คูมือ ประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน
ก
คํานํา อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน “ปที่ 3 กาวอยางเขมแข็ง” จากนโยบายกรมควบคุมโรคที่มี เป"าหมายใหเกิดระบบที่เขมแข็งในการดําเนินงานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรค ในพื้นที่ระดับอําเภอและจังหวัด ได เริ่มดําเนินการในป2554 โดยเชื่อมโยงผูเกี่ยวของในพื้นที่ใหเห็นความสําคัญและประโยชน5ของการดําเนินงานเฝ"า ระวั ง ป" อ งกั น ควบคุ ม โรคตามเกณฑ5 คุ ณ ลั ก ษณะที่ สํ า คั ญ 5 ดาน ในปที่ ส องไดมี ก ารปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาเกณฑ5 คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งใหมีคุณภาพมากขึ้นโดยเนนการดําเนินงานโรคไมติดตอและป<จจัยเสี่ยงให มากขึ้น แตยังคงใชกรอบแนวคิดคุณลักษณะ 5 ดานเชนเดิม ไดแก มีคณะกรรมการควบคุมโรคระดับอําเภอ มี ระบบระบาดวิทยาที่ดี มีระบบการทําแผนและติดตามประเมินผล มีการระดมทรัพยากรและคุณลักษณะสุดทายคือ มีผลสําเร็จของการควบคุมป"องกันโรค ปที่สามนี้ กรมควบคุมโรคไดมีการพัฒนาปรับปรุงเกณฑ5คุณลักษณะใหมีความเหมาะสมและทันสมัย ตามขอมูลที่พบจากการดําเนินงานในปที่สอง โดยเฉพาะคุณลักษณะที่ 2 (มีระบบระบาดวิทยาที่ดี) รวมทั้งไดเพิ่ม ตัวชี้วัดใหม คือโรคมือเทาปากเนื่องจากมีการระบาดใหญในป 2555 ในหลายพื้นที่ ซึ่งการดําเนินงานในป 2556 นี้ ยังคงใชหลัก การและแนวทางในการประเมินเชนเดี ยวกั บปที่ ผานมา โดยใหอํ า เภอประเมินตนเอง สํา นั ก งาน สาธารณสุขจังหวัดประเมินยืนยัน สํานักงานป"องกันควบคุมโรคประเมินรับรองและใหรางวัล ทั้งนี้กรมควบคุมโรค ยังคงผลักดันใหอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนเปCนตัวชี้วัดในระดับเขตตรวจราชการบูรณาการและตัวชี้วัดคํา รับรองปฏิบัติราชการของจังหวัดตอไป คูมือฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อเปCนแนวทางการดําเนินงานประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน สําหรับเจาหนาที่ผูเกี่ยวของในสํานักงานป"องกันควบคุมโรคที่ 1-12 ไดใชงาน ผูจัดทําคาดหวังวาคูมือฉบับนี้จะเปCน ประโยชน5และทําใหการประเมินรับรองอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนดําเนินการตามแนวทางและมาตรฐาน เดียวกัน
ผูจัดทํา ตุลาคม 2555
ข
สารบัญ คํานํา สารบัญ สารบัญตาราง ตัวชี้วัดผลสําเร็จของการควบคุมโรคที่สําคัญ บทนํา : อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง...ป.ที่สาม กาวอยางเขมแข็ง วัตถุประสงค0 หลักการและแนวคิดพื้นที่ควบคุมโรคเขมแข็งและยั่งยืน บทบาทการดําเนินงานของภาคีเครือขายสําคัญ ที่ทําใหเกิดอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน แนวทางการดําเนินงานตามนโยบายอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป. 2556 กิจกรรมการพัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ขั้นตอนการประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป. 2556 ประเมินตนเอง โดยคณะกรรมการฯระดับอําเภอ ประเมินยืนยันผลการประเมินตนเองของอําเภอ โดยสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ประเมินรับรองการผานเกณฑ5อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน โดย สํานักงานป"องกันควบคุมโรค แผนผังการประเมินอําเภอฯเขมแข็ง เกณฑ0ประเมินตนเอง “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง” ป. 2556 คําอธิบายเกณฑ0การประเมินตนเอง “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง” ป. 2556 คําอธิบายคุณลักษณะที่ 1-4 รายละเอียดตัวชี้วัดผลสําเร็จของการควบคุมโรคที่สําคัญ - โรคตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข - โรคที่เปCนป<ญหาในพื้นที่ ภาคผนวก 1. ตัวชี้วัดเป>าประสงค0 ยุทธศาสตร0 1: การพัฒนาและรวมมือกับเครือขายภาคีภายในและนานาชาติ รวมทั้งสนับสนุนพื้นที่ดําเนินงาน เฝ"าระวัง ป"องกันและควบคุมโรคอยางเขมแข็งและยั่งยืน - ตัวชี้วัดระดับกรม - ตัวชี้วัดระดับสํานักงานป"องกันควบคุมโรค 2. รายชื่อผูรับผิดชอบอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน สํานักงานป"องกันควบคุมโรค 3. รายชื่ออําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนโดดเดน ป 2554-2555 4. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการและคณะกรรมการดําเนินงานพัฒนาอําเภอควบคุมโรค เขมแข็งแบบยั่งยืน ประจําป 2555
หนา ก ข ค 1 2 3 4 7 8 9 9 10 11 12 21 21 34 49
137 144 146 149 150
ค
สารบัญตัวชี้วัดผลสําเร็จของการควบคุมโรคที่สําคัญ โรคที่สําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข โรคเอดส5 โรคไขเลือดออก โรคไมติดตอเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด
หนา 34 37 43
โรคที่เป@นปAญหาในพื้นที่ วัณโรคปอด โรคมาลาเรีย โรคเทาชาง โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเปCนพิษ โรคหนอนพยาธิ โรคพิษสุนัขบา โรคเลปโตสไปโรสิส โรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีน โรคไขหวัดใหญ โรคเรื้อน การป"องกันเด็กจมน้ํา การควบคุมการบริโภคยาสูบ การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล5 โรคจากมลพิษสิ่งแวดลอม โรคจากการประกอบอาชีพ การป"องกันอุบัติเหตุทางถนน โรคอหิวาตกโรค โรคมือเทาปาก
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
49 53 57 61 67 73 77 83 98 102 105 108 112 116 121 125 128 133
1
บทนํา อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง…ป.ที่สาม กาวอยางเขมแข็ง กรมควบคุมโรคไดกําหนด “อําเภอ” ใหเปCนพื้นที่เป"าหมายในการพัฒนาระบบเฝ"าระวังป"องกันควบคุม โรค และการเตรียมความพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข โดยมุงใหเกิดประสิทธิผลในการลดโรค ป<จจัย เสี่ยงและภัยคุกคามตอสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ในปงบประมาณ 2554 ไดจัดทํานโยบาย “อําเภอควบคุมโรค เขมแข็งแบบยั่งยืน” ขึ้น โดยกําหนดนิยามให อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน หมายถึง อําเภอที่มีระบบและ กลไกการบริหารจัดการการเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ทันสถานการณ5 โดยเนนความรวมมือจากทุกภาคสวนทั้งรัฐ เอกชนและประชาชน ระบบการป"องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในป<จจุบัน ไดมีการเชื่อมโยงหนวยงานทั้งจากสวนกลาง สวนภูมิภาค และทองถิ่น โดย การสนับสนุนวิชาการจากหนวยงานของกรมควบคุมโรคใหแกสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดและใหมีการถายทอดลง ไปสูระดับอําเภอและตําบล ผานทีม SRRT ที่เปCนเครือขายจนถึงชุมชน โดยหวังวาจะทําใหผูเกี่ยวของในพื้นที่ สามารถแกไขป<ญหาโรคและภัยสุขภาพที่เกิดกับประชาชนไดทันทวงที
ของเกา...คงเดิม ป 2556 นี้ยังคงยึดกรอบแนวทางการดําเนินงานตามคุณลักษณะทั้ง 5 ดาน (น้ําหนักคะแนนแตละดานไม เปลี่ยนแปลง) ไดแก 1) มีคณะกรรมการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2) มีระบบระบาดวิทยาในระดับอําเภอ ที่ดี 3) มีการวางแผนกํากับติดตามและประเมินผลการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4) มีการระดมทรัพยากร หรือการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานที่เกี่ยวของเปCนรูปธรรม และ 5) มีผลสําเร็จของการควบคุมป"องกันโรค ที่สําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและโรค/ภัยสุขภาพที่เปCนป<ญหาในพื้นที่อยางนอยประเด็นละ 1 เรื่อง อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
2
ของเดิม...ปรับใหม เกณฑ5การประเมินในคุณลักษณที่ 2 และ 3 ปรับรายละเอียดใหมีความชัดเจนมากขึ้น และไดปรับตัวชี้วัด ผลสําเร็จรายโรคใหมไดแกโรคเอดส5 (เปลี่ยนใหม) โรคไขเลือดออก (เพิ่มความครอบคลุม) ของใหม...ทันสมัย จากการระบาดรุนแรงของโรคมือ เทา ปาก ในป 2555 ไดเพิ่มตัวชี้วัดความสําเร็จตามคุณลักษณะที่ 5 ของ โรคมือ เทา ปากเพื่อตอบสนองสถานการณ5 และความตองการของพื้ นที่ นอกจากนี้กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงมหาดไทย ไดทําบันทึกขอตกลงความรวมมือโดยปลัดกระทรวงสาธารณสุข อธิบดีกรมควบคุมโรค อธิบดี กรมการปกครองและอธิ บ ดี ก รมสงเสริ ม การปกครองทองถิ่ น เมื่ อ วั น ที่ 11 เมษายน 2555 ซึ่ ง จะทํ า ใหการ ดําเนินงานขององค5กรปกครองสวนทองถิ่นในอําเภอมีบทบาทในการแกไขป<ญหาโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่เพิ่มมาก ขึ้น อี กทั้ง มีคํ าสั่ง กระทรวงสาธารณสุขที่ 940/2555 ลงวั นที่ 20 มิ ถุนายน 2555 ไดแตงตั้ง คณะอนุ กรรมการ ดําเนินงานพัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน 3 คณะ ไดแกอนุ กรรมการพัฒนาเนื้อหาวิชา/หลักสูตร สําหรับผูบริหารขององค5กรปกครองสวนทองถิ่น อนุกรรมการจัดการความรูและเครือขายการพัฒนาอําเภอควบคุม โรคเขมแข็งแบบยั่งยืนในการจัดทําทําเนียบ Good practices ดานโรคและภัยสุขภาพ โดยผูเกี่ยวของคาดวาจะ สามารถพัฒนาสูการประเมินรับรองคุณภาพ (Public Health System Accreditation) ในป 2557 และ อนุกรรมการดําเนินงานจัดทําแผนแมบทการพัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนเพื่อจัดทําแผนงานและ นโยบายใหมีความชัดเจน การดําเนินงานในปที่สาม...กาวอยางเขมแข็ง คาดหวังวาจะเห็นโครงสรางองค5กรและบุคลากรในอําเภอมี เอกภาพในการดําเนินงานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรค หนวยงานและคนในพื้นที่มีความรักและมีความเปCนเจาของ งานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคมากขึ้น มีการขยายผลและเชื่อมโยงเครือขายทั้งในแนวราบและแนวดิ่งสามารถ ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของโรคและภัยสุขภาพไดทันทวงที เครือขาย SRRT มีความเขมแข็งสามารถจัดการ โรค/ภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ มีการใชขอมูลของพื้นที่เพื่อการกําหนดแผนงานและกิจกรรม โดยมี การกํากับติดตามประเมินผลแผนงานกิจกรรมที่ไดดําเนินการไป สามารถระดมทรัพยากรและความรวมมือในระดับ ทองถิ่นอยางมีประสิทธิภาพ และมีระบบการสื่อสาร แจงเตือนการเฝ"าระวัง ป"องกันควบคุมโรคที่ทันเวลา โดยกรม ควบคุ ม โรคจะพยายามใหการสนั บ สนุนการดํา เนิ นงานอยางเต็ มที่ แตอยางไรก็ ตามรู ป แบบและแนวทางการ ประเมิน อํา เภอควบคุ ม โรคเขมแข็ ง แบบยั่ ง ยืนยั ง คงเดิ ม เหมื อนปที่ผ านมา โดยเริ่ มจากอํา เภอประเมิ นตนเอง สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดประเมินยืนยันผลการประเมินตนเองของอําเภอ ในขั้นตอนสุดทายสํานักงานป"องกัน ควบคุมโรคประเมินรับรองและใหรางวัล กิจกรรมที่ดําเนินการมาตลอด 3ปนี้จะเปCนบทเรียนที่สําคัญสําหรับการ กําหนดบทบาทและแนวทางในการพัฒนางานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคของพื้นที่ในอนาคต วัตถุประสงค0ของการประเมินรับรองของสํานักงานป>องกันควบคุมโรค 1. ทราบรูปแบบการดําเนินงานอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน 2. คนหาป<จจัยแหงความสําเร็จและ good practice ของการดําเนินงานอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
3
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
4
บทบาทการดําเนินงานของภาคีเครือขายสําคัญ ที่ทําใหเกิดอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ผูวาราชการจังหวัด : 1. สื่อสารชี้แจงนโยบายและแนวปฏิบัติในเรื่องอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนใหกับหนวยงานภายใต สังกัดและหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของใหเกิดการบูรณาการการดําเนินงานควบคุมโรค 2. ติดตามกํากับอํานวยการการดําเนินงานดานการควบคุมป"องกันโรคใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล แกไขป<ญหาไดทันสถานการณ5 3. สนับสนุนหนวยงานภายใตสังกัดและหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของเพื่อการพัฒนากลไกและระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนใหเกิดระบบการควบคุมโรคที่เขมแข็ง 4. เปCนตนแบบดานสุขภาพ (Role Model) ที่กระตุนใหเกิดกระแสการป"องกันควบคุมโรค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) 1 พัฒนากลไกและระบบบริหารจัดการหนวยงานในกํากับเพื่อสนับสนุนอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งฯ 2 บริหารจัดการจัดอบรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะดานการเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคใหแกผูปฏิบัติงาน/ ผูที่ เกี่ยวของระดับอําเภอและตําบลในพื้นที่รับผิดชอบ 3 เปC น พี่ เ ลี้ ยงแกเครื อ ขายระดั บ อํ า เภอและตํ า บลใหมี กิ จ กรรมการเฝ" า ระวั ง เหตุ ก ารณ5 ( Event-based surveillance) อยางตอเนื่อง 4 เปCนที่ปรึกษา นิเทศ ติดตามผลการดําเนินงานพัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนของอําเภอ นายอําเภอ 1. เปCนประธานคณะกรรมการสุขภาพระดับอําเภอซึ่งประกอบดวยตัวแทนจากทุกภาคสวนในการรวมกันจัดทํา แผน มาตรการ ติดตาม และประเมินผลดานการเฝ"าระวังป"องกันโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ ใหเกิดการบูรณา การการดําเนินงานควบคุมโรคที่เขมแข็ง 2. ติดตามกํากับอํานวยการการดําเนินงานดานการควบคุมป"องกันโรคใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล แกไขป<ญหาไดทันสถานการณ5 3. เปCนตนแบบดานสุ ข ภาพ (Role Model) ที่ ก ระตุ นใหเกิ ดกระแสการป" องกั นควบคุ ม โรค สนั บสนุ นการ ดํ า เนิ นงานเพื่ อ ใหเกิ ด อํ า เภอควบคุ ม โรคเขมแข็ ง แบบยั่ ง ยื น ตามอํ า นาจหนาที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ นายอําเภอ
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
5
ทองถิ่นอําเภอ 1. สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นใหครอบคลุมแผนปฏิบัติการในการเฝ"าระวัง ป"องกัน และควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 2. กํากับ ดูแลระบบบริหารงบประมาณและการคลังเพื่อการเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของ องค5กรปกครองสวนทองถิ่นใหมีประสิทธิภาพ 3. แนะนําให อปท. เขารวมเปCนคณะกรรมการสุขภาพระดับอําเภอและรวมกันจัดทําแผน มาตรการ ติดตาม และประเมินผลดานการเฝ"าระวังป"องกันโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ โรงพยาบาลชุมชน(รพช.)/สาธารณสุขอําเภอ(สสอ.)(ในกรณีเขตเมืองโรงพยาบาลศูนย0(รพศ.)/โรงพยาบาล ทั่วไป(รพท.) 1. รวมจัดอบรมถายทอดความรูดานการเฝ"าระวัง ป"องกันควบคุมโรคใหกับเครือขายระดับตําบล/พื้นที่ 2. เปCนพี่เลี้ยงแกเครือขายระดับตําบลใหมีกิจกรรมการเฝ"าระวังเหตุการณ5 (Event-based surveillance) อยางตอเนื่อง 3. พัฒนาทีมเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคระดับอําเภอของตนเองใหไดตามมาตรฐาน 4. แลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณ5การดําเนินงานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคของเครือขายระดับตําบล/พื้นที่ 5. นิเทศ ติดตามการเฝ"าระวังเหตุการณ5 ในพื้นที่ที่ผานการอบรม 6. ดําเนินการตามแนวทางคุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน องค0กรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 1. ริเริ่มการขับเคลื่อนการทํางานในระดับทองถิ่นเพื่อใหเกิดอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน 2. สงเสริมสนับสนุนใหบุคลากรของ อปท. เขารวมทีม SRRT 3. สนับสนุนทรัพยากร (บุคลากร งบประมาณ และวัสดุอุปกรณ5) ใหเกิดการพัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง แบบยั่งยืนอยางเหมาะสม โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) 1. บันทึกขอมูลบุคลากรในทีม SRRT เครือขายระดับตําบล ที่ผานการอบรมฯ ลงในโปรแกรมสําเร็จรูปของ สํานักระบาดวิทยา 2. รับแจงขาว และบันทึกการแจงขาวจาก อสม. อปท. ประชาชน ฯลฯ ลงในสมุดทะเบียนรับแจงขาว 3. บันทึกขอมูลเหตุการณ5จากการรับแจงขาวในสมุดทะเบียน ลงในโปรแกรมสําเร็จรูปของสํานักระบาดวิทยา อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง 4. แจงขาวหรือเหตุผิดปกติใหแกทีม SRRT ระดับอําเภอ อยางนอย 2 เดือนตอครั้ง 5. รวมสอบสวนโรคหรือเหตุการณ5ผิดปกติกับทีม SRRT ระดับอําเภอ อยางนอยปละ1 ครั้ง หมายเหตุ : เอกสารคูมือเฝ"าระวังเหตุการณ5และควบคุมโรคระบาดในชุมชน (SRRT) ดาวน5โหลดไดที่ ttp://www.boe.moph.go.th/report.php?cat=71
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
6
สื่อมวลชน 1. สื่อสารประชาสัมพันธ5 “หลักคิด” การดําเนินงานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้งการ สื่อสารความเสี่ยงดานสุขภาพใหกับประชาชนในพื้นที่ อําเภอ และจังหวัด 2. ติดตาม และสะทอนผลการดําเนินงานของการเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. ประสานเครือขายสื่อมวลชน และเครือขายอื่นๆ เพื่อกระตุนใหประชาชนเกิดความตระหนัก เขามามีสวน รวมในการเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพอยางเปCนระบบและสอดคลองกับบริบทของพื้นที่
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
7
แนวทางการดําเนินงานตามนโยบายอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป. 2556 ดานนโยบาย 1. ขับเคลื่อนเครือขาย ผานทางนโยบาย 1.1 ตัวชี้วัดคํารับรองฯ ของจังหวัด 1.2 ตัวชี้วัดคํารับรองฯ ของกระทรวงสาธารณสุข 1.3 ตัวชี้วัดการประเมินเป"าหมายมาตรฐานการจัดบริการสาธารณะขององค5กรปกครองสวนทองถิ่น 1.4 กลไกอื่นๆ เชน บันทึกขอตกลงความรวมมือ ประเด็นการตรวจราชการ 2. ขับเคลื่อนการดําเนินงานรวมกับเครือขายระดับนโยบาย ลงสูพื้นที่: แผนแมบทการสนับสนุนอําเภอควบคุมโรค เขมแข็งแบบยั่งยืน พ.ศ.2556-2560 3. ขยายความรวมมือเครือขายเพื่อสรางระบบเฝ"าระวัง ป"องกันควบคุมโรคแบบครบวงจร 4. จัดทําทําเนียบตนแบบความสําเร็จของการพัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภาพรวมของประเทศ (National good practice lists) ตามประเด็นโรคและภัยสุขภาพ 5. ติดตามกํากับ ประเมินผลการดําเนินงานพัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ทั้งภาพรวมและตามราย ยุทธศาสตร5 ภาพรวมของประเทศดานนโยบาย ดานวิชาการ 1. พัฒนาหลักสูตรระบาดวิทยาภาคสนามเครือขาย SRRT ตําบล และพัฒนาศักยภาพ ทักษะ ครู ก. ในการ ถายทอด 3.1 SRRT และหลักปฏิบัติ SRRT ตามกฎอนามัยระหวางประเทศ (IHR) 3.2 องค5ความรูดานโรคและภัยสุขภาพ การจัดการควบคุมโรคระดับพื้นที่ (District health) ฯลฯ 2.พัฒนาเกณฑ5ประเมินคุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน สูการประเมินรับรองเชิงคุณภาพ 3.พัฒนารูปแบบ กลไกและวิธีการประเมินเพื่อใหคํารับรอง (Public Health System Accreditation) 4.จัดทําเนื้อหาวิชา การป"องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ” ไวในหลักสูตรผูบริหารของกระทรวงมหาดไทย/ กระทรวงสาธารณสุข พรอมทั้งผลักดันใหบรรจุในหลักสูตรปกติ 5. พัฒนาหลักสูตร “การประเมินใหคํารับรอง (Public Health System Accreditation)” แกบุคลากรที่เกี่ยวของ ทั้งในสวนกลางและของ สคร. 6. พัฒนาระบบมาตรฐานการเปCนผูใหคํารับรอง (Professional standard for district DPC) ดานการสื่อสารประชาสัมพันธ0 1. วิเคราะห5และพัฒนารูปแบบ วิธีการสื่อสารใหสอดคลองกับกลุมเป"าหมายของการพัฒนาเครือขาย 2. สรางภาพลักษณ5 รณรงค5 ใหเกิดแนวรวมสนับสนุนการขับเคลื่อนการดําเนินงาน 3. สนับสนุนสื่อ คูมือ สําหรับเผยแพร ประชาสัมพันธ5 อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
8
กิจกรรมการพัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค 1. ถอดบทเรียนความสําเร็จของการดําเนินงาน ป 2555 2. พัฒนาเกณฑ5ประเมินและทีมประเมิน 3. ถายทอดเกณฑ5การประเมินใหทีมประเมินสํานักงานป"องกันควบคุมโรค จังหวัดและอําเภอ 4. กําหนดแนวทางในการพัฒนาและเสริมหนุนใหเกิดการมีสวนรวมในการดําเนินงาน “คุณลักษณะอําเภอ ป"องกันควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” 5. พัฒนาบุคลากรของกรมควบคุมโรคใหสามารถ สนับสนุนภารกิจ และรวมเรียนรูในการพัฒนาระบบการ ควบคุมโรคในระดับจังหวัด 6. พัฒนาสมรรถนะ สคร. ในการจัดวางระบบขอมูลขาวสารสําหรับใชในการพัฒนายุทธศาสตร5 และแผนที่ ยุทธศาสตร5สําหรับ ใชเปCนพื้นฐานในการกํา หนดกรอบรู ปแบบการควบคุ มโรคที่ เปC นป<ญหาของแตละอํ าเภอ ที่ สามารถนําไปเชื่อมตอกับแผนพัฒนาสุขภาพชุมชนและนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 7. สื่อสาร ประชาสัมพันธ5สรางกระแส กระตุน จูงใจให สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด/อําเภอ และผูเกี่ยวของ สนใจโครงการ “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” 8. จัดเวทีนําเสนอผลงานของการดําเนินงานในระดับอําเภอที่มีผลงาน อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
9
ขั้นตอนการประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป. 2556 I.
ประเมินตนเอง โดยคณะกรรมการฯระดับอําเภอ
1. คณะกรรมการฯ ระดับอําเภอศึกษาเกณฑ5การประเมินตนเองทุกขอ 2. มอบหมายใหมีผรัู บผิดชอบ ติดตามเอกสารขอมูลการดําเนินงานของอําเภอ วามีคุณลักษณะตามเกณฑ5ที่ กําหนดในแตละขอ 3. มอบหมายใหมีผูทําการประเมินตนเองตามเกณฑ5ที่กรมควบคุมโรคกําหนดทางอินเตอร5เน็ตตามเอกสาร หลักฐานที่มี ผูรับผิดชอบสามารถดําเนินการประเมินตนเองไดตั้งแตวันที่ 10 มกราคม 2556 เปCนตนไป 4. วิเคราะห5สาเหตุและคนหาแนวทางในการพัฒนาตนเอง ในเกณฑ5ขอที่อําเภอไมสามารถดําเนินการได 5. หากพิจารณาวาตนเองผานเกณฑ5ที่กําหนดรอยละ 80 และประสงค5ใหจังหวัดหรือเขตดําเนินการประเมิน รับรองใหแจงไปยังผูรับผิดชอบในสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 6. รอรับการประเมินยืนยันผลการประเมินตนเองจากทางสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และการประเมิน รับรองอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งผานเกณฑ5ป 2556 จากสํานักงานป"องกันควบคุมโรคเขต II.
ประเมินยืนยันผลการประเมินตนเองของอําเภอ โดยสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด
1. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ควรมอบหมายใหมีคณะทํางานสนับสนุน “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบ ยั่งยืน” โดยมีหนาที่ความรับผิดชอบ 2 เรื่องหลักไดแก 1) ตรวจสอบยืนยันผลการประเมินตนเองของ อําเภอตามเกณฑ5ที่กรมควบคุมโรคกําหนด และ 2) สนับสนุนใหอําเภอตางๆสามารถดําเนินงานไดตาม เกณฑ5ที่กําหนดในทุกขอ 2. ผูรับผิดชอบในสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ดําเนินการตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย 3. เมื่อสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดไดดําเนินการประเมินยืนยันผลการประเมินตนเองของระดับอําเภอ และ เห็นวาอําเภอที่ผานเกณฑ5พรอมที่จะรับการประเมินรับรองจากสํานักงานป"องกันควบคุมโรคเขต ใหแจงไป ยังสํานักงานป"องกันควบคุมโรคเขต เพื่อรอรับการประเมิน
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
10
III.
ประเมินรับรองการผานเกณฑ0อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน 2556 โดยสํานักงานป>องกันควบคุมโรค
1. สํานักงานป"องกันควบคุมโรคจัดเตรียมทีมประเมินรับรองการผานเกณฑ5อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบ ยั่งยืน ใหมีการศึกษาวัตถุประสงค5และวิธีการวัดของเกณฑ5แตละขอใหเขาใจและสามารถนําไปใชประเมิน เมื่อไดรับการรองขอได 2. ซักซอมกับจังหวัดอําเภอและพื้นที่ กอนออกดําเนินการประเมิน โดยตรวจสอบความพรอมของผูรับการ ประเมิน ดังนี้ • ระดับจังหวัด ไดแกผูรับผิดชอบงานแผนงาน งานระบาดวิทยา งานควบคุมโรค • ระดับอําเภอ ไดแกคณะกรรมการควบคุมโรคอําเภอ หรือสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ / โรงพยาบาล - ประธาน เลขาฯ กรรมการ: ผูแทนอปท. ผูแทนประชาชน สาธารณสุขอําเภอ ผูอํานวยการ รงพยาบาล ผูดูแลระบบการเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรค ผูดูแลจัดทําแผนงานโครงการ • ระดับตําบล ไดแก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล(ผูอํานวยการหรือนักวิชาการ) องค5กร ปกครองสวนทองถิ่น • ระดับชุมชน ไดแก อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน 3. เมื่อดําเนินการประเมินรับรองเสร็จสิ้นในแตละอําเภอ ควรมีการสรุปผลการประเมินและใหขอเสนอแนะใน การดําเนินงานแกอําเภอที่เปCนเอกสารทุกครั้ง 4. ทําการสรุปผลการประเมินรับรองใหกับนายแพทย5สาธารณสุขจังหวัด ผูตรวจราชการ และกรมฯ ทราบ ตามกําหนดเวลา
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
11
แผนผังการประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน
มอบรางวัล ถอดบทเรียน
กรมควบคุมโรค รายงาน
อําเภอ ควบคุมโรค เขมแข็ง
ประเมินรับรอง
สคร. รายงาน
พัฒนา
ประเมินยืนยัน
จังหวัด
ไมผานเกณฑ5 (คะแนน < 80%))
ผานเกณฑ5 รายงาน (คะแนน ≥ 80%)
อําเภอ ประเมินตนเอง (self assessment) Key in ผานเวบไซด5 www.kmddc.go.th
เครื่องมือการประเมิน 1. แบบประเมินตนเองอํ ตนเอง าเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556 255
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
12
เกณฑ0การประเมินตนเอง “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง” ป. 2556 คะแนน เต็ม 1. มีคณะกรรมการป>องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 5 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอําเภอ 20 3. มีการวางแผน กํากับติดตามและประเมินผลการป>องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 10 4. มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานที่เกี่ยวของเป@นรูปธรรม 5 5. มีผลสําเร็จของการควบคุมป>องกันโรคที่สําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเป@น 10 ปAญหาในพื้นที่อยางนอยประเด็นละ 1 เรื่องขึ้นไป รวม 50 คุณลักษณะ
คุณลักษณะที่ 1 มีคณะกรรมการป>องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประเด็นการประเมิน 1.1 คําสั่งคณะกรรมการสุขภาพระดับอําเภอประกอบดวยตัวแทนจาก 3 ภาค สวน - ภาครัฐ (รพ./ สสอ. นายอําเภอ) - ทองถิ่น (อปท.ภายในอําเภอ) - ภาคประชาชน (อสม./ผูนําชุมชน/องค5กรพัฒนาเอกชน) 1.2 มีรายงานการประชุมของคณะกรรมการฯ อยางสม่ําเสมออยางนอยไตร มาส ละ 1 ครั้ง 1.3 นําผลการวิเคราะห5สถานการณ5มากําหนดป<ญหาและแนวทางในการ ดําเนินงานแกไขป<ญหา 1.4 มีการมอบหมายใหผูรับผิดชอบใหดําเนินการควบคุมโรค/ภัยอยางนอยรอย ละ 50 ของการประชุม 1.5 มีการติดตามผลการดําเนินงานตามมติการประชุมคณะกรรมการอยาง สม่ําเสมอ
คะแนน ที่ได .......... .......... ........... .......... .......... ...........
คะแนนที่ได คะแนนเต็ม หมายเหตุ ……… มี
ไมมี
5 คะแนน
..….. ……
1
..….. ……
1
..….. ……
1
..….. ……
1
..….. ……
1
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
13
คุณลักษณะที่ 2 มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอําเภอ ประเด็นการประเมิน 2.1 ทีม SRRT อําเภอและเครือขายมีความพรอมและปฏิบัติงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ 2.1.1 ทีม SRRT ระดับอําเภอ ผานการประเมินรับรองมาตรฐาน SRRT โดย สคร. 2.1.2 ทีม SRRT ระดับอําเภอติดตามและสรุปผลการดําเนินงานของทีม SRRT ตําบล 2 ครั้ง/ตอป 2.2 ทีม SRRT ระดับตําบลมีการดําเนินงานดังนี้ 2.2.1 อสม.ไดรับการถายทอดการเฝ"าระวังเหตุการณ5 2.2.2 รับแจงขาวจากอสม.หรือเครือขายในเขตรับผิดชอบอยางนอย 1 ครั้ง/ เดือน 2.2.3 แจงขาวใหเครือขายภายใน 24 ชม. หลังตรวจสอบขาว 2.2.4 ลงขอมูลการรับแจงขาวในโปรแกรมออนไลน5ถูกตอง (1 ปยอนหลัง) 2.2.5 ดําเนินการควบคุมการเกิดโรค/เหตุการณ5เบื้องตน อยางเหมาะสม 2.2.6 จัดประชุมทีม SRRT และเครือขายระดับตําบลอยางนอยปละ 2 ครั้ง 2.2.7 มีเครือขายการเฝ"าระวัง สอบสวน นอกตําบล 2.3 มีระบบขอมูลและการเฝ>าระวังโรคและภัยสุขภาพ 2.3.1 ระบบขอมูลและการเฝ"าระวังโรคติดตอมีคุณลักษณะดังนี้ 2.3.1.1 มีความครอบคลุมของสถานบริการที่สงรายงาน * 2.3.1.2 ขอมูลมีความทันเวลาเปCนป<จจุบัน * 2.3.1.3 ดําเนินการตรวจจับการระบาดจากขอมูลในระบบเฝ"าระวังโรค อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง(ยอนหลัง ๑๒ เดือน) 2.3.1.4 มีการจัดทําหรือนําเสนอรายงานสถานการณ5ทุกเดือน * 2.3.2 ระบบขอมูลและการเฝ"าระวังโรคไมติดตอมีคุณลักษณะดังนี้ 2.3.2.1 มีฐานขอมูลผูป‚วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาด เลือดและโรคหลอดเลือดสมอง * 2.3.2.2 สํารองขอมูลอยางนอย 5 ปยอนหลัง * 2.3.2.3 จัดทําหรือนําเสนอรายงานสถานการณ5 ทุก 6 เดือน *
คะแนนที่ได คะแนนเต็ม หมายเหตุ ……… 20 มี ไมมี คะแนน 8 ..... .....
6
..... .....
2
..... .....
5 0.5
..... .....
1
..... ..... ..... ..... .....
..... ..... ..... .....
1 0.5 1 0.5 0.5 7 3 0.5 0.5
..... .....
1
..... .....
1 2.5
..... .....
0.5
..... ..... ..... .....
1 1
..... ..... ..... ..... .....
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
14
ประเด็นการประเมิน มี ไมมี คะแนน 2.3.3 ระบบขอมูลและการเฝ>าระวังโรค/ปAจจัยเสี่ยงอื่นๆมีคุณลักษณะดังนี้ 1.5 2.3.3.1 มีขอมูลเฝ"าระวัง/การสํารวจดานป<จจัยเสี่ยง หรือพฤติกรรมเสี่ยง ..... ..... 0.5 (Behavior, Risk factor)สําหรับโรคและภัยสุขภาพตามคุณลักษณะที่ 5 2.3.3.2 มีการจัดทําหรือนําเสนอรายงานสถานการณ5เฝ"าระวัง/การสํารวจ ..... ..... 1 อยางนอย 1 ฉบับ หมายเหตุ • ขอ 2.2.1-2.2.7 การประเมินตนเองตองประเมินทุก รพ.สต. คะแนนที่ไดในแตละขอเกิดจากการนํา คะแนนของแตละ รพ.สต. ในขอนั้นๆ มารวมกัน แลวหาคาเฉลี่ย * = คิดตามสัดสวน คะแนนที่ได คะแนนเต็ม หมายเหตุ คุณลักษณะที่ 3 มีการวางแผน กํากับติดตามและประเมินผล การป>องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ……… 10 ประเด็นการประเมิน มี ไมมี คะแนน 3.1 มีเป"าหมายและแผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เปCน ….. …… 1 ป<ญหาสําคัญของพื้นที่อยางนอย 1 เรื่อง และสอดคลองกับความสําเร็จ ตามคุณลักษณะที่ 5 3.2 มีเป"าหมายและแผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เปCน ….. …… 1 ป<ญหาสาธารณสุขตามนโยบายอยางนอย 1 เรื่อง และสอดคลองกับ ความสําเร็จตามคุณลักษณะที่ 5 3.3 มีปฏิทินปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เปCนป<ญหาของพื้นที่ ….. …… 1 และที่เปCนนโยบายของประเทศ ตามเป"าหมายที่กําหนดในขอ 3.1-3.2 3. 4 มีการปฏิบัติการรวมกับทองถิ่นและภาคประชาชนในการป"องกันควบคุม ….. …… 1 โรค/ป<ญหาสุขภาพที่เปCนป<ญหาของพื้นที่และที่เปCนนโยบายของประเทศ ตามเป"าหมายที่กําหนดในขอ 3.1-3.2 3.5 มีแผนติดตามการดําเนินงานและมีผูรับผิดชอบการติดตามงานตาม ….. …… 1 แผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เปCนป<ญหาของพื้นที่ และที่เปCนนโยบายของประเทศ ตามเป"าหมายที่กําหนดในขอ 3.1-3.2 3.6 มีการกําหนดแผน วิธีการ/แนวทางและผูรับผิดชอบในการประเมินผล ….. …… 1 ความสําเร็จของแผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่เปCน ป<ญหาของพื้นที่ และที่เปCนนโยบายของประเทศตามเป"าหมายที่กําหนดใน ขอ 3.1-3.2 อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
15
ประเด็นการประเมิน
มี ไมมี
3.7 มีรายงานความกาวหนา ผลการติดตามการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติ ….. การป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เปCนป<ญหาของพื้นที่และที่เปCน นโยบายของประเทศ ตามเป"าหมายที่กําหนดในขอ 3.1-3.2 เสนอตอ คณะกรรมการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในระหวางปอยางนอย 1 ครั้ง 3.8 มีรายงานการประเมินผลความสําเร็จ ป<ญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะ ….. ตามแผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่เปCนป<ญหาของ พื้นที่และที่เปCนนโยบายของประเทศ ตามเป"าหมายที่กําหนดในขอ 3.1-3.2 เสนอตอคณะกรรมการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3.9 มีแผนปฏิบัติการรองรับการควบคุมโรค/ ภัยฉุกเฉินทางดานสาธารณสุข ….. ระดับอําเภออยางนอย 1 แผน 3.10 มีการซอมแผนรองรับการควบคุมโรค/ภัยฉุกเฉินดานสาธารณสุขระดับ ….. อําเภออยางนอยปละ 1 ครั้ง คุณลักษณะที่ 4 มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจาก หนวยงานที่เกี่ยวของเป@นรูปธรรม 4.1 4.2 4.3 4.4
ประเด็นการประเมิน องค5กรปกครองสวนทองถิ่น เชน อบจ.,เทศบาล , อบต. - รอยละขององค5กรปกครองสวนทองถิ่น มีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการ ควบคุมโรคอยางเปCนรูปธรรม กองทุนสุขภาพชุมชน - รอยละของกองทุนสุขภาพชุมชน จัดสรรทรัพยากรเพื่อการควบคุมโรค อยางเปCนรูปธรรม (มีแผนการทํางานและการใชเงิน) โรงพยาบาลคูสัญญาหลัก (CUP ) ที่ดูแลหลักประกันสุขภาพของประชาชน สวนใหญในอําเภอ - CUP จัดสรรทรัพยากรเพื่อการควบคุมโรคอยางเปCนรูปธรรม หนวยอื่นๆ เชน องค5กรเอกชน วัด ประชาชน - หนวยงานอื่นๆเชน องค5กรเอกชน วัด ประชาชน จัดสรรทรัพยากรเพื่อ การควบคุมโรคโดยคณะกรรมการฯอําเภอมีระบบการบริหารจัดการ ทรัพยากรเปCนรูปธรรมสามารถตรวจสอบได
คะแนน
……
1
……
1
……
1
……
1
คะแนนที่ได คะแนนเต็ม หมายเหตุ ……… มี ไมมี
5 คะแนน
..... .....
1
..... .....
2
..... .....
1
..... .....
1
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
16
คุณลักษณะที่ 5 มีผลสําเร็จของการควบคุมโรคที่สําคัญตามนโยบายกระทรวง คะแนนที่ได คะแนนเต็ม หมายเหตุ สาธารณสุขและโรคที่เป@นปAญหาในพื้นที่อยางนอยประเด็นละ 1 เรื่อง ……… 10 ประเด็นการประเมิน คะแนนที่ได คะแนน 5.1 โรคที่สําคัญตามนโยบาย ไดแก ............................................................ 5 ตัวชี้วัดที่ 1 :......................................................................................... ……… ตัวชี้วัดที่ 2 :......................................................................................... ……… ตัวชี้วัดที่ 3 :......................................................................................... ……… 5.2 โรคที่เป@นปAญหาในพื้นที่ หมายถึงโรค/ภัยที่มีขอมูลอุบัติการณ0หรือความชุก 5 ในพื้นที่สูง ไดแก.......................................................... ตัวชี้วัดที่ 1 :......................................................................................... ……… ตัวชี้วัดที่ 2 :......................................................................................... ……… ……… ตัวชี้วัดที่ 3 :......................................................................................... โรคตามนโยบาย 1. โรคเอดส0
รายละเอียดการประเมินคุณลักษณะที่ 5 ผลสําเร็จของการควบคุมโรค เกณฑ0การใหคะแนน ตัวชี้วัดที่ 1:รอยละ 40 ขององค5กรปกครองสวนทองถิ่นที่สนับสนุนการดําเนินงาน เพื่อป"องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5
ตัวชี้วัดที่ 2:อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ลดลงจากปที่ผานมารอยละ 30 2. โรคไขเลือดออก ตัวชี้วัดที่ 1.1 :รอยละ 100 ของตําบล มีคาดัชนีลูกน้ํายุงลายในบาน House Index นอยกวาหรือเทากับ 10 ( HI ≤ 10) ตัวชี้วัดที่ 1.2:รอยละ 100 ของโรงเรียน โรงพยาบาลในชุมชน ( รพช. รพศ. รพท) รพ.สต.และศูนย5เด็กเล็กมีคาดัชนีลูกน้ํายุงลาย Container Index เทากับ 0 (CI = 0) ตัวชี้วัดที่ 2 :อัตราป‚วยโรคไขเลือดออกลดลงมากกวารอยละ 20 เมื่อเทียบกับคามัธย ฐานยอนหลัง 5 ป หรือไม!มีผู$ป&วยติดต!อกันในพื้นที่ 3.โรคไมติดตอเรื้อรัง ตัวชี้วัดที่ 1 :จํานวนชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไมติดตอเรื้อรังที่ดําเนินการในป 2556 อยาง -โรคหลอดเลือดสมอง นอย 1 ชุมชน/1 หนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) โรคหัวใจขาดเลือด ตัวชี้วัดที่ 2 :สัดสวนของประชากรกลุมเสี่ยงสูงตอโรคเบาหวาน (Pre - diabetes) ป‚วยเปCนโรคเบาหวานรายใหม นอยกวารอยละ 5 ตัวชี้วัดที่ 3:สัดสวนของประชากรกลุมเสี่ยงสูงตอโรคความดันโลหิตสูง(Prehypertension) ป‚วยเปCนโรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)รายใหมนอยกวารอยละ 10 อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
คะแนน 2.5 2.5 2 1 2 3 1 1
17
โรคทีเ่ ป@นปAญหาในพื้นที่
1. วัณโรคปอด
2.โรคมาลาเรีย
3. โรคเทาชาง
4. โรคอุจจาระ รวงเฉียบพลัน / อาหารเป@นพิษ
5. โรค หนอนพยาธิ
เกณฑ0การใหคะแนน คะแนน ตัวชี้วัดที่ 1 :สัดสวนของผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมทุกราย ไดรับการกํากับ 2 การกินยา (DOT) โดยพี่เลี้ยงตองเปCนเจาหนาที่สาธารณสุขหรืออาสาสมัครสาธารณสุขหรือ แกนนําชุมชน ≥รอยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2 :อัตราการขาดยาของผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม < รอยละ 3 1.5 ตัวชี้วัดที่ 3 :อัตราการเปลี่ยนของเสมหะจากบวกเปCนลบในผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบ 1.5 เชื้อรายใหม > รอยละ 90 ตัวชี้วัดที่ 1 :อัตราความครอบคลุมของการมีมุงชุบสารเคมี 2 คนตอมุง 1 หลังในหมูบานที่มีการ 3 แพรเชื้อมาลาเรีย (A1) ตัวชี้วัดที่ 2 :อัตราป‚วยมาลาเรียตอพันประชากร (Annual parasite incidence rate 2 per 1000 population) ลดลงอยางนอยรอยละ 5 เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมาหรือไม!มี ผู$ป&วยติดต!อกันในพื้นที่ ตัวชี้วัดที่ 1 :ความครอบคลุมกลุมเป"าหมายที่ไดรับการจายยารักษากลุม (Mass Drug 1.5 Administration : MDA) มากกวา รอยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2 :ความครอบคลุมในการดูแลและ/หรือรักษาผูป‚วยโรคเทาชางในพื้นที่ทุกราย 1.5 ตัวชี้วัดที่ 3 :ผูป‚วยรายใหมที่ติดเชื้อโรคเทาชางในพื้นที่ไมเกิน 1:1,000ประชากรรายตําบล 2 ตัวชี้วัดที่ 1 :มีการดําเนินงานเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ 3 โรคอาหารเปCนพิษ ไดตามเกณฑ5ดังนี้ - มีการวิเคราะห5สถานการณ5โรคอุจจาระรวงเฉียบพลันหรืออาหารเปCนพิษ - มีแผนงานโครงการควบคุมโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันหรืออาหารเปCนพิษ - มีการดําเนินกิจกรรมควบคุมโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันหรืออาหารเปCนพิษ ตัวชี้วัดที่ 2 :อัตราป‚วยโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเปCนพิษในระดับอําเภอ 2 นอยกวาคามัธยฐาน 5 ป ยอนหลัง ตัวชี้วัดที่ 1 :มีการดําเนินงานป"องกันโรคหนอนพยาธิตามที่กําหนด ในอําเภอที่มีความชุก 3 หรืออัตราการตรวจพบของโรคสูงกวารอยละ 10 1)มีการทบทวนวิเคราะห5และจัดทําแผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในระดับ อําเภอ 2) มีการตรวจอุจจาระ เพื่อคนหาผูเปCนโรคหนอนพยาธิและรักษาผูเปCนโรคหนอนพยาธิ ตามมาตรฐานกรมควบคุมโรค 3) มีการสื่อสารความรูใหประชาชนเพื่อสรางความรูและหรือเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4) มีการจัดกิจกรรมเชิงรุกรวมกับชุมชนจากป<ญหาและกลุมเป"าหมายที่ไดจากการ วิเคราะห5โรคหนอนพยาธิในระดับอําเภอ 5) สรุปผลกิจกรรมและการดําเนินงาน อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
18
เกณฑ0การใหคะแนน ตัวชี้วัดที่ 2 :อัตราการตรวจพบหรืออัตราความชุกของโรคพยาธิใบไมตับ หรือพยาธิ ปากขอ นอยกวารอยละ 10 6.โรคพิษสุนัขบา ตัวชี้วัดที่ 1 :มีพื้นที่ที่มีแผนงาน /หรือมีโครงการสรางพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบาและจัด ระดับความเสี่ยงของพื้นที่ตามเกณฑ5ที่กรมควบคุมโรคกําหนดอยางนอยอําเภอละ 2 พื้นที่ ตัวชี้วัดที่ 2 :ไมมีผูที่เสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบา 7.โรคเลปโตสไป ตัวชี้วัดที่ 1 :อสม. มีความรูในการป"องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส ไมนอยกวารอยละ 60 โรสิส ตัวชี้วัดที่ 2 :อัตราตายดวยโรคเลปโตสไปโรสิสไมเกินคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป โรคทีเ่ ป@นปAญหาในพื้นที่
8. โรคติดตอที่ ป>องกันไดดวย วัคซีน
ตัวชี้วัดที่ 1 :ผลการประเมินมาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของหนวย บริการในระดับอําเภอผานเกณฑ5ที่กําหนดมากกวาหรือเทากับรอยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2: - ไมมีผูป‚วยโปลิโอ - ไมมีผูป‚วยคอตีบ หรือมีผูป‚วยลดลง≥รอยละ 80 - อัตราป‚วยดวยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด ไมเกิน 1 : 1000 เด็กเกิดมีชีพ 9.โรคไขหวัดใหญ ตัวชี้วัดที่ 1: มีการดําเนินงานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญดานความรวมมือ พหุภาคีระดับอําเภอ ไดแก 1) มีแผนปฏิบัติการบูรณาการป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ระดับอําเภอ 2) มีศูนย5ปฏิบัติการและคณะกรรมการอํานวยการป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญระดับ อําเภอ ตัวชี้วัดที่ 2 :มีการดําเนินงานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ดานการแพทย5และ สาธารณสุข 1) โรงพยาบาลมีระบบการเฝ"าระวังผูป‚วยอาการคลายไขหวัดใหญ 2) โรงพยาบาลมีแนวทางปฏิบัติการเรื่องการเฝ"าระวังและการดูแลรักษาโรคไขหวัดใหญ 10. โรคเรื้อน ตัวชี้วัดที่ 1 :ความครอบคลุมของกิจกรรมการคนหาผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหมตามมาตรฐาน ครบ 5 ขั้นตอนไดแก 1. มีผูรับผิดชอบงานที่ชัดเจน 2. มีการวิเคราะห5สถานการณ5โรคเรื้อนระดับอําเภอ อยางถูกตองตามขอบงชี้ทาง ระบาดวิทยาโรคเรื้อน 3. มีแผนการดําเนินงานการคนหาผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหมที่สอดคลองกับสภาพป<ญหา 4. มีงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานควบคุมโรคเรื้อน 5. การดําเนินงานตามแผนที่กําหนดไวอยางนอยรอยละ 70 ตัวชี้วัดที่ 2 :อัตราความพิการระดับ 2 ในผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหมตอแสนประชากร ในป พ.ศ. 2555 ของอําเภอลดลง ≥ รอยละ 50 เมื่อเทียบกับ ป. พ.ศ. 2550 อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
คะแนน 2 3 2 3 2 3 2 3
2
3
2
19
เกณฑ0การใหคะแนน คะแนน 11. การป>องกัน ตัวชี้วัดที่ 1 :มีการดําเนินงานป"องกันเด็กจมน้ําไดตามที่กําหนด 4 เด็กเสียชีวิตจาก 1. มีการวิเคราะห5สถานการณ5/ป<จจัยเสี่ยงของการจมน้ําของเด็กในพื้นที่ การจมน้ํา 2. มีแผนงาน/โครงการเฝ"าระวังป"องกันการจมน้ําของเด็กในพื้นที่ พรอมทั้งมี งบประมาณและผูรับผิดชอบที่ชัดเจน 3. มีการสํารวจความสามารถในการวายน้ําเปCนของเด็กในพื้นที่ 4. มีการจัดใหเด็กอายุ 6-14 ปไดเรียนหลักสูตรวายน้ําเพื่อเอาชีวิตรอด ตัวชี้วัดที่ 2 :มีเด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิตนอยกวาหรือเทากับรอยละ 50 ของปที่ 1 ผานมาหรือไมมีเด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิต 12. การควบคุม ตัวชี้วัดที่ 1 :มีการดําเนินการเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมยาสูบ โดยความ 3 การบริโภคยาสูบ รวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่ 1. มีกระบวนการหรือสถานที่รับแจงการกระทําละเมิดกฎหมาย ไดแก การมี ชองทาง รับเรื่องรองเรียน เชน โทรศัพท5 โทรสาร กลองรับเรื่องรองเรียน มีเจาหนาที่รับ เรื่องรองเรียน เบอร5สายดวน หรือเว็บไซต5รับเรื่องรองเรียน เปCนตน 2. มีแผนปฏิบัติการเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมยาสูบ โดยความรวมมือกับ หนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่ 3. มีการดําเนินการเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมยาสูบ โดยความรวมมือกับ หนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่ 4. มีการรายงานผลการดําเนินงานเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมาย ตัวชี้วัดที่ 2 :มีการจัดสถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานใหเปCนเขตปลอดบุหรี่ตามที่ 2 กฎหมายกําหนด 1) มีนโยบายอยางเปCนลายลักษณ5อักษรเพื่อดําเนินการจัดเขตปลอดบุหรี่หรือเขตสูบบุหรี่ ในสถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานตามที่กฎหมายกําหนด 2) ผูบริหารขององค5กรมอบหมายอยางเปCนลายลักษณ5อักษรใหมีผูรับผิดชอบหลักเพื่อ ดําเนินการจัดเขตปลอดบุหรี่หรือเขตสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานตามที่ กฎหมายกําหนด 3) มีการจัดทําฐานขอมูลสถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานตามที่กฎหมายกําหนด 4) มีการติดเครื่องหมาย/สัญลักษณ5แสดงเขตปลอดบุหรี่หรือเขตสูบบุหรี่ในสถานที่ สาธารณะและสถานที่ทํางานตามที่กฎหมายกําหนดครบทุกแหง 13.การควบคุมการ ตัวชี้วัดที่ 1 :มีการดําเนินการเฝ"าระวังการละเมิดกฎหมายควบคุมการบริโภคเครื่องดื่ม 2 บริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล5 แอลกอฮอล0 ตัวชี้วัดที่ 2 :มีกระบวนการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล5ในพื้นที่ 3 โรคทีเ่ ป@นปAญหาในพื้นที่
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
20
โรคทีเ่ ป@นปAญหาในพื้นที่
14. โรคจาก มลพิษสิ่งแวดลอม
15. โรคจากการ ประกอบอาชีพ 16. การป>องกัน อุบัติเหตุทางถนน
17. อหิวาตกโรค
18.โรคมือเทาปาก
เกณฑ0การใหคะแนน คะแนน ตัวชี้วัดที่ 1 :อําเภอที่มีป<ญหามลพิษสิ่งแวดลอมมีการจัดบริการเวชศาสตร5สิ่งแวดลอมใน 3 พื้นที่ (หนวยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ที่มีป<ญหามลพิษสิ่งแวดลอมมีการจัดบริการเวช ศาสตร5สิ่งแวดลอมรอยละ 60) ตัวชี้วัดที่ 2 :อําเภอที่มีป<ญหามลพิษสิ่งแวดลอมมีการจัดกิจกรรม/มีสวนรวม/สนับสนุน/ 2 ผลักดัน ใหประชาชนมีความตระหนักหรือมีสวนรวมในการป"องกัน และแกไขป<ญหา มลพิษสิ่งแวดลอม ตัวชี้วัดที่ 1 :การจัดบริการดูแลสุขภาพเชิงรุกใหเกษตรกรไดครอบคลุม ≥ รอยละ 10 3 ตัวชี้วัดที่ 2 :ผูที่มีผลการตรวจพบวาเสี่ยงและไมปลอดภัยจากการตรวจคัดกรองดวย 2 กระดาษทดสอบพิเศษ ทุกคน ไดรับการถายทอดวิธีการป"องกันตนเอง ตัวชี้วัดที่ 1 :มีการบูรณาการเฝ"าระวังป"องกันอุบัติเหตุทางถนนรวมกับเครือขายในพื้นที่ 4 1. มีการวิเคราะห5สถานการณ5 / ป<จจัยเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ทุกเดือน 2. มีการนําขอมูลอุบัติเหตุไปใชในการขับเคลื่อนใหเกิดการแกไขป<ญหาในพื้นที่ โดย นําเสนอป<ญหาตอหนวยงานที่เกี่ยวของ 3. มีการบูรณาการแผนงาน/โครงการแกป<ญหาในพื้นที่และดําเนินการรวมกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของ 4. มีการติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ (อยางนอย 2 ครั้ง/ป) ตัวชี้วัดที่ 2 :จํานวนผูบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในกลุมเป"าหมายของแผนงาน/ 1 โครงการหลังดําเนินโครงการ นอยกวา กอนดําเนินโครงการ ตัวชี้วัดที่ 1 :มีการดําเนินงานเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรคอหิวาตกโรคไดตามเกณฑ5ดังนี้ 3 1. มีการวิเคราะห5สถานการณ5อหิวาตกโรค 2. มีแผนงานโครงการควบคุมอหิวาตกโรค 3. มีการดําเนินกิจกรรมควบคุมโรคอหิวาตกโรค ตัวชี้วัดที่ 2 :อัตราป‚วยโรคอหิวาตกโรคในระดับอําเภอนอยกวาคามัธยฐาน 5 ปยอนหลัง 2 ตัวชี้วัดที่ 1 :ศูนย5เด็กเล็กไดมาตรฐาน และ อําเภอมีแนวทางการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP) โรคมือ เทา ปาก - ศูนย5เด็กเล็กผานเกณฑ5ประเมินของกรมควบคุมโรค 2 - อําเภอมีแนวทางการปฏิบัติงาน (SOP) โรคมือ เทา ปาก 1 ตัวชี้วัดที่ 2 : อัตราป‚วยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ระดับอําเภอลดลงกวาปที่ 2 ผานมา
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
21
คําอธิบายเกณฑ0การประเมินตนเอง “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง” ป. 2556 คุณลักษณะที่ 1 มีคณะกรรมการป>องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประเด็นการประเมิน คะแนน คําอธิบาย เอกสารหลักฐาน 1.มีคณะกรรมการและการมีสวนรวมขององค5กรในการ 5 ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1 มีตัวแทนครบทัง้ 3 ภาคสวน ดังนี้ คําสั่งแตงตัง้ คณะกรรมการสุขภาพ 1.1 คําสั่งคณะกรรมการสุขภาพระดับอําเภอ ภาครั ฐ อยางนอยควรมี ต ว ั แทนจาก ระดับอําเภอ ประกอบดวยตัวแทนจาก 3 ภาคสวน รพ./ สสอ. และนายอําเภอ - ภาครัฐ (รพ./ สสอ. นายอําเภอ) - ทองถิ่น ไดแกตัวแทนอปท.ภายใน หมายเหตุ - ทองถิ่น (อปท.ภายในอําเภอ) อําเภอ (ไมตองครบทุกแหงก็ได) 1. ชื่อคณะกรรมการไม - ภาคประชาชน ไดแกอยางนอยควรมี จําเปCนตองเปCนอําเภอควบคุมโรค - ภาคประชาชน (อสม./ผูนําชุมชน/องค5กรพัฒนา ตัวแทนของอสม.หรือผูนําชุมชนหรือองค5กร เขมแข็ง เอกชน) พัฒนาเอกชน 2. ถากรรมการไมมีการ เกณฑ5การใหคะแนน เปลี่ยนแปลงบุคคล ใหใชคําสั่งเดิม - มีครบ 3 ภาคสวน = 1 คะแนน ได - มีไมครบ 3 ภาคสวน = 0 คะแนน 1 มีการประชุมคณะกรรมการฯอยางตอเนื่อง รายงานการประชุมในแตละไตรมาส 1.2 มีรายงานการประชุมของคณะกรรมการฯ ทุกไตรมาส อยางนอยไตรมาสละ 1 ครัง้ ไตรมาสที่ 4 เดือน กค.-กย. 55 อยางสม่ําเสมออยางนอยไตรมาสละ 1 ครั้ง นับจากวันประเมิน ไตรมาสที่ 1 เดือน ตค.-ธค. 55 เกณฑ5การใหคะแนน ไตรมาสที่ 2 เดือน มค.-มีค. 56 - มีรายงานการประชุมทุกไตรมาสๆ ละ ไตรมาสที่ 3 เดือน เมย.-มิย. 56 หมายเหตุ หากไตรมาสที่ 3 ยังไมมี 1 ครัง้ หรือมากกวา = 1 คะแนน - มีการประชุมไมครบทุกไตรมาส=0 การประชุมในชวงประเมิน เนื่องจากยังไมครบไตรมาส ใหใช คะแนน รายงานการประชุมป 2555 1 เกณฑ5การใหคะแนน 1. รายงานสถานการณ5ทางระบาด 1.3 นําผลการวิเคราะห5สถานการณ5มากําหนด - มีการนําผลการวิเคราะห5ฯมากําหนด วิทยารายสัปดาห5หรือรายเดือน ป<ญหาและแนวทางแกไขป<ญหามาใชในการ ป<ญหาและแนวทางการแกไข อยางนอย 1 หรือรายป ดําเนินงาน ครั้ง = 1 คะแนน 2. แผนงานหรือโครงการที่มีการนํา - ไมมีการวิเคราะห5หรือนําผลการ ขอมูลจากวิเคราะห5สถานการณ5มา วิเคราะห5ฯมากําหนดป<ญหาและแนว ดําเนินการแกไขป<ญหา ทางแกไข=0คะแนน 1 จากรายงานการประชุมมีการมอบหมายให รายงานการประชุมคณะกรรมการ 1.4 มีการมอบหมายผูรับผิดชอบใหดําเนินการ ผูรับผิดชอบที่เกี่ยวของไปดําเนินการ รอย สุขภาพระดับอําเภอ ควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ อยางนอยรอยละ 50 ของ ละ 50 เชน มีการประชุม 4 ครัง้ ตองมีการ การประชุม มอบหมายงานอยางนอย 2 ครัง้ เกณฑ5การใหคะแนน อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
22
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
1.5 มีการติดตามผลการดําเนินงานตามมติการ
1
ประชุมคณะกรรมการอยางสม่ําเสมอ
คําอธิบาย เอกสารหลักฐาน - มีการมอบหมายงาน อยางนอยรอย ละ 50 ของการประชุม = 1 คะแนน ไมมีการมอบหมายงานหรือมีการ มอบหมายงาน นอยกวารอยละ 50 ของ การประชุม = 0 คะแนน เมื่อมติการประชุมมีการมอบหมายงานตอง รายงานการประชุมคณะกรรมการ มีการติดตามผลการดําเนินงานในการ สุขภาพระดับอําเภอ ประชุมครัง้ ถัดไปทุกครัง้ เกณฑ5การใหคะแนน - มีการติดตาม = 1 คะแนน ไมมีการติดตาม = 0 คะแนน
คุณลักษณะที่ 2 มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอําเภอ ประเด็นการประเมิน 2. ระบบระบาดวิทยาที่ดใี นระดับอําเภอและเครือขาย ระดับตําบล 2.1 ทีม SRRT อําเภอและเครือขาย มีความพรอมและ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 2.1.1 ทีม SRRT ระดับอําเภอ ผานการประเมิน
รับรองมาตรฐาน SRRT โดย สคร.
คะแนน 20
คําอธิบาย
เอกสารหลักฐาน
8 6
อําเภอตองผานการประเมินมาตรฐาน SRRTผลการประเมินรับรองมาตรฐาน โดยสคร. SRRT จาก สคร. เกณฑ5การใหคะแนน - ผลการประเมินผานเกณฑ5มาตรฐาน = 6 คะแนน - ไมมีการประเมินหรือผลการประเมิน ไมผานเกณฑ5มาตรฐาน = 0 คะแนน
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
23
ประเด็นการประเมิน
คะแนน คําอธิบาย เอกสารหลักฐาน รายงานผลการติดตามและสรุปผล 2 ทีม SRRT อําเภอมีการติดตามการ 2.1.2 ทีม SRRT ระดับอําเภอติดตามและสรุปผล ดําเนินงานระบบเฝ"าระวังเหตุการณ5ของ การดําเนินงาน อยางนอย 2 ครัง้ ตอ การดําเนินงานของทีม SRRT ตําบล 2 ครั้ง/ตอป0 SRRT เครือขายรพ.สต.ทุกแหง อยางนอย ป 2 ครัง้ /ป . เกณฑ5การใหคะแนน -ติดตามและสรุปผลการดําเนินงานของ ทีม SRRT ตําบล - 2 ครั้ง/ป.= 2 คะแนน - 1 ครั้ง/ป = 1 คะแนน - ไมมีการติดตามและสรุปผล. = 0 คะแนน 2.2 ทีม SRRT ระดับตําบลมีการดําเนินงานดังนี้ 5 ผูประเมิน สคร. สุม รพ.สต. 1 แหง เพื่อทําการตรวจสอบ ขอ 2.2.1–2.2.7 0.5 อสม.ไดรับการถายทอดการเฝ"าระวัง ตรวจสอบหลักฐานการลงทะเบียน 2.2.1 อสม.ไดรับการถายทอดการเฝ"าระวัง เหตุการณ5 เหตุการณ5 เพื่อปฏิบัติการ “รูเร็ว แจงเร็ว เขารับการอบรม หรือรูปถาย จาก รพ.สต. หรือสุมสัมภาษณ5 อสม. ควบคุมเร็ว” จากทีม SRRT เครือขาย ระดับตําบล หรือทีมอําเภอ อยางนอย 1 ครั้งในรอบป 2556 เกณฑ5การใหคะแนน - อสม.ไดรับการถายทอดการเฝ"าระวัง เหตุการณ5 ≥ 80 % = 0.5 คะแนน - อสม.ไดรับการถายทอดการเฝ"าระวัง เหตุการณ5 50-79 = 0.2 คะแนน - อสม.ไดรับการถายทอดการเฝ"าระวัง เหตุการณ5 < 50 % = 0 คะแนน 1 ตรวจสอบจากทะเบียนรับแจงขาว 12 ทะเบียนรับแจงขาวของ รพ.สต.ที่ 2.2.2 รับแจงขาวจากอสม.หรือเครือขายในเขต เดือนยอนหลังของ รพ.สต.ที่ประเมิน ซึ่ง ประเมิน รับผิดชอบอยางนอย 1 ครั้ง/เดือน แหลงขาวที่ไดรับแจง ตองมาจากอสม.หรือ เครือขาย หรือประชาชน ในเขตรับผิดชอบ ของ รพ.สต.นั้นๆ เกณฑ5การใหคะแนน -มีการรับแจงขาวสม่ําเสมอ 10 เดือนขึ้นไป =1 -มีการแจงขาว 5-9 เดือน = 0.5 -มีการแจงขาว <5 เดือน = 0 1 SRRT ตําบลมีการแจงขาวทุกขาวที่ไดรับ ทะเบียนรับแจงขาวในชองกิจกรรม 2.2.3 แจงขาวใหเครือขายภายใน 24 ชม. หลัง การตรวจสอบยืนยันแลววาผิดปกติหรือ มี ดําเนินการ หรือหลักฐานที่แสดง ตรวจสอบขาว การระบาด หรือเปCนเหตุการณ5ที่จะมี การแจงขาวแกเครือขาย ที่มีการ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
24
ประเด็นการประเมิน
2.2.4 แจงขาวในโปรแกรมออนไลน5ถูกตอง
คะแนน
0.5
คําอธิบาย เอกสารหลักฐาน ผลกระทบตอสุขภาพประชาชนในพื้นที่ บันทึกขอมูลดานเวลาที่แจง ภายใน 24 ชั่วโมงหลังตรวจสอบขาว เกณฑ5การใหคะแนน ≥80%=1 50-79=0.5 <50%=0 ดูองค5ประกอบของขาวที่มีขอมูลทีส่ ําคัญ ตรวจสอบจากโปรแกรมออนไลน5 เชน อยางนอยระบุ แหลงขาว ขาวอะไร 12 เดือนยอนหลัง ขนาด ความรุนแรง การกระจาย เปCนตน เกณฑ5การใหคะแนน - การบันทึกครบถวนใหคิดเปCนสัดสวน - ไมมีการบันทึก =0 คะแนน จํานวน record ทีบ่ ันทึกครบถวนตามองค5ประกอบ
จํานวน record ที่ key in 12 เดือนยอนหลัง
2.2.5 ควบคุมการเกิดโรค/เหตุการณ5เบื้องตน
1
≥80%=0.5 50-79=0.2 <50%=0 มีการควบคุมการเกิดโรค/เหตุการณ5 เบื้องตนไดอยางเหมาะสม เกณฑ5การใหคะแนน
ตรวจสอบจากรายงานการสอบสวน โรค ภัยสุขภาพ หรือบันทึกการ ปฏิบัติงาน 12 เดือนยอนหลัง (
จํานวน เหตุการณ5/โรค ที่ควบคุมเบื้องตนไดอยางเหมาะสม
จํานวนเหตุการณ5/โรคที่ตองควบคุมเบือ้ งตน 12 เดือน ยอนหลัง
2.2.6 มีการประชุมทีม SRRT เครือขายระดับตําบล
0.5
อยางนอยปละ 2 ครั้ง
2.2.7 มีเครือขายการฝ"าระวัง สอบสวนโรค นอก
ตําบล
0.5
≥80%=1 50-79=0.5 <50%= 0 เกณฑ5การใหคะแนน - มีการประชุมอยางนอยปละ 2 ครัง้ = 0.5 - มีการประชุมปละ 1 ครั้ง = 0.2 ไมมีการประชุม = 0 ตรวจสอบเครือขายการเฝ"าระวังสอบสวน ควบคุมโรคกับพื้นที่ขางเคียง โดยดูจาก หลักฐานที่ รพ.สต. เกณฑ5การใหคะแนน - มีเครือขายฯ = 0.5 คะแนน ไมมีเครือขาย ฯ = 0 คะแนน
ตรวจสอบจากรายงานการประชุม ทีม 12 เดือนยอนหลัง
หมายเลขโทรศัพท5 Mailgroups, Facebook, รายงานการประชุม นําเสนอขอมูล/สถานการณ5โรค รวมกัน, รายงานกิจกรรมการรวม สอบสวนควบคุมโรค
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
25
ประเด็นการประเมิน 2.3 มีระบบขอมูลและการเฝ"าระวังโรคและภัยสุขภาพ 2.3.1 ระบบขอมูลและการเฝ"าระวังโรคติดตอมี คุณลักษณะดังนี้ 2.3.1.1 มีความครอบคลุมของสถานบริการที่สง
คะแนน
คําอธิบาย
เอกสารหลักฐาน
3 0.5
รายงาน *
ดูขอมูลยอนหลัง 3 เดือน โดยเวน 1 เดือน ขอ 2.3.1.1 - 2.3.1.3 ตรวจสอบ ขณะทําการประเมิน เชนประเมินวันที่ 10 จากฐานขอมูล 506 ของอําเภอหรือ ส.ค. ใหใชขอมูล เม.ย.-มิ.ย. ทําการ ในโปรแกรมระบาดวิทยา วิเคราะห5จากสถานบริการของรัฐ(รพ./รพ. สต. จําแนกรายสัปดาห5 ถาสัปดาห5ใดไมมี ผูป‚วยที่ตองรายงานตองมี Zero report โดยหัวหนาหนวยงานนั้นๆลงนามเปCนลาย ลักษณ5อักษร เกณฑ5การใหคะแนน (คิดตามสัดสวน) จํานวนสถานบริการของรัฐที่รายงานครบทุกสัปดาห5
จํานวนสถานบริการของรัฐทั้งหมด
≥80%=0.5 50-79=0.2 <50%= 0 2.3.1.2 ขอมูลทันเวลาเปCนป<จจุบัน *
0.5
ตรวจสอบจากวันรับรักษากับวันที่ศูนย5 ระบาดฯ อําเภอไดรับขอมูล ในฐานขอมูลที่ ศูนย5อําเภอโดยกําหนดให รพ.สต. รายงาน ภายใน 5 วัน รพท. รพช. รพศ. รายงาน ภายใน 3 วัน การตรวจสอบใหใชขอมูลเวน ไป 1 สัปดาห5 เชน ทําการประเมินสัปดาห5 ที่ 47 ใหใชขอมูลสัปดาห5ที่ 45 (สัปดาห5 เดียว) เกณฑ5การใหคะแนน (คิดตามสัดสวน) จํานวน record ที่รายงานทันเวลา จํานวน record ทั้งหมดในสัปดาหCทที่ ําการประเมิน
≥80%=0.5 50-79=0.2 <50%= 0 2.3.1.3 ตรวจจับการระบาดจากขอมูลในระบบเฝ"า
ระวังโรคอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง
1
งานระบาดวิทยาอําเภอ มีการตรวจจับการ มีหลักฐานการตรวจสอบการ ระบาดจากระบบเฝ"าระวังเดือนละ 1 ครัง้ ระบาดจากระบบขอมูล รง.506 (ตรวจสอบ 12 เดือนยอนหลัง) เชน 10 เดือนขึ้นไป = 1 การเปรียบเทียบคามัธยฐาน การดู 5-9 เดือน = 0.5 การเกิดโรคแบบกลุมกอน <5 เดือน = 0 อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
26
ประเด็นการประเมิน 2.3.1.4 มีการจัดทําหรือนําเสนอรายงาน
คะแนน 1
สถานการณ5ทุกเดือน *
คําอธิบาย เอกสารหลักฐาน ดูรายงานสถานการณ5โรค (Cluster) เปCนตน มีรายงานสถานการณ5หรือรายงานการ รายงานสถานการณ5หรือรายงาน นําเสนอสถานการณ5ยอนหลังรอบ 1 ป ทุก การนําเสนอสถานการณ5 เดือน
10 เดือนขึ้นไป = 1 5-9 เดือน = 0.5 <5 เดือน = 0 2.3.2 ระบบขอมูลและการเฝ"าระวังโรคไมติดตอมี คุณลักษณะดังนี้ 2.3.2.1 มีฐานขอมูลผูป‚วยโรคเบาหวาน โรคความ
2.5 0.5
ดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือด สมอง *
2.3.2.2 สํารองขอมูลอยางนอย 5 ปยอนหลัง *
1
2.3.2.3 จัดทําหรือนําเสนอรายงานสถานการณ5 ทุก
1
6 เดือน *
2.3.3 ระบบขอมูลและการเฝ"าระวังภัยสุขภาพและป<จจัย เสี่ยงอื่นๆ มีคณ ุ ลักษณะดังนี้ 2.3.3.1 มีขอมูลเฝ"าระวัง/การสํารวจดานป<จจัย
เสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง (Behavior, Risk factor) สําหรับโรคและภัยสุขภาพตามคุณลักษณะที่ 5
มีฐานขอมูลที่มีตัวแปรสําคัญ 3 ดาน คือ ขอ 2.3.2.1 – 2.3.2.2 ตรวจสอบ บุคคล เวลา สถานที่ จากฐานขอมูลผูป‚วยโรคเบาหวาน เกณฑ5การใหคะแนน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาด - มีรายงานครบทุกโรคทุกตัวแปร = 0.5 เลือดและโรคหลอดเลือดสมองของ คะแนน อําเภอ - ไมมีรายงานหรือมีไมครบทุกโรคไมครบ ทุกตัวแปร = 0 คะแนน ดูจากขอมูลการป‚วย/ตาย ที่สํารองไว เกณฑ5การใหคะแนน -มีครบทุกโรค 5 ป = 1 คะแนน -มีไมครบทุกโรคทุกปหรือไมมี = 0 คะแนน ดูจากรายงานสถานการณ5หรือรายงานการ นําเสนอ ในรอบ 12 เดือน เกณฑ5การใหคะแนน -รอบการจัดทํารายงาน ≤ 6 เดือน = 1 คะแนน -รอบการจัดทํารายงาน › 6 เดือน = 0.5 คะแนน -ไมมี = 0 คะแนน
1.5 0.5
ดูขอมูลการเฝ"าระวังหรือการสํารวจป<จจัย ตรวจสอบจากฐานขอมูลการเฝ"า เสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงที่จัดทําไวในรอบ 12 ระวังป<จจัยเสี่ยง พฤติกรรม และ เดือนที่ผานมา สิ่งแวดลอม ที่เปCนป<จจัยเสี่ยงของ เกณฑ5การใหคะแนน โรค/ภัยสุขภาพในพื้นที่ของอําเภอ - มีขอมูลป<จจัยเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยง = 0.5 คะแนน อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
27
ประเด็นการประเมิน
2.3.3.2 มีการจัดทําหรือนําเสนอรายงาน
คะแนน
คําอธิบาย - ไมมีขอมูลป<จจัยเสี่ยงหรือพฤติกรรม เสี่ยง = 0 คะแนน
1
ดูจากรายงานสถานการณ5ยอนหลังในรอบ 12 เดือนที่ผานมา เกณฑ5การใหคะแนน - มี = 1 คะแนน - ไมมี = 0 คะแนน
สถานการณ5เฝ"าระวัง/การสํารวจอยางนอย 1 ฉบับ
เอกสารหลักฐาน
หมายเหตุ • ขอ 2.2.1-2.2.7 การประเมินตนเองตองประเมินทุก รพ.สต. คะแนนที่ไดในแตละขอเกิดจากการนําคะแนนของแตละ รพ. สต. ในขอนั้นๆ มารวมกัน แลวหาคาเฉลี่ย
คุณลักษณะที่ 3 มีการวางแผน กํากับติดตามและประเมินผลการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประเด็นการประเมิน
คะแนน
3. การจัดทําแผน การกํากับติดตามและประเมินผล การป"องกันควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ 3.1 มีเป"าหมายและแผนปฏิบัติการป"องกันควบคุม โรคและภัยสุขภาพที่เปCนป<ญหาสําคัญของพื้นที่อยาง นอย 1 เรื่อง และสามารถวัดความสําเร็จไดตาม คุณลักษณะที่ 5
10 1
คําอธิบาย
มีเป"าหมายและมีแผนปฏิบัติการ การป"องกันควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพที่เปCนป<ญหาในพื้นที่ เชน ลดโรค และภัยสุขภาพ ลดป<จจัยเสี่ยง เกณฑ5การใหคะแนน - มีครบ= 1 คะแนน - ไมมี/มีไมครบ = 0 คะแนน
เอกสารหลักฐาน
ประกอบดวย ( ) แผนงาน/โครงการ มีการกําหนดเป"าหมายของการ ลดโรคและภั ย สุ ข ภาพ/ป< จจั ย เสี่ยงในคุณลักษณะ ที่ 5.2 และ ( ) มีแ ผนปฏิ บั ติก ารป" อ งกั น ควบคุ ม โรคและภั ย สุ ข ภาพ ระดับอําเภอ จากโรคที่เลือก เปCนป<ญหาสําคัญของพื้นที่ ในคุณลักษณะที่ 5.2
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
28
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
3.2 มีเป"าหมายและแผนปฏิบัติการป"องกันควบคุม โรคและภั ย สุ ข ภาพที่ เ ปC น ป< ญ หาสาธารณสุ ข ตาม นโยบายอยางนอย 1 เรื่อง และสามารถวั ด ความสําเร็จไดตามคุณลักษณะที่ 5
1
3.3 มีเป"าหมายและแผนปฏิบัติการป"องกันควบคุม โรคและภั ย สุ ข ภาพที่ เ ปC น ป< ญ หาสาธารณสุ ข ตาม นโยบายอยางนอย 1 เรื่อง และสามารถวั ด ความสําเร็จไดตามคุณลักษณะที่ 5
1
3.4 มี การปฏิ บัติ การรวมกั บ ทองถิ่ นและภาค ประชาชนในการป"องกันควบคุมโรค/ป<ญหาสุขภาพที่ เปCนป<ญหาของพื้นที่และที่เปCนนโยบายของประเทศ ตามเป"าหมายที่กําหนดในขอ 3.1-3.2
1
คําอธิบาย
เอกสารหลักฐาน
มีเป"าหมายและมีแผนปฏิบัติการโรคและ ประกอบดวย ภัยสุขภาพที่ป<ญหาตามนโยบาย เชน การ ( ) แผนงาน/โครงการ มีการกําหนดเป"าหมายของการ ติดเชื้อ HIV/โรคเอดส5, โรคไขเลือดออกและโรคหลอดเลือดสมอง ลดโรคและภัยสุขภาพ/ป<จจัย เสี่ยงในคุณลักษณะ โรคหัวใจขาดเลือด เปCนตน เกณฑ5การใหคะแนน ที่ 5.1 และ - มีครบ= 1 คะแนน - ไมมี/มีไมครบ = 0 คะแนน ( ) มีแผนปฏิบัติการป"องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระดับอําเภอ จากโรคที่เลือก เปCนป<ญหาตามนโยบาย ในคุณลักษณะที่ 5.1 มีปฏิทินปฏิบัติงานที่กําหนดชวงเวลาและ ประกอบดวย กิจกรรมในการดําเนินงาน ( ) ปฏิทินการดําเนินงานตาม ในรอบป แผนปฏิบัติการป"องกันควบคุม เกณฑ5การใหคะแนน โรคและภั ย สุ ข ภาพ/ลดป< จจั ย - มีครบ= 1 คะแนน เสี่ยงที่เลือกตามคุณ ลักษณะที่ - ไมมี/มีไมครบ = 0 คะแนน 5.1 ที่ระบุชวงเวลาดําเนินการ ในแตละกิ จกรรมที่ ชั ด เจนใน ปงบประมาณ 2556 และ ( ) ปฏิทินการดําเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป"องกันควบคุม โรคและภั ย สุ ข ภาพ/ลดป< จจั ย เสี่ยงที่เลือกตามคุณ ลักษณะที่ 5.2 ที่ระบุชวงเวลาดําเนินการ ในแตละกิจกรรมที่ชัดเจน ในงบประมาณ 2556 มีกิจกรรมการดําเนินงานป"องกันควบคุม ประกอบดวย โรคและภัยสุขภาพที่มีทองถิ่นและ ( ) รายงานผล หรือรูปภาพ ประชาชนรวมดวยในการป"องกันควบคุม กิจกรรมการดําเนินงานควบคุม โรค/ป<ญหาสุขภาพที่เปCนป<ญหาของพื้นที่ ป" อ ง กั น โ ร ค ที่ เ ลื อ ก ใ น และที่เปCนนโยบายของประเทศ คุ ณ ลั ก ษณะ ที่ 5.1 ที่ มี การมี เกณฑ5การใหคะแนน สวนรวมของ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
29
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
คําอธิบาย
- มีครบ= 1 คะแนน - ไมมี/มีไมครบ = 0 คะแนน
3.5 มีแผนติดตามการดําเนินงานและมีผูรับผิดชอบ การติดตามงานตามแผนปฏิบัติการป" องกั นควบคุ ม โรคและภัยสุขภาพที่เ ปCนป<ญหาของพื้นที่และที่เปCน นโยบายของประเทศ ตามเป"าหมายที่กําหนดในขอ 3.1-3.2
1
3.6 มี ก ารกํ า หนดแผน วิ ธี ก าร/แนวทางและ ผู รั บ ผิ ด ชอบการประเมิ น ผลความสํ า เร็ จ ของ แผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่ เปCนป<ญหาของพื้นที่ และที่เปCนนโยบายของประเทศ ตามเป"าหมายที่กําหนดในขอ 3.1-3.2
1
3.7 มีรายงานความกาวหนา ผลการติดตามการ ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรคและ
1
เอกสารหลักฐาน
ทองถิ่น และ ภาคประชาชน
และ ( ) รายงานผล หรือรูปภาพ กิจกรรมการดําเนินงานควบคุม ป" อ ง กั น โ ร ค ที่ เ ลื อ ก ใ น คุณลักษณะ ที่ 5.2 ที่มีการ มี สวนรวมของ ทองถิ่น และ ภาคประชาชน มีแผนติดตามการดําเนินงานตามกิจกรรม แผนการติดตามงานป"องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของ ที่ระบุไวในแผนปฏิบัติการและระบุ ผูรับผิดชอบการติดตามงานตาม อําเภอ และมีการกําหนด แผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรคและภัย ผูรับผิดชอบโดยระบุตําแหนง สุขภาพที่เปCนป<ญหาของพื้นที่และที่เปCน หรือชื่อบุคคลในแผนติดตาม งานของ นโยบายของประเทศ ( )โรคและภัยสุขภาพที่เลือก เกณฑ5การใหคะแนน - มีครบ= 1 คะแนน ในคุณลักษณะที่ 5.1 - ไมมี/มีไมครบ = 0 คะแนน และ ( )โรคและภัยสุขภาพที่เลือก ในคุณลักษณะที่ 5.2 มีแผนการประเมินผล ประกอบดวย แผนการประเมินผล ที่กําหนด วิธีการ/แนวทาง ประเด็น/หัวขอ ตัวชี้วัด ประเด็น, วิธีการ/แนวทาง/ เครื่องมือและผูรับผิดชอบในการ เครื่องมือ, ตัวชี้วัด/เกณฑ5 และ ประเมินผลตามแผนปฏิบัติการการป"องกัน ผูรับผิดชอบ(โดยระบุตําแหนง ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่เปCนป<ญหา หรือ ชื่อบุคคล) ในการ ของพื้นที่และที่เปCนนโยบายของประเทศ ประเมินผลความสําเร็จตาม เกณฑ5การใหคะแนน แผนปฏิบัติการของ - มีครบ= 1 คะแนน ( )โรคและภัยสุขภาพที่เลือก - ไมมี/มีไมครบ = 0 คะแนน ในคุณลักษณะที่ 5.1 และ ( )โรคและภัยสุขภาพที่เลือก ในคุณลักษณะที่ 5.2 มีรายงานการติดตามผลความกาวหนา - ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ติ ด ต า ม การดําเนินงานตามแผนที่กําหนดไว ความกาวหนา ป<ญหาอุปสรรค อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
30
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
ภัยสุขภาพที่เปCนป<ญหาของพื้นที่และที่เปCนนโยบาย ของประเทศ ตามเป"าหมายที่กําหนดในขอ 3.1-3.2 เสนอตอคณะกรรมการป"อ งกั น ควบคุ ม โรคและภั ย สุขภาพในระหวางปอยางนอย 1 ครั้ง
3.8 มีรายงานการประเมินผลความสําเร็จ ป<ญหา อุ ป สรรค และขอเสนอแนะ ตามแผนปฏิ บั ติ ก าร ป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่เปCนป<ญหาของ พื้นที่และที่เปCนนโยบายของประเทศ ตามเป"าหมายที่ กําหนดในขอ 3.1-3.2 เสนอตอคณะกรรมการป"องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
คําอธิบาย
เอกสารหลักฐาน
ป<ญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะ เพื่อ และ ขอ เ สนอแนะ ใ นกา ร ปรับแผนการดําเนินงานในไตรมาสตอไป ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการ หรือพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานในป ตอไปของ ตอไป อยางนอย 1 ครั้งตอป ของ ( )โรคและภัยสุขภาพที่เ ลือก แผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรคและภัย ในคุณลักษณะที่ 5.1 สุขภาพที่เปCนป<ญหาของพื้นที่และที่เปCน และ นโยบายของประเทศ เสนอตอ ( )โรคและภัยสุขภาพที่เลือก คณะกรรมการป"องกันควบคุมโรคและภัย ในคุณลักษณะที่ 5.2 สุขภาพ - รายงานการประชุมฯของ เกณฑ5การใหคะแนน คณะกรรมการป"องกันควบคุม - มีครบ = 1 คะแนน โรคและภัยสุขภาพที่ระบุวามี - ไมมี/มีไมครบ = 0 คะแนน การรายงานผลความกาวหนา ป<ญหาอุปสรรคและ ขอเสนอแนะในการปรับแผน หรือเพื่อปรับปรุงการ ดําเนินงานในไตรมาสตอไป หรือปตอไปของแผนปฏิบัติการ ป"องกันควบคุมโรคและภัย สุขภาพตามคุณลักษณะที่5.1 และ5.2 1
รายงานการประเมินผลความสําเร็จของ แผนปฏิบัติการ ป<ญหาอุปสรรคของโรค และภัยสุขภาพที่เลือกในคุณลักษณะที่ 5.1 และ 5.2 โดยมีขอสรุปและ ขอเสนอแนะเพื่อนําไปสูการปรับปรุง พัฒนามาตรการดําเนินงาน วางแผนงาน โครงการเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคใน ระดับอําเภอใหมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นตอไป ที่เสนอตอ คณะกรรมการป"องกันควบคุมโรคและภัย สุขภาพ เกณฑ5การใหคะแนน
รายงานการประเมินผล ความสําเร็จ ป<ญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะตาม แผนปฏิบัติการ ของ ( )โรคและภัยสุขภาพที่เลือก ในคุณลักษณะที่ 5.1 และ ( )โรคและภัยสุขภาพที่เลือก ในคุณลักษณะที่ 5.2 - รายงานการประชุมของ คณะกรรมการฯ ที่ระบุถึง ผลสําเร็จการดําเนินงานตาม
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
31
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
คําอธิบาย
- มีครบ = 1 คะแนน - ไมมี/มีไมครบ = 0 คะแนน
3.9 มีแผนปฏิบัติการรองรับการควบคุม ภาวะ ฉุกเฉินทางดานสาธารณสุขระดับอําเภออยางนอย 1 แผน
1
3.10 มีการซอมแผนรับการควบคุม ภาวะฉุกเฉิน ดานสาธารณสุขระดับอําเภออยางนอยปละ 1 ครั้ง
1
เอกสารหลักฐาน
แผนปฏิบัติการ ป<ญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะเพื่อวาง แผนการดําเนินงานในปตอไป ของโรคและภัยสุขภาพที่เปCน ป<ญหาของพื้นที่และที่เปCน นโยบายของประเทศ
มีแผนรองรับภาวะฉุกเฉินทางดาน สาธารณสุข เชน ไขหวัดใหญ/ไขหวัดนก, อุบัติเหตุ ฯลฯ ทั้งนี้ไมนับแผนไฟไหม สถานบริการ เกณฑ5การใหคะแนน - มี= 1 คะแนน ไมมี = 0คะแนน มีการซอมแผนฯในรอบ 12 เดือนที่ผาน มานับจากวันประเมิน เกณฑ5การใหคะแนน - มี = 1 คะแนน - ไมมี = 0 คะแนน
คุณลักษณะที่ 4 มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานที่เกี่ยวของเป@นรูปธรรม ประเด็นการประเมิน คะแนน คําอธิบาย เอกสารหลักฐาน 4. มีการระดมทุนหรือการสนับสนุนงบประมาณ 5 จากหนวยงานที่เกี่ยวของเปCนรูปธรรม 4.1 องค5กรปกครองสวนทองถิ่น เชน อบจ. 1 อปท.มีการจัดสรรทรัพยากร ไดแก แผนงานโครงการที่ไดรับ ,เทศบาล , อบต. งบประมาณ วัสดุอุปกรณ5 น้ํายาเคมี งบประมาณจาก อปท. , - รอยละขององค5กรปกครองสวนทองถิ่น มีการ ฯลฯ และมีหลักฐานสามารถ ทะเบียนวัสดุอุปกรณ5 เปCนตน ตรวจสอบได จัดสรรทรัพยากรเพื่อการควบคุมโรคอยางเปCน รูปธรรม เกณฑ5การใหคะแนน (คิดตาม สัดสวน) - รอยละ 100 ของ อปท. = 1 คะแนน - รอยละ 10 คิดเปCน 0.1 คะแนน เศษของรอยละใหตัดทิ้ง อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
32
ประเด็นการประเมิน คะแนน คําอธิบาย 4.2 กองทุนสุขภาพชุมชน 2 กองทุนสุขภาพชุมชนมีการจัดสรร - รอยละของกองทุนสุขภาพชุมชน จัดสรร ทรัพยากร ไดแกงบประมาณ วัสดุ ทรัพยากรเพื่อการควบคุมโรคอยางเปCนรูปธรรม อุปกรณ5 น้ํายาเคมี ฯลฯ และมี (มีแผนการทํางานและการใชเงิน) แผนการทํางานและใชเงินที่มี หลักฐานสามารถตรวจสอบได เกณฑ5การใหคะแนน - รอยละ 100 ของ กองทุนฯ = 2 คะแนน - รอยละ 10 คิดเปCน 0.2 คะแนน เศษของรอยละใหตัดทิ้ง 4.3 โรงพยาบาลคูสัญญาหลัก (CUP ) ที่ดูแล 1 โรงพยาบาลมีการจัดสรรทรัพยากร หลักประกันสุขภาพของประชาชนสวนใหญใน เชน งบประมาณ วัสดุอุปกรณ5 น้ํายา อําเภอ เคมี ฯลฯ และมีหลักฐานสามารถ - โรงพยาบาลคูสัญญาหลัก (CUP ) จัดสรร ตรวจสอบได ทรัพยากรเพื่อการควบคุมโรคอยางเปCนรูปธรรม เกณฑ5การใหคะแนน - มี = 1 คะแนน - ไมมี = 0 คะแนน 4.4 หนวยงานอื่นๆ เชน องค5กรเอกชน วัด 1 องค5กรมีการจัดสรรทรัพยากร ประชาชน ไดแกงบประมาณ วัสดุอุปกรณ5 - หนวยงานอื่นๆเชน องค5กรเอกชน วัด น้ํายาเคมี ฯลฯ และมีหลักฐาน ประชาชน จัดสรรทรัพยากรเพื่อการควบคุมโรค สามารถตรวจสอบได โดยมีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรเปCน เกณฑ5การใหคะแนน รูปธรรม ที่สามารถตรวจสอบได - มี = 1 คะแนน - ไมมี = 0 คะแนน
เอกสารหลักฐาน แผนงานโครงการที่ไดรับ งบประมาณจาก กองทุน สุขภาพ, ทะเบียนวัสดุอุปกรณ5 เปCนตน
แผนงานโครงการที่ไดรับ งบประมาณจากโรงพยาบาล, ทะเบียนวัสดุอุปกรณ5 เปCนตน
เอกสาร หลักฐานที่ไดรับ งบประมาณจากองค5กรเอกชน หรือประชาชน เชน ทะเบียน บริจาค เปCนตน
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
33
คําอธิบายรายละเอียดตัวชี้วัดผลสําเร็จของการควบคุมโรคที่สําคัญ 1. โรคที่สําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข 1. โรคเอดส5 2. โรคไขเลือดออก 3. โรคไมติดตอเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด 2. โรคที่เป@นปAญหาในพื้นที่ 1. วัณโรคปอด 2. โรคมาลาเรีย 3. โรคเทาชาง 4. โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเปCนพิษ 5. โรคหนอนพยาธิ 6. โรคพิษสุนัขบา 7. โรคเลปโตสไปโรสิส 8. โรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีน 9. โรคไขหวัดใหญ 10. โรคเรื้อน 11. การป"องกันเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ํา 12. การควบคุมการบริโภคยาสูบ 13. การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล5 14. โรคจากมลพิษสิ่งแวดลอม 15. โรคจากการประกอบอาชีพ 16. การป"องกันอุบัติเหตุทางถนน 17. โรคอหิวาตกโรค 18. โรคมือเทาปาก อําเภอควบคุมโรคเข$มแข็งจะต$องมีผลสําเร็จในการดําเนินงานอย!างน$อย 1 โรค/ภัยสุขภาพที่สําคัญ ตามนโยบายและอีก 1 โรค/ภัยสุขภาพที่เป9นป:ญหาของพื้นที่ หากโรค/ภัยสุขภาพของพื้นที่ไม!ได$เป9นเรื่องที่กําหนดตัวชี้วัดไว$แล$วดังข$างต$น อําเภอควรมีข$อมูล หลักฐานว!าป:ญหาดังกล!าวเป9นป:ญหาที่สําคัญ เช!น อัตราป&วย/ตายสูง และต$องกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จที่ เหมาะสม
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
34
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสําเร็จกิจกรรมและผลการดําเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข
1. โรคเอดส0 1. ชื่อตัวชี้วัดที่1 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด
รอยละขององค0กรปกครองสวนทองถิ่นที่สนับสนุนการดําเนินงานเพื่อป>องกันการ ติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ0 รอยละ 40 ขององค5กรปกครองสวนทองถิ่นที่สนับสนุนการดําเนินงานเพื่อป"องกัน การติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5 รอยละขององค0กรปกครองสวนทองถิ่นที่สนับสนุนการดําเนินงานเพื่อป>องกันการ ติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ0 องค0กรปกครองสวนทองถิ่นที่สนับสนุนการดําเนินงานเพื่อป>องกันการติดเชื้อเอช ไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ0 หมายถึง องค0กรปกครองสวนทองถิ่นที่ สนับสนุนการดําเนินงาน เชน 1. งบประมาณ 2. สนับสนุนการจัดซื้อถุงยางอนามัย 3. กิจกรรมรณรงค5ในวันสําคัญ การจัดนิทรรศการ การใหความรู/อบรม ฯลฯ ไมนับรวมงบประมาณดานการสงเคราะห5ผูป‚วยเอดส5/ผูไดรับผลกระทบจากเอดส5 จํานวนองค5กรปกครองสวนทองถิ่นที่สนับสนุนการดําเนินงานป"องกันการติดเชื้อเอช ไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ในอําเภอ แบบรายงานโครงการและงบประมาณที่องค5กรปกครองสวนทองถิ่นใหการสนับสนุน หนวยงาน/องค5กรเอกชนในพื้นที่เพื่อดําเนินงานป"องกันการติดเชื้อเอชไอวีและ โรคติดตอทางเพศสัมพันธ5 องค5กรปกครองสวนทองถิ่น องค5กรปกครองสวนทองถิ่น ไดแก กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค5การบริหาร สวนจังหวัด เทศบาล และองค5การบริหารสวนตําบล ขอมูลจํานวนองค5กรปกครองสวนทองถิ่นในอําเภอ รายงานสรุปโครงการขององค5กรปกครองสวนทองถิ่นในอําเภอ จาก สํานักงาน ทองถิ่นอําเภอ/จังหวัด/คณะอนุกรรมการป"องกันและแกไขป<ญหาเอดส5จังหวัด รอยละขององค5กรปกครองสวนทองถิ่นที่สนับสนุนการดําเนินงานฯ = อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
35
(สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล
จํานวนองค5กรปกครองสวนทองถิน่ ที่สนับสนุนการดําเนินงานฯ ในรอบปที่ผานมา x100
จํานวนองค5กรปกครองสวนทองถิ่นทั้งหมด ณ สิ้นปที่ผานมา อปท. สนับสนุนการดําเนินงานฯ รอยละ 0.01 – 10.00 ได 0.5 คะแนน อปท. สนับสนุนการดําเนินงานฯ รอยละ 10.01 – 20.00 ได 1.0 คะแนน อปท. สนับสนุนการดําเนินงานฯ รอยละ 20.01 – 30.00 ได 1.5 คะแนน อปท. สนับสนุนการดําเนินงานฯ รอยละ 30.01 – 40.00 ได 2.0 คะแนน อปท. สนับสนุนการดําเนินงานฯ มากกวารอยละ 40.00 ได 2.5 คะแนน 1. นพ.สุเมธ องค5วรรณดี ผูอํานวยการ สอวพ. โทร. 02 590 3201 2. นางเพ็ญศรี สวัสดิ์เจริญยิ่ง นักวิชาการสาธารณสุข ชํานาญการพิเศษ ๓. นายชัยสุข ตั้งวงศ5จุลเนียม นักวิชาการสาธารณสุข ชํานาญการ ๔. น.ส.ชนัดดา ลีนุวงศ5พันธ5 นักวิชาการสาธารณสุข ปฏิบัติการ โทร.02 590 3208 โทรสาร 02 591 8413 E-mail chalermchaisuk@hotmail.com อัตราปYวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ0ลดลงจากป.ที่ผานมา อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ลดลงจากปที่ผานมารอยละ 30 อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ลดลงจากปที่ผานมา อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ลดลงลดลงจากปที่ผานมา หมายถึง อัตรา ป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5 5 โรค ประกอบดวย 1. โรคซิฟ•ลิส syphilis 2. โรคหนองใน Gonorrhea 3. โรคหนองในเทียม Non Gonococcal Urethritis (NSU) 4. โรคฝมะมวง LYMPHOGRANULOMA VENEREUM (LGV) 5. โรคแผลริมออน Chancroid ลดลงลดลงจากปที่ผานมารอยละ 30 อําเภอรวบรวมขอมูลสรุปรายงานผูป‚วยที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปCนโรคติดตอทาง เพศสัมพันธ5 5 โรค ของสถานบริการสาธารณสุข/โรงพยาบาลทุกแหงในพื้นที่ และ ไดมีการรายงานในระบบรายงานการเฝ"าระวังโรคของสํานักระบาดวิทยากรม ควบคุมโรค (รง.506) แลวนํามาวิเคราะห5หาอัตราป‚วยตอแสนประชากร รายงานผูป‚วยที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปCนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5 5 โรค ของสถาน บริการสาธารณสุข/โรงพยาบาลทุกแหงในพื้นที่ และไดมีการรายงานในระบบ รายงานการเฝ"าระวังโรคของสํานักระบาดวิทยากรมควบคุมโรค (รง.506) อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
36
4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม
4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5 อัตราปYวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5 หมายถึง จํานวนผูปYวยดวยโรคติดตอทาง เพศสัมพันธ5 5 โรค ที่รายงานในระบบ รง.506 เปรียบเทียบกับจํานวนประชากรใน พื้นที่ (ประชากรกลางป.) ตอหนวยประชากรคงที่ อัตราปYวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ตอแสนประชากร = จํานวนผูป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5 x 100,000 ประชากรกลางป สรุปผลการวิเคราะห5อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ของอําเภอตอแสน ประชากร ณ สิ้นปที่รายงาน เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราป‚วยดวยโรคติดตอทาง เพศสัมพันธ5ของอําเภอตอแสนประชากร ณ สิ้นปที่ผานมา ลดลงรอยละ 30 สรุปผลการวิเคราะห5อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ของอําเภอ คาตัวแปร - รอยละของอัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ลดลง =R - อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5 ณ สิ้นธันวาคม2554 = A - อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5 ณ สิ้นธันวาคม2555 = B สูตรคํานวณ R = A – B x 100 A อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ลดลงรอยละ 0.01 – 10.00 = 1.0 อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ลดลงรอยละ 10.01 – 20.00 = 1.5 อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ลดลงรอยละ 20.01 – 30.00 = 2.0 อัตราป‚วยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ5ลดลงมากกวารอยละ 30.01 = 2.5 1. นพ.สุเมธ องค5วรรณดี ผูอํานวยการ สอวพ. โทร. 02 590 3201 2. นางเพ็ญศรี สวัสดิ์เจริญยิ่ง นักวิชาการสาธารณสุข ชํานาญการพิเศษ ๓. นายชัยสุข ตั้งวงศ5จุลเนียม นักวิชาการสาธารณสุข ชํานาญการ ๔. น.ส.ชนัดดา ลีนุวงศ5พันธ5 นักวิชาการสาธารณสุข ปฏิบัติการ โทร.02 590 3208 โทรสาร 02 591 8413 E-mail chalermchaisuk@hotmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
37
2. โรคไขเลือดออก 1. ชื่อตัวชี้วัด 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการ ขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
1.1 รอยละของตําบล มีคาดัชนีลูกน้ํายุงลายในบาน House Index นอยกวาหรือเทากับ 10 ( HI ≤ 10) 1.2 รอยละของโรงเรียน โรงพยาบาลในชุมชน(รพศ. รพท. รพช.) รพ.สต. และ ศูนย0เด็กเล็ก มีคาดัชนีลูกน้ํายุงลาย Container Index เทากับ 0 (CI = 0) รอยละ 100 3.1.1 จํานวนตําบล ที่สํารวจลูกน้ํายุงลายในบานมีคา HI ≤10 3.1.2 จํานวนโรงเรียน และ โรงพยาบาลในชุมชน(รพศ. รพท. รพช.) รพ.สต. และ ศูนย0เด็กเล็ก ที่มีคา CI = 0 1. การคัดเลือกพื้นที่ประเมินผลคา HI, CI เลือกพื้นที่เสี่ยงสูงและเสี่ยงต่ําระดับตําบล 1.1 การหาพื้นที่เสี่ยงสูง-ต่ํา โดยใชเกณฑ5การวิเคราะห5พื้นที่เสี่ยง(Risk Assessment) รายละเอียดการเลือกพื้นที่อยูใน ภาคผนวก 1.2 จํานวนพื้นที่ประเมิน เลือกตําบลเสี่ยงสูงและเสี่ยงต่ําอยางละ 2 ตําบล(ถาอําเภอที่เลือกมีตําบลนอยกวา 4 ตําบลใหเลือก ทุกตําบล) 2. House Index (HI) เปCนการสํารวจหา รอยละของบานที่พบลูกน้ํายุงลาย ในการเลือกตัวอยางบานที่จะเขาสํารวจคา HI หากยึดตามเกณฑ5ขององค5การอนามัยโลก ในเขตเมือง (เทศบาล นคร เทศบาลเมือง) ของแตละอําเภอ และดําเนินการจําแนกชุมชนออกเปCน 3 ประเภท - ชุมชนอาคารพาณิชย0 หมายถึง ชุมชนที่บานมีกิจการดานพาณิชย5หรือคาขายเปCนหลักมากกวา70%โดยประมาณ เชน ตึกแถวยานการคา ฯลฯ - ชุมชนแออัด หมายถึง ชุมชนที่มีบานเรือนตั้งอยูอยางหนาแนนมีบานชิดติดกันหรืออยูในแหลงเสื่อมโทรม เชน แคมป˜ คนงานกอสราง,สลัม,บานพักชั่วคราวริมทางรถไฟ ฯลฯ - ชุมชนที่พักอาศัย หมายถึง ชุมชนที่บานใชในการพักอาศัยเปCนหลักมากกวา70%โดยประมาณ เชน บานเดี่ยว, หอง แถว, หมูบานจัดสรร ,คอนโดมิเนียม, แมนชั่น ฯลฯ วิธีการสุม ทําการสํารวจลูกน้ํายุงลายชุมชนทุกประเภท ๆ ละ 100 หลังคาเรือน รวมทั้งสิ้น 300 หลังคาเรือนตอเขตเมือง และทําการสุมชุมชนเลือกประเภทละ 1 ชุมชน เพื่อใหมีการกระจายของขอมูลอยางสม่ําเสมอ กรณีการสํารวจในเขตชนบท(อบต./เทศบาลตําบล) นั้นใหยึดจํานวน 100 หลังคาเรือนเปCนเกณฑ5 หากในเขต ชนบทนั้น มีจํานวนบานไมถึง 100 หลังคาเรือน ใหทําการสํารวจหมดทุกหลัง ถามีจํานวนบานมากกวา 100 หลังคาเรือนให สุมสํารวจมาเพียง 100 หลังคาเรือน 3. Container Index (CI) หมายถึง รอยละของจํานวนภาชนะที่มีน้ําขัง และสํารวจพบลูกน้ํายุงลาย การสํารวจความชุกชุมของลูกน้ํายุงลาย เพื่อตรวจสอบแหลงที่อยูของลูกน้ําและเพื่อพิจารณาวาความชุกชุมของ ลูกน้ําเปลี่ยนแปลงไป หรือไมหลังจากดําเนินการควบคุมแลว 3.1 จํานวนการประเมิน เลือกโรงเรียนประจําอําเภอ และโรงพยาบาลในชุมชน(รพศ. รพท. รพช.) รพ.สต. และศูนย5เด็กเล็ก อยางนอย อยางละ 1 แหง 4. ผูรับผิดชอบดําเนินการสํารวจคา HI ในเทศบาล และ อบต. และ สํารวจคา CI โรงเรียน และ โรงพยาบาลในชุมชน (รพศ. รพท. รพช.) รพ.สต. และ ศูนย0เด็กเล็ก โดยสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ และทีม SRRT 1. แสดงวิธีการประเมินพื้นที่เสี่ยง(Risk Assessment) ใหคณะกรรมการประเมินรับทราบ 2. ดําเนินการสํารวจอยางนอยปละ 2 ครั้ง โดยใชแบบรายงานการสํารวจลูกน้ํายุงลาย กอ. 1/1 ครั้งที่ 1 ชวง เดือน กุมภาพันธ5 ครั้งที่ 2 ชวง เดือน สัปดาห5ที่ 1 ของเดือนพฤษภาคม 3. สรุปผลการสํารวจลูกน้ํายุงลายรายอําเภอ รวบรวมวิเคราะห5และประเมินผล จัดสงสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และ คณะกรรมการประเมินรับทราบ ครั้งที่ 1 เดือนมีนาคม ครั้งที่ 2 ภายในเดือนพฤษภาคม ตามแบบสรุปรายงานการสํารวจลูกน้ํายุงลาย
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
38
3.4 แหลงขอมูล สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ / โรงพยาบาลในชุมชน(รพศ. รพท. รพช.) รพ.สต. / โรงเรียน / เทศบาล / อบต. / อาสาสมัคร สาธารณสุข
4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการ 4.1.1 จํานวนตําบล ที่สํารวจ โดยจําแนกรายละเอียดเป@นจํานวนเทศบาล และ อบต. ที่สํารวจทั้งหมด ขอมูล 4.1.2 จํานวนโรงเรียน โรงพยาบาลในชุมชน(รพศ. รพท. รพช.) รพ.สต. และ ศูนย0เด็กเล็ก ที่สํารวจทั้งหมด 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การ ประมวลผล ตัวชี้วัด (สูตรการ คํานวณ)
เหมือนกับนิยามขอ 3.2 เหมือนกับขอ 3.3 เหมือนกับขอ 3.4 1. ประเมินผล HI =
จํานวนบานที่พบลูกน้ํายุงลาย x 100 จํานวนบานที่สํารวจทั้งหมด ประเมินผลสําเร็จตัวชี้วัด = จํานวนตําบลที่สํารวจลูกน้ํายุงลายในบานมีคา HI ≤10 x 100 จํานวนตําบลที่สํารวจทั้งหมด 2. ประเมินผล CI โรงเรียน โรงพยาบาลในชุมชน(รพศ. รพท. รพช.) รพ.สต. และ ศูนย0เด็กเล็ก = จํานวนภาชนะที่พบลูกน้ํายุงลาย x 100 จํานวนภาชนะที่มีน้ําขังที่สํารวจทั้งหมด ประเมินผลสําเร็จตัวชี้วัด = จํานวนโรงเรียน โรงพยาบาลในชุมชน(รพศ. รพท. รพช.) รพ.สต. และ ศูนย0เด็กเล็ก ทีม่ ีคา CI = 0 x 100 จํานวนโรงเรียน โรงพยาบาลในชุมชน(รพศ. รพท. รพช.) รพ.สต. และ ศูนย0เด็กเล็ก ที่สํารวจทั้งหมด
6. เกณฑ5การให คะแนน
1. รอยละ 100 ของตําบล มีคาดัชนีลูกน้ํายุงลายในบาน House Index ( HI ≤ 10) 2. รอยละ 100 ของ โรงเรียน โรงพยาบาลในชุมชน(รพศ. รพท. รพช.) รพ.สต. และ ศูนย0เด็กเล็ก มีคาดัชนีลูกน้ํา ยุงลาย Container Index (CI = 0) ตัวชี้วัด: รอยละของตําบล มีคาดัชนีลูกน้ํายุงลายในบาน House Index ( HI ≤ 10) ตัวชี้วัด:
0
0.5
เกณฑ0คะแนน 1 40 - 59
< 19
20 - 39
1.5 60 - 79
2 80 - 100
0 < 19
เกณฑ0คะแนน 0.25 0.5 0.75 20 - 39 40 - 59 60 - 79
1 80 - 100
รอยละของโรงเรียน โรงพยาบาลในชุมชน(รพ ศ. รพท. รพช.) รพ.สต. และ ศูนย0เด็กเล็ก มีคา ดัชนีลูกน้ํายุงลาย Container Index (CI = 0) 7. ผูรับผิดชอบ/ ผูรับผิดชอบ นายแพทย5วิชัย สติมัย ตําแหนง ผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง ผูประสานงาน 1. ชื่อ สกุล หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรมควบคุมโรค โทร 02-5903121 ตัวชี้วัด 2. ชื่อ สกุล นายแพทย5อนุตรศักดิ์ รัชตะทัต ตําแหนง ผูชวยผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง 3. ชื่อ สกุล นางตวงพร ศรีสวัสดิ์ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 4. ชื่อ สกุล นายศรเพชร มหามาตย5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ ผูประสานงาน 1. ชื่อ สกุล นางสาวธาตรี เจริญกิจ ตําแหนง เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน หนวยงาน กลุมระบาดวิทยา สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรม ควบคุมโรค โทร 02-5903104-5 โทรสาร 02-5918433
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
39
ภาคผนวก ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห0พื้นที่เสี่ยงโรคไขเลือดออกระดับตําบล การวิเคราะห0พื้นที่เสี่ยงโรคไขเลือดออก(Risk Assessment) โดยพิจารณาจากปAจจัยความรุนแรงและโอกาสที่จะเกิดการระบาด นิยาม ศัพท5“ความเสี่ยง” หมายถึงโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปลา หรือเหตุการณ5ซึ่งไมพึงประสงค5 ที่ทําให งานไมประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค5และเป"าหมายที่กําหนด ปAจจัยดานความรุนแรงของโรคไขเลือดออก 1. พื้นที่ปYวยซ้ําซาก หมายถึง พื้นที่ (ระดับตําบล) ในรอบ 5 ปที่ผานมา มีจํานวนผูป‚วยสูงกวาคา MEDIAN ในระดับตําบลของอําเภอใน แตละป
แนวคิด การเกิดโรคไขเลือดออกในพื้นที่บอยครั้ง แสดงวาในพื้นที่ดังกลาวมีป<จจัยตาง ๆ เอื้อตอการเกิดโรคไดงาย การใหคาน้ําหนัก เกิดการระบาด 1 ครั้งในรอบ 5 ป = 1 คะแนน เกิดการระบาด 2 ครั้งในรอบ 5 ป = 2 คะแนน เกิดการระบาด 3 ครั้งในรอบ 5 ป = 3 คะแนน เกิดการระบาด 4 ครั้งในรอบ 5 ป = 4 คะแนน เกิดการระบาด 5 ครั้งในรอบ 5 ป = 5 คะแนน 2. อุบัติการณ0โรคในป.ปAจจุบัน (Incidence) หมายถึง อัตราป‚วยไขเลือดออก ณ ป<จจุบัน เมื่อเปรียบเทียบกับคามัธยฐาน (Median) ยอนหลัง 5 ป แนวคิด จากรูปแบบการเกิดโรคไขเลือดออกที่ผานมา พบวา ในพื้นที่ที่เกิดโรคตอเนื่อง หากการระบาดลดลงต่ําสุดในรอบ 5 ป ใน ปถัดไปจะมีโอกาสระบาดสูง การใหคาน้ําหนัก อัตราป‚วย ณ ป<จจุบัน ต่ํากวาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป (-50%) โอกาสเสี่ยง = 5 อัตราป‚วย ณ ป<จจุบัน ต่ํากวาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป (-20% ถึง-49%) โอกาสเสี่ยง = 4 อัตราป‚วย ณ ป<จจุบัน เทาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป (+9.9% ถึง -10%) โอกาสเสี่ยง = 3 อัตราป‚วย ณ ป<จจุบัน สูงกวาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป (+10% ถึง 50%) โอกาสเสี่ยง = 2 อัตราป‚วย ณ ป<จจุบัน สูงกวาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป (+50%) โอกาสเสี่ยง = 1 ปAจจัยดานโอกาสที่จะเกิดการระบาด 1. การเคลื่อนยายประชากร หมายถึงโอกาสที่จะทําใหเกิดการไหลเวียนของไวรัสในพื้นที่ ซึ่งเป@นการเพิ่มโอกาสการระบาดโรค ไขเลือดออก การใหคาน้ําหนัก พื้นที่ที่มีการเคลื่อนยายแรงงาน (อุตสาหกรรม) โอกาสเสี่ยง = 3 พื้นที่ที่แหลงทองเที่ยว โอกาสเสี่ยง = 2 พื้นที่ที่มีการเคลื่อนยายประชากรต่ํา โอกาสเสี่ยง = 1 2. ความหนาแนนของประชากรตอพื้นที่ หมายถึง โอกาสเสี่ยงตอการระบาดโรคไขเลือดออก ในกลุมประชากรที่อยูรวมตัวกัน หนาแนนโดยพิจารณาจากขนาดของพื้นที่ระดับตําบล การใหคาน้ําหนัก พื้นที่ที่มีความหนาแนนประชากรสูงมาก โอกาสเสี่ยง = 5 พื้นที่ที่มีความหนาแนนประชากรสูง โอกาสเสี่ยง = 4 พื้นที่ที่มีความหนาแนนประชากรปานกลาง โอกาสเสี่ยง = 3 พื้นที่ที่มีความหนาแนนประชากรต่ํา โอกาสเสี่ยง = 2 พื้นที่ที่มีความหนาแนนประชากรต่ํามาก โอกาสเสี่ยง = 1 หมายเหตุ : ความหนาแนนของประชากร = คนตอตารางกิโลเมตร
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
40
วิธีคํานวณหาชวงพิสัยความหนาแนนประชากรตอพื้นที่(Range) = (ความหนาแนนของประชากรมากที่สุด+ความหนาแนนของประชากรนอย ที่สุด)/จํานวนระดับชั้น(5) 3. การมีสวนรวม/ความเขมแข็งของชุมชนดานไขเลือดออก การใหคาน้ําหนัก พื้นที่ที่มีสวนรวมสูงมาก พื้นที่ที่มีสวนรวมสูง พื้นที่ที่มีสวนรวมปานกลาง พื้นที่ที่มีสวนรวมต่ํา พื้นที่ที่มีสวนรวมต่ํามาก
โอกาสเสี่ยง = 1 โอกาสเสี่ยง = 2 โอกาสเสี่ยง = 3 โอกาสเสี่ยง = 4 โอกาสเสี่ยง = 5
ขั้นตอนที่ 2 เลือกพื้นที่เสี่ยงเพื่อดําเนินการสํารวจคาดัชนีลูกน้ํายุงลาย ตัวอยาง การคิดคะแนน คาคะแนน
ก
ข
ค
ง
จ
พื้นที่ระบาดซ้ําซาก (Endemic Area)
1-5
4
4
5
1
1
อุบัติการณ0โรคในป.ปAจจุบัน (Incidence) รวม
1-5 10
2 6
3 7
5 10
2 3
1 2
3
3.5
5
1.5
1
โอกาส การเคลื่อนยายประชากร
1-3
3
3
3
3
3
ความหนาแนนของประชากรตอพื้นที่
1-5
2
4
4
1
1
8
5
7
7
4
4
3.125
4.375
4.375
2.5
2.5
9.375
15.31
21.88
3.75
2.5
รวม
ระดับความเสี่ยง
•
ระดับความเสี่ยง คือ คาคะแนนความรุนแรง x โอกาส
ความรุนแรง
ความรุนแรง
5 4 3 2 1
5 25 20 15 10 5
ระดับ 15 – 25 คะแนน ระดับ 6 – 14 คะแนน ระดับ 1 – 5 คะแนน
ขั้นตอนที่ 3 ดําเนินการสํารวจดัชนีลูกน้ํายุงลายในพื้นที่ ตําบลที่เสี่ยงสูงสุด 2 ตําบล และตําบลที่เสี่ยงต่ําสุด 2 ตําบล
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
4 20 16 12 8 4
โอกาส 3 15 12 9 6 3
2 10 8 6 4 2
1 5 4 3 2 1
เสี่ยงสูง เสี่ยงปานกลาง เสี่ยงต่ํา
41
1. ชื่อตัวชี้วัด 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล
5. การประมวลผล ตัวชี้วัด (สูตรคํานวณ)
6. เกณฑ5การให คะแนน
อัตราปYวยดวยโรคไขเลือดออกลดลง อัตราป‚วยลดลงเมื่อเทียบกับคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป มากกวา รอยละ 20 จํานวนผูป‚วยโรคไขเลือดออก (ราย) อัตราป‚วยโรคไขเลือดออกลดลง หมายถึง อัตราป‚วยดวยโรคไขเลือดออกลดลงเมื่อเทียบกับคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป ตามปปฏิทิน 1. โรคไขเลือดออก หมายถึง โรคที่ไดรับการวินิจฉัยอาการตามเกณฑ5ทางคลินิกและหรือมีผลตามเกณฑ5ทางหองปฏิบัติการ วาป‚วยดวยไขเลือดออกทุกกลุมอาการ ไดแก Dengue Fever (DF), Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) และ Dengue Shock Syndrome (DSS) 2. อัตราปYวยโรคไขเลือดออก หมายถึง จํานวนผูป‚วย DF+DHF+DSS ในจํานวนประชากร 100,000 คน คํานวณจาก จํานวนผูป‚วยดวยโรคไขเลือดออก ตั้งแตเดือนมกราคม – พฤษภาคม 2556 X 100,000 / จํานวนประชากรกลางป 2555 3. คามัธยฐาน (Median) ยอนหลัง 5 ป. หมายถึง คากลางที่ไดจากการเรียงลําดับขอมูลอัตราป‚วยโรคไขเลือดออกเปCนราย เดือน (มกราคม-พฤษภาคม) ตั้งแตป 2551 -2555 ตามปปฏิทิน โดยนําคากลางอัตราป‚วยที่ไดในแตละเดือนรวมกันเปCน อัตราป‚วยยอนหลัง 5 ป 4. อัตราป‚วยโรคไขเลือดออกรายเดือน หมายถึง จํานวนผูป‚วย DF+DHF+DSS ในจํานวนประชากร 100,000 คน คํานวณ จาก จํานวนผูป‚วยดวยโรคไขเลือดออก 1 เดือน X 100,000 / จํานวนประชากรกลางป เดียวกัน รายงานทุกเดือน ศูนย5ขอมูลระบาดวิทยา สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ ประชากรกลางป 2555 จํานวนประชากร ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2555(เนื่องจากประชากรกลางป 2556 จะupdateในเดือนกรกฎาคม) รายงานทุกเดือน จัดทําฐานขอมูลอัตราป‚วยดวยโรคไขเลือดออกรายเดือน และรายป ยอนหลัง 5 ป โดย 1. เก็ บ ขอมู ล ผู ป‚ ว ยจากรายงาน 506 ที่ สํ า นั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด รายงานมายั ง สํ า นั ก ระบาดวิ ท ยา กรมควบคุมโรค 2. รวบรวมขอมูล Confirmed case แจกแจงเปCนรายเดือนและรายป ตั้งแต ป พ.ศ. 2551- 2555 3. กรอกขอมู ล ในชองจํ า นวนผู ป‚ ว ยรายเดื อ นของตารางดั ช นี เ ตื อ นภั ย ไขเลื อ ดออกประจํ า ป 2555 (เปC น electronic file) ซึ่งจะคํานวณคาอัตราป‚วยและรอยละการเปลี่ยนของอัตราป‚วยในป 2555 เมื่อเปรียบเทียบกับของคามัธย ฐาน ยอนหลัง 5 ป (2551- 2555) 1. อัตราปYวยโรคไขเลือดออก ป. 2556 = จํานวนผูป‚วยไขเลือดออกเดือนมกราคม – พฤษภาคม 2556 X100,000 จํานวนประชากรกลางป 2555 2. ผลรวมของอัตราปYวยโรคไขเลือดออก (คามัธยฐานยอนหลัง 5 ป.) = มัธยฐานของอัตราป‚วยของเดือน มกราคม 51-55 + …….+มัธยฐานอัตราป‚วยเดือน พฤษภาคม 51-55 3. รอยละของอัตราปYวยไขเลือดออกลดลงจากคามัธยฐาน = (ขอ 2– ขอ1)x 100 ขอ 2 1) อัตราป‚วยมากกวาหรือเทากับคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป ได 0 คะแนน 2) อัตราป‚วยนอยกวาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป รอยละ 0.01 - 9.99 ได 0.5 คะแนน 3) อัตราป‚วยนอยกวาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป รอยละ 10.00 - 19.99 ได 1 คะแนน 4) อัตราป‚วยนอยกวาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป รอยละ 20 ขึ้นไป หรืออัตราป‚วยปป<จจุบันมีคาเปCน 0 ได 2 คะแนน
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
42
7. ผูรับผิดชอบ/ผู ประสานงานตัวชี้วัด
ผูรับผิดชอบ 1. ชื่อ สกุล นายแพทย5วิชัย สติมัย ตําแหนง ผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรม ควบคุมโรค โทร 02-5903121 2. ชื่อ สกุล นายแพทย5อนุตรศักดิ์ รัชตะทัต ตําแหนง ผูชวยผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง 3. ชื่อ สกุล นางนพรัตน5 มงคลางกูร ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ 4. ชื่อ สกุล นางสาวเจิดสุดา กาญจนสุวรรณ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ ผูประสาน 1. ชื่อ สกุล นางสาวธาตรี เจริญกิจ ตําแหนง เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน หนวยงาน กลุมระบาดวิทยา สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรมควบคุมโรค โทร 02-5903104-5 โทรสาร 02-5918433
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
43
3. โรคหลอดเลือดสมอง (โรคไมติดตอเรื้อรัง) 1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล
จํานวนชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไมติดตอเรื้อรังที่ดําเนินการในป. 2556 อยางนIอย 1 ชุมชน / 1 หนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) จํานวนชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไมติดตอเรื้อรัง ชุมชน ( Community) หมายถึง กลุมคนที่มีวิถีชีวิตเกี่ยวพันกันและมีการ ติดตอสื่อสารเกี่ยวของกันอยางเปCนปกติตอเนื่อง อันเนื่องมาจากการอยูในพื้นที่ รวมกันหรือมีอาชีพรวมกันหรือการประกอบกิจการซึ่งมีวัตถุประสงค5รวมกันหรือ การมีวัฒนธรรม ความเชื่อ หรือความสนใจรวมกัน เชน ชุมชน หมูบาน ตําบล สถานศึกษา สถานที่ทํางาน เปCนตน ชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไมติดตอเรื้อรัง หมายถึง ชุมชนที่ดําเนินงานเพื่อลดป<จจัย เสี่ยงและลดการป‚วยเปCนโรคไมติดตอเรื้อรังในชุมชน ประกอบดวย ชุมชนมี คณะทํางานระดับชุมชน มีการวิเคราะห5สถานการณ5สุขภาพของชุมชน จัดทําแผน สุขภาพของชุมชน ดําเนินการตามแผนและกํากับติดตามประเมินผลการดําเนินงาน โรคไมติดตอเรื้อรัง หมายถึง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง ปAจจัยเสี่ยง หมายถึง ป<จจัยเสี่ยงสําคัญที่มีผลตอการเกิดโรคไมติดตอเรื้อรัง คือ สู บ บุ ห รี่ ขาดกิ จกรรมทางกายหรื อ ออกกํ า ลั ง กาย การบริ โ ภคอาหารไมดี ต อ สุขภาพ เกินและไมไดสัดสวน ดื่มแอลกอฮอล5ที่เสี่ยงตอสุขภาพ หนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) หมายถึง รพ.สต. และ PCU ใน รพช. / รพศ./ รพท./ ศสม.(ศูนย5สุขภาพชุมชนเมือง) ระดับอําเภอ ผูจัดเก็บขอมูล : สสอ. ผูรายงาน : หนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) ระดับจังหวัด ผูจัดเก็บขอมูล : สสจ. ผูรายงาน : สสอ. ระดับเขต ผูจัดเก็บขอมูล : สคร. ผูรายงาน : สสจ. รายงานตามระบบของแตละพื้นที่ ทุก 6 เดือน หนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) หนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) ที่มีการดําเนินงานชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไมติดตอ เรื้อรัง ในป 2556
4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
44
5. การประมวลผลตัวชี้วัด(สูตรการ คํานวณ) 6. เกณฑ0การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบตัวชี้วัด
8. ผูประสานงานตัวชี้วัด
ไมมี • ระดับหนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) - ไมมีชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไมติดตอเรื้อรัง ในป 2556 = 0 คะแนน - มีชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไมติดตอเรื้อรังที่ดําเนินการตอเนื่องหรือมีชุมชนที่ ดําเนินการใหมในป 2556 = 2 คะแนน - มีชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไมติดตอเรื้อรังที่ดําเนินการตอเนื่องและมีชุมชนที่ ดําเนินการใหมในป 2556 = 3 คะแนน • ระดับอําเภอ คะแนนภาพรวมของอําเภอ = คะแนนรวมของทุกหนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) จํานวน หนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) ทั้งหมด 1. ดร.นายแพทย5ภานุวัฒน5 ปานเกตุ ผูอํานวยการสํานักโรคไมติดตอ0 E-mail: joongpank@yahoo.com โทร.0 2590 3982 โทรสาร 0 2591 0363 2. พ.ญ. จุรีพร คงประเสริฐ นายแพทย5เชี่ยวชาญ E-mail : jurekong@gmail.com โทร. 0 2590 3986 โทรสาร 0 2590 3988 1. ดร.ศิริลักษณ5 จิตต5ระเบียบ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ E-mail : dook_oui@hotmail.com โทร. 0 2590 3987 2. นางศรีเพ็ญ สวัสดิมงคล นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ E-mail : sripen_ncd@yahoo.com โทร. 0 2590 3970 โทรสาร 0 2590 3972
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
45
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม
4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
รอยละของประชากรกลุมเสี่ยงสูงตอเบาหวาน (Pre - diabetes) ปYวยเป@นโรคเบาหวาน (Diabetes)รายใหม นIอยกวารIอยละ 5 - จํานวนผูป‚วยเบาหวานรายใหม ผูปYวยเบาหวานรายใหม หมายถึง ประชากรไทย ซึ่งไดรับการคัดกรองตั้งแตป 2554 วาเปCนกลุมเสี่ยงสูงตอเบาหวาน (Pre-diabetes) และผลการติดตามในป 2556 พบวา เปCนผูป‚วยเบาหวานรายใหม ( มีคาระดับน้ําตาลในเลือด FPG ≥ 126 mg/dl และแพทย5วินิจฉัยวาเปCนเบาหวาน ) หมายเหตุ : ตามแนวทางการจัดบริการคัดกรองภาวะเบาหวานและความดัน โลหิตสูง สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค ระดับอําเภอ ผูจัดเก็บขอมูล : สสอ. ผูรายงาน : รพ.สต. รพช. รพท. รพศ. ระดับจังหวัด ผูจัดเก็บขอมูล : สสจ. ผูรายงาน : สสอ. ระดับเขต ผูจัดเก็บขอมูล : สคร. ผูรายงาน : สสจ. รายงานตามระบบของแตละพื้นที่ ทุก 6 เดือน สสอ. รพ.สต. รพช. รพท. รพศ. - จํานวนกลุมเสี่ยงสูงตอเบาหวาน กลุมเสี่ยงสูงตอเบาหวาน (Pre-diabetes ) หมายถึง ประชากรไทยที่ไดรับการ คัดกรองตั้งแตป 2554 และมี คาระดับน้ําตาลในเลือด ( FCG / FPG ระหวาง 100 – 125 mg/dl) หมายเหตุ : ตามแนวทางการจัดบริการคัดกรองภาวะเบาหวานและความดัน โลหิตสูง สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค
A ×100 B
A = จํานวนผูป‚วยเบาหวานรายใหม B = จํานวนกลุมเสี่ยงสูงตอเบาหวาน ***หมายเหตุ ในกรณีที่ไมสามารถติดตามกลุมเสี่ยงสูงตอเบาหวาน (B) ไดครบ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
46
6. เกณฑ0การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบตัวชี้วัด
8. ผูประสานงานตัวชี้วัด
ใหใชฐานจํานวนกลุมเสี่ยงสูงที่สามารถติดตามไดในป 2556 และเพิ่มคําอธิบาย ถึงเหตุผลที่ไมสามารถติดตามไดครบตามจํานวน - ประชากรกลุมเสี่ยงสูงตอเบาหวาน (Pre -diabetes ) ป‚วยเปCนโรคเบาหวาน รายใหม มากกวาหรือเทากับรอยละ 5 ในป 2556 = 0 คะแนน - ประชากรกลุมเสี่ยงสูงตอเบาหวาน (Pre-diabetes) ป‚วยเปCนโรคเบาหวานราย ใหม นอยกวารอยละ 5 ในป 2556 = 1 คะแนน 1. ดร.นายแพทย5ภานุวัฒน5 ปานเกตุ ผูอํานวยการสํานักโรคไมติดตอ E-mail : joongpank@yahoo.com โทร. 0 2590 3982 โทรสาร 0 2591 0363 2. พ.ญ. จุรีพร คงประเสริฐ นายแพทย5เชี่ยวชาญ E-mail : jurekong@gmail.com โทร. 0 2590 3986 โทรสาร 0 2590 3988 1. ดร.ศิริลักษณ5 จิตต5ระเบียบ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ E-mail : dook_oui@hotmail.com โทร. 0 2590 3987 2. นางศรีเพ็ญ สวัสดิมงคล นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ E-mail : sripen_ncd@yahoo.com โทร. 0 2590 3970 โทรสาร 0 2590 3972
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
47
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 3 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม
4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
รอยละของประชากรกลุมเสี่ยงสูงตอความดันโลหิตสูง (Pre-hypertension) ปYวยเป@นโรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) รายใหม นอยกวารอยละ 10 - จํานวนผูป‚วยความดันโลหิตสูงรายใหม ผูปYวยความดันโลหิตสูงรายใหม หมายถึง ประชากรไทย ซึ่งไดรับการคัดกรอง ในป 2555 วาเปCนกลุมเสี่ยงสูงตอความดันโลหิตสูง (Pre-hypertension) และ ผลการติดตามในป 2556 พบวา เปCนผูป‚วยความดันโลหิตสูงรายใหม (มีคาความ ดันโลหิตซิสโตลิคมากกวาหรือเทากับ 140 มม.ปรอท และ/หรือความดันโลหิต ไดแอสโตลิค มากกวาหรือเทากับ 90 มม.ปรอท และแพทย5วินิจฉัยวาเปCนความ ดันโลหิตสูง) หมายเหตุ : ตามแนวทางการจัดบริการคัดกรองภาวะเบาหวานและความดัน โลหิตสูง สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค ระดับอําเภอ ผูจัดเก็บขอมูล : สสอ. ผูรายงาน : รพ.สต. รพช. รพท. รพศ. ระดับจังหวัด ผูจัดเก็บขอมูล : สสจ. ผูรายงาน : สสอ. ระดับเขต ผูจัดเก็บขอมูล : สคร. ผูรายงาน : สสจ. รายงานตามระบบของแตละพื้นที่ ทุก 6 เดือน สสอ. รพ.สต. รพช. รพท. รพศ. - จํานวนกลุมเสี่ยงสูงตอความดันโลหิตสูง กลุมเสี่ยงสูงตอความดันโลหิตสูง (Pre-hypertension) หมายถึง ประชากร ไทยที่ไดรับการคัดกรองในป 2555 และ มีคาความดันโลหิตซิสโตลิค 120-139 มม.ปรอท และ/หรือ ความดันโลหิตไดแอสโตลิค 80-89 มม.ปรอท หมายเหตุ : ตามแนวทางการจัดบริการคัดกรองภาวะเบาหวานและความดัน โลหิตสูง สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค
A ×100 B
A = จํานวนผูป‚วยความดันโลหิตสูงรายใหม
B = จํานวนกลุมเสี่ยงสูงตอความดันโลหิตสูง ***หมายเหตุ ในกรณีที่ไมสามารถติดตามกลุมเสี่ยงสูงตอความดันโลหิตสูง (B) ไดครบ ใหใชฐานจํานวนกลุมเสี่ยงสูงที่สามารถติดตามไดในป 2556 และเพิ่ม คําอธิบายถึงเหตุผลที่ไมสามารถติดตามไดครบตามจํานวน อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
48
6. เกณฑ0การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบตัวชี้วัด
8. ผูประสานงานตัวชี้วัด
- ประชากรกลุมเสี่ยงสูงตอความดันโลหิตสูง (Pre-hypertension) ป‚วยเปCน โรคความดันโลหิตสูงรายใหม มากกวาหรือเทากับรอยละ 10 ในป 2556 = 0 คะแนน - ประชากรกลุมเสี่ยงสูงตอความดันโลหิตสูง (Pre-hypertension) ป‚วยเปCนโรค ความดันโลหิตสูงรายใหม นอยกวารอยละ 10 ในป 2556 = 1 คะแนน 1. ดร.นายแพทย5ภานุวัฒน5 ปานเกตุ ผูอํานวยการสํานักโรคไมติดตอ E-mail : joongpank@yahoo.com โทร. 0 2590 3982 โทรสาร 0 2591 0363 2. พ.ญ. จุรีพร คงประเสริฐ นายแพทย5เชี่ยวชาญ E-mail : jurekong@gmail.com โทร. 0 2590 3986 โทรสาร 0 2590 3988 1. ดร.ศิริลักษณ5 จิตต5ระเบียบ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ E-mail : dook_oui@hotmail.com โทร. 0 2590 3987 2. นางศรีเพ็ญ สวัสดิมงคล นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ E-mail : sripen_ncd@yahoo.com โทร. 0 2590 3970 โทรสาร 0 2590 3972
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
49
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสําเร็จกิจกรรมและผลการดําเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่เป@นปAญหาในพื้นที่ 1.วัณโรคปอด 1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย
รอยละของผูปYวยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมทุกราย ไดรับการกํากับการกิน ยา (DOT) โดยพี่เลี้ยงตองเป@นเจาหนาที่สาธารณสุข หรืออาสาสมัครสาธารณสุข หรือแกนนําชุมชน ผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ไดรับการกํากับการกินยา (DOT) โดย เจาหนาที่สาธารณสุข หรือ อาสาสมัครสาธารณสุข หรือแกนนําชุมชน ≥ รอยละ 80 จํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ไดรับการรักษาดวยระบบยาระยะ สั้นแบบมีพี่เลี้ยงกํากับการกินยา (DOT) โดยเจาหนาที่สาธารณสุข หรือ อาสาสมัคร สาธารณสุข หรือแกนนําชุมชน * การรักษาโดยไดรับการกํากับการกินยาตอหนา หมายถึง การมีพี่เลี้ยงกํากับการกิน ยา (DOT) โดยเฉพาะในกลุมผูป‚วยเสมหะพบเชื้อรายใหม ตลอดระยะเวลาการรักษา ที่ผูป‚วยไดรับยา Rifampicin * ผูป‚วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหมมากกวาหรือเทากับรอยละ 80 ตองมีพี่เลี้ยงเปCน เจาหนาที่สาธารณสุข (เจาหนาที่สาธารณสุข หมายถึง ผูใหบริการที่โรงพยาบาล / หนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) / รพ.สต ) * ในกรณีที่ผูป‚วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่มีพี่เลี้ยงซึ่งไมใชเจาหนาที่ สาธารณสุข กํากับการรับประทานยา ตองไดรับการเยี่ยมบานโดยเจาหนาที่ดาน สุขภาพตามเกณฑ5ที่กําหนด (การเยี่ยมบานผูป‚วยอยางสม่ําเสมอตอเนื่อง อยางนอย สัปดาห5ละครั้งในการรักษาระยะเขมขน และเดือนละครั้งในระยะตอเนื่อง) 1. สอบถามเจาหนาที่ ตรวจสอบรายงาน TB01 / DOT card / TB 03 เพื่อยืนยันวา มีการรับประทานยาตอหนาเจาหนาที่สาธารณสุข อาสาสมัคร แกนนําชุมชน 2. สุมเยี่ยมบานผูป‚วย สอบถาม ตรวจสอบสีของป<สสาวะ และตรวจสอบยาอยางนอย 1 ราย ในกรณีผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่มีพี่เลี้ยงซึ่งไมใชเจาหนาที่ สาธารณสุข กํากับการรับประทานยาวัณโรค 3. ตรวจสอบบันทึกการเยี่ยมบานผูป‚วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อที่มีพี่เลี้ยงซึ่งไมใช เจาหนาที่สาธารณสุขกํากับการรับประทานยา บัตรบันทึกการรักษาผูป‚วยวัณโรค (TB 01) , DOT card และสมุดทะเบียนผูป‚วย วัณโรค (TB 03) ผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ขึ้นทะเบียนรักษาดวยระบบยาระยะสั้น อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
50
4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม
4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
จํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมที่ขึ้นทะเบียนรักษาในชวงเวลาเดียวกัน 1. ผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม หมายถึง ผูป‚วยวัณโรคปอดที่ตรวจพบ เชื้อในเสมหะไมเคยรักษามากอนหรือเคยรักษาไมเกิน 1 เดือน 2. ผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมที่ขึ้นทะเบียนรักษา หมายถึง จํานวนผูป‚วย วัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ขึ้นทะเบียนรักษาในชวงเวลาเดียวกันกับผูป‚วยที่ นํามาประเมิน 3. พี่เลี้ยงกํากับการกินยาวัณโรค หมายถึง เจาหนาที่สาธารณสุข หรืออาสาสมัคร สาธารณสุข หรือแกนนําชุมชน แจงนับจํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ขึ้นทะเบียนรักษา ใชขอมูล Cohort ลาสุด 0 – 3 เดือนยอนหลัง ของชวงที่มีการประเมิน สมุดทะเบียนผูป‚วยวัณโรค (TB 03) ,รายงานการขึ้นทะเบียนรักษาวัณโรค (TB07) จํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมที่ไดรับการรักษาดวยระบบยาระยะสั้น แบบมีพี่เลี้ยงกํากับการกินยา(DOT) x100 จํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมทั้งหมด ที่ขึ้นทะเบียนรักษาใน ชวงเวลาเดียวกัน - < รอยละ 50 ได 0 คะแนน - รอยละ 50-79 ได 1 คะแนน - ≥ รอยละ 80 ได 2 คะแนน ผูอํานวยการสํานักวัณโรค นายบุญเชิด กลัดพวง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ นางวรรณเพ็ญ จิตต5วิวัฒน5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ นางสาวจิตติมา ธีรพันธุ5เสถียร นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ หนวยงาน สํานักวัณโรค โทร. 0 2212 2279 มือถือ 089 680 1650 โทรสาร 0 2212 1408 E-mail cherd_p@yahoo.com และ jittima-jang@hotmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
51
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม 3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
อัตราการขาดยาของผูปYวยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม การขาดยาของผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ไมเกินรอยละ 3 จํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ขาดยา การขาดยาของผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม หมายถึง ผูป‚วยวัณโรคปอด เสมหะพบเชื้อรายใหม ที่รักษาดวยระบบยาระยะสั้น มีการขาดยามากกวา 2 เดือน ติดตอกัน 1. ตรวจสอบความครบถวน สมบูรณ5ของสมุดทะเบียนผูป‚วยวัณโรค ( TB 03) และ รายงานผลการรักษา TB08 2. เก็บขอมูลแบบแจงนับจํานวนทั้งจํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม (ใชขอมูล Cohort ยอนหลังที่มีผลการรักษาครบถวน ของชวงที่มีการประเมิน) สมุดทะเบียนผูป‚วยวัณโรค (TB 03) และรายงานผลการรักษา(TB 08) ผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่รักษาดวยระบบยาระยะสั้น จํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ขึ้นทะเบียนรักษาในชวงเวลา เดียวกัน ผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมที่ขึ้นทะเบียนรักษา หมายถึง จํานวนผูป‚วย วัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ขึ้นทะเบียนรักษาในชวงเวลาเดียวกันกับผูป‚วย ที่นํามาประเมิน แจงนับจํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ขึ้นทะเบียนรักษา สมุดทะเบียนผูป‚วยวัณโรค (TB 03) ,รายงานการขึ้นทะเบียนรักษาวัณโรค (TB07) (ใชขอมูล Cohort ยอนหลังที่มีผลการรักษาครบถวน ของชวงที่มีการประเมิน) จํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ขาดยา x 100 จํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมทั้งหมดที่ขึ้นทะเบียนรักษาใน ชวงเวลาเดียวกัน - › รอยละ 3 ได 0 คะแนน - ≤ รอยละ 3 ได 1.5 คะแนน ผูอํานวยการสํานักวัณโรค นายบุญเชิด กลัดพวง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ นางวรรณเพ็ญ จิตต5วิวัฒน5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ นางสาวจิตติมา ธีรพันธุ5เสถียร นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ หนวยงาน สํานักวัณโรค โทร. 0 2212 2279 มือถือ 089 680 1650 โทรสาร 0 2212 1408 E-mail cherd_p@yahoo.com และ jittima-jang@hotmail.com อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
52
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 3 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม 3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
อัตราการเปลี่ยนของเสมหะจากบวกในผูปYวยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม เป@นลบ อัตราการเปลี่ยนของเสมหะจากบวกในผูป‚วยวัณโรคปอดรายใหมเสมหะพบเชื้อเปCน ลบรอยละ 90 ขึ้นไป อัตราการเปลี่ยนของเสมหะจากบวกในผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมเปCนลบ อัตราการเปลี่ยนของเสมหะ หมายถึง อัตราเสมหะปราศจากเชื้อเมื่อสิ้นสุดระยะ เขมขนของผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม 1. ตรวจสอบความครบถวน สมบูรณ5ของสมุดทะเบียนผูป‚วยวัณโรค ( TB 03) และ รายงานการรักษาวัณโรคเมื่อสิ้นสุดระยะเขมขน (TB07/1) 2. เก็บขอมูลแบบแจงนับจํานวนทั้งจํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม (ใชขอมูล Cohort ยอนหลังที่มีผลการรักษาครบถวน ของชวงที่มีการประเมิน) สมุดทะเบียนผูป‚วยวัณโรค (TB 03) และ รายงานผลการรักษา(TB07/1) ผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ขึ้นทะเบียนรักษาดวยระบบยาระยะสั้น จํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมที่ขึ้นทะเบียนรักษาในชวงเวลาเดียวกัน ผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมที่ขึ้นทะเบียนรักษา หมายถึง จํานวนผูป‚วย วัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ขึ้นทะเบียนรักษาในชวงเวลาเดียวกันกับผูป‚วย ที่นํามาประเมิน แจงนับจํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม ที่ขึ้นทะเบียนรักษา สมุดทะเบียนผูป‚วยวัณโรค(TB03)หรือรายงานการขึ้นทะเบียนรักษาวัณโรค(TB07) (ใชขอมูล Cohort ยอนหลังที่มีผลการรักษาครบถวน ของชวงที่มีการประเมิน) จํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมที่เสมหะเปลี่ยนจากบวกเปCนลบ x 100 จํานวนผูป‚วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมทัง้ หมดที่ขึ้นทะเบียนรักษาในชวงเวลาเดียวกัน
- < รอยละ 85 ได 0 คะแนน - รอยละ 85-89 ได 1 คะแนน - ≥ รอยละ 90 ได 1.5 คะแนน ผูอํานวยการสํานักวัณโรค นายบุญเชิด กลัดพวง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ นางวรรณเพ็ญ จิตต5วิวัฒน5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ นางสาวจิตติมา ธีรพันธุ5เสถียร นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ หนวยงาน สํานักวัณโรค โทร. 0 2212 2279 มือถือ 089 680 1650 โทรสาร 0 2212 1408 E-mail cherd_p@yahoo.com และ jittima-jang@hotmail.com อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
53
2.โรคมาลาเรีย 1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม 3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล
อัตราความครอบคลุมของการมีมุงชุบสารเคมี 2 คนตอมุง 1 หลังในหมูบานที่มีการแพรเชื้อ มาลาเรีย (A1) อัตราความครอบคลุมของการมีมุงชุบสารเคมีในหมูบานที่มีการแพรเชื้อมาลาเรีย (A1) นอยกวาหรือเทากับ 2 คนตอมุง 1 หลัง จํานวนประชากรในหมูบานที่มีการแพรเชื้อมาลาเรีย (A1) ที่ไดจาการสํารวจทั้งหมด จํานวนประชากรในหมูบานที่มีการแพรเชื้อมาลาเรีย (A1) ที่ไดจากการสํารวจทั้งหมด หมายถึง จํานวนประชากรในหมูบานที่อาศัยอยูในพื้นที่แพรเชื้อมาลาเรียสูง ไดจากการ สํารวจจํานวนประชากรของศูนย5ควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลง ปละ 1 ครั้ง จํานวนประชากรในหมูบานที่อาศัยอยูในพื้นที่แพรเชื้อมาลาเรียสูง ไดจากการสํารวจ จํานวนประชากรของศูนย5ควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลง จํานวนมุงที่ไดรับการชุบสารเคมีกลุมไพรีทรอยด5และมุงชุบสารเคมีแบบชนิดมีฤทธิ์คง คางยาวนานที่กระจายภายใน 3 ปในพื้นที่แพรเชื้อมาลาเรียทั้งหมด
4.2 นิยาม
1. มุงชุบสารเคมีหมายถึง มุงเกาที่ไดรับการชุบสารเคมีกลุมไพรีทรอยด5 (Insecticide Treated Net : ITN ) หรือมุงชุบสารเคมีแบบชนิดมีฤทธิ์คงคางยาวนาน (Long Lasting Insecticide Treated Net: LLIN ) 2. จํานวนมุงที่ไดรับการชุบสารเคมีกลุมไพรีทรอยด5และจํานวนมุงชุบสารเคมีแบบชนิดมีฤทธิ์คงคาง ยาวนานที่ไดดําเนินการกระจายมุงภายใน 3 ปยอนหลังในพื้นที่แพรเชื้อมาลาเรียทั้งหมด
4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล
ปละ 1 ครั้ง ศูนย5ควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงดําเนินการสํารวจมุง/ชุบมุงและกระจายมุงชุบ สารเคมีตามแบบบันทึกการสํารวจ การชุบมุงและการกระจายมุงจัดสรุปเปCนรายอําเภอ สงรายงานปละ 1 ครั้ง อัตราความครอบคลุมของการมีมุงชุบสารเคมี = จํานวนประชากรในหมูบานที่มีการแพรเชื้อมาลาเรีย (A1) ที่ไดจาการสํารวจทั้งหมด
5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
จํานวนมุงทีไ่ ดรับการชุบสารเคมีกลุมไพรีทรอยด5และจํานวนมุงชุบสารเคมีแบบชนิดมีฤทธิ์คงคาง ยาวนานที่กระจายภายใน 3 ปในพื้นที่แพรเชื้อมาลาเรียทั้งหมด หมายเหตุ: การมีมงชุ ุ บสารเคมี หมายถึงประชากรในหมูบานจํานวน 2 คน หรือนอยกวา ควรมีมุง ชุบสารเคมีในบานจํานวน 1 หลัง ตัวอยางเชน ในหมูบาน ก.มีจํานวนประชากรเทากับ 1,000 คน และมีจํานวนมุงชุบสารแคมีทั้งแบบ ITN และ LLIN รวมกันเทากับ 500 หลัง จากสูตรการคํานวณ อัตราความครอบคลุมของการมีมงชุ ุ บสารเคมี ไดผลลัพธ5เทากับ 2 ดังนั้นหมูบาน ก.จะได ๓ คะแนน อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
54
เปCนตน
6. เกณฑ0การใหคะแนน
- อัตราความครอบคลุมของการมีมุงชุบสารเคมีมีคา มากกวา 2 คนตอมุง 1 หลัง ได 0 คะแนน - อัตราความครอบคลุมของการมีมุงชุบสารเคมีมีคานอยกวาหรือเทากับ 2 คน ตอมุง 1 หลัง ได 3 คะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ผูรับผิดชอบ ตัวชี้วัด 1. นายแพทย5วิชัย สติมัย ตําแหนง ผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรมควบคุมโรค โทร 02-5903121 ๒. นายแพทย5อภิญญา นิรมิตสันติพงศ5 นายแพทย5ชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร. 02-590-3102 มือถือ 086 911 0453 โทรสาร 02-591-8422 E-mail yayamednote@yahoo.co.th 3. ดร สุภาวดี พวงสมบัติ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานัก โรคติดตอนําโดยแมลง โทร. 02-590-3127 มือถือ 081 785 4578 โทรสาร 02-591-8422 E-mail jiabk@yahoo.com 4. นางสุธีรา พูนถิน ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร. 02-590-3132 มือถือ 089 520 4805 โทรสาร 02-591-8422 E-mail suterra21@gmail.com ผูประสานงาน 1. ดร สุภาวดี พวงสมบัติ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร. 02-590-3127 มือถือ 081 785 4578 โทรสาร 02-591-8422 E-mail jiabk@yahoo.com 2 นายสมชาย ดานณรงค5ชัย เจาพนักงานพิมพ5ดีด หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร. 02-590-3134 มือถือ 090 091 1367 โทรสาร 02-591-8422 E-mail dannarongchai@gmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
55
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม 3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ0การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
อัตราปYวยมาลาเรียตอพันประชากร (Annual parasite incidence rate per 1000 population) ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับป.ที่ผานมาอยางนอยรอยละ 5 อัตราป‚วยมาลาเรียตอพันประชากร (Annual parasite incidence rate per 1000 population) ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมามากกวาหรือเทากับรอยละ 5 ผูป‚วยมาลาเรีย หมายถึง - ผูป‚วยมาลาเรียคนไทย - ผูป‚วยมาลาเรียตางชาติที่อาศัยในประเทศไทยมากกวา 6 เดือน (M1) รายงานการเฝ"าระวังโรคมาลาเรียรายอําเภอ สงสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง ปละ 1 ครั้ง ศูนย5ควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงเก็บรายงานจากแบบรายงานการเฝ"าระวังโรค มาลาเรียรายอําเภอ โดยจัดทําปละ 1 ครั้ง จํานวนประชากรรายอําเภอ ที่ไดจากการสํารวจจํานวนประชากรรายอําเภอ โดย ศูนย5ควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลง จํานวนประชากรทั้งหมด หมายถึง จํานวนประชากรรายอําเภอ ที่อยูในพื้นที่ รับผิดชอบของศูนย5ควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลง ณ ปงบประมาณป<จจุบัน จากการสํารวจของศูนย5ควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลง จํานวนผูป‚วยคนไทยและตางชาติที่อยูในประเทศมากกวา 6 เดือน (M1) x 1,000 จํานวนประชากรรายอําเภอทั้งหมด • อัตราป‚วยมาลาเรียตอพันประชากร(Annual parasite incidence rate per 1000 population) ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมานอยกวารอยละ 5 ได 0 คะแนน • อัตราป‚วยมาลาเรียตอพันประชากร(Annual parasite incidence rate per 1000 population) ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมามากกวาหรือเทากับ รอยละ 5 ได 2 คะแนน ผูรับผิดชอบ 1. นายแพทย5วิชัย สติมัย ตําแหนง ผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรมควบคุมโรค โทร 02-5903121 ๒. นายแพทย5อภิญญา นิรมิตสันติพงศ5 นายแพทย5ชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร. 02-590-3102 มือถือ 086 911 0453 อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
56
โทรสาร 02-591-8422 E-mail yayamednote@yahoo.co.th 3. ดร สุภาวดี พวงสมบัติ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร. 02-590-3127 มือถือ 081 785 4578 โทรสาร 02-591-8422 E-mail jiabk@yahoo.com 4. นางสุธีรา พูนถิน ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร. 02-590-3132 มือถือ 089 520 4805 โทรสาร 02-591-8422 E-mail suterra21@gmail.com ผูประสานงาน 1. ดร สุภาวดี พวงสมบัติ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร. 02-590-3127 มือถือ 081 785 4578 โทรสาร 02-591-8422 E-mail jiabk@yahoo.com 2 นายสมชาย ดานณรงค5ชัย เจาพนักงานพิมพ5ดีด หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร. 02-590-3134 มือถือ 090 091 1367 โทรสาร 02-591-8422 E-mail dannarongchai@gmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
57
3. โรคเทาชาง 1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ0การใหคะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
1. ความครอบคลุมกลุมเป>าหมายที่ไดรับการจายยารักษากลุม (Mass Drug Administration : MDA) มากกวา รอยละ80 ครอบคลุมกลุมเป"าหมายในการจายยารักษากลุม MDA ≥ รอยละ80 จํานวนประชากรกลุมเป"าหมายที่ไดรับการจายยา MDA กลุมเป"าหมาย คือ ประชากรพมาตั้งแตอายุ 2 ปขึ้นไปที่อาศัยอยูในประเทศไทย การรักษากลุ ม (Mass Drug Administration : MDA) คือ การจายยา Diethylcarbamazine citrate (DEC) 50 มิลลิกรัม/น้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม ทุก 6 เดือน ในกลุมเป"าหมายทุกคน ขอมูลจาก รพ.สต. รายงานถึงสํานักงานสาธารณสุขอําเภอรายงานถึงสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัด สรุปรายงานการจายยารักษากลุม(MDA) จํานวนประชากรกลุมเป"าหมายทั้งหมด เหมือนขอ 3.2 ปละ 1 ครั้ง เหมือนขอ 3.4 จํานวนประชากรกลุมเป"าหมายที่ไดรับการจายยาMDA X 100 จํานวนประชากรกลุมเป"าหมายทั้งหมด -ครอบคลุมกลุมเป"าหมายในการจายยารักษากลุมMDA < รอยละ80 ได 0คะแนน -ครอบคลุมกลุมเป"าหมายในการจายยารักษากลุมMDA≥รอยละ80ได 1.5 คะแนน ผูรับผิดชอบ 1. นายแพทย5 วิชัย สติมัย ผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง Email : wichaisatimai@yahoo.co.th 2. นาย จิระพัฒน5 เกตุแกว ผูชวยผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง Email : j.ketkaew@yahoo.com 3. นางสาวศันสนีย5 โรจนพนัส นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ Email : srojanapanus@yahoo.com 4. นายธีระยศ กอบอาษา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ Email : ktheerayot@gmail.com ผูประสานงาน 1. นางสาวศันสนีย5 โรจนพนัส นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
58
2. นางสาวพยอม งามพิพัฒนกุล พนักงานพิมพ5ชั้น 3 หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร.0 2590 3107 โทรสาร 0 2591843 E-mail srojanapanus@yahoo.com 1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล
2. ความครอบคลุมในการดูแลและ/หรือรักษาผูปYวยโรคเทาชางในพื้นที่ทุกราย ครอบคลุมในการดูแลและ/หรือรักษาผูป‚วยโรคเทาชางในพื้นที่ทุกราย จํานวนผูป‚วยโรคเทาชางที่ไดรับการดูแล และ/หรือ รักษา ผูป‚วยโรคเทาชาง แบงเปCน 3 ประเภท 1. ผูที่ตรวจพบไมโครฟ•ลาเรียหรือแอนติเจนพยาธิโรคเทาชาง 2. ผูปรากฏอาการอักเสบของตอมและทางเดินน้ําเหลือง 3. ผูปรากฏอาการอวัยวะบวมโต การรักษาเฉพาะราย (Selective Drug Administration:SDA) คือการจายยา รักษาเฉพาะบุคคลที่ตรวจพบเชื้อพยาธิโรคเทาชาง ดวยการใหยารักษาโรคเทาชาง Diethylcarbamazine citrate (DEC)ทุก 6 เดือนติดตอกันเปCนเวลาอยางนอย 2 ป หรือ 5 ครั้ง จนกวาผลการตรวจโลหิต 2 ครั้งสุดทายที่ติดตอกันพบวาไมมีไมโครฟ• ลาเรียหรือแอนติเจนแลว โดยแบงเปCนตามชนิดเชื้อดังนี้ - ผู ติ ด เชื้ อ พยาธิ ช นิ ด Wuchereria bancrofti ใหยา DEC ขนาด 6 mg/kg/day ครั้งเดียว ทุก 6 เดือน อยางนอย 2 ป - ผูติดเชื้อพยาธิชนิด Brugia malayi ใหยา DEC ขนาด 6 mg/kg/day 6 วันทุก 6 เดือน อยางนอย 2 ป การดู แ ลผู ปรากฏอาการโรคเทาชาง หมายถึ ง ผู ที่ มี อ าการตั้ ง แตตอมน้ํ า เหลื อ ง อักเสบและระยะที่มีอวัยวะบวมโต ไดรั บความรูในการดูแลตนเองและนํากลับไป ดูแลตนเองที่บานไดถูกตองในเรื่อง 3.1 วิธีการรักษาความสะอาดป"องกันการติดเชื้อซ้ํา 3.2 การนวดเพื่อใหเลือดและน้ําเหลืองไหลเวียนดีขึ้น 3.3 การพัก ยกขาสูง และการพันผายืด วิธีเหลานี้ชวยใหผูป‚วยที่มีป<ญหาตอมหรือทอทางเดินน้ําเหลืองอักเสบหรือผูมีขาโต ลดพยาธิสภาพได ขอมูลจาก รพ.สต. รายงานถึงสํานักงานสาธารณสุขอําเภอรายงานถึงสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัด การรักษา ใชแบบรายงานรับผูป‚วยรายใหม การรักษา และการจําหนายผูป‚วยราย เกา หรือระเบียนการรักษาผูป‚วยโรคเทาชาง การดูแล ใชแบบฟอร5มบันทึกผูป‚วยภาวะ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
59
เทาชาง แบบฟอร5มติดตามผูป‚วยภาวะเทาชาง 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ0การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 3 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล
จํานวนผูป‚วยโรคเทาชางทุกรายในพื้นที่ เหมือนขอ 3.2 ทะเบียนผูป‚วยโรคเทาชางของหนวยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงและ รพ.สต. ใน พื้นที่ จํานวนผูป‚วยโรคเทาชางในพื้นที่ จํานวนผูป‚วยโรคเทาชางที่ไดรับการดูแลและ/หรือรักษา X 100 จํานวนผูป‚วยโรคเทาชางทั้งหมดในพื้นที่ - ไมครอบคลุมในการดูแลและ/หรือรักษาผูป‚วยโรคเทาชางในพื้นที่ทุกราย ให 0 คะแนน - ครอบคลุมในการดู แลและ/หรือ รักษาผู ป‚วยโรคเทาชางในพื้นที่ ทุก ราย ให 1.5 คะแนน ผูรับผิดชอบ 1. นายแพทย5 วิชัย สติมัย ผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง Email : wichaisatimai@yahoo.co.th 2. นาย จิระพัฒน5 เกตุแกว ผูชวยผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง Email : j.ketkaew@yahoo.com 3. นางสาวศันสนีย5 โรจนพนัส นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ Email : srojanapanus@yahoo.com 4. นายธีรยศ กอบอาษา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ Email : ktheerayot@gmail.com ผูประสานงาน 1. นางสาวศันสนีย5 โรจนพนัส นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ 2. นางสาวพยอม งามพิพัฒนกุล พนักงานพิมพ5ชั้น 3 หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร.0 2590 3107 โทรสาร 0 25918434 E-mail srojanapanus@yahoo.com ผูปYวยรายใหมที่ติดเชื้อโรคเทาชางในพื้นที่ไมเกิน 1:1000 ประชากรรายตําบล ผูป‚วยรายใหมที่ติดเชื้อโรคเทาชางในพื้นที่ไมเกิน 1 : 1,000 ประชากรรายตําบล
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
60
3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล* 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ0การใหคะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
ผูปYวยรายใหมที่ติดเชื้อในพื้นที่ หมายถึง ผูที่ตรวจพบไมโครฟ•ลาเรียรายใหมและ ไดรั บการสอบสวนโรคแลวพบวาเปC นการติ ดเชื้ อในพื้นที่ (ตั้ ง แต วั นที่ 1 ตุ ลาคม 2555 ถึง วันที่ดําเนินการประเมินผล) ผูที่พบไมโครฟ|ลาเรียหมายถึง ผูที่ ตรวจพบไมโครฟ•ลาเรียหรื อพยาธิตัวออนโรค เทาชาง รพ.สต.รวมกับหนวยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงรายงานสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด รายงานสรุปผลการตรวจโลหิต (F.S.2)/รายงานแบบสอบสวนผูป‚วยโรคเทาชาง เฉพาะราย จํานวนประชากรทั้งหมดในตําบล จํานวนประชากรทั้งหมดในตําบล หมายถึง จํานวนประชากรทั้งหมดจากการสํารวจ ปป<จจุบัน ปละ 1 ครั้ง จากการสํารวจของ รพ.สต. จํานวนผูป‚วยรายใหมที่ติดเชื้อในพื้นที่X1000 จํานวนประชากรทั้งหมดในตําบล - › 1:1000 ประชากร รายตําบล ได 0 คะแนน - ≤ 1:1000 ประชากรรายตําบล ได 2 คะแนน ผูรับผิดชอบ 1. นายแพทย5 วิชัย สติมยั ผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง Email : wichaisatimai@yahoo.co.th 2. นาย จิระพัฒน5 เกตุแกว ผูชวยผูอํานวยการสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง Email : j.ketkaew@yahoo.com 3. นางสาวศันสนีย5 โรจนพนัส นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ Email : srojanapanus@yahoo.com 4. นายธีรยศ กอบอาษา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ Email : ktheerayot@gmail.com ผูประสานงาน 1. นางสาวศันสนีย5 โรจนพนัส นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ 2. นางสาวพยอม งามพิพฒ ั นกุล หนวยงาน สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง โทร. 0 2590 3106-7 โทรสาร 0 25918433-4 E-mail srojanapanus@yahoo.com
หมายเหตุ สามารถดูรายละเอียดจากคูมือโรคเทาชาง และ แนวทางและขั้นตอนการดําเนินการเฝ"าระวัง ควบคุม และป"องกันโรคเทาชางสําหรับเจาหนาที่ในระบบบริการสาธารณสุขจังหวัด ดาวน5โหลดไดจากwww.thaivbd.org อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
61
4. โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเป@นพิษ 1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน
มีการดําเนินงานเฝ>าระวัง ป>องกัน ควบคุมโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรค อาหารเป@นพิษ ไดตามเกณฑ0ที่กําหนด การดําเนินงานเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรคอุจจาระรวง หรือ โรคอาหารเปCนพิษได ผานเกณฑ5ตามที่กําหนด การดําเนินงานเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรคอุจจาระรวง หรือ โรคอาหารเปCนพิษใน อําเภอเป"าหมาย ไดตามเกณฑ5ที่กําหนด 3 ขอ อุจจาระรวงเฉียบพลัน หมายถึง ภาวะที่มีการถายอุจจาระเหลวจํานวน 3 ครั้งตอ วันหรือมากกวา หรือ ถายมีมูกหรือปนเลือดอยางนอย1 ครั้ง หรือถายเปCนน้ํา จํานวนมากกวา1 ครั้งขึ้นไป โรคอาหารเป@นพิษ หมายถึง อาการป‚วยที่เกิดจากการกินอาหารหรือน้ําที่ปนเปžŸอน เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ ตลอดจนการปนเปžŸอนของ พิษจากพืช ( เห็ดพิษ สบูดํา มะกล่ํา) หรือสัตว5บางชนิด ( ปลาป<กเป"า แมงดาทะเล ปลาทะเลบางชนิด และ คางคก) ยกเวนพิษที่เกิดจากยา/โลหะหนัก/ยาฆาศัตรูพืช การดําเนินงานเฝ>าระวัง ป>องกัน ควบคุมโรคอุจจาระรวง ไดตามเกณฑ5ที่กําหนด 3 ขอ หมายถึง 1.มีการวิเคราะห5สถานการณ5โรค / ป<จจัยเสี่ยงของการเกิดโรค 2. มีแผนงาน/โครงการ และ 3. มีการ ดําเนินการ 1. จังหวัดรวบรวมขอมูลและติดตามผลการดําเนินงานในอําเภอเป"าหมายตามแบบ ประเมินรายการเกณฑ5ที่กําหนด (แนบทาย) 2. สํานักงานป"องกันควบคุมโรค รวบรวมขอมูล และติดตามผลการดําเนินงาน ของจังหวัดที่รับผิดชอบอําเภอเป"าหมาย 3. กรมควบคุมโรค โดยสํานักโรคติดตอทั่วไปรวบรวบขอมูลและติดตาม ความกาวหนาผลการดําเนินงานของจังหวัดที่รับผิดชอบอําเภอเป"าหมาย โดย ผานเครือขายผูรับผิดชอบของสํานักงานป"องกันควบคุมโรค -สสอ.ของอําเภอเป"าหมายที่จังหวัดเลือก -สสจ. อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
62
4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน
-
-ไมผานเกณฑ5ที่กําหนด ได 0 คะแนน -ผานเกณฑ5ที่กําหนด ได 3 คะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน 1. ชื่อ นายแพทย5พรชนก รัตนดิลก ณ ภูเก็ต ตัวชี้วัด ตําแหนง นายแพทย5เชี่ยวชาญ หัวหนากลุมกลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3189 มือถือ 081 8394154 โทรสาร 0 2591 8436 E-mail : tapanokr@yahoo.com 2. ชื่อ นางสาวสุรัสวดี กลิ่นชั้น ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3190 มือถือ 085 0637390 โทรสาร 0 2591 8436 E-mail : suratsawadee_k@hotmail.com 3. ชื่อ นางสาวพรเพชร ศักดิ์ศิริชัยศิลป˜ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3180 , 0 2965 9592 มือถือ 089 4837045 โทรสาร 0 2951 0918 E-mail : phet_sa@hotmail.com เอกสารแนบทาย เกณฑ0การใหคะแนน : ระดับอําเภอเป>าหมาย รายการเกณฑ0ที่กําหนด การใหคะแนน (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) 1. อําเภอมีการวิเคราะห5สถานการณ5โรค/ป<จจัยเสี่ยงของการเกิดโรคอุจจาระรวง 30 คะแนน เฉียบพลัน หรืออาหารเปCนพิษในพื้นที่ไดครบถวนตามที่กําหนด 2. อําเภอมีแผนงานโครงการในการดําเนินงานเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรคอุจจาระรวง 20 คะแนน เฉียบพลัน หรือโรคอาหารเปCนพิษ พรอมทั้งมีงบประมาณและผูรับผิดชอบที่ชัดเจน 3. อําเภอดําเนินการป"องกัน ควบคุมโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือโรคอาหารเปCนพิษ 50 คะแนน เพื่อลดป<จจัยเสี่ยง หมายเหตุ:อําเภอผานเกณฑ0 คือมีคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับ 75 คะแนน (รายละเอียดเกณฑ0ในภาคผนวก) อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
63
เอกสารแนบทาย คะแนน (คะแนนเต็ม=100 คะแนน) หมาย อําเภอ 1 อําเภอ 2 อําเภอ 3 เหตุ
รายละเอียดเกณฑ0 1. อําเภอมีการวิเคราะห0สถานการณ0โรคและปAจจัยเสี่ยงของ การเกิดโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเป@นพิษ ใน พื้นที่ เพื่อจัดทําแผนงาน/โครงการไดครบถวนตามที่กําหนด ( 30 คะแนน ) 1.1 อําเภอมีการวิเคราะห5ลักษณะการระบาดของโรคอุจจาระรวง เฉียบพลันหรือโรคอาหารเปCนพิษยอนหลัง 3 – 5 ป ดวยสถิติ อัตรา, อัตราสวน , สัดสวน - ตัวแปรพื้นที่ ( 5 คะแนน ) - ตัวแปรตามบุคคล ( 5 คะแนน ) - ตัวแปรตามเวลา ( 5 คะแนน ) 1.2 อําเภอมีการวิเคราะห5ป<จจัยเสี่ยงของการเกิดโรคอุจจาระรวง เฉียบพลัน หรือโรคอาหารเปCนพิษ - วิเคราะห5สาเหตุของการเกิดโรคโดยใชขอมูลยอนหลัง 1 ป(ตามป ปฏิทิน) จากผูป‚วยที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาล และหรือ จากการสอบสวน การระบาดของโรค โดยโรคอาหารเปCนพิษสามารถวิเคราะห5ไดจาก ผูป‚วยที่ไดรับการวินิจฉัยโดยแพทย5 ซึ่งอาจมีหรือไมมีผลการตรวจทาง หองปฏิบัติการยืนยันก็ได (15 คะแนน) 2. อําเภอมีแผนงานโครงการในการดําเนินงานเฝ>าระวังป>องกันของ การเกิดโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเป@นพิษ (20 คะแนน ) 2.1 อําเภอตองมีแผนงานโครงการเฝ"าระวังป"องกันของการเกิดโรค อุจจาระรวง เฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเปCนพิษ ( 5 คะแนน ) 2.2 อําเภอ มีการระบุกิจกรรมยอยในการปฏิบัติงาน,ระบุเวลา, ระบุผูรับผิดชอบหลักและรองของแตละกิจกรรม ( 10 คะแนน ) 2.3 อําเภอมีงบประมาณในการดําเนินงานและระบุไวในแผนสามารถ ตรวจสอบได ( 5 คะแนน )
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
64
คะแนน (คะแนนเต็ม=100 คะแนน) หมาย อําเภอ 1 อําเภอ 2 อําเภอ 3 เหตุ
รายละเอียดเกณฑ0 3. อําเภอดําเนินการป>องกันควบคุมโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเป@นพิษ เพื่อลดปAจจัยเสี่ยง ( 50 คะแนน ) 3.1 มีกิจกรรมการนําเสนอแผนงานโครงการใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ รับทราบและเขาใจ อยางทั่วถึง ( 5 คะแนน ) 3.2 มีกิจกรรมการเฝ"าระวังสถานการณ5โรค ตรวจสอบการระบาดของทุก สัปดาห5 ( 5 คะแนน ) 3.3 มีกิจกรรมการเฝ"าระวังโรคลวงหนา ไดแก ( 10 คะแนน ) - การสุมตรวจหาเชื้อ ในน้ําดื่มน้ําใช อาหาร สงตรวจอยางนอย 1 ครั้ง/ป - เก็บตัวอยางน้ําประปาเพื่อเฝ"าระวังปริมาณคลอรีนตกคาง 3.4 มีกิจกรรมการเผยแพรประชาสัมพันธ5หรือใหสุขศึกษาแก ประชาชนทั่วไป โดยอาศัยสื่อตางๆ ( 10 คะแนน ) 3.5 มีกิจกรรมการประสานความรวมมือในการปรับปรุงสุขาภิบาล สิ่งแวดลอม กับหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน เทศบาล, อบต. ( 10 คะแนน ) 3.6 การเตรียมทีมเฉพาะกิจในการสอบสวนควบคุมโรคใหพรอม ปฏิบัติงาน ( 5 คะแนน ) 3.7 มีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ตามเกณฑ5ที่กําหนด วิธีปฏิบัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การทํางาน ( 5 คะแนน ) รวมคะแนน
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
65
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
อัตราปYวยโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเป@นพิษในระดับอําเภอนอย กวาคามัธยฐาน 5 ป. ยอนหลัง อัตราป‚วยโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันหรือโรคอาหารเปCนพิษในระดับอําเภอนอยกวา คามัธยฐาน 5 ปยอนหลัง (อัตราป‚วยตอประชากรแสนคน) จํานวนผูป‚วยโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเปCนพิษ -จํานวนปYวยโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันหรือโรคอาหารเป@นพิษ หมายถึง จํานวน ผูป‚วยโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเปCนพิษ ตามปปฏิทิน -อัตราปYวยโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันหรือโรคอาหารเป@นพิษ สามารถคํานวณ จากจํานวนผูป‚วยของโรคนั้นๆ ตามปปฏิทิน คูณดวย 100,000 หารดวยจํานวน ประชากรกลางป -อัตราปYวยในระดับอําเภอไมเกินคามัธยฐาน 5 ป. ยอนหลัง โดยคํานวณจาก คามัธยฐาน 5 ป ยอนหลัง ตามปปฏิทิน (พ.ศ. 2550-2554) จังหวัดรวบรวมขอมูลและติดตามผลการดําเนินงานในอําเภอเป"าหมายตามแบบ รายงานตามแบบบัตร รง.506 และ รง. 507 สํานักงานป"องกันควบคุมโรค รวบรวมขอมูล และติดตามผลการดําเนินงานของ จังหวัดที่รับผิดชอบอําเภอเป"าหมาย กรมควบคุมโรค โดยสํานักโรคติดตอทั่วไปรวบรวบขอมูลและติดตามความกาวหนา ผลการดําเนินงานของจังหวัดที่รับผิดชอบอําเภอเป"าหมาย โดยผานเครือขาย ผูรับผิดชอบ ของสํานักงานป"องกันควบคุมโรค รายงานตามแบบบัตร รง.506 และ รง.507 ในระบบรายงานการเฝ"าระวังโรคของ สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค จํานวนประชากรกลางป สํานักทะเบียนราษฎร5 กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จํานวนผูป‚วยโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเปCนพิษ 100,000 จํานวนประชากรกลางป หมายเหตุ : กรณีเดือนที่ผูประเมินเขาประเมิน ยังไมถึงเดือนธันวาคม เชน เขา ประเมิน ณ เดือน พฤษภาคม ใหใชอัตราป‚วยของป 2555 ตั้งแตเดือน มกราคม – เมษายน 2555 เทียบกับคามัธยฐานของอัตราป‚วยยอนหลัง 5 ป ของชวงเวลา อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
66
6. เกณฑ5การใหคะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด (ตอ)
เดียวกัน คือระหวางเดือน มกราคม – เมษายน ของป 2550 – 2554 แทน - ≥ คามัธยฐาน 5 ป ยอนหลัง ได 0 คะแนน - < คามัธยฐาน 5 ปยอนหลัง ได 2 คะแนน 1. ชื่อ นายแพทย5พรชนก รัตนดิลก ณ ภูเก็ต ตําแหนง นายแพทย5เชี่ยวชาญ หัวหนากลุมกลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3189 มือถือ 081 8394154 โทรสาร 0 2591 8436 E-mail : tapanokr@yahoo.com 2. ชื่อ นางสาวสุรัสวดี กลิ่นชั้น ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3190 มือถือ 085 0637390 โทรสาร 0 2591 8436 E-mail : suratsawadee_k@hotmail.com 3. ชื่อ นางสาวพรเพชร ศักดิ์ศิริชัยศิลป˜ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3180 , 0 2965 9592 มือถือ 089 4837045 โทรสาร 0 2951 0918 E-mail : phet_sa@hotmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
67
5. โรคหนอนพยาธิ 1. ตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล
3.2 นิยาม
มีการดําเนินงานการป>องกันโรคหนอนพยาธิตามที่กําหนดในอําเภอที่มีความชุก หรืออัตราการตรวจพบของโรคสูงกวารอยละ 10 มีการดําเนินการ ครบ 5 ขอ มีการดําเนินงานการป"องกันโรคหนอนพยาธิตามที่กําหนดในอําเภอที่มีความชุกของ โรคสูงกวารอยละ 10 ครบ 5 ขอตามที่กําหนด ไดแก 1) มีการทบทวน วิเคราะห5และจัดทําแผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรค หนอนพยาธิในระดับอําเภอ 2) มีการตรวจอุจจาระ เพื่อคนหาผูเปCนโรคหนอนพยาธิและรักษาผูเปCนโรค หนอนพยาธิตามมาตรฐานกรมควบคุมโรค 3) มีการสื่อสารความรูใหประชาชนเพื่อสรางความรูและหรือเพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 4) มีการจัดกิจกรรมเชิงรุกรวมกับชุมชนจากป<ญหาและกลุมเป"าหมายที่ไดจาก การวิเคราะห5โรคหนอนพยาธิในระดับอําเภอ 5) สรุปผลกิจกรรมและการดําเนินงาน 1. อําเภอที่มีความชุก/อัตราการตรวจพบหนอนพยาธิ สูงกวารอยละ 10 หมายถึงอําเภอที่มี พื้นที่ทั้งอําเภอหรือเฉพาะตําบลหรือเฉพาะหมูบาน มีผลการ สํารวจความชุกจากป 2555 หรือมีผลอัตราการตรวจพบพยาธิใบไมตับและพยาธิ ปากขอแยกชนิดหนอนพยาธิกันจากป 2555 สูงกวา รอยละ 10 โดยอาจคิดทั้ง อําเภอหรือเฉพาะตําบลหรือเฉพาะหมูบาน ตามสภาพป<ญหาของอําเภอนั้นๆ โดยประชากรที่ตรวจพบหนอนพยาธินั้นอาจเปCนนักเรียนและเยาวชนใน โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชน ในพื้นที่ถิ่นทุรกันดารและ พื้นที่ภูฟ"าพัฒนาตามพระราชดําริฯ หรือ ประชาชนกลุมเสี่ยงตอโรคพยาธิใบไมตับ หรือ โรคพยาธิปากขอ ตามผลการวิเคราะห5 ของสํานักงานสาธารณสุขอําเภอและ หรือสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือผลการตรวจโดยทีมตรวจเคลื่อนที่ เชน พนักงานจุลทัศนกรที่ผานการอบรมและผานเกณฑ5การตรวจสอบคุณภาพจากกรม ควบคุมโรค โดยสํานักโรคติดตอทั่วไป หรือ สคร.เขต หรือ ผลการศึกษาโดย ผูเชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยหรือหนวยงานอื่นที่เชื่อถือได -โรคหนอนพยาธิในที่นี้หมายความเฉพาะถึงโรคพยาธิใบไมตับ หรือ โรคพยาธิ ปากขอ เทานั้น 2. นิยามโรคพยาธิปากขอ 2.1 ผูป‚วยอาจไมมีอาการ หรือ มีอาการ ดังนี้ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
68
1) อาการในระบบทางเดินอาหาร เชน ปวดทอง คลื่นไส อาเจียน ทองเสีย ตามมา 2) มีภาวะซีด เนื่องจากโลหิตจาง 2.2 การวินิจฉัยโรคพยาธิปากขอ 1) อาการทางคลินิก ประวัติภูมิลําเนาและการตรวจทางหองปฏิบัติการ 2) ตรวจอุจจาระเพื่อหาไขหนอนพยาธิ โดยวิธี Modified Kato’s thick smear เปCนวิธีที่กรมควบคุมโรคแนะนํา หรือ วิธีเขมขน (Formalin-ether concentration) เปCนวิธีมาตรฐานของงานวิจัย หรือมีการตรวจนับจํานวน ไข หนอนพยาธิเพื่อหาระดับความรุนแรงของโรค โดยวิธี Modified Kato-Katz 3. นิยามโรคพยาธิใบไมตับ 3.1 ผูป‚วยอาจไมมีอาการ หรือ มีอาการ ดังนี้ 1) แนนทองเจ็บในทองที่ใตชายโครงขวาอาจจุกแนนไปที่ใตลิ้นป¢หรือใตชาย โครงซาย เรื้อรัง รายที่มีอาการรุนแรงอาจจุกแนนทองมากจนทํางานไมได อาการ อื่นๆ 2) เบื่ออาหาร ทองอืด ตับโตและกดเจ็บ ดีซาน ถายเหลวเปCนบางครั้ง 3) มีไขต่ําๆ คลื่นไส วิงเวียน ออนเพลีย 4) ในผูป‚วยที่เปCนโรคขาดอาหารอยูแลวจะมีน้ําหนักลดลง ขาบวม อาการ รูสึก “ออกรอน” ในทองหรือรอนที่ผิวหนังหนาทองดานขวาบริเวณ เหนือตับ บางครั้งอาจรอนทั้งทองหรือลามไปขางหลังทั้งนี้ไมมีขอบเขตชัดเจนและไมสัมพันธ5 กับระบบประสาท เปCนลักษณะพิเศษที่พบไดในโรคพยาธิใบไมตับ 3.2 การวินิจฉัยโรคพยาธิใบไมตับ 1. อาการทางคลินิก ประวัติภูมิลําเนา การบริโภคปลาน้ําจืดเกล็ดขาวปรุง ดิบและการตรวจทางหองปฏิบัติการ 2. ตรวจอุจจาระเพื่อหาไขพยาธิใบไมตับเปCนวิธีที่กรมควบคุมโรคแนะนํา ความไวสูงกวาวิธีตรวจ (Simple smear ) ที่ใชตรวจประจําในโรงพยาบาลถึง 30 เทา และวิธีที่กรมควบคุมโรคแนะนํา ไดแก Modified Kato’s thick smear ที่ ใหผลตรวจถูกตอง เชื่อถือได หรือ ตรวจวิธีเขมขน (Formalin-ether concentration) ซึ่งเปCนวิธีมาตรฐานของงานวิจัย อาจมีการตรวจนับจํานวนไข หนอนพยาธิเพื่อหาระดับความรุนแรงของโรค โดยวิธี Modified Kato-Katz 4. อัตราการตรวจพบหรือความชุกของโรคหนอนพยาธิ ในป. 2556 คือผลตรวจ ของป 2555 ที่ผานมา ซึ่งอาจเปCน ขอ 4.1 หรือ 4.2 4.1 อัตราการตรวจพบ = จํานวนตัวอยางอุจจาระที่ตรวจพบไขหนอนพยาธิ [แยกชนิดหนอนพยาธิ(ไบไมตับ,ปากขอ)] 100 หารดวย จํานวนผูสงอุจจาระ ตรวจทั้งหมด อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
69
3.3 วิธีรายงาน
4.2 อัตราความชุก(Prevalence rate) = จํานวนตัวอยางอุจจาระที่ตรวจพบไข หนอนพยาธิ [แยกชนิดหนอนพยาธิ(ไบไมตับ,ปากขอ)] 100 หารดวย จํานวน ตัวอยางประชากรกลุมเสี่ยง(ที่ไดจากการคํานวณขนาดตัวอยางและเปCนตัวแทนของ ประชากรในพื้นที่นั้นๆ) ที่สงตรวจอุจจาระทั้งหมด 5 การดําเนินงานการป>องกันโรคหนอนพยาธิ ของป. 2556 มีดังนี้ 5.1) มีการทบทวน วิเคราะห5และจัดทําแผนปฏิบัติการป"องกันควบคุมโรค หนอนพยาธิในระดับอําเภอ 5.2) มีการตรวจอุจจาระ เพื่อคนหาผูเปCนโรคหนอนพยาธิและรักษาผูเปCนโรค หนอนพยาธิตามมาตรฐานกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 5.3) มีการสื่อสารความรูใหประชาชนเพื่อเพื่อสรางความรูและหรือเพื่อการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5.4) มีการจัดกิจกรรมเชิงรุกรวมกับชุมชนจากป<ญหาของโรคและกลุมเป"าหมายที่ได จากการวิเคราะห5โรคหนอนพยาธิในระดับอําเภอ 5.5) สรุปผลกิจกรรมและการดําเนินงาน หมายเหตุ: ในโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ถิ่นทุรกันดารและพื้นที่ภูฟ"าพัฒนาตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ โรงเรียนเป"าหมาย 771 โรงเรียน ในพื้นที่ 52 จังหวัด ตามแผนของสํานัก พระราชวังฯ ดําเนินการตั้งแตป 2550 ตอเนื่อง 10 ป ถึงป 2559 ตัวชี้วัดคือลด ความชุกของโรคพยาธิใบไมตับและพยาธิปากขอในนักเรียนใหเหลือรอยละ 5 ใน ป. 2559 และเกิดโรงเรียนปลอดโรคหนอนพยาธิ กลุมเป"าหมายคือนักเรียนและ เยาวชน (เปCนโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดแก สพฐ. กศน.(ศศช) คณะกรรมการการศึกษาเอกชน สอนศาสนาปอเนาะและเณร พระปริยัติธรรม สังกัดอปท สังกัดตชด. ศูนย5พัฒนาเด็กวัยเตาะแตะ ราชประชานุเคราะห5 ) มี เป"าหมายการดําเนินการที่สําคัญในแตละป คือตรวจอุจจาระในกลุมเป"าหมาย 100 % และใหการรักษา รวม 2 ครั้งไดแก ครั้งที่ 1 100% ของผูที่ตรวจพบ ครั้งที่ 2 100% ของนักเรียนทุกคนในทุกโรงเรียน ใหการรักษาหนอนพยาธิลําไสแบบมวลชน (Mass Treatment) สํานักงานสาธารณสุขอําเภอรวบรวมขอมูลและติดตามผลการดําเนินงานของสอ./ รพสต.และโรงเรียนในตําบลหรือหมูบานหรือโรงเรียนเป"าหมาย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรวบรวมขอมูลและติดตามผลการดําเนินงานในอําเภอ เป"าหมาย สํานักงานป"องกันควบคุมโรค รวบรวมขอมูล และติดตามผลการดําเนินงานของ จังหวัดที่รับผิดชอบอําเภอเป"าหมาย กรมควบคุมโรค โดยสํานักโรคติดตอทั่วไปรวบรวบขอมูลและติดตาม อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
70
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน
ความกาวหนาผลการดําเนินงานของจังหวัดที่รับผิดชอบอําเภอเป"าหมาย โดยผาน เครือขายผูรับผิดชอบของสํานักงานป"องกันควบคุมโรค หมายเหตุ : การดําเนินงานตรวจอุจจาระเริ่มทําในภาคเรียนที่ 1 เดือนมิถุนายนของ ทุกป และใหการรักษานักเรียนตามโครงการพระราชดําริฯ ในแตละรอบปการศึกษา ปละ 2 ครั้ง เชนป 2555 จะตรวจอุจจาระแลวเสร็จ ประมาณปลายเดือนมิถุนายน 2555 ทําการรักษาครั้งที่ 1 ใหการรักษาตามชนิดหนอนพยาธิที่ตรวจพบ ประมาณ ปลายเดือนกรกฎาคม 2555 และทําการรักษาครั้งที่ 2 ดวยยาอัลเบนดาโซล เปCน การรักษาแบบมวลชน ใหแลวเสร็จไมเกินปลายเดือน ธันวาคม 2555 เพื่อใหมี ระยะเวลาหาง 6 เดือน ในการตรวจอีกครั้งในปการศึกษาที่ 1 ของปตอไปทําทุกป ตอเนื่องถึงป 2559 เอกสารกิจกรรมและการดําเนินงานของอําเภอเป"าหมาย (รพช. / สสอ. ) -มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอ ได 0 คะแนน -มีการดําเนินการป"องกันโรคหนอนพยาธิ ดังนี้ 1) มีการทบทวน วิเคราะห5สถานการณ5หรือป<จจัยเสี่ยงและจัดทําแผนปฏิบัติการ ป"องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในระดับอําเภอ 2) มีการตรวจอุจจาระ เพื่อคนหาผูเปCนโรคหนอนพยาธิและรักษาผูเปCนโรค หนอนพยาธิตามมาตรฐานกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 3) มีการสื่อสารความรูใหประชาชนเพื่อสรางความรูและหรือเพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 4) มีการจัดกิจกรรมเชิงรุกรวมกับชุมชนที่แกไขป<ญหา หรือ ลดป<จจัยเสี่ยง และหรือ กลุมเป"าหมายที่ไดจากการวิเคราะห5โรคหนอนพยาธิในระดับอําเภอ 5) สรุปผลกิจกรรมและการดําเนินงาน ครบ 5 ขอ ได 3 คะแนน
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
71
7. ผูรับผิดชอบ/ผู ประสานงานตัวชี้วัด
ชื่อ ดร.ฐิติมา วงศาโรจน5 ตําแหนง หัวหนาโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดําริฯ หนวยงาน โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดําริฯ สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3180 0 2591 8437 มือถือ 0 81 8252379 โทรสาร 0 2591 8436 E-mail thelwg1 @ yahoo.com
1. ตัวชี้วัดที่ 2
อัตราการตรวจพบหรืออัตราความชุกของโรคพยาธิใบไมตับ หรือพยาธิปากขอ นอยกวารอยละ 10 อัตราการตรวจพบหรือความชุกนอยกวารอยละ 10
2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล
จํานวนกลุมเป"าหมายที่ตรวจพบไขหนอนพยาธิ พยาธิใบไมตับและพยาธิปากขอ แยกชนิดหนอนพยาธิ -อัตราการตรวจพบของโรคหนอนพยาธิ หมายถึง จํานวนประชากรตัวอยางที่ ตรวจพบไขหนอนพยาธิ แยกชนิดพยาธิใบไมตับหรือพยาธิปากขอในกลุมตัวอยาง เป"าหมาย ของป.2555 หารดวยจํานวนประชากรทั้งหมดของพื้นที่นั้นๆ โดยอาจ เปCนการประชากรทั้งอําเภอหรือเฉพาะตําบลหรือเฉพาะหมูบานหรือเฉพาะโรงเรียน ตามการวางแผนของอําเภอนั้นๆ -อัตราความชุกของโรคหนอนพยาธิ หมายถึง จํานวนประชากรตัวอยางที่ตรวจ พบไขหนอนพยาธิ แยกชนิดพยาธิใบไมตับหรือพยาธิปากขอในในกลุมตัวอยาง เป"าหมาย ของป.2555 ณ เวลาหนึ่ง ๆ หารดวยจํานวนประชากรศึกษาทั้งหมด ของพื้นที่นั้นๆ โดยอาจเปCนการสํารวจทั้งอําเภอหรือเฉพาะตําบลหรือเฉพาะหมูบาน หรือเฉพาะโรงเรียน ตามการวางแผนของอําเภอนั้นๆ สํานักงานสาธารณสุขอําเภอรวบรวมขอมูลของตําบลหรือหมูบานหรือโรงเรียนใน ตําบลหรือหมูบานเป"าหมาย จังหวัดรวบรวมขอมูลและติดตามผลการดําเนินงานในอําเภอเป"าหมาย สํานักงานป"องกันควบคุมโรค รวบรวมขอมูล และติดตามผลการดําเนินงาน ของจังหวัดที่รับผิดชอบอําเภอเป"าหมาย กรมควบคุมโรค โดยสํานักโรคติดตอทั่วไปรวบรวบขอมูลและติดตามความกาวหนา ผลการดําเนินงานของจังหวัดที่รับผิดชอบอําเภอเป"าหมาย โดยผานเครือขาย ผูรับผิดชอบของสํานักงานป"องกันควบคุมโรค -จากผลการสํารวจเฉพาะของอําเภอ/จังหวัดนั้นๆ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
72
-โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ถิ่นทุรกันดารและ พื้นที่ภูฟ"าพัฒนาตามพระราชดําริ 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม
4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
6. เกณฑ5การใหคะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ ผูประสานงานตัวชี้วัด
-จํานวนกลุมเป"าหมายผูสงอุจจาระตรวจทั้งหมด -จํานวนกลุมเป"าหมายผูสงอุจจาระตรวจทั้งหมด กรณีเปCนโครงการสํารวจความชุก คือจํานวนกลุมตัวอยางที่ไดจากการสุมตามระเบียบวิธีวิจัยในพื้นที่อําเภอหรือตําบล หรือหมูบานหรือโรงเรียนนั้นๆ -จํานวนกลุมเป"าหมายผูสงอุจจาระตรวจทั้งหมดกรณีใชอัตราการตรวจพบของโรค หนอนพยาธิ คือ จํานวนกลุมตัวอยางทั้งหมดในพื้นที่อําเภอหรือตําบลหรือหมูบาน หรือโรงเรียนนั้นๆ -กรณีใชอัตราความชุกไดจากรายงานผลในโครงการสํารวจชุมชน -กรณีใชอัตราการตรวจพบ อาจใชขอมูลของโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิใน นักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ถิ่นทุรกันดารและพื้นที่ภูฟ"าพัฒนาตามพระราชดําริฯ -อัตราการตรวจพบโรคหนอนพยาธิ (Infection rate) = จํานวนนักเรียนที่ตรวจพบไขหนอนพยาธิ (แยกชนิดพยาธิใบไมตับหรือพยาธิปากขอ) 100 หารดวย จํานวนนักเรียนผูสงอุจจาระตรวจทั้งหมด -อัตราความชุก ( Prevalence rate ) = จํานวนกลุมตัวอยางทีต่ รวจพบไขหนอนพยาธิ (แยกชนิดพยาธิใบไมตับหรือ พยาธิปากขอ) 100 หารดวย จํานวนกลุมตัวอยางผูสงอุจจาระตรวจทั้งหมด -≥ รอยละ 10 ได 0 คะแนน -< รอยละ 10 ได 2 คะแนน ชื่อ ดร.ฐิติมา วงศาโรจน5 ตําแหนง หัวหนาโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดําริฯ หนวยงาน โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดําริฯ สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3180 0 2591 8437 มือถือ 0 81 8252379 โทรสาร 0 2591 8436 E-mail thelwg1 @ yahoo.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
73
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
6. โรคพิษสุนัขบา มีพื้นที่ที่มีแผนงาน /โครงการสรางพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบาและจัดระดับความ เสี่ยงของพื้นที่ตามเกณฑ5ที่กรมควบคุมโรคกําหนด อยางนอยอําเภอละ 2 พื้นที่ มีแผนงาน/โครงการอยางนอยอําเภอละ 2 พื้นที่ จํานวนพื้นที่ที่มีแผนงาน/โครงการสรางพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบาและจัดระดับ ความเสี่ยงของพื้นที่ตามเกณฑ5ที่กรมควบคุมโรคกําหนดอยางนอยอําเภอละ 2 พื้นที่ 1. พื้นที่ หมายถึง พื้นที่รับผิดชอบขององค5กรปกครองสวนทองถิ่น 2. แผนงาน/โครงการสรางพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบา หมายถึง การสรางพื้นที่ ปลอดโรคพิษสุนัขบาตามคูมือหลักเกณฑ5สรางพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบา (Rabies Free Area) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 3. พื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบา หมายถึง พื้นที่ที่ไมปรากฏโรคพิษสุนัขบาในคนและใน สัตว5ทุกชนิด มีการเฝ"าระวังคนหาโรคอยางทั่วถึง มีมาตรการการควบคุมอื่นๆ อยางตอเนื่องและตองมีการเฝ"าระวังการนําสัตว5เขามาในพื้นที่อยางมี ประสิทธิภาพจนผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ ไมพบคนและสัตว5เปCนโรคพิษ สุนัขบาตลอดระยะเวลา 2 ป 4. พื้นที่ควบคุมโรคพิษสุนัขบา ระดับ Aหมายถึงพื้นที่ไมพบรายงานโรคในคนและในสัตว5ตลอดระยะเวลา 2 ป ระดับ B หมายถึงพื้นที่ไมพบรายงานโรคในคนตลอดระยะเวลา 2 ป แตยังพบรายงานสัตว5ตายดวยโรคพิษสุนัขบา ระดับ C หมายถึง พื้นที่ที่ยังมีรายงานคนและสัตว5เสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบา ในระยะเวลา 2 ปที่ผานมา 5. ขั้นตอนการรายงานตามตัวชี้วัดอําเภอเข็มแข็ง (พื้นที่ดําเนินการ) 5.1ทบทวน วิเคราะห5สภาพป<ญหาของพื้นที่ และจัดระดับความเสี่ยงของพื้นที่ ตามนิยาม ที่กําหนด 5.2คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ/คณะทํางาน อยางนอย 3 หนวยงาน (สาธารณสุข ปศุสัตว5 และองค5กรปกครองสวนทองถิ่น ) 5.3ประชุมคณะกรรมการ/คณะทํางาน เพื่อจัดทําแผนแผนงาน/โครงการสราง พื้ นที่ ปลอดโรคพิษ สุ นัข บา / แผนปฏิ บัติ การบู ร ณาการโรคพิ ษ สุ นัข บา/หรื อ แผนพัฒนา 3 ป 5.4มีแผนงาน/โครงการสรางพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบา / แผนปฏิบัติการบูรณา การโรค พิษสุนัขบา/หรือแผนพัฒนา 3 ป อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
74
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการ คํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
5.5 สรุปรายงาน จํานวนเทศบาล/อบต. ที่มีแผนงาน/โครงการสรางพื้นที่ปลอด โรคพิษสุนัขบา จังหวัดรวบรวมขอมูลและติดตามผลการดําเนินงานทุกอําเภอ สํานักงานป"องกันควบคุมโรค รวบรวมขอมูล และติดตามผลการดําเนินงานของทุก จังหวัด กรมควบคุมโรค โดยสํานักโรคติดตอทั่วไปรวบรวบขอมูลและติดตามความกาวหนา ผลการดําเนินงานของทุกสํานักงานป"องกันควบคุมโรค สาธารณสุขอําเภอ ปศุสัตว5อําเภอ และองค5กรปกครองสวนทองถิ่น เชน เทศบาล/ อบต.
- ไมมี ได 0 คะแนน มีแผนงาน/โครงการอยางนอยอําเภอละ 1 พื้นที่ ได 1 คะแนน มีแผนงาน/โครงการอยางนอยอําเภอละ 2 พื้นที่ ได 3 คะแนน ชื่อ สัตวแพทย5หญิง อภิรมย5 พวงหัตถ5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารรสุขเชี่ยวชาญ หัวหนากลุมโรคติดตอระหวางสัตว5และคน หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3245 , 0 2590 3177-8 มือถือ 084 4399434 โทรสาร 0 2965 9484 E-mail apiromp@yahoo.com , apiromp@hotmail.com ชื่อ สัตวแพทย5หญิงอรพิรุฬห5 สการะเศรณี ตําแหนง นายสัตวแพทย5ปฏิบัติการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอระหวางสัตว5และคน สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3176 มือถือ 089 775 5217 โทรสาร 0 2965 9484 E-mail dek_vet_ka@hotmail.com ชื่อ นางรัชนี ธีระวิทยเลิศ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน กลุมพัฒนาวิชาการ ที่ 3 สํานักโรคติดตอทั่วไป อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
75
โทร. 0 2590 3176 มือถือ 085 9024794 โทรสาร 0 2965 9484 E-mail rattheemail@gmail.com 1. ชื่อตัวชี้วัด 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล
ไมมีผูที่เสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบา ไมมีผูที่เสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบา ไมมีผูที่เสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบาในอําเภอเป"าหมาย ยอนหลังติดตอกันอยางนอย 2 ป.ปฏิทิน การวินิจฉัย เกณฑ0ของการวินิจฉัย ขอมูล 1. แนนอน มีผลการตรวจหลังเสียชีวิต ยืนยันการวินิจฉัยโดยวิธี (definite) FAT และ/ หรือการตรวจทางหองปฏิบัติการอยางอื่นที่ เชื่อได (ทั้งกอนและหลังเสียชีวิต) เชน mouse inoculation test , cell culture isolation และ molecular diagnosis 2. นาจะเป@น ไมมีผลยืนยันจากตรวจศพ หรือจากการตรวจทาง (probable) หองปฏิบัติการอยางอื่นที่เชื่อได ดังในขอ1 แตมีประวัติ ถูกสัตว5กัดชัดเจน (แมวาไมไดยืนยันจาการตรวจทาง หองปฏิบัติการ) และมีลักษณะอาการครบถวน ทั้ง 3 ประการของ furious rabies หรือ การวินิจฉัย paralytic rabies ตามอาการทางคลินิก ซึ่งควรตอง ไดรับการยืนยันจากประสาทแพทย5ที่มีประสบการณ5 3. อาจเป@น มีลักษณะอาการไมครบ 3 ประการ สําหรับการวินิจฉัย (possible) furious rabies และอาจมีหรือไมมีประวัติถูกสัตว5กัด ชัดเจน อําเภอรวบรวมขอมูล และสรุปรายงานการเกิดโรคพิษสุนัขบาในคน รง.506 / รง. 507 (ยอนหลังติดตอกันอยางนอย 2 ปปฏิทิน) หรือ รายงานแบบสอบสวนเฉพาะรายผูที่เสียชีวิตโรคพิษสุนัขบา
4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
76
5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด (ตอ)
-ไมมีผูที่เสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบายอนหลังติดตอกันอยางนอย 2 ปปฏิทิน - มีผูที่เสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบา ได 0 คะแนน - ไมมีผูที่เสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบา ได 2 คะแนน ชื่อ สัตวแพทย5หญิง อภิรมย5 พวงหัตถ5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารรสุขเชี่ยวชาญ หัวหนากลุมโรคติดตอระหวางสัตว5และคน หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3245 , 0 2590 3177-8 มือถือ 084 4399434 โทรสาร 0 2965 9484 E-mail apiromp@yahoo.com , apiromp@hotmail.com ชื่อ สัตวแพทย5หญิงอรพิรุฬห5 สการะเศรณี ตําแหนง นายสัตวแพทย5ปฏิบัติการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอระหวางสัตว5และคน สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3176 มือถือ 089 775 5217 โทรสาร 0 2965 9484 E-mail dek_vet_ka@hotmail.com ชื่อ นางรัชนี ธีระวิทยเลิศ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน กลุมพัฒนาวิชาการ ที่ 3 สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3176 มือถือ 085 9024794 โทรสาร 0 2965 9484 E-mail rattheemail@gmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
77
7. โรคเลปโตสไปโรสิส 1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการ คํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
อสม. มีความรูในการป>องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส ไมนอยกวารอยละ 60 ≥ รอยละ 60 อสม. ในอําเภอเป"าหมาย มีความรูการป"องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส ไมนอยกวา รอยละ 60 อสม. มีความรูในการป>องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส หมายถึง อาสาสมัคร สาธารณสุข มีความรูเรื่องโรคเลปโตสไปโรสิส ไดแก โรคเลปโตสไปโรสิสคืออะไร เชื้อโรคเขาสูรางกาย ไดอยางไร กิจกรรมในชีวิตประจําวันที่ทําใหมีโอกาสติด โรคเลปโตสไปโรสิส อาการของโรคและการป"องกันตนเอง การมีสวนรวมของ ชุมชนและบทบาทของ อสม. ซึ่งเปCนบุคคลสําคัญ ในการริเริ่มหรือดําเนินการใน การป"องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิสในชุมชน อําเภอดําเนินการทดสอบความรูในการป"องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส สําหรับ อสม. ตามเอกสารแนบ และรวบรวม สรุป วิเคราะห5 และจัดทํารายงาน เพื่อใช ประกอบการพิจารณาอําเภอผานเกณฑ5ที่กําหนด แบบทดสอบความรูในการป"องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส สําหรับ อสม. อาสาสมัครสาธารณสุข
= (จํานวน อสม.มีความรูในการป"องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส ไมนอยกวารอยละ 60 )x (100 ) (จํานวน อสม.เป"าหมาย ) - < รอยละ 60 ได 0 คะแนน - ≥ รอยละ 60 ได 3 คะแนน ชื่อ สัตวแพทย5หญิง อภิรมย5 พวงหัตถ5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารรสุขเชี่ยวชาญ หัวหนากลุมโรคติดตอระหวางสัตว5และคน หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3245 , 0 2590 3177-8 มือถือ 084 4399434 โทรสาร 0 29659484 E-mail:apiromp@yahoo.com, apiromp@hotmail.com ชื่อ สัตวแพทย5หญิงวิมวิการ5 ศักดิ์ชัยนานนท5 ตําแหนง นายสัตวแพทย5ปฏิบัติการ กลุมโรคติดตอระหวางสัตว5และคน โทร. 0 2590 3178 โทรสาร 0 2965 9484 มือถือ 087 702 7652 อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
78
E-mail juju_muche@yahoo.com ชื่อ นางรัตนา ธีระวัฒน5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมโรคติดตอระหวางสัตว5และคน โทร. 0 2590 3176 โทรสาร 0 2965 9484 มือถือ 085 9024794 E-mail rattheemail@gmail.com
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด
อัตราตายดวยโรคเลปโตสไปโรสิสไมเกินคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป. นอยกวาหรือเทากับคามัธยฐาน ยอนหลัง 5 ป จํานวนคนตายดวยโรคเลปโตสไปโรสิส นอยกวาหรือเทากับคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป โรคเลปโตสไปโรสิส เกิดจากเชื้อ Leptospira interrogans ซึ่งเปCนเชื้อแบคทีเรีย ประเภท spirochete ขนาดเล็ก แหลงรังโรค คือ สัตว5ที่สะสมเชื้อไวที่ไต ซึ่งจะขับ เชื้ อ ป< ส สาวะ โรคนี้ จั ดเปC นโรคติ ด ตอระหวางสั ตว5 แ ละคน โดยคนอาจไดรั บ เชื้ อ leptospires จากการสัมผัสกับเชื้อโดยตรงหรือสัมผัสกับสิ่งแวดลอมที่ปนเปžŸอนเชี้อ ดังกลาว ป<จจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคเลปโตสไปโรสิส ไดแก ย่ําน้ํา ใสปุ¦ย หรือถอนกลาใน ที่เปยกนานเกินวันละ 6 ชั่วโมง มีบาดแผลที่ผิวหนัง ขณะสัมผัสน้ําทวมขัง หรือ สัมผัสน้ําทวมนานเกิน 6 ชั่วโมง อัตราตายดวยโรคเลปโตสไปโรสิส หมายถึง จํานวนคนตายดวยโรคเลปโตสไปโรสิส ตอประชากรแสนคน ตามปปฏิทิน ซึ่งสามารถคํานวณจาก จํานวนคนตายดวย โรค เลปโตสไปโรสิส คูณดวย 100,000 หารดวยจํานวนประชากรกลางป อั ตราตายในระดั บ อํ า เภอไมเกิ น คามั ธ ยฐาน 5 ป. ยอนหลั ง โดยคํ า นวณจาก คามัธยฐาน 5 ป ยอนหลัง ตามปปฏิทิน (พ.ศ. 2550-2554) ระบบรายงาน 506 , 507 ของสํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค รายงานการเฝ"าระวังโรคที่เปCนป<ญหาเรงดวนของสํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค จํานวนประชากรกลางป ประชากรกลางปกระทรวงมหาดไทย จํานวนคนตายดวยโรคเลปโตสไปโรสิส
100,000
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
79
(สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน
จํานวนประชากรกลางป - มากกวาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป ได 0 คะแนน - นอยกวาหรือเทากับคามัธยฐาน ยอนหลัง 5 ป ได 2 คะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
ชื่อ สัตวแพทย5หญิง อภิรมย5 พวงหัตถ5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารรสุขเชี่ยวชาญ หัวหนากลุมโรคติดตอระหวางสัตว5และคน หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค โทรสาร 0 2965 9484 โทร. 0 2590 3245 , 0 2590 3177-8 มือถือ 084 4399434 E-mail:apiromp@yahoo.com, apiromp@hotmail.com ชื่อ สัตวแพทย5หญิงวิมวิการ5 ศักดิ์ชัยนานนท5 ตําแหนง นายสัตวแพทย5ปฏิบัติการ กลุมโรคติดตอระหวางสัตว5และคน โทร.0 2590 3178 มือถือ 087 702 7652 E-mail: juju_muche@yahoo.com ชื่อ นางรัตนา ธีระวัฒน5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมโรคติดตอระหวางสัตว5และคน โทร. 0 2590 3176 มือถือ 085 9024794 E-mail rattheemail@gmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
80
ภาคผนวก แบบทดสอบความรูในการป>องกันและควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิสสําหรับอาสาสมัครสาธารณสุข สวนที่ 1 โปรดทําเครื่องหมาย � ลงใน � หรือชองวางใหสมบูรณ5ตามความเปCนจริง 1. เพศ � 1. ชาย � 2. หญิง 2. ทานอายุ..........................ป 3. ทานเรียนจบชั้นใด � 1. ไมไดเรียน � 2. ประถมศึกษา � 3. มัธยมศึกษาตอนตน � 4. มัธยมศึกษาตอนปลาย � 5. สูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย โปรดระบุ.................................................... 4. ทานมีอาชีพอะไร � 1. ทํานา � 2. ทําไร � 3. ทําสวน � 4. เลี้ยงสัตว5 � 5. รับจางทั่วไป � 6. คาขาย � 7. รับราชการหรือรัฐวิสาหกิจ � 8. อื่นๆ โปรด ระบุ.......................................... 5. ในรอบปที่ผานมา หมูบานของทานมีผูป‚วยเปCนโรคเลปโตสไปโรสิสหรือไม � 1. ไมมี � 2. มี 6. ทานหรือญาติพี่นองของทานเคยป‚วยเปCนโรคเลปโตสไปโรสิสหรือไม � 1. ไมเคย � 2. เคย สวนท ี่ 2 โปรดทําเครื่องหมาย � ลงใน � ใหตรงกับสิ่งที่ทานทราบ 1. อะไรเปCนสาเหตุโดยตรงที่ทําใหเปCนโรคเลปโตสไปโรสิส � 1. เชื้อเลปโตสไปรา � 2. ยาฆาหญา � 3. วัว ควาย หนู หมู � 4. ปุ¦ยเคมี 2. เชื้อกอโรคเลปโตสไปโรสิส จะปนออกมากับ � 1. น้ําลายของสัตว5 � 2. เยี่ยวของสัตว5 � 3. มูลสัตว5 � 4. ปุ¦ย และ ยาฆาหญา 3. ชองทางใดตอไปนี สามารถทําใหเชื้อโรคเลปโตสไปโรสิส เขาสูรางกายได � 1. รอยแตกที่ฝ‚าเทา � 2. ขาที่แชนานานๆ � 3. รอยถลอกที่แขน � 4. ถูกทุกขอ
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
81
-24. ชีวิตประจําวันของใคร ที่มีโอกาสติดโรคนี้ไดมาก � 1. นายดํา ไปหวานแห � 2. นายแดง มีอาชีพซื้อขาย วัว ควาย � 3. นายขาว เดินเทาเปลาไปทํานา � 4. มีโอกาสทุกคน 5. ผูป‚วยโรคเลปโตสไปโรสิส สวนใหญ จะมีอาการอยางไร � 1. ไขต่ําๆ คัดจมูก ปวดกลามเนื้อ � 2. ไขสูง มีน้ํามูก ตาแดง � 3. ไขสูง คัดจมูก ตัวเหลือง � 4. ไขสูง ปวดหัวมาก ปวดกลามเนื้อ 6. สาเหตุที่ทําใหคนเราป‚วยเปCนโรคเลปโตสไปโรสิสตางกัน เนื่องจาก � 1. ปริมาณของเชื้อเขาสูรางกายไมเทากัน � 2. เชื้อที่เขาสูรายกายแตกตางกัน � 3. เรามีรางกายแข็งแรงไมเทากัน � 4. ถูกทุกขอ 7. ขอความตอไปนี้ขอใดผิด � 1. ผูที่ป‚วยเปCนโรคเลปโตสไปโรสิสแลว มีโอกาสเปCนซ้ําอีก � 2. ผูที่ติดเชื้อโรคเลปโตสไปโรสิส ไมจําเปCนตองมีอาการทุกคน � 3. คนติดโรคเลปโตสไปโรสิส ทั้งจากสัตว5 และสิ่งแวดลอม � 4. ไมมีขอใดผิด 8. หลักการงายๆ ในการป"องกันการแพรระบาดของโรคเลปโตสไปโรสิส คือ � 1. หลีกเลี่ยงอยาใหตนเองติดเชื้อ � 2. แกไขสิ่งแวดลอมรอบตัว อยาใหเปCนแหลงแพรเชื้อ � 3. กินยาป"องกันโรคไว � 4. ถูกเฉพาะขอ 1 และ 2 9. เมื่อตองเดินย่ําน้ํา ลุยโคลน หรือตองเขาไปในพื้นที่ที่มีนาทวมขัง ทานไดสวมใสรองเทาบู¨ทหรือไม � 1. ใสทุกครั้ง � 2. ใสเปCนบางครั้ง � 3. ไมเคยใสเลย มีรองเทาบู¨ท � 4. ไมเคยใสเลย ไมมีรองเทาบู¨ท 10. ใครควรมีสวนรวมในการกําจัดโรคเลปโตสไปโรสิสใหหมดไปจากหมูบาน � 1. อบต. � 2. หมออนามัย � 3. อสม. � 4. ทุกคนในชุมชน
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
82
-3สวนที่ 3 โปรดทําเครื่องหมาย � ลงใน � หรือเติมขอความในชองวางใหสมบูรณ5ตามความเปCนจริง 1. ทานคิดวาคูมือฯ เลมนี้ มีรูปเลม สวยงาม นาอานเพียงใด นอย � � � � � � � � � � มาก 2. ทานไดรับหนังสือเลมนี้ หรือทราบขาวการตอบแบบสอบถามนี้จากแหลงใด โปรดระบุ............................................................................................................................... ...................... 3. ในหมูบานของทานมีการเกิดน้ําทวมหรือไม � ไมเคย � มากกวา 5 ป/ครั้ง � 2-3 ป /ครั้ง � เปCนประจําทุกป 4. ทานมีรองเทาบู¨ทหรือไม � ไมมี � มี ไดมาจาก......................................................... 5. ทานคิดวาคูมือฯ เลมนี มีประโยชน5ตอชุมชนของทานมากนอยเพียงใด นอย � � � � � � � � � � มาก 1 2 3 4 5 6 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ............................................................................................................................... . ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ขอขอบคุณที่ตอบแบบสอบถาม ☯☯☯☯ จัดทําโดย : กลุมพัฒนาวิชาการที่ 3 สํานักงานโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โทร 0 2590 3177-8 Email : zoo_cdc@yahoo.com Download เอกสารไดที่ http://thaigcd.ddc.moph.go.th/uploads/pdf/pat_3/Lepto_Volunteer_Ktest54-09-01.pdf
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
83
8. โรคติดตอที่ป>องกันไดดวยวัคซีน 1. ชื่อตัวชี้วัด 1 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม
ผลการประเมินมาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของหนวยบริการในระดับ อําเภอผานเกณฑ0ที่กําหนด ทุกหนวยบริการที่ประเมินผานเกณฑ5ที่กําหนดมากกวาหรือเทากับรอยละ 80 การประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ในระดับหนวยบริการผานเกณฑ5ที่ กรมควบคุมโรคกําหนด 1. หนวยบริการ คือ หนวยงานของรัฐที่ใหบริการวัคซีนตามแผนงาน สรางเสริมภูมิคุมกัน โรค ทั้งที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขและนอกกระทรวงสาธารณสุข เชน โรงพยาบาลศูนย5 โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน รพ.สต.และศูนย5บริการสาธารณสุขเทศบาล เปCนตน 2. มาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของหนวยบริการ คือ มาตรฐานฯ ที่ สํานักโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค จัดทําขึ้น ประกอบดวย การบริหารจัดการวัคซีนและ ระบบลูกโซความเย็น การใหบริการวัคซีน และ การบริหารจัดการขอมูล 3. การประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค คือ การตรวจสอบการปฏิบัติงาน โดยใชแบบประเมินการปฏิบัติงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคใน ระดับหนวยบริการ (โรงพยาบาล/โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล/ศูนย5สุขภาพชุมชน (PCU)/สถานีอนามัย) ของสํานักโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค สํานักงานป"องกันควบคุมโรค ประเมินมาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของ หนวยบริการในระดับอําเภอ โดยสุมหนวยบริการดังนี้ - กรณีที่อําเภอเขมแข็งเปCนอําเภอที่มีโรงพยาบาลศูนย5 หรือโรงพยาบาลทั่วไป ใหเลือก โรงพยาบาลศูนย5หรือโรงพยาบาลทั่วไป จํานวน 1 แหง และ สุมเลือกโรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบลในอําเภอนั้นอีก 2 ตําบล รวมเปCน 3 แหง - กรณีที่อําเภอเขมแข็งไมมีโรงพยาบาลศูนย5หรือโรงพยาบาลทั่วไป ใหเลือก โรงพยาบาลชุมชน จํานวน 1 แหง และสุมเลือกโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลในอําเภอ นั้นอีก 2 ตําบล รวมเปCน 3 แหง หนวยบริการที่ไดรับการสุมประเมิน
หนวยบริการของรัฐที่ใหบริการวัคซีนตามแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค หนวยบริการ คือ หนวยงานของรัฐที่ใหบริการวัคซีนตามแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ทั้งที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขและนอกกระทรวงสาธารณสุข เชน โรงพยาบาลศูนย5 โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน รพ.สต.และศูนย5บริการสาธารณสุขเทศบาล เปCนตน 4.3 วิธีรายงาน เหมือนขอ 3.3 4.4 แหลงขอมูล เหมือนขอ 3.4 5. การประมวลผลตัวชี้วัด คะแนนที่ไดจากการประเมินมาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของแตละ (สูตรการคํานวณ) หนวยบริการ (คิดเปCนรอยละเมื่อเทียบกับคะแนนรวมทั้งหมด) อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
84
6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผู ประสานงานตัวชี้วัด
- มีหนวยบริการที่ประเมินผานเกณฑ5ที่กําหนด < รอยละ 80 ได 0 คะแนน - ทุกหนวยบริการที่ประเมินผานเกณฑ5ที่กําหนด ≥ รอยละ 80 ได 3 คะแนน การผานเกณฑ0ประเมิน ตองไดคะแนนไมต่ํากวารอยละ 80 ของคะแนนรวม โดย - หนวยบริการภายในโรงพยาบาลศูนย5 หรือโรงพยาบาลทั่วไปหรือโรงพยาบาลชุมชน คะแนนรวม 104 คะแนน (ตองไดคะแนนไมนอยกวา 84 คะแนน) - หนวยบริการ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล คะแนนรวม 102 คะแนน (ตองได คะแนนไมนอยกวา 82 คะแนน) ชื่อ นายแพทย5 พรศักดิ์ อยูเจริญ ตําแหนง นายแพทย5ชํานาญการพิเศษ หัวหนากลุมโรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีนและ โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจในเด็ก หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3196 , 0 2590 3199 มือถือ 081 4276276 โทรสาร 0 2965 9152 E-mail yoocharoen@hotmail.com ชื่อ นางพอพิศ วรินทร5เสถียร ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน กลุมโรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีนและโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจ ในเด็ก สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3196 มือถือ 081 6478831 โทรสาร 0 2965 9152 E-mail porpit@health.moph.go.th ชื่อ นายเผด็จศักดิ์ ชอบธรรม ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีนและโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจ ในเด็ก สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3196 มือถือ 081 7020065 โทรสาร 0 2965 9152 E-mail ou056@yahoo.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
85
เอกสารแนบ
แบบประเมินการปฏิบตั ิงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในระดับหนวยบริการ (โรงพยาบาล / โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล/ ศูนย0สุขภาพชุมชน (PCU)) ------------------------------------------------สถานบริการ.....................................................อําเภอ..................................................จังหวัด........................................ โรงพยาบาลแมขาย ..................................................................................................................................................... ผูรับการประเมิน 1. ชื่อ............................................................ตําแหนง............................................โทรศัพท0............................................ 2. ชื่อ............................................................ตําแหนง............................................โทรศัพท0............................................ ผูประเมิน..............................................ตําแหนง............................................หนวยงาน........................................... วันที่ประเมิน............................................................. คําชี้แจง 1. สอบถามผูรับผิดชอบการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็น ผูใหบริการ และผูจัดทําทะเบียนรายงาน 2. บันทึกผลการตรวจสอบในชอง คะแนนที่ได 3. การคํานวณคะแนนถวงน้ําหนัก = คะแนนที่ได x น้ําหนักคะแนน 4. เนื้อหาประกอบดวย 3 ตอน ตอนที่ 1 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็น ตอนที่ 2 การใหบริการวัคซีน ตอนที่ 3 การบริหารจัดการขอมูล
เนื้อหา ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 แบบประเมินระดับสถานบริการ (ฉบับปรับปรุง วันที่ 23 มีนาคม 2555) ตอนที่ 3 รวมทั้งหมด
สรุปคะแนน หนวยบริการ รพ. /40 คะแนน /50 คะแนน /14 คะแนน /104 คะแนน
รพ.สต./PCU/ สอ. /40 คะแนน /50 คะแนน /12 คะแนน /102 คะแนน
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
86
ตอนที่ 1 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็น คะแนน น้ําหนัก คะแนน เกณฑ0ใหคะแนน ที่ได คะแนน ถวงน้ําหนัก - มีผูรับผิดชอบเปCนลายลักษณ5อักษร = 1 กําหนดผูรั บผิดชอบงานบริหารจัดการวัคซีนเปC น 1 - ไมมีผูรับผิดชอบ หรือ มีผูรับผิดชอบ ลายลักษณ5อักษร(ดูแบบมอบหมายงาน คําสั่ง หรือ แตไมเปCนลายลักษณ5อักษร = 0 หลักฐานอื่นประกอบ) - ผูรับผิดชอบผานการอบรม = 1 ผูรั บผิดชอบงานบริ หารจั ดการวั คซี นผานการอบรม 1 - ผูรับผิดชอบไมผานการอบรม = 0 เรื่ อ ง การบริ ห ารจั ด การวั ค ซี น และระบบลู ก โซ ความเย็น (ดูเอกสารประกอบการอบรม หรือหลักฐานอื่นๆ เชน หนังสือเชิญประชุม ประกาศนียบัตร เป_นตIน ) มีคูมือ/ตํารา ดังนี้ 1 - มีทั้ง 2 เลม = 1 - มีไมครบถวน / ไมมี = 0 คูมือการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ ความเย็น คูมือการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (หนังสือหรืออิเล็กทรอนิกสCไฟลCทสี่ ามารถเปcด ไดIภายใน 30 นาที) การจัดทําใบเบิกวัคซีน 4.1 ใชใบเบิก ว.3/1 ที่กรมควบคุมโรคกําหนดหรือ 1 - ใช = 1 แบบฟอร5มที่คลายคลึงกัน - ไมใช = 0 - กรอกครบทุกชอง ทั้ง 3 เดือน = 1 4.2 กรอกขอมูลในใบเบิก ว. 3/1 ครบถวนทุกชอง 1 - กรอกไมครบทุกชอง หรือตรวจสอบ (ตรวจสอบยIอนหลัง 3 เดือน) ไดไมครบ 3 เดือน = 0 4.3 ความสอดคลองของปริมาณการเบิกและการใช 1 - สอดคลองกัน = 1 วัคซีน โดยพิจารณาจากจํานวนเป>าหมายการ - ไมสอดคลองกัน = 0 เบิกวัคซีนใกลเคียงกับจํานวนผูรับบริการ (ดูใบเบิกยIอนหลัง 3 เดือน และใหIคะแนนใบเบิก เดือนลาสุด) 4.4 คํานวณจํานวนที่ขอเบิก และอัตราสูญเสียได 1 - คํานวณถูกตอง = 1 ถูกตอง (ดูใบเบิกในเดือนลาสุด) - คํานวณไมถูกตอง = 0 การจัดทําทะเบียนรับ-จายหรือ Stock card (ดูย$อนหลัง 3 เดือน ตรวจสอบวัคซีนทุกชนิด ) 5.1 แยกเปCนรายวัคซีน 1 - แยก = 1 - ไมแยก = 0 5.2 บันทึก เลขที่วัคซีน ทุกครั้งที่ รับ วัคซีน 1 - บันทึกทุกครั้ง = 1 - บันทึกบางครั้ง = 0 5.3 บันทึก วันหมดอายุ ทุกครั้งที่ รับ วัคซีน 1 - บันทึกทุกครั้ง = 1 - บันทึกบางครั้ง = 0 5.4 บันทึก เลขที่วัคซีน ทุกครั้งที่ จาย วัคซีน 1 - บันทึกทุกครั้ง = 1
รายการประเมิน
1. 2.
3.
4.
5.
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
87
รายการประเมิน
คะแนน น้ําหนัก คะแนน ที่ได คะแนน ถวงน้ําหนัก
5.5 บันทึก วันหมดอายุ ทุกครั้งที่ จาย วัคซีน
1
5.6 จายวัคซีนแบบ First Expire First Out (FEFO)
2
5.7 วัคซีนที่มีอยูในตูเย็นมี ยอดคงเหลือเป@น ปAจจุบัน (จํานวนวัคซีนในตูIเย็นตรงกันกับ ทะเบียนรับ-จาย) 5.8 ปริมาณวัคซีนในตูเย็นมี ไมเกิน 1 เดือน หลังวัน ใหบริการ (ดูอัตราการใชIเฉลี่ยยIอนหลัง 3 เดือน จากทะเบียนรับ-จาย หรือ Stock card) 5.9 ไมมีวัคซีนหรือตัวทําละลายที่หมดอายุในตูเย็น
1
เกณฑ0ใหคะแนน - บันทึกบางครั้ง = 0 - บันทึกทุกครั้ง = 1 - บันทึกบางครั้ง = 0 - ใช = 1 - ไมใช = 0 - เปCนป<จจุบันทุกชนิด = 1 - ไมเปCนป<จจุบันบางชนิด/ทุกชนิด = 0
2
- ปริมาณวัคซีนไมเกิน 1 เดือน ทุกชนิด = 1 - ปริมาณวัคซีนเกิน 1 เดือน = 0
1
- ใช = 1 - ไมใช = 0
6. ตูเย็นมีคุณสมบัติ ดังนี้ ตูเย็นที่มีฝาประตูทึบแสงขนาดความจุเหมาะสม ไดมาตรฐาน (ไมต่ํากวา 5 คิว) หรือ ในพื้นที่ พิเศษมีตูเย็นใชพลังงาน 3 ระบบ (ไฟฟ"า, แก¨ส, น้ํามันก¨าด) อุณหภูมิในตูเย็นอยูในระหวาง +2 ถึง +8 องศา เซลเซียส
2
- ใช = 1 - ไมใช = 0
7. กระติกวัคซีน มีคุณสมบัติครบถวน ดังนี้ มีความหนาของฉนวนไมต่ํากวา 30 มม. ปริมาตรความจุที่เก็บวัคซีน (Vaccine Storage Capacity) ไมต่ํากวา 1.7 ลิตร ไมมีรอยแตกทั้งดานในและดานนอก สะอาด ฝา กระติกป•ดล็อกไดสนิท สามารถบรรจุซองน้ําแข็ง ไดพอดีครบ 4 ดาน
1
- ไดมาตรฐาน = 1 - ไมไดมาตรฐาน = 0
8. Ice pack อยางนอย 4 อัน มีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ ขนาดพอดีกับกระติก บรรจุน้ําอยูในชองแชแข็ง สภาพพรอมใชงาน
1
- ไดมาตรฐาน = 1 - ไมไดมาตรฐาน = 0
1
- ใช= 1 - ไมใช = 0
9. การจัดเก็บวัคซีนในตูเย็นตามมาตรฐาน 9.1 เก็บวัคซีนแยกเปCนสัดสวนแตละชนิด
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
88
รายการประเมิน 9.2 มีป"ายแสดงชื่อของวัคซีนแตละชนิด 9.3 เก็บวัคซีนมีชองวางใหความเย็นไหลเวียนได ทั่วถึง 9.4 เก็บวัคซีนชนิดผงแหง (BCG, MMR, M) ไวใน กลองทึบแสง เชน กลองวัคซีน/กลองกระดาษ หรือซองยาสีชาทีป่ "องกันแสง
คะแนน น้ําหนัก คะแนน เกณฑ0ใหคะแนน ที่ได คะแนน ถวงน้ําหนัก 1 - ใช = 1 - ไมใช = 0 1 - ใช = 1 - ไมใช = 0 1 - ใช = 1 - ไมใช = 0
9.5 การจัดเรียงวัคซีนในแตละชัน้ ชองแชแข็ง ระบุ..........................................
1
- เก็บ OPV = 1 - ไมเก็บ OPV = 0
ถาดใตชองแชแข็ง ระบุ...............................
1
ชั้นที่ 1 ระบุ................................................. ....................................................................
1
- ไมเก็บวัคซีนในชั้นนี้ = 1 - เก็บวัคซีนในชัน้ นี้ = 0 - เก็บวัคซีนผงแหง (MMR, M, BCG) = 1 - เก็บวัคซีน DTP-HB, DTP, JE ชนิดน้ํา, dT , TT และ OPV = 0
ชั้นที่ 2 ระบุ............................................ ..............................................................
1
ชอง +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส (ไมรวมชองแชผัก)
ชั้นที่ 3 ระบุ............................................ ..............................................................
- เก็บวัคซีนทุกชนิดยกเวน OPV = 1 - เก็บ OPV = 0
ชั้นที่ 4 ระบุ............................................ .............................................................. 10. การดูแลรักษาตูเย็นเก็บวัคซีน 10.1 ในชองแชแข็งไมมีน้ําแข็งเกาะหนาเกิน 5 มม.
1
10.2 ใสขวดน้ําที่มฝี าป•ด (ปริมาณน้ําไมต่ํากวา 3 ใน 4 ของขวด) หรือ Cool Pack ไวใหเต็มในชอง แชผัก หรือ ฝาประตูตูเย็น เพื่อเก็บรักษา อุณหภูมิตูเย็น 10.3 ตั้งตูเย็นใหมีระยะหางจากฝาผนัง ทั้ง 3 ดาน
1
1
- ไมมี = 1 - มี = 0 - ถูกตอง = 1 - ไมถูกตอง = 0 - ถูกตอง = 1
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
89
รายการประเมิน ไมต่ํากวา 6 นิ้ว 10.4 ปลั๊กตูเย็น มีลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง ตอไปนี้ มี Breaker เฉพาะของตูเย็น หรือ
คะแนน น้ําหนัก คะแนน ที่ได คะแนน ถวงน้ําหนัก
1
เกณฑ0ใหคะแนน - ไมถูกตอง = 0 - ใช =1 - ไมใช = 0
ตูเย็นใชเตาเสียบชนิดเดี่ยว (ไมใชปลั๊ก ตอพวง) พันเทปกาวป•ดทับใหแนน หรือ ตูเย็นใชหลายเตาเสียบ (ไมใชปลั๊กตอพวง) ใหใชเทปกาวป•ดชองที่เหลือ 10.5 เทอร5โมมิเตอร5 อยางนอย 1 อัน อยูในชอง +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส 10.6 เทอร5โมมิเตอร5ไดรับการสอบเทียบ/เทียบเคียง อยางนอยปละ 1 ครั้ง 10.7 การบันทึกอุณหภูมิ เชา-เย็น ทุกวัน ไมเวน วันหยุดราชการ (ดูยIอนหลังอยางนIอย 3 เดือน) 11. การจัดทําแผนเตรียมความพรอมกรณีฉุกเฉินใน ระบบลูกโซความเย็น 12. การจัดทําผังควบคุมกํากับการปฏิบัติงานกรณีฉุกเฉิน ในระบบลูกโซความเย็น ติดไวในที่มองเห็นชัด
1 1 2 1 1
- ใช =1 - ไมใช = 0 - ใช =1 - ไมใช = 0 - ใช =1 - ไมใช = 0 - มี = 1 - ไมมี = 0 - มี = 1 - ไมมี = 0
ตอนที่ 1 _______________________________/ 40 คะแนน ขอสังเกตของผูประเมิน (เชน ระบุการปฏิบัติที่ไมถูกตอง ขอคําถาม ขอจํากัดหรือป<ญหาในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ป<ญหาของผู ประเมิน เปCนตน)..................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................................................
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
90
ตอนที่ 2 การใหบริการวัคซีน ก. ขอความรูในการใหวัคซีน 1. ทานมีวิธีการใหบริการวัคซีนเหลานี้อยางไร (ใน รพ. สอบถามหนวยที่ใหบริการวัคซีน ) หลังเป|ดขวด/ ผสมแลวให ขนาด อายุที่รับวัคซีน วิ ธ ก ี ารใหวั ค ซี น คะแนน ชนิดวัคซีน ใชภายในเวลากี่ชั่วโมง วั ค ซี น ตอโด€ ส (1 คะแนน) (1 คะแนน) (1 คะแนน) (ตามมาตรฐาน) (1 คะแนน) เด็กกอนวัยเรียน BCG HB DTP-HB OPV MMR (Jeryl-Lynn) DTP เด็กเล็ก (อายุ.....) ........... JE สายพันธุ5 เด็กโต (อายุ......) ........... Nakayama เด็กเล็ก (อายุ......) .......... JE สายพันธุ5 เด็กโต (อายุ......) ........... Beijing เด็กวัยเรียน MMR (Urabe) dT 2. ในกรณีที่หญิงมีครรภ5มาฝากครรภ5ที่สถานบริการของทาน หญิงรายนี้มีประวัติไดรับวัคซีนป"องกันบาดทะยักในอดีตมาแลว 1 ครั้ง ครั้งสุดทายเมื่อ 3 ปที่แลว ทานจะใหวัคซีน dT หรือไม อยางไร (ถูกตอง = 1, ไมถูกตอง = 0) ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... 3. ในกรณีที่หญิงมีครรภ5อายุ 25 ป ทองแรกมาฝากครรภ5 มีหลักฐานการไดรับวัคซีน DTP ครบ 5 ครั้ง และไดรับวัคซีน dT เมื่อ เรียนอยูชั้น ป.6 ทานจะใหวัคซีน dT หรือไม อยางไร (ถูกตอง = 1, ไมถูกตอง = 0) ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... 4. ในการใหบริการอนามัยโรงเรียนในเด็กชั้น ป.1 ด.ญ. โอ« เคยไดรับวัคซีน DTP มาแลว 1 ครั้ง ทานจะใหวัคซีน dT หรือไม อยางไร (ถูกตอง = 1, ไมถูกตอง = 0) ..................................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................................
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
91
ข. กระบวนการใหบริการ รายการประเมิน 5 การตรวจสอบผูรับวัคซีนในกลุมเด็กกอนวัยเรียน . แตละรายวาไดรับวัคซีนรวมขวด/รวม Lot no. ตรวจสอบไดทั้งรวม Lot no. และรวมขวด ทุกวัคซีน ตรวจสอบไดเฉพาะรวม Lot no.ทุกวัคซีน กรณีอื่นๆ (ใหIเลือกขIอใดขIอหนึ่ง) 6 ผูฉีดวัคซีนไดรับการอบรมวิธีการกูชีพเบื้องตนไม . เกิน 3 ป (ดูหลักฐานประกอบ) 7 มีอุปกรณ5การกูชีพเบื้องตนกรณีฉุกเฉินครบถวน . 1. Ambu bag สําหรับเด็ก และผูใหญ 2. Oxygen face mask สําหรับเด็ก และ ผูใหญ 3. Set IV fluid 4. Normal saline หรือ Ringer’s lactate 5. Adrenaline (กอนฉีดทุกครั้งตองไดรับ ความเห็นชอบจากแพทย5กอน) 6. Endotracheal tube (ทอชวยหายใจ) สําหรับเด็ก และผูใหญ อยางนอยควรมี เบอร5 3.5 และเบอร5 4 ไวสําหรับเด็ก 7. Laryngoscope สําหรับเด็กและผูใหญ 8 มีแผน/ผังชวยเหลือเบื้องตนแกผูรับวัคซีนกรณี . เกิด anaphylaxis หรือมีอาการภายหลังไดรับ วัคซีนที่รุนแรง 9 มีแผน/ผังกํากับการสงผูป‚วยไปรับการรักษาตอ . และสามารถสงตอผูป‚วยไดภายใน 15 นาทีหลัง เริ่มมีอาการ
คะแนน ที่ได
น้ําหนัก คะแนน 2
คะแนน ถวงน้ําหนัก
เกณฑ0การใหคะแนน - ตรวจสอบไดทัง้ รวม Lot no. และ รวมขวด ทุกวัคซีน = 1 - ตรวจสอบไดเฉพาะรวม Lot no. ทุกวัคซีน = 0.5 - กรณีอื่นๆ = 0
2
- ใช = 1 - ไมใช = 0
1
- มีครบทุกรายการ = 1 - มีครบตั้งแต รายการที่ 1- 5 = 0.5 - ไมครบถวน หรือ ไมมี = 0
1
- มี = 1 - ไมมี = 0
1
- มี = 1 - ไมมี = 0
คะแนนตอนที่ 2 ( ก.+ ข.) ______________________________ คะแนน (50 คะแนน)
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
92
ตอนที่ 3 การบริหารจัดการขอมูล รายการประเมิน 1. การบั น ทึ ก ขอมู ล การใหบริ ก ารวั ค ซี น เปC น รายบุ ค คลผานฐานขอมู ล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส0 ตามมาตรฐานของสํ า นั ก นโยบายและ ยุทธศาสตร0 ดังตอไปนี้ BCG ในเด็กแรกเกิด* HB ในเด็กแรกเกิด* DTP-HB, OPV, MMR, DTP และ JE ในเด็กกอนวัยเรียน
คะแนน น้ําหนัก คะแนน ที่ได คะแนน ถวงน้ําหนัก
1 1 1
เกณฑ0การใหคะแนน
- บันทึก = 1 - ไมบันทึก = 0 * ตรวจสอบเฉพาะสถานบริ ก ารที่ ทําคลอด และไมคิดคะแนนสําหรับ สถานบริการที่ไมมีการคลอด ** ตรวจสอบเฉพาะสถานบริการที่ให dT ในหญิงมีครรภ5
MMR, dT, OPV, BCG ในเด็ก ป. 1 dT ในเด็ก ป. 6 dT ในหญิงมีครรภ5** 2. การบันทึกชนิดของวัคซีนที่ใหตามรหัสวัคซีน (ตัวเลข 3 หลัก) ที่สํานักนโยบายและยุทธศาสตร5 กระทรวงสาธารณสุขกําหนด
1 1 1 2
3. การตรวจสอบความครบถวนถูกตองในการ บันทึกขอมูล (key in) การใหบริการวัคซีน (ในโรงพยาบาลสอบถามที่คลินกิ วัคซีนเด็ก กอนวัยเรียน) 4. การ print out ทะเบียนการใหวัคซีนในกลุม เด็กกอนวัยเรียน
1
- ตรวจสอบ = 1 - ไมตรวจสอบ = 0
1
5. การบันทึกขอมูลผูรับวัคซีนเปCนรายบุคคลผาน ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส0ตามมาตรฐานของ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร0ครบถวน ถูกตองตรงกับความเปCนจริง
2
- มี print out รายงานและเก็บไวเปCน หลักฐาน = 1 - สามารถ print out รายงานไดแตไมไดเก็บ ไวเปCนหลักฐาน = 0.5 - ไมสามารถ print out รายงานได= 0 - ครบถวนถูกตองทุกราย = 1 - ไมครบถวน / ไมถูกตอง = 0
- ถูกตอง = 1 - ไมถูกตอง = 0 (ระบุชื่อวัคซีนที่ไมถูกตอง....................)
(สุมกลุมเปiาหมายเด็กอายุตํา่ กวา 5 ป0ทั้งในและ นอกพื้นที่รับผิดชอบ จากแหลงขIอมูลที่นํามา key in จํานวน 5 ราย แลIวตรวจสอบ การ ไดIรับวัคซีนครั้งลาสุดของเด็กแตละราย วาไดI บันทึกขIอมูลในคอมพิวเตอรCอยางครบถIวน ถูกตIองหรือไม)
6. การจัดทําทะเบียนติดตามการไดรับวัคซีน
2
- มีบันทึกครบถวนตามเกณฑ5 จํานวน อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
93
คะแนน น้ําหนัก คะแนน ที่ได คะแนน ถวงน้ําหนัก
รายการประเมิน ของกลุมเป"าหมายครบถวนถูกตองและเปCน ป<จจุบนั (ให$เจ$าหน$าที่เลือกทะเบียนติดตามที่จัดทํา สมบูรณBที่สุด แลIวสุมเด็กที่อยูในพื้นที่ รับผิดชอบ จากทะเบียนดังกลาวจําแนกเป_น เด็กอายุครบ 1-2 ป0 2-3 ป0 3-4 ป0 และ 5-6 ป0 กลุมละ 3 คน รวม 12 คน แลIว ตรวจสอบเด็กแตละคนวา ไดIรบั วัคซีน ครบถIวนตามเกณฑCกําหนดหรือไม)
คะแนนตอนที่ 3
เกณฑ0การใหคะแนน
9-12 ราย = 1 - มีบันทึกครบถวนตามเกณฑ5 จํานวน 5 - 8 ราย = 0.5 - มีบันทึกครบถวนตามเกณฑ5 นอยกวา 5 ราย = 0 (กลุมอายุครบ 1-2 ปD นับจากวัน/เดือน/ป0 ที่ประเมิน ตรวจสอบเด็กที่เกิด วันที่...........เดือน................พ.ศ..............ถึงวันที่ ...........เดือน................พ.ศ.............. กลุมอายุครบ 2-3 ปD นับจากวัน/เดือน/ป0 ที่ประเมิน ตรวจสอบเด็กที่เกิด วันที่...........เดือน................พ.ศ..............ถึงวันที่ ...........เดือน................พ.ศ.............. กลุมอายุครบ 3-4 ปD นับจากวัน/เดือน/ป0 ที่ประเมิน ตรวจสอบเด็กที่เกิด วันที่...........เดือน................พ.ศ..............ถึงวันที่ ...........เดือน................พ.ศ.............. กลุมอายุครบ 5-6 ปD นับจากวัน/เดือน/ป0 ที่ประเมิน ตรวจสอบเด็กที่เกิด วันที่...........เดือน................พ.ศ..............ถึงวันที่ ...........เดือน................พ.ศ..............) หนวยบริการ รพ. ________คะแนน (14 คะแนน) รพ.สต./PCU/ สอ. ________คะแนน (12 คะแนน)
ขอสังเกตของผูประเมิน (เชน ระบุการปฏิบตั ิที่ไมถูกตอง ขอคําถาม ขอจํากัดหรือป<ญหาในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ป<ญหา ของผูประเมิน เปCนตน).................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
94
แบบ Check list ระดับสถานบริการ (ใชประกอบการประเมิน) ตารางที่ 1 วัคซีนที่มียอดคงเหลือในสมุด วัคซีน
จํานวน (กลอง/ขวด)
Lot/ Exp
Lot/ Exp
Lot/ Exp
หมายเหตุ
1. BCG 2. HB 3. DTP-HB 4. DTP 5. OPV 6. MMR Jeryl Lynn 7. MMR Urabe (ป.1) 8. JE 9. dT หญิงมีครรภ5 10. dT ป.1 11. dT ป.6 12. OPV ป.1 13. BCG ป.1 ตารางที่ 2 การจายวัคซีน (อัตราการใชโดยเฉลี่ย) วัคซีน
เดือนที่ 1…... จํานวน Lot/Exp (กลอง/ขวด)
เดือนที่ 2…... จํานวน Lot/Exp (กลอง/ขวด)
เดือนที่ 3…... จํานวน Lot/Exp (กลอง/ขวด)
1. BCG 2. HB 3. DTP-HB 4. DTP 5. OPV 6. MMR Jeryl Lynn 7. MMR Urabe (ป.1) 8. JE 9. dT หญิงมีครรภ5 10. dT ป.1 11. dT ป.6 12. OPV ป.1 13. BCG ป.1
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
เฉลี่ย
95
ตารางที่ 3 วัคซีนคงเหลือในตูเย็น วัคซีน
จํานวน (กลอง/ขวด)
Lot/ Exp
Lot/ Exp
Lot/ Exp
1. BCG 2. HB 3. DTP-HB 4. DTP 5. OPV 6. MMR Jeryl Lynn 7. MMR Urabe 8. JE 9. dT หญิงมีครรภ5 10. dT ป.1 11. dT ป.6 12. OPV ป.1 13. BCG ป.1
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
หมายเหตุ
96
1. ชื่อตัวชี้วัด 2
- ไมมีผูปYวยโปลิโอ - ไมมีผูปYวยคอตีบหรือมีผูปYวยลดลงตามเกณฑ0 - อัตราปYวยดวยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด ไมเกิน 1 : 1000 เด็กเกิดมีชีพ ผานเกณฑ5ทั้ง 3 โรค
2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล จํานวนผูป‚วยที่ป‚วยเปCนโรคโปลิโอ คอตีบ บาดทะยักในทารกแรกเกิด 3.2 นิยาม โรคโปลิโอ เปCนโรคที่มีความสําคัญมากโรคหนึ่ง ทั้งนี้เพราะเชื้อ ไวรัสโปลิโอ จะทําใหมีการอักเสบของไขสัน หลังทําใหมีอัมพาตของกลามเนื้อแขนขา ซึ่งในรายที่อาการรุนแรงจะทําใหมีความพิการตลอดชีวิต และบางราย อาจถึ งเสี ย ชีวิ ตได ในป<จ จุ บัน อุบั ติ การณ5ของโรคโปลิ โ อไดลดลงอยางมาก เปCน ผลจากการใหวั คