว่าคราวต่อไปในอนาคตควรจะกระทำา พฤติกรรมใดในสถานภาพการณ์ใด (2) เป็นสิ่งจูงใจให้บุคคลเกิดความคาดหวังว่าการกระทำาบางอย่าง จะทำาให้ได้รับการเสริมแรง เป็นการเพิ่มโอกาสให้การกระทำาดังกล่าว เกิดขึ้นในระยะต่อมา (3) ทำาหน้าที่เป็นตัวเสริมแรง คือ เพิ่มความถี่ให้พฤติกรรมต่อเมื่อ บุคคลตระหนักถึงการมีโอกาสสูงที่จะได้รับการเสริมแรง 2.) แนวคิด เกี่ย วกับ การเรีย นรู้ จิตวิทยาปัญญานิยมเชื่อว่า พฤติกรรมส่วนใหญ่เกิดจากการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational learning) เป็นการสังเกตจากตัวแบบ ซึ่งต่างจากการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรงที่มีการลองผิดลองถูก แต่ตัวแบบเพียงคนเดียวสามารถ ถ่ายทอดทั้งความคิดและการกระทำาได้พร้อมกัน เนื่องจากคนส่วนใหญ่ มักมีสภาพแวดล้อมที่จำากัด การรับรู้ทางสังคมจึงผ่านจากประสบการณ์ ของคนอื่นหรือสือ ่ ๆ เป็นส่วนมาก ตัวแบบแบ่งได้ 2 ประเภทคือ (1) ตัว แบบที่เ ป็น บุค คลจริง ที่เราได้มีโอกาสสังเกตและ เกี่ยวข้องกับตัวแบบนั้นโดยตรง (2) ตัว แบบที่เ ป็น สัญ ลัก ษณ์ เป็นตัวแบบที่เสนอผ่านสื่อต่าง ๆ ทางวิทยุ โทรทัศน์ หรือนิยาย


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

24

ความสำา คัญ ของตัว แบบต่อ การเรีย นรู้ห รือ การเปลี่ย นแปลง พฤติก รรม คือ •

ทำาหน้าที่สร้างพฤติกรรมใหม่ให้บุคคล ในกรณีที่ยังไม่เคยได้เรียน รู้พฤติกรรมนั้นมาก่อนเลย

ทำาหน้าที่เสริมพฤติกรรมของบุคคลที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น ในกรณีที่ เคยเรียนรู้พฤติกรรมนั้นมาบ้างแล้ว ตัวแบบจะเป็นแรงจูงใจให้ บุคคลพยายามพัฒนาพฤติกรรมให้ดียิ่งขึ้น

ทำาหน้าที่ยับยั้งการเกดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ หรือทำาให้ พฤติกรรมนั้นลดความถี่ลง ในกรณีที่เห็นผลกรรมที่เป็นโทษจาก การกระทำาที่ไม่เหมาะสมของตัวแบบ

การเรีย นรู้โ ดยการสัง เกตจากตัว แบบ ประกอบด้ว ย 4 กระบวนการ คือ


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

25 (1)

กระบวนการตั้งใจ (Attention) เป็นตัวการกำาหนดว่าบุคคล

จะสังเกตอะไรจากตัวแบบ การตั้งใจสังเกตจะทำาให้เกิดการรับรู้ได้อย่าง แม่นยำาของพฤติกรรมของตัวแบบความตั้งใจจะสูงถ้าหากตัวแบบเป็นผู้ มีชื่อเสียงมีลักษณะดึงดูดใจ เป็นที่นิยมชื่นชอบกันทั่งไป หรือมีลักษณะ คล้ายคลึงกับผู้สังเกต และยังขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้สังเกตเกี่ยวกับ ความสามารถในการรับรู้ สติปัญญา ระดับการตื่นตัว เจตคติ อีกด้วย (2)

กระบวนการเก็บจำา (Retention) ผูส ้ ังเกตต้องมีความสามารถ

ในการเก็บจำาลักษณะของตัวแบบได้ถูกต้อง สามารถแปลงข้อมูลของตัว แบบเป็นสัญลักษณ์ทางภาพหรือทางภาษาได้ เพื่อจัดโครงสร้างในการ เก็บจำาได้ง่ายขึ้น ในขั้นตอนนี้จะเกี่ยวข้องกับความสามารถทางภาษา และการสร้างจิตนภาพในสมอง เมื่อเก็บจำาไว้แล้วต้องสามารถเรียกกลับ มาได้อีก ในกรณีที่ต้องการทดลองปฏิบัติเป็นพฤติกรรมของตนเอง (3)

กระบวนการทำา (Reproduction) ในขั้นตอนนี้ผู้สังเกตจะใช้

ความคิดดัดแปลงพฤติกรรมที่ได้เก็บจำาไว้นั้นออกมาเป็นการกระทำาจริง ด้วยตนเอง ตอนแรกคงเป็นการพยายามกระทำาให้เหมือนกับตัวแบบ ซึ่ง จะทำาได้ดห ี รือไม่ย่อมขึ้นอยู่กับสิ่งที่เก็บจำา การสังเกตตนเอง การได้ ข้อมูลย้อนกลับ และการเปรียบเทียบการกระทำาของตนกับสิ่งที่จำาได้ เมื่อ ได้ทดลองทำาบ่อย ๆ จะสามารถเรียนรู้ได้เร็วขึ้น และยังจะสามารถ พัฒนาก้าวหน้าไปโดยจินตนาการของตนเองได้อีกด้วย (4)

กระบวนการจูงใจ (Motivation) แม้ผู้สังเกตจะมีความ

สามารถในการเก็บจำาการกระทำาของตัวแบบได้ดีเพียงใด แต่ถ้าขาดแรง จูงใจเขาย่อมไม่ประสงค์จะเลียนแบบหรือทำาตามตัวแบบ เขาจะทำาตามอ ย่างเมื่อมีเหตผลที่ดีพอหรือมีแรงจูงใจบางอย่างเท่านั้น เช่น


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

26 

ประวัติการได้รับการเสริมแรงในอดีตที่ผ่านมาเมื่อเขา

ยังทำาตามแบบอย่างในเรื่องอื่นได้ 

ความเชื่อมั่นในสัญญาว่าจะได้รับการเสริมแรง

เป็นการคาดหวังว่าเมื่อทำาตามตัวแบบได้จะได้รับสิ่งที่ ต้องการหรือพึงพอใจ 

มีการเสริมแรงทางอ้อมจากการที่เห็นคนอื่น ๆ ได้รับสิ่งที่ พึงพอใจเมื่อทำาตามตัวแบบได้ การเปลี่ยนแปลงความคิด เปลี่ยนความรู้สึก และการใช้เหตผลในการแก้ปัญหา

4.3

แนวทางการพัฒ นาตนเองเชิง พุท ธศาสตร์

การพัฒนาตนเองเชิงพุทธศาสตร์เป็นการพัฒนาการเรียนรู้และการ ปฏิบัติเพื่อไปสู่ความพอดี หรือการมีดุลยภาพของชีวิต มีความสัมพันธ์ อันกลมกลืนระหว่างการดำาเนินชีวิตของบุคคลกับสภาพแวดล้อมและมุ่ง การกระทำาตนให้มีความสุขด้วยตนเอง รู้เท่าทันตนเอง เข้าใจตนเอง มากกว่าการพึ่งพาอาศัยวัตถุ จึงเป็นแนวทางการพัฒนาชีวิตที่ยั่งยืน 4.3.1) หลัก การพัฒ นาตนเองเชิง พุท ธศาสตร์ ประกอบด้วย สาระสำาคัญ 3 ประการ คือ ทมะ สิกขา และเวทนา


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

27 1.)

ทมะ คือ การฝึกนิสัยดั้งเดิมที่ยังไม่ได้ขัดเกลาให้เหมาะ สม มีขั้นตอนสำาคัญได้แก่ (1.) การรู้จักข่มใจ

ข่มระงับความเคยชินที่ไม่ดีทั้งหลายได้

ไม่ยอมให้กิเลสรบเร้า หลอกล่อ ชักนำาไปสู่ความเลว ร้ายได้ (2.) การฝึกปรับปรุงตนเอง

โดยทำาคุณความดีให้เจริญ

ก้าวหน้าต่อไป 2.)

สิก ขา คือ การศึกษาเพื่อให้รู้แจ้ง รู้จักประโยชน์ มองทุก

อย่างเป็นการเรียนรู้เพื่อปรับปรุง พัฒนาตนเอง เป็นกระบวนการฝึกฝน ตนเองในการดำาเนินชีวิต เรียกว่าไตรสิกขา มี 3 ประการ คือ (1.) ศีลสิกขา

หมายถึง การฝึกการประพฤติสุจริตทางกาย

วาจา และการประกอบอาชีพ ดำารงตนในสังคมแบบสาธุชน เป็นคนดี ของสังคม เป็นคนมีระเบียบ วินัย ปฏิบัติหน้าที่ตามปทัสถานของสังคม สามารถดำาเนินชีวิตได้อย่างดีงาม โดยมีความรับผิดชอบเกื้อกูลต่อสังคม (2.) จิตสิกขา

หมายถึง การฝึกจิต สร้างคุณภาพและสมรรถ

นภาพทางจิต ให้เข้มแข็งมั่นคง แน่วแน่ ควบคุมตนเองได้ดี มีสมาธิ มีจิต ที่สงบ บริสุทธิ์ ปราศจากสิ่งที่ทำาให้เศร้าหมอง อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ ปัญญาอย่างลึกซึ้งและตรงตามสัจธรรม (3.) ปัญญาสิกขา

หมายถึง การฝึกปัญญาให้เกิดความรู้

ความเข้าใจสรรพสิ่ง รู้แจ้งตามความเป็นจริง มีจิตใจเป็นอิสระ และมี ปัญญาบริสุทธิ์


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

28 3.)

ภาวนา คำานี้ตรงกับคำาว่าพัฒนา ซึ่งประกอบด้วย กาย

ภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา เทียบได้กับการพัฒนา ทางกาย พัฒนาทางสังคม พัฒนาอารมณ์ และพัฒนาสติปัญญา (1.) กายภาวนา

หมายถึง การพัฒนาทางกายเพื่อให้เกิด

ความเจริญงอกงามในอินทรีย์ 5 หรือ ทวาร 5 ได้แก่ ช่องทางการติดต่อ สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพคือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย การ พัฒนากายเป็นการส่งเสริมให้ความสัมพันธ์ทั้ง 5 ทางเป็นไปอย่างปกติ ไม่เป็นโทษ ไม่มีพิษภัยอันตราย เช่น รู้จักสัมพันธ์ทางตา เลือกรับเอาสิ่ง ดีมีประโยชน์จากการเห็นทางตามาใช้ รู้จักสัมพันธ์ทางหู เลือกรับฟังสิ่ง ดีมีประโยชน์ ไม่รับฟังสิ่งเลวร้ายเข้ามา เป็นต้น (2.) ศีลภานา

หมายถึง การพัฒนาการกระทำาได้แก่ การ

สร้างความสัมพันธ์ทางกายและวาจากับบุคคลอื่นโดยไม่เบียดเบียดเบียน กัน ไม่กล่าวร้ายทำาลายผูอ ้ ื่น ไม่กระทำาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความเดือด ร้อนให้แก่ผู้อื่น แต่จะใช้วาจาและการกระทำาที่ดี ให้ความช่วยเหลือ เกื้อกูลและเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดี (3.) จิตตภาวนา

หมายถึง พัฒนาจิตใจ เพื่อให้จิตมีคุณภาพ

ดี คุณภาพจิตดี สุขภาพจิตดี คือ จิตที่มีคุณธรรม ได้แก่ มีเมตตา กรุณา มุทิตา มีศรัทธา และมีความเอือ ้ เฟื้อเผื่อแผ่ สมรรถนะภาพทางจิตดี คือ การมี ความพร้อมในการทำางาน ได้แก่ ขันติ คือ มีความอดทน สมาธิ คือ ความ มีใจตั้งมั่น อธิษฐาน คือ มีความเด็ดเดี่ยว วิริยะ คือ มีความเพียร สติ คือ มีความพึงระลึกเท่าทัน ส่วนสุขภาพจิตดีเป็นสภาพจิตที่มีความสบายใจ


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

29

อิ่มเอิบใจ แช่มชื่น เบิกบาน เกิดความสบายใจได้เสมอ เมื่อดำารงชีวิต หรือทำากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น (4.) ปัญญาภาวนา

หมายถึง การพัฒนาปัญญา ได้แก่ การ

รู้เข้าใจสิ่งต่าง ๆ ตามความเป็นจริงรู้เท่าทันสภาวะของโลกและชีวิต ทำาให้จิตใจเป็นอิสระได้จนถึงขั้นสูงสุด ส่งผลให้อยู่ในโลกได้โดยไม่ติด โลก มีอิสระที่จะเจริญเติบโตงอกงามต่อไป 4.3.2) การพัฒ นาตนไปสู่ว ิถ ีช ีว ิต ที่ด ีง าม พระเทพเวที (ป.อ. ป ยุตโต , 2532) เสนอวิธีการที่จะพัฒนาตนสู่วิถีชีวิตที่ดีงาม เรียกว่า “รุ่งอรุณแห่งการพัฒนาตน” ไว้ 7 ประการดังนี้ 1.) รู้จักเลือกหาแหล่งความรู้และแบบอย่างที่ดี ได้แก่ การรู้จักใช้ สติปัญญาในการวิเคราะห์พิจารณาในการเลือก เริ่มจากการเลือกคบคน ดี เลือกตัวแบบที่ดี เลือกบริโภคสื่อและข่าวสารข้อมูลที่มีคุณค่าเรียกว่า ความมีกัลยาณมิตร (กัลป์ยาณมิตตา) 2.) รู้จักจัดระเบียบชีวิต มีการวางแผนและจัดการกิจการงานต่าง ๆ อย่างมีระบบระเบียบ เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยศีล (สีลสัมปทา) 3.) ถึงพร้อมด้วยแรงจูงใจให้สร้างสรรค์ มีความสนใจ มีความพึง พอใจ มีความต้องการจะสร้างสรรค์กิจการงานใหม่ ๆ ที่เป็นความดีงาม และมีประโยชน์ เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยฉันทะ (ฉันทะสัมปทา) 4.) มีความมุ่งมั่นพัฒนาให้เต็มศักยภาพ ผูม ้ ีความเชื่อในตนว่า สามารถพัฒนาได้ จะมีความงอกงามถึงที่สุดแห่งความสามารถของตน เรียกว่า ทำาตนให้ถึงพร้อม (อัตตสัมปทา)


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

30

5.) ปรับเจตคติค่านิยมให้เหมาะสมกับการดำาเนินชีวิตที่ดีงาม เอื้อ ต่อการเรียนรู้ ทำาให้สติปัญญางอกงามขึ้น เรียกว่า กระทำาความเห็น ความเข้าใจให้ถึงพร้อม (ทิฏิฐิสัมปทา) 6.) การมีสติ กระตือรือร้น ตืน ่ ตัวทุกเวลา หมายถึง การมีจิตสำานึก แห่งความไม่ประมาท เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของชีวิตและสภาพ แวดล้อม เห็นคุณค่าของเวลาและใช้เวลาอย่างคุ้มค่า เรียกว่า ถึงพร้อม ด้วยความไม่ประมาท (อัปปมาทสัมปทา) 7.) รู้จักแก้ปัญหาและพึ่งตนเอง จัดการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ มี ความคิดวิจารณญาณตามเหตุปัจจัยด้วยตนเอง เรียกการคิดแบบนี้ว่า โยโสมนสิการ (โยโสมนสอการสัมปทา)

การพัฒนาตนเองเชิงพุทธศาสตร์ที่เน้นการพัฒนาจิตใจ ทำาใจให้ สงบ บริสุทธิ์ โดยการทำาสมาธิ หรือวิปัสสนา

5. แนวทางในการพัฒ นาตนเองโดยเศรษฐกิจ พอเพีย ง

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นหลักปรัชญาที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำารัสชี้แนะแนวทางการดำาเนินชีวิตแก่พสกนิกร ชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการทาง เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นยำ้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้ รอดพ้น และสามารถดำารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแส โลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

31

การพัฒ นาตามหลัก เศรษฐกิจ พอเพีย ง คือ การพัฒนาที่ตั้ง บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาทโดยคำานึงถึงความพอ ประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอมและคุณธรรม ประกอบการวางแผนการตัดสินใจและ การกระทำา 5.1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักการพิจารณาอยู่ 5 ส่วน คือ 5.1.1) กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิม ของสังคมไทย สามารถนำามาประยุกต์ใช้ได้ตลอกเวลา และเป็นการมอง โลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจาก ภัย วิกฤติเพื่อความมั่นคง และการยั่งยืนของการพัฒนา 5.1.2) คุณ ลัก ษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำามาประยุกต์ใช้ กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติทางสายกลางและ การพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน 5.1.3) คำา นิย าม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน ดังนี้ (1.) ความพอประมาณ หมายถึงความพอดีที่ไม่น้อย เกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การ ผลิตและบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

32

(2.)ความมีเ หตุผ ล หมายถึง การตัดสินใจระดับของ ความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำา นั้น ๆ อย่างรอบคอบ (3.) การมีภ ูม ิค ุ้ม กัน ที่ด ีใ นตัว หมายถึง การเตรียม ตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งใกล้และไกล 5.1.4) เงื่อ นไข การตัดสินใจและการดำาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ (1.) เงื่อ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับ วิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำาความรู้เห ล่านนั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและการ ระมัดระวังในขั้นตอนปฏิบัติ (2.) เงื่อ นไขคุณ ธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบ ด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มี ความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดำาเนินชีวิต พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว

ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย ง


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลัก การปฏิบ ัต ต ิ นในงานอาชีพ

33

นำาไปสู่

ความรู้ รู้รอบ รู้คอบ ระมัดระวัง คุณธรรม ซือ ่ สัตย์ สุจริต ขยันอดทน สติปัญญา แบ่งปัน

เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง

5.1.5 แนวทางปฏิบ ัต ิ/ผลที่ค าดว่า จะได้ร ับ จากการนำา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและ ยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.