Door Temple Hangdong/Worapat Boonsai

Page 1

วรปรัชญ์ บุญใส่




พระวิหาร วิหารเป็นพุทธสถานทีส่ �ำ คัญประเภทหนึง่ หมายความถึง อาคารทีเ่ ป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย ของพระภิกษุสงฆ์และเมือ่ พุทธศาสนาเจริญมีพระภิกษุสงฆ์มากขึน้ วิหารจึงใช้เป็นสถานที่ ประชุมสังฆกรรมด้วย หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้มีการสร้างพระพุทธรูปเพื่อเป็น ตัวแทนของพระพุทธเจ้าประดิษฐานไว้ในวิหาร อันเป็นประธานในการประชุมกิจของสงฆ์ ในสมัยพุทธกาล คำ�ว่า วิหาร หมายถึง อาคารที่อยู่อาศัยของพระภิกษุ แต่ภายหลังค วามหมายเปลีย่ นไป มักใช้หมายถึงอาคารสถานสำ�หรับประดิษฐานพระพุทธปฏิมากร พระ วิหารโดยทัว่ ไปมักสร้างให้มขี นาดใหญ่กว่าพระอุโบสถ ด้วยทีว่ ตั ถุประสงค์จะเป็นทีป่ ระชุม ของคนจำ�นวนมาก เพื่อทำ�พิธีกรรมบางอย่างได้โดยสะดวก วิหารมีวิวัฒนาการมาโดย ลำ�ดับ ในทางสถาปัตยกรรมไทยนั้นนิยมวางรูปแบบแนววิหารโดยให้วิหารหันหน้าไปสู่ ทิศตะวันออก เพื่อตั้งพระพุทธปฏิมากรให้หันพระพักตร์ไปทางทิศนั้น และมีพระเจดีย์ ประธานอยูท่ างทิศตะวันตกหลังวิหารหลวง การทีน่ ยิ มทำ�เช่นนีก้ เ็ นือ่ งจากความเชือ่ ว่าทิศ ที่ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพานของพระองค์อยู่ทางทิศตะวันตก เมื่อพุทธศาสนิกชนเข้าไป ถวายสักการะพระประธานในวิหารก็จะได้สกั การะทัง้ องค์พระเจดียแ์ ละทิศทีพ่ ระพุทธองค์ ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพานไปด้วยกัน คติการวางทิศพระวิหารและพระเจดีย์ในแนวทิศ ตะวันออกและทิศตะวันตก จึงเป็นที่นิยมที่พุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่นิยมปฏิบัติกันสืบต่อ กันมา แม้กระทั่งการตั้งทิศของโบสถ์แต่ต่อมาภายหลังได้มีข้อยกเว้นในการตั้งแนวทิศ ของโบสถ์ หรือวิหาร เฉพาะในกรณีที่อยู่ใกล้เส้นทางสัญจร ไม่ว่าจะเป็นทางนำ�้หรือทาง บกที่จะหันหน้าโบสถ์หรือวิหารไปสู่เส้นทางดังกล่าว สันนิษฐานว่าการที่ยกเว้นเนื่องจาก ต้องการให้โบสถ์หรือวิหารนั้นมีความสำ�คัญ และมีความสง่างดงามเมื่อมองดูมาจากเส้น ทางคมนาคมที่ผ่านด้านหน้ามากกว่าเหตุผลอย่างอื่น

ลวดลายบานประตู ๒


ธรรมเนียมการใช้วิหารในประเทศไทยนั้นจะไม่มีการทำ�สังฆกรรมใดๆ ในตัว วิหารนอกจากใช้เป็นที่สวดมนต์ในบางโอกาส พระวิหารจะถูกสมมุติให้เป็นที่ประทับ ของพระพุทธองค์เท่านั้น ในสมัยโบราณจึงอาจทำ�วิหารเป็นโถงได้ดังที่นิยมสร้างกันในรูป แบบสุโขทัยหรือแบบล้านนา การสร้างวิหารนัน้ ไม่มกี ารกำ�หนดขนาดว่าจะต้องเป็นเท่าใด วิหารบางหลังมีขนาดเล็กพอบรรจุองค์พระพุทธปฏิมากรเท่านัน้ นิยมเรียกวิหารขนาดนีว้ า่ “วิ ห ารแกลบ” การสร้ า งพระวิ ห ารไม่ จำ � เป็ น จะต้ อ งเป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า เสมอไป อาจสร้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีหลังคาทางโรงหรือหลังคาอดอย่างที่เรียกว่า มณฑป ก็ได้ มณฑปที่ประดิษฐานพระพุทธปฏิมากรก็เป็นวิหารเช่นเดียวกัน แต่โดยทั่วไปมักนิยม เรียกว่า มณฑป ตามชื่อของชนิดหลังคา ตัวอาคารที่เป็นพระวิหารนี้ บางครั้งก็นิยมทำ� กำ�แพงเตีย้ ทีเ่ รียกว่า “กำ�แพงแก้ว” ล้อมอาณาเขตเอาไว้ เข้าใจว่าจะสร้างขึน้ ตามคัมภีรใ์ น พระสูตรฝ่ายมหายานที่กล่าวถึงที่ประทับพระพุทธองค์ในสวรรค์ชั้นสุชาวดี ดังนั้นจึงเห็นได้ว่า วัดทุกแห่งมักจะต้องมีพระวิหารสำ�หรับประดิษฐานพระพุทธ ปฏิมากรสำ�คัญของวัด ตั้งอยู่ในแนวแกนด้านหน้าหรือด้านหลังของพระมหาธาตุเจดีย์ ตรงกันข้ามกับด้านที่เป็นโบสถ์ ตัวอย่างพระวิหารหลวงที่สร้างขึ้นตามแบบที่กล่าวมานี้ ทุกประการ ได้แก่ พระวิหารหลวงวัดมหาธาตุ สุโขทัย วิหารดังกล่าวนี้มีขนาดใหญ่ เก้าห้อง แต่เดิมเคยเป็นที่ประดิษฐานพระศรีศากยมุนี พระวิหารหลวงวัดมหาธาตุ สุโขทัย ถูกทิง้ ร้างไปนับเวลาเป็นร้อยๆ ปีคงเหลือแต่รอ่ งรอยอันรุง่ โรจน์ของอดีตกาลไว้ให้ คนรุ่นใหม่ได้ศึกษา ด้วยความพิศวงและเลื่อมใสในสติปัญญาของคนชั้นบรรพบุรุษเท่านั้น

ลวดลายบานประตู ๓


ภาพ หน้าบันวิหารวัดต้นเกว๋น

อย่างไรก็ตาม หนึ่งคำ�ที่นิยมใช้เรียกส่วนของอาคารที่เป็นศาสนสถานในวัดวา อารามหลายแห่ง ซึ่งชวนให้เกิดความสับสนได้ คำ�ที่ว่านี้คือคำ�ว่า “วิหารทับเกษตร” ตามความหมายทีแ่ ท้จริงแล้ววิหารทับเกษตรหาได้เป็นอาคารเอกเทศ สำ�หรับประดิษฐาน พระพุทธปฏิมากรสำ�คัญของวัดตามความหมายทีเ่ รากล่าวมาข้างต้น ไม่หากแต่ความหมาย ถึงพระระเบียงที่มีหลังคาคลุมเป็นส่วนที่ต่อยื่นออกมาจากฐานเขียง หรือจากส่วนฐาน พระมหาธาตุเจดีย์ขนาดใหญ่ เช่น วิหารทับเกษตรที่วัดพระมหาธาตุ พระนครศรีธรรม ราช เนื่องจากวิหารทับเกษตรนี้เป็นระเบียงยาว โดยรอบพระมหาธาตุ เจดีย์ทั้ง ๔ ด้าน ภายในวิหารทับเกษตรด้านทีต่ ดิ กับองค์พระมหาธาตุเจดียจ์ งึ ก่อเป็นซุม้ ประดิษฐานพระพุทธ รูปหลายองค์ เรียงสลับกับรูปช้างอันเป็นลีลาของงานศิลปะที่นิยมกันแต่ครั้งกระนั้น ลวดลายบานประตู ๔


ลวดลายบานประตู ๕

บานประตูวิหารวัดุ่งเสี้ยว ( นวรัฐ )


รูปแบบบานประตูวิหาร บานประตูวิหารจะเป็นลักษณะ ๒ บานประกบกัน เมื่อต้องการจะเปิดบานประตู เพื่อเข้าสู่ภายในจะต้องผลักส่วนกึ่งกลางระหว่าง ๒ บานเข้าไป บานประตูวิหารจะอยู่ทาง ด้านหน้า ด้านข้างและด้านหลังของวิหาร โดยด้านหน้าจะประกอบด้วยประตูบานขนาด เล็กขนาบอยูท่ งั้ ซ้ายและขวา การตกแต่งประตูวหิ ารเป็นสิง่ สำ�คัญทีท่ �ำ ให้เกิดความงามเป็น หน้าเป็นตาแก่วัด และยังทำ�หน้าที่เป็นจุดดึงความสวยงามตระการตาที่อยู่ภายในวิหาร ด้วย การตกแต่งลวดลายบานประตูวหิ ารก็เพือ่ ความเป็นสง่าราศีและศิรมิ งคลแก่วดั นิยม ตกแต่งด้วยภาพเทพารักษ์หรือยักษ์แสดงถึงผูท้ มี่ หี น้าทีร่ กั ษารักษาสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ อี่ ยูภ่ ายใน วิหาร ประดับลวดลายสัตว์ พันธุ์พฤกษาและลายกระหนกให้เกิดความงดงาม ลวดลายที่ ใช้ตกแต่งลายประตูมีความสมดุลกันทั้ง ๒ บาน ทั้งเรื่องการแต่งกาย การถืออาวุธ การ หันหน้า และลวดลายที่นำ�มาตกแต่งในพื้นที่ว่าง มีลักษณะที่คล้ายคลึงกันหรือเหมือนกัน

ลวดลายบานประตู ๖


ความเชื่อของลวดลายประดับศาสนสถาน ผลงานศิลปะทั้งด้านศิลปกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม ที่ปรากฏพบเห็น อยูใ่ นเอเชีย ช่างศิลปะล้วนได้รบั แรงบันดาลใจจากเรือ่ งทางพระพุทธศาสนาและความเชือ่ ต่างๆ ซึ่งมีต้นกำ�เนิดมาจากอินเดีย อันเป็นแหล่งกำ�เนิดของพระพุทธศาสนา ซึ่งเจริญ มากในสมัยคุปตะ(พุทธศตวรรษที่ ๙-๑๐) และสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๓) ในระหว่างนั้นศิลปะอินเดียได้แพร่ออกไปภายนอกอย่างมาก โดยได้เผยแพร่ออกไป ๒ ทาง คือ ทางบก ซึ่งมาทางภาคกลางของทวีปเอเชียประเทศจีน ประเทศญี่ปุ่น ทิเบต และพม่า ส่วนอีกทางหนึ่ง ทางน้ำ� โดยมาทางแหลมอินโดจีนและหมู่เกาะอินเดีย ในการ สร้างงานศิลปะเนือ่ งในพุทธศาสนา ช่างมักจะทำ�ตามแบบอย่างทีเ่ ล่าบรรยายไว้ในทางคัมภีร์ พระไตรปิฎก พุทธประวัตอิ นั เป็นข้อมูลสำ�คัญทีช่ า่ งศิลปะอินเดียและดินแดนในแถบเอเชีย นำ�ไปสร้างพุทธศิลป์ ทั้งทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรมและสถาปัตยกรรม นอกจาก พุทธประวัตแิ ล้วยังมีขอ้ มูลอืน่ ๆ ซึง่ ได้มาจากชาดกอันเป็นเรือ่ งราวของพระพุทธเจ้าเมือ่ ครัง้ เป็นพุทธประวัตแิ ล้ว ยังมีขอ้ มูลอืน่ ๆ ซึง่ ได้มาจากชาดก อันเรือ่ งราวของพระพุทธเจ้าเมือ่ ครั้งเป็นพระโพธิ์สัตย์ในอดีตชาติ การเทศธรรมให้บุคคลทั่วไปเข้าใจเป็นเรื่องยากภาพเล่า เรื่องพุทธประวัติและชาดก ซึ่งเป็นสื่อกลางให้เข้าใจพุทธศาสนาได้มากขึ้น คติความเชือ่ ในพระพุทธศาสนานัน้ มักผูกพันกับเรือ่ งจักรวาลงานศิลปกรรมและ บทกวีจึงมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ท้องฟ้า บรรยากาศ แผ่นดิน พื้นน้ำ� พืชพันธ์ ในความเชื่อ นั้นมุ่งเน้นแสวงหาความอุดมสมบูรณ์เพื่อความดำ�รงชีพ สัญลักษณ์แห่งชีวิตจึงถูกกำ�หนด ให้เป็นดอกบัวเปรียบเสมือนและศาสนาฮินดู ดอกบัวหมายถึง การกำ�เนิดอันศักดิ์สิทธิ์ แสดงถึงความคงอยู่ถาวร และกลายเป็นลวดลายพันธุ์พฤกษาแตกย่อยออกไปมากมาย

ลวดลายบานประตู ๗


ความเป็นมาของลวดลายประดับศาสนสถาน จากลวดลายศิลปกรรมของจีนที่ประดับบนเครื่องถ้วยลายครามของจีนโดย เฉพาะเครื่องถ้วยลายครามในสมัยราชวงศ์หยวนซึ่งมีอายุระหว่าง พ.ศ.๑๘๒๒-๑๙๑๑ และราชวงศ์หมิง พ.ศ.๑๙๑๑-๒๑๘๗ ได้นำ�มาดัดแปลงประยุกต์ใช้เป็นเครื่องประดับ ตกแต่งศาสนาสถานในล้านนา ลวดลายทีพ่ บนิยมมาก คือ ลวดลายพันธุพ์ ฤกษาประเภท ช่อดอกไม้ ลวดลายในเครือ่ งถ้วยจีนลวดลายศิลปกรรมแบบอินเดียทีแ่ พร่เข้ามาทางตะวันตก ของอาณาจักรล้านนาล้วนเป็นต้นแบบของวิวัฒนาการของลวดลายประดับศาสนาสถาน ล้านนารวมถึงอาณาจักรในภูมิภาคนี้ด้วย จากเส้นทางการค้าขายโดยตรงและการได้รับ อิทธิพลโดยผ่านอาณาจักรอื่นๆ เช่น มอญ พม่า ซึ่งมีลวดลายเหล่านี้ก็ได้มีการพัฒนาอยู่ เรื่อยมาในยุคหลัง รูปแบบของลวดลายที่ได้รับมักปรากฏเป็นลวดลายธรรมชาติลายพันธุ์ พฤกษา ลายใบไม้ ลายรูปคนและเทวดา ลายที่ถือว่าแก่อีกลายคือลายกลับบัวบริเวณ ปากระฆังของเจดียซ์ งึ่ เป็นอิทธิพลทีม่ อญรับเข้ามาจากลังกาและแผ่อทิ ธิพลไปยังอาณาจักร ต่างๆ อีกทั้งลายกลับบัวนี้ยังเกี่ยวกับการรับเครื่องถ้วยจีนอีกด้วย เพราะลวดลายเครื่อง ถ้วยมักนิยมเขียนลวดลายกลีบบัวที่มีลวดลายประดับอยู่ในกลีบ หรือลวดลายอิทธิพล จากจีน เช่น ลายเครือเถา หรือลายพันธุ์พฤกษานั้น ลวดลายที่ปรากฏคือ ลายผักกูด จะมีแกนกลางเป็นลายแผ่นโค้งเหมือนคลืน่ ด้านข้างๆจะทำ�เป็นหยักและขมวดม้วน ไม่ได้ พุ่งเป็นเปลวแหลมเหมือนลวดลายไทยที่พบปัจจุบัน ศิลปะในยุคอยุธยาตอนปลายในช่วง ตอนกลางจะเกิดลวดลายทีม่ ลี กั ษณะทีค่ ลาสสิก เกิดลวดลายดอกไม้มกี ารประดับลวดลาย สัตว์ เช่น สัตว์หิมพานต์ คือ ราชสีห์ ครุฑ คชสีห์ นาค นกยูง กระรอก กระแต นกกระจิบ เป็นต้น ซึ่งมักประกอบไปด้วยช่อกนกมีกิ่งแยกออกจากกาบเป็นลายช่อกนก ลายช่อหางโต กนกหางไหล ลายใบเทศ ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นลวดลายที่มาจากจีน ต่อมา ความนิยมลดน้อยลงเพราะจะนิยมลวดลายที่ประดิษฐ์ขึ้นเองโดยมีลวดลายกนกเข้ามา แทนที่ ต่อมาก็ได้นำ�ลวดลายกนกมาผสมผสานกับลวดลายพันธุ์พฤกษาที่มักจะพบเห็น ลวดลายบานประตู ๘


ลวดลายประดับบานประตูวิหาร

เทวาอารักษ์

เป็นรูปแบบที่ค่อนข้างจะพบเห็นกันได้ทั่วไปในการตกแต่งบาน ประตูวิหารด้วยลักษณะที่สง่างาม น่าเกรงขาม จึงได้รับความนิยมในการนำ�มาใช้ทำ�เป็น ลวดลาย ลักษณะอิรยิ าบถของเทวาอารักษ์มกั พบในลักษณะเป็นเทพนมถือดอกบัว ถืออาวุธ เช่น หอก พระขรรค์ จักร ตรี กระบอง ศร ล้วนเป็นอาวุธของเทพตามความเชื่อใน ศาสนาพราหมณ์ อีกทั้งด้วยท่าทางเงื้อง่าท่าทางออกศึกเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความน่า ยำ�เกรง และความสวยงามของการจัดวางท่าทางนั้นและบางครั้งจะพบว่าเทวาอารักษ์ จะเหยียบบนสิงห์ หรือยักษ์ ทำ�ให้รู้สึกถึงความมีอำ�นาจเหนือสิงห์ ผู้ที่ซึ่งเป็นเจ้าแห่ง ป่าและยักษ์ที่กินมนุษย์เป็นอาหารมีเพียงเทวารักษ์เท่านั้นที่ปราบได้ บางครั้งจะพบว่า เทวาอารักษ์ที่มีกิริยาท่าทางที่สงบนิ่งที่พระหัตถ์นั้นมีดอกบัวถือไว้อยู่เรียกว่า เทพนม ซึ่งพบเห็นได้ทั่วไป แสดงถึงการคารวะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่ในอาคารด้วยความเลื่อมใส การหันหน้าตรงเรียกว่า “หน้าอัด” ซึ่งเป็นคติเก่าแก่หน้าอัด จากการพิจารณาจากภาพ เขียนของอียปิ ต์โบราณจะเป็นรูปหน้าเสีย้ วกาง(ด้านข้าง) ส่วนการแต่งกายของรูปเทวารักษ์ จะมีลกั ษณะคล้ายกับกษัตริยข์ องภาคเหนือโบราณ องค์เทวาอารักษ์จะมีรปู ทรงทีอ่ อ้ นแอ้น คอเป็นล้องสวมชฎายอดแหลมลักษณะเดียวกับพระมหาพิชยั มงกุฎ ส่วนใหญ่สวมกรองคอ สวมสังวาลและทับทรวง สวมสนับเพลาที่แขนสวมพาหุรัตและสวมพระบาทเชิงงอนแบบ กษัตริย์ ซึ่งเครื่องทรงลักษณะดังกล่าวนี้เป็นที่นิยมใช้กันแทบทุกวัด ด้วยท่วงท่าที่สุดตา และสง่างามจึงสืบทอดแบบแผนนี้ต่อๆ กันมา

ลวดลายบานประตู ๙


ยักษ์

เป็นอมนุษย์มีอานุภาพมากกว่ามนุษย์ ด้วยท่วงท่าที่น่าเกรงขามทำ�ให้ ยักษ์ถูกเลือกนำ�มาตกแต่งบานประตูวิหาร ด้วยเครื่องทรงตามแบบฉบับไทยคือสวมกรอง ศอ เสื้อแขนสั้น ปลายงอน สวมเกราะและประจำ�ยามรัดอก สวมโจงกระเบนนาฏศิลป์ ทับสนับเพลา รองเท้าเชิงงอน เป็นการให้เกียรติยศแก่ยกั ษ์ดว้ ยเครือ่ งทรงแบบกษัตริยข์ อง ยักษ์ และมีอาวุธประจำ�กายคือ กระบอง เพื่อทำ�ให้รู้สึกน่าเกรงขามยิ่งขึ้น จึงสามารถ จำ�แนกอิริยาบถของยักษ์ได้ ๒ แบบดังนี้ แบบภาคกลาง คือ อยู่ท่วงท่าที่ยักเยื้อง งอเข่า ยกขึ้นข้างหนึ่งแล้วย่อวางลงบน พื้นดินอีกข้างหนึ่ง ข้อศอกงอกางออก กำ�มืออีกข้างถือดาบไขว้ผึ่งผายเต็มที่ หน้าเชิดขึ้น อย่างสง่างามเป็นท่วงท่าที่คล้ายนาฏศิลป์ “โขน” ของทางภาคกลางในตอนที่ทหารยักษ์ ของทศกัณฐ์จะออกศึกกับพระราม มีการเดินออกศึกในท่วงท่าดังกล่าว ประกอบกับเสียง ตีกลองที่เร้าใจ ให้เกิดความฮึกเหิมในกรณีเป็นการสร้างความรู้สึกหวาดกลัว ยำ�เกรงใน ความดุร้าย แบบงานประติมากรรม คือ ท่ายืนตรง หันหน้าตรง ๒ มือถือกระบองวาง ด้านหน้าทั้ง ๒ เป็นลักษณะคล้ายกับยักษ์ตามวัด ในกรุงเทพ เช่น วัดอรุณราชวราราม แต่ถ้าทำ�ให้ความรู้สึกที่น่ายำ�เกรงได้เช่นกัน ลวดลายสัตว์ เป็นลวดลายทีม่ กั จะถูกนำ�ไปแทรกอยูก่ บั ลวดลายพันธุพ์ ฤกษา เพื่อให้เกิดความสมจริงตามธรรมชาติ บางครั้งก็จะทำ�หน้าที่เป็นตัวเด่นๆ ซึ่งสามารถแบ่ง ได้เป็น ๓ ประเภท ดังนี้ ลายสัตว์ทั่วไป ทำ�หน้าที่ประดับกิ่งก้านพันธุ์พฤกษาให้เกิดความสมจริงตาม ธรรมชาติ สัตว์ที่นิยม เช่น นก กระรอก กระแต ลิง เป็นต้น

ลวดลายบานประตู ๑๐


ลายสัตว์ ๑๒ ราศี ทำ�หน้าที่เป็นสัญลักษณ์ของผู้ที่มีบทบาทต่อการอุปถัมภ์ ศาสนาสถานนั้นหรือเจ้าอาวาสที่ดูแลวัดในช่วงนั้น ซึ่งมักจะเลือกสัตว์ประจำ�ปีเกิดของ คนนั้น เป็นต้นลวดลายสัตว์หิมพานต์ ได้แนวความคิดจากสัตว์ที่พบเจอทั่วไปบนโลกแล้ว ช่างก็ได้นำ�มาผสมผสานกับจินตนาการตามความเชื่อจากจีนและอินเดีย ให้สัตว์หิมพานต์ แตกต่างจากสัตว์ที่พบอยู่บนโลก เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ อันมนุษย์ธรรมดา สามัญไม่สามารถจะเห็นตัวจริงได้ ดังนั้นลวดลายสัตว์หิมพานต์จะนิยมใช้ประดับตกแต่ง ศาสนาสถาน เช่น นกหัสดีลิงค์ ครุฑ นาค ปักษี นกการเวก ราชสีห์ พญานาค เป็นต้น บางครั้งถูกนำ�มาเป็นเครื่องแต่งศพของครูบา เจ้าอาวาส เป็นต้น ลวดลายพันธุ์พฤกษา เป็นลวดลายที่นำ�เสนอในด้านความงาม แปลกตา ให้หลุดพ้นจากเทพารักษ์และยักษ์ ถูกนำ�มาเติมพื้นที่ว่างให้เต็ม เกิดความเป็นความงาม ที่สมบูรณ์ทั้งในเรื่ององค์ประกอบและการใช้เป็นภาพธรรมชาติโดยไม่มุ่งหวังให้ทำ�หน้าที่ เฝ้ารักษาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่ภายในรูปแบบที่เป็นลายพันธุ์พฤกษามี ๒ แบบคือ ๑.รูปแบบลายเรขาคณิต เป็นเส้นตรง สามเหลี่ยม ที่ตัดสลับกันไปมาแสดงถึงความแม่นยำ�ในเรื่องมุม เส้นตรงองศาต่างๆ ทำ�ให้รู้สึกว่าไม่มีความอ่อนช้อย แต่ถึงฉะนั้นตัวงานก็เด่นในเรื่องถึง ความเฉียบคม ทำ�ให้รู้สึกแปลกตา แสดงถึงความตรงไปตรงมาอย่างชัดเจน ๒.รูปแบบลายไทย ประเภทลายกนก ลายพันธุ์พ ฤกษา เป็นลัก ษณะที่ เ ลี ย นแบบจากธรรมชาติ ที่พบเห็นแล้วนำ�มาดัดแปลงให้เป็นรูปแบบของลายไทย ซึ่งมีการเลื้อยของเครือเถา การแผ่กงิ่ ก้านสาขาออกไปบางครัง้ มักพบว่ามีการนำ�สัตว์ตวั น้อยๆ มาแทรก เช่น กระรอก นก นกยูง กระแต ลิง เพื่อให้ภาพเกิดความมีชีวิตชีวาและสมจริงมากขึ้น

ลวดลายบานประตู ๑๑


๒.๑ ลายกนก ด้วยลักษณะเส้นโค้งที่สะบัดอย่างอ่อนช้อยคล้าย เปลวไฟ หือคล้ายกับเถาวัลย์ ที่พันเกี่ยว ถูกนำ�มาเป็นลวดลายประดับอยู่บนพื้นหลังโดยเว้นให้ระยะช่องไปห่างกันพอดี นิยมลงสีพื้นเป็นสีแดงและนิยมลงสีตัวกนกด้วยสีทอง ตัวเหงา เป็นลายส่วนที่อยู่ตอนล่าง มีโครงสร้างขมวดควำ่�หน้าลงแสดงความ รู้สึกเศร้าเหงา ตัวประกบ คือตัวลายส่วนที่ ๒ ซึ่งประกอบอยู่ข้างหลังตัวเหงา ตัวลายที่ส่งให้ เกิดตัวหรือยอดของแม่ลาย เปลว คือ ลายส่วนยอดหรือปลายสุดของกระหนก ตัวลายนี้มีลักษณะพิเศษ ๒.๒ ลายพันธุ์พฤกษา เป็นลวดลายที่เลียนแบบธรรมชาติมากที่สุด ลวดลายที่นิยมใช้คือ ลายดอก พุดตาน เป็นเถาพันเกี่ยวที่มีทั้งดอกตูมและดอกบาน ดอกบานจะมีเกสรตลบกลีบป่น ใบหยัก นอกจากลายดอกพุดตานแล้วยังนิยมดอกบัว ถ้าเป็นดอกบัวบานจะทำ�หน้าที่ รองรับเทวาอารักษ์ แต่ถ้าเป็นดอกบัวตูวจะทำ�หน้าที่เป็นเครื่องสักการะ บูชา เป็นต้น ภาพธรรมชาติ ส่วนมากจะเป็นภาพต้นไม้ พันธุ์พฤกษา สัตว์ป่า ดอกไม้ ใบไม้ น้ำ�ตก เป็นต้น ภาพเล่าเรื่อง ช่างจะผสมผสานภาพบุคคล ภาพสัตว์ ภาพธรรมชาติ รวมทั้ง ลวดลายประดิษฐ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ภาพเรื่องราวทางศาสนา เช่น พุทธประวัติ ชาดก เป็นต้น ภาพจากคติ ความเชื่อ มีความเชื่อว่าภาพเทวาอารักษ์และยักษ์ มีลักษณะที่น่า เกรงขามสามารถจะรักษาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่ภายในวิหารได้

ลวดลายบานประตู ๑๒


บานประตเู ป็นเสมือนปราการแรกทีจ่ ะนำ�ไปสู่ สิง่ ทีท่ กุ คนปรารถนาจะไปให้ถงึ ไม่ว่าจะเข้าไปเมื่อประกอบกิจกรรมใดๆ ก็ตาม อาทิ เช่น กิจกรรมส่วนคน หรือกิจกรรม เพื่อส่วนรวมยิ่งในการจะเข้าหาสู่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ด้วยแล้ว ย่อมจะต้องทำ�ตนให้อยู่ในกิริยา อาการทีง่ ามสง่าและสำ�รวมแสดงการคารวะนอบน้อม ให้เกียรติสงู สุดแก่ศกั ดิส์ ทิ ธิใ์ นทีน่ นั้ ๆ เมื่อเข้ามาสู่ตัวอาคาร ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายที่สำ�คัญสุด ย่อมจะต้องพบกับ “ทวารบาล” ทีป่ ระจำ�อยูห่ น้าเสียก่อน ตัวทวารบาลนีเ้ ป็นเสมือนประตูส�ำ คัญทีจ่ ะชักจูงในและความรูส้ กึ ของผูม้ าให้เกิดอารมณ์รว่ ม เช่น ความรูส้ กึ โอฬารตระการตา ความรูส้ กึ ในอิรยิ าบถ อาวุธ ซึง่ เป็นส่วนประกอบให้ทวารบาลดูมอี �ำ นาจ ทีจ่ ะครองสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิใ์ นอาคารนัน้ ก่อให้เกิด อารมณ์หนึ่งก่อนที่จะเข้าไปสัมผัสความอบอุ่นย่านในรวมแห่งพุทธศาสนา ทวารบาลจึงมี บทบาทในอารมณ์พื้นฐานของมนุษย์ ฉะนั้น การตกแต่งบานประตูจึงมีความสำ�คัญอย่าง ยิ่งในการที่จะก่อความบันดาลใจแก่ผู้พบเห็น ทวารบาล หมายถึง รูปเขียน หรือรูปจำ�หลัก ที่ทางประตูทางเข้าอุ วิหาร จำ�หลักหลัก บน เนื้อไม้ประตู เป็นเทวดาถืออาวุธ หรือเสี่ยวกางรูปนิกรมจีน โทวาริก คือ ทวารบาล มักนิยมทำ�เป็นรูปเทวดา หรือยักษ์ เป็นผู้มีอำ�นาจใน การคุ้มครองสถานที่นั้นๆ มือถือดาบหรืออาวุธ มักทำ�แกะสลักบานประตู หรือเขียนรูป ที่บานประตู หน้าที่ของการประดับตกแต่งบานประตู จึงแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. เพื่อรักษาบานประตู ดูแล อาคารสถานที่ตามความเชื่อที่ว่า แทนการดูแลจากมนุษย์ ที่มีชีวิตจริงๆ ๒. เพื่อประดับประดาเป็นการตกแต่งตัวสถาปัตยกรรมให้เกิดความงดงาม เป็นสง่าราศี ศิริมงคลแก่สถานที่ ถึงแม้บานประตู จะประดับตกแต่งด้วยเทวดา เทพารักษ์ เทพอื่นๆ หรือยักษ์ แต่ก็ไม่ได้รับการเคารพบูชา จากประชาชนเหมือนกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ คือมีหน้าที่ในการ “เฝ้ารักษา” นั่นเอง ลวดลายบานประตู ๑๓


รูปแบบของทวารบาล ทวารบาลนั้นหากเราจะมองโดยผิวเผิน รูปร่างของเทพ ยักษ์ สัตว์ หิมพานต์ และส่วนประกอบอืน่ ๆ ซึง่ พอทีจ่ ะทำ�ให้ทราบเรือ่ งราวได้ รวมไปถึงส่วนประกอบทีป่ ระดับ ประดาให้ดูสะดุดตางดงามมากขึ้น คิดแต่เพียงว่าเป็นส่วนประดับงานสถาปัตยกรรม ให้ดูสวยงามภูมิฐานขึ้น แต่ถ้าเราพิจารณาถึงองค์ประกอบรูปทรงโดยละเอียดมากขึ้น จะพบเห็นสิ่งที่แอบแฝงอยู่ภายใน สิ่งเหล่านั้นอย่างมากมาย ได้แนวคิดอันชาญฉลาดใน การออกแบบจัดองค์ประกอบส่วนใหญ่จนกระทั่งถึงส่วยย่อย ให้ได้เห็นทั้งความงดงาม คติแนวคิดคำ�สอนที่แฝงอยู่ไม่แพ้งานศิลปะแขนงอื่นๆ นอกจากนั้น ยังสามารถเรียน รู้วิธีการแก้ปัญหาในพื้นที่ว่างที่เหลือให้เกิดเสน่ห์ความประทับใจในตัวงานได้ไม่ยากนัก การจัดวางรูปแบบโดยคำ�นึงถึงพื้นที่นั้น สามารถพบเห็นได้หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะ เป็นฟอร์มของมนุษย์ ของต้นไม้ ของสัตว์ กระทั่งถึงการนำ�มารวมกันได้อย่างเหมาะสม เกิดเป็นเรื่องราวที่มีความสมดุลอยู่ในตัว ส่วนที่สำ�คัญมี ๓ ลักษณะ ๑. ลักษณะและรูปแบบการจัดลวดลายบนบานประตู ๒. ประเภทของลักษณะ ลวดลาย เรื่องราว ๓. การใช้พื้นที่ว่าง ที่เหลือจากส่วนพื้นที่ที่ต้องการใช้งานจริง

ลวดลายบานประตู ๑๔


ลักษณะของบานประตู โบสถ์ และวิหาร มีลักษณะพิเศษที่เหมือน กันเกือบทุกภาคไม่ว่าจะเป็นภาคเหนือ ภาคกลาง คือเป็นลักษณะ ๒ บาน ประกบกัน เมือ่ ต้องการจะสอยให้เข้าสูภ่ ายในตัวอาคารจะใช้วธิ ผี ลักส่วนกึง่ กลางระหว่าง ๒ บาน เข้า ภายใน การประดับตกแต่งลวดลายจึงนิยมประดับบนบานทัง้ ๒ ด้าน ทัง้ ซ้ายและขวา โดย ไม่ทงิ้ บานในบานหนึง่ ให้วา่ งเปล่าโดยเด็ดขาด เพราะจะทำ�ให้เกิดความหนักทีข่ า้ งใดข้างหนึง่ สูญเสียความสมดุลทางด้านการประดับตกแต่งสถาปัตยกรรมไป การสร้างลวดลายนั้น อาจจะสร้างภาพที่เหมือนกันทุกท่วงท่า การถืออาวุธ แต่ทิศทางการยืน การหันหน้าอาจ จะหันสู้กันคล้ายกับการแสดงการสนทนา ปรึกษา อาจหันหลังให้กันคล้ายกับการแบ่ง ภาระหน้าที่ดูแลไปในทิศทางต่างกัน บางแห่งอาจหันหน้าตรงประจันกับผู้ที่จะเข้ามาสู่ อาคารเป็นการแสดงความยิง่ ใหญ่ศกั ดิส์ ทิ ธิย์ นื ตระหง่านทีเ่ ราจะเข้าไปสูค่ วามศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่ง ร่มเงาของพระพุทธศาสนาภายในโบสถ์วิหารนั้นๆ การหันหน้าตรงเราเรียกว่า “หน้าอัด” ซึง่ เป็นลักษณะตรงข้ามกับ “หน้าเสีย้ ว” ซึง่ เป็นหน้าทีด่ า้ นข้าง คติการเขียนรูปหน้าเสีย้ ว กาง คือ ว่าเป็นคติเก่าแก่หน้าอัด ด้วยพิจารณาจากภาพเขียนของอียิปต์โบราณ จะเป็น รูปหน้าเสี้ยวกาง (ด้านข้าง) ทั้งสิ้น

ลวดลายบานประตู ๑๕


หน้าอัด

หน้าเสี้ยว

ภาพแสดง หน้าอัด หน้าเสี้ยว ลวดลายบานประตู ๑๖


เทคนิคของช่างต่างๆ ในงานลวดลายบนบานประตู ช่างเขียน

จัดว่าเป็นแม่บทของกระบวนการช่างทัง้ หลายและเป็นทีย่ อมรับกันในกระบวนการ ช่ า งของไทยด้ ว ย เพราะไม่ ว่ า จะเป็ น งานช่ า งใดก็ ต าม มั ก จะต้ อ งอาศั ย การเขี ย น การวาดเพื่อวางแบบกะเกณฑ์กันเสียก่อนเสมอ แต่ในสมัยโบราณไม่เรียกว่าการออกแบบ เขียนแบบ จะเรียกว่า “หะแผน” สาดแบบให้แบบ ฯลฯ ผิดกันก็ตรงที่ว่าขนาดของ แบบนั้นมักกะกันโดยประมาณ ดังนั้นไม่ว่าขนาดจะสร้างสิ่งใดจะถือเอาเกณฑ์พอเหมาะ เป็นสำ�คัญว่าส่วน ถ้าต้องการสัดส่วนอย่างนี้ก็วางขนาดเอาให้เหมาะ การเรียกชื่อ ขนาดต่างๆ นั้นเรียกกันอย่างไทยๆ ว่า วา ศอก คืบ เช่น “ยาวสามวาสองศอกคืบ” สิ่งเหล่านี้ส่วนมากจะมาจากการเขียนการวาดเป็นแบบแผนเสียก่อนอีกประการหนึ่งนั้น ช่างที่มีฝีมือแล้วท่านมีความรู้เกินกว่าที่จะถือเอาส่วนดี ก็ทิ้งส่วนเสียที่เห็นว่า อะไรของ เก่าซึ่งท่านทำ�ไว้ดีก็ นอกเหนือไปจากส่วนซึ่งตั้งไว้ทั้งนั้น หมายความว่าการถือเกณฑ์พอ เหมาะพอดีนั้นย่อมจะต้องมีประสบการณ์ทั้งความรู้และความสามารถสูง

ช่างแกะ

ในหมู่ของช่างแกะก็ได้แก่ ช่างแกะลาย ช่างแกะภาพ ในปัจจุบันเรามักเรียกว่า “แกะสลัก” สำ�หรับช่างแกะสลักสมัยโบราณนั้น ดูได้จากผลงานซึ่งแยกออกเป็นงานช่าง ต่างๆ ดังได้กล่าวแล้ว ก่อนที่ช่างแกะจะแยกออกไปตามงานที่ตนถนัดจะต้องผ่านการ แกะอย่างง่ายๆ เสียก่อนเป็นอันดับแรก คือการแกะขดและแกะแกะเส้น หมายความว่า ใช้สิ่งขนาดเล็กขดเดินเส้นให้ดูเป็นตัวอย่างสัก ๒-๓ เส้น การดันคมสิ่วไปข้างหน้าให้กิน ผิวไม้เป็นเส้นนั้นมิใช่ของง่ายเลย คนที่เข้ามาฝึกใหม่ๆ ก็เบื่อหน่ายเช่นเดียวกัน ช่างเขียน ที่ต้องที่ต้องกระทบเส้นกันก่อนนั้นเอง ความมานะอดทนความยาว จากนั้นก็เดินเส้น โค้ง ซึ่งมีทั้งโค้งมากโค้งน้อยจนถึงวงก้อนหอย ซึ่งจะต้องใช้มือซ้ายคอยหันแผ่นไม้ส่งโดย สมำ�่ เสมอตลอดเวลาเพื่อให้งานออกมาดีที่สุด ลวดลายบานประตู ๑๗


ส่วนช่างแกะลวดลายในที่ต่างๆ อันเป็นส่วนประกอบของอาคารหรือสิ่งของเครื่องใช้ ช่างเหล่านี้ก็จะต้องศึกษาลวดลายต่างๆ ด้วย เพราะงานส่วนใหญ่จะได้แก่การแกะ ลวดลายต่างๆ ด้วยเพราะงานส่วนใหญ่ได้แก่ การแกะลวดลายด้วยแผ่นไม้ขนาดต่างๆ เช่น แผ่นหน้าบันโบสถ์วิหาร หรือประตูโบสถ์วิหาร บานหน้าต่าง เป็นต้น ถ้าเป็น ช่างแกะมีความรู้ ทางช่างเขียนอยู่ด้วยก็จะสามารถผูกลายแปลกๆ ลายเคล้าภาพ ทำ�ให้มีรสชาติขึ้นอีกเป็นอันมากนี้ เป็นพยานยืนยันว่า ช่างเขียนนั้นเป็นแม่บทสำ�คัญใน งานช่างของไทย เพราะไม่ว่าอะไรก็ตามเริ่มต้นด้วยการเขียนเป็นแนวทางก่อนทั้งสิ้น เมื่อได้ลวดลายจากการเขียนเป็นแบบแล้ว ช่างแกะลวดลายก็ลงมือทกงานตาม ขั้นตอน โดยคัดลอกลายลงในแผ่นไม้ เมื่อได้เส้นลายชัดเจนดีแล้ว จึงตอกด้วยสิ่วตาม เส้นเป็นกรุยระบายให้รวู้ า่ ส่วนใดเป็นพืน้ ส่วนใดทับส่วนใด และให้รวู้ า่ ส่วนใดเป็นเถาลาย เป็ น ตั ว ลาย ซึ่ ง อาจจะซั บ ซ้ อ นสลั บ ก้ า วก่ า ยหรื อ คาบเกี่ ย วกั น อยู่ ใ นเชิ ง ของผู ก ลาย ถ้าแกะสิ่งที่เหมือนๆ กันเป็นจำ�นวนมากๆ ก็คัดลอกลายลงในกระดาษบางแล้วผนึก กระดาษนั้นลงบนแผ่นไม้ใช้สิ่วตอกตามเส้นเช่นเดียวกันกับการทำ�หน้าบัน จากการใช้สิ่วตอกตามเส้น ก็มาถึงการขุดพื้นจะลึกมากน้อยเพียงไรก็จะต้อง เสมอกันทุกส่วน ถ้าเป็นลายใหญ่และอยู่บนที่สูง ก็จะต้องให้ลึกสักหน่อย ช่องไฟลาย ก็ต้องโปร่งเมื่อมองไกลๆ จะบังเกิดความพอดีอย่างไม่น่าเชื่อว่าภาพลวงตาเหล่านั้น เป็นฝีมอื ของช่างไทยเรียกว่า “อากาศกิน” เพราะฉะนัน้ ไม่วา่ จะเป็นลวดลายทีป่ ระดับในที่ สูงเพียงไรจะต้องใช้หลัก “เผือ่ อาการกิน” ไว้เสมอเป็นสิง่ ทีช่ า่ งต้องคำ�นึงถึงอยูต่ ลอดเวลา

ลวดลายบานประตู ๑๘


วัดบุญยืน วัดจันทรเกษม วัดป่าไม้แดง

ลวดลายบานประตู ๑๙


วัดบุญยืน

มูลเหตุ สาเหตุ เหตุผล ในการจัดตั้งวัดครั้งแรก

วัดบุญยืนสร้างเมื่อ พ.ศ. 2337 โดยท่านครูบาไชยา เป็นผู้ก่อสร้างขึ้นโดยสร้าง จากพื้นที่ที่เป็นป่ารกร้าง ท่านครูบาไชยาได้มาสร้างกุฏิขึ้นภายในเขตบริเวณวัด ในปีต่อมา ครูบาไชยาได้สร้างวิหารขึน้ ต่ออีกและสร้างกำ�แพงเป็นอาณาเขตของวัดจนสำ�เร็จเรียบร้อย ต่อมาในปี พ.ศ. 2410 ท่านครูบาไชยาได้มรณภาพลง ต่อมาในปีเดียวกันพระเขียว กันธิยะ ได้ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสสืบต่อจากท่านครูบาไชยา ต่อมาท่านพระเขียว กันธิยะ ก็ได้เล็งเห็นว่าวิหารไม่สมบูรณ์ ท่านก็ได้ร่วมมือกับท่านครูบาศรีวิชัยและนิมนต์ครูบาศรี วิชัยร่วมสร้างวิหารด้วยจนสำ�เร็จเป็นวิหารในปัจจุบัน ต่อมาท่านพระเขียวได้มรณภาพลง คณะศรัทธาได้กราบอาราธนาพระจันทร์ตา จันทปัญโญ มาดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส วัดบุญยืน ต่อมาจากพระเขียว ตั้งแต่ พ.ศ. 2487 – 2488 พระจันทร์ตา จันทปัญโญ ก็ได้มรณภาพลง คณะศรัทธาได้กราบอาราธนาพระเมืองใจ ชิรวํโส มาเป็นเจ้าอาวาสแทน ตั้งแต่ พ.ศ. 2489 – 2490 และพระเมืองใจ ชิรวํโส ก็ได้มรณภาพลง ต่อมาพระอินสม ชุตปิ ญ ั โญ มาดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสต่อ ท่านก็ได้รอื้ ถอนกำ�แพงวัดบุญยืน และต่อมาพระ อินสม ชุติปัญโญ ได้รับนิมนต์ให้ไปเป็นเจ้าอาวาสวันพันตน ตำ�บลทุ่งปี้ อำ�เภอสันป่าตอง ในปี พ.ศ. 2511 ต่อมาชาวบ้าน ก็ได้ไปกราบอาราธนาพระอธิการจันทร์ เขมานันโท มา เป็นเจ้าอาวาสแทนจนถึงปี พ.ศ. 2522 พระอธิการจันทร์ เขมานันโท ก็ลาสิกขา พระ อินสม ชุติปัญโญ ก็กลับมาดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดบุญยืนต่อจากพระอธิการจันทร์ เขมานันโท ต่อมาปี พ.ศ. 2530 พระอินสม ชุติปัญโญ ได้รับแต่งตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นตรี ชื่อว่า พระครูภาวนานุรักษ์

ลวดลายบานประตู ๒๐


ลักษณะลวดลายประดับบานประตูวิหาร

บานประตูคู่ เป็นรูปเทวดาเหยียบบนหลังราชสีห์ หันหน้าเข้าหากัน เทวดาสวม ชฎา มีเรือนครอบเศียร มือขวาถือพระขรรค์ ด้านหลังเป็นลายพันธุ์พฤกษา เครือดอก มีนกและสัตว์อยู่ทั่วบริเวณ แกนกลางเป็นลายรักร้อย แกน กลางเป็นลายดอกก๋ากอก

เทคนิคการสร้างลวดประดับบานประตู:เขียนทองลงพื้นแดง ขนาดบานประตู :กว้าง191เซนติเมตร และ สูง294เซนติเมตร ลวดลายบานประตู ๒๑


วัดจันทร์เกษม ที่มาของชื่อวัด

วัดจันทร์เกษมได้เริ่มดำ�เนินการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2319 เดิมชื่อวัด “เตาไห” เป็นวัดประจำ�หมู่บ้านเตาไห ซึ่งจากคำ�บอกเล่าขานของชาวบ้าน บ้านเตาไหเป็นป่าไม้ มี ชาวบ้านบ้านแอ่น อำ�เภอจอมทองหนีนำ�้ท่วมมาอาศัยอยู่ จากนั้นชาวบ้านเกิดความคิดใน การทำ�ไหไม้ เพือ่ เป็นอุปกรณ์ในการหุงข้าวเหนียว จนกระทัง่ มีการทำ�เป็นสินค้าของหมูบ่ า้ น จึงได้ตงั้ ชือ่ บ้านว่า บ้านเตาไห ซึง่ คำ�ว่า “เตา” มีความหมายว่า ต้นกำ�เนิด หรือแหล่งกำ�เนิด ตามภาษาไต เดิมตั้งอยู่ในเขตตำ�บลทุ่งปี้ อำ�เภอสันป่าตอง ต่อมาปี พ.ศ. 2487 – 2489 ทางคณะสงฆ์เห็นว่าชื่อไม่เหมาะสมตามรัฐนิยม จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น วัดจันทร์เกษม ตั้งอยู่ ที่ 36 หมู่ 6 บ้านเตาไห ตำ�บลทุ่งรวงทอง อำ�เภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย

มูลเหตุ สาเหตุ เหตุผล ในการจัดตั้งวัดครั้งแรก

เนื่องจากชาวบ้านนับถือศาสนาพุทธแต่มีวัดตั้งอยู่ห่างจากหมู่บ้านมาก อีกทั้งใน สมัยก่อนคมนาคมไม่สะดวก ไม่มียานพาหนะต้องเดินไป ถนนหนทางเป็นทางเดินแคบๆ ถ้าเข้าหน้าฝนพื้นจะชื้นแฉะ ชาวบ้านจึงได้พร้อมใจกันก่อสร้างวัดใหม่ขึ้นภายในหมู่บ้าน

ลักษณะลวดลายประดับบานประตูวิหาร

บานประตูคู่ เป็นลายพระอินทร์ประทับยืนบนหลังช้างเอราวัณ สวมมงกุฎ พระหัตถ์ ขวาถือพระขรรค์ พระหัตถ์ซา้ ยถือปิบ๊ หน้ามือ สวมรองพระบาทเชิงงอน บนเศียรมีเรือนเก้า ครอบ ด้านหลังเป็นลายกนกเพลิง พันธุ์พฤกษา แกนกลางเป็นลายดอกไม้

ลวดลายบานประตู ๒๒


เทคนิคการสร้างลวดประดับบานประตู:การแกะสลักไม้ ทาสีทองติดกระจก ขนาดบานประตู :กว้าง203เซนติเมตร และ สูง350เซนติเมตร ลวดลายบานประตู ๒๓


วัดป่าไม้แดง

วัดป่าไม้แดง ตั้งอยู่ที่เลขที่ 1014 บ้านป่าอ้อย หมู่ที่ 5 ตำ�บลทุ่งสะโตก อำ�เภอ สันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 1 ไร่ 3 งาน 82 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 34 วา จรดโรงเรียน ทิศใต้ประมาณ 34 วา จรดถนน ทิศตะวันออกประมาณ 23 วา จรดที่นา ทิศตะวันตกประมาณ 23 วา จรด ลำ�เหมืองสาธารณะ มีทธี่ รณีสงฆ์จนวน 4 แปลง เนือ้ ที่ 11 ไร่ 82 ตารางวา อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย วิหาร ศาลาบาตร โรงครัว ศาลาการเปรียญ และกุฏิสงฆ์ ปูชนียวัตถุ มี พระพุทธรูปสิงห์สาม และเจดีย์ วัดป่าไม้แดง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2275 ชาวบ้านเรียกอีกชื่อว่า วัดป่าอ้อย ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2279 การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาส คือ รูปที่ 1 พระวงศ์ สุวณฺโณ รูปที่ 2 พระเสาร์ สุจิตฺโต รูปที่ 3 พระผัด ปญฺญาวโร รูปที่ 4 พระใจ๋ วุฑฒิโก รูปที่ 5 พระดวงดี ญาณวุฑฺฒิ รูปที่ 6 พระดอก ญาณรงฺสี รูปที่ 7 พระพรหมินทร์ สุภทฺโท รูปที่ 8 พระอธิการต๋าคำ� ปิยธมฺโม

ลักษณะลวดลายประดับบานประตูวิหาร

บานประตูคู่ ลายพระอินทร์ทรงประทับบนช้างเอราวัณ พระหัตถ์ขวาถือพระขรรค์ สวมเครื่องทรง ชฎาและรองพระบาทเชิงงอน ด้านหลังเป็นลายกนกเพลิง แกนกลางเป็น ลายรักร้อย กลางแกนเป็นลายดอกประจำ�ยาม

ลวดลายบานประตู ๒๔


เทคนิคการสร้างลวดประดับบานประตู:แกะสลักไม้ลงสีแดงพื้นเหลือง ขนาดบานประตู :กว้าง198เซนติเมตร และ สูง305เซนติเมตร ลวดลายบานประตู ๒๕


บานประตู วิหารมีลักษณะ ๒ บานประกบกัน เมื่อ ต้องการจะเปิดบานประตูเพื่อเข้าสู่ภายใน จะต้องผลักส่วนกึ่งกลางระหว่าง ๒ บาน เข้าไป บานประตูวิหารจะอยู่ทางด้านหน้า ด้านข้างและด้านหลังของวิหาร โดยด้าน หน้ า จประกอบด้ ว ยประตู บ านขนาดเล็ ก ขนาบอยู่ทั้งซ้ายและขวา

ลวดลายบานประตู ภาพและเนื้อเรื่อง © 2014 (พ.ศ. 2557) โดย วรปรัชญ์ บุญใส่, 540310135 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพ์ครั้งแรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 
 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย วรปรัชญ์ บุญใส่ โดยใช้ฟอนต์ TH SarabunPSK 16 pt 
หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานทางวิชาการจัดทำ�ขึ้นเพื่อส่งเสริม และต่อยอดศักยภาพการศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.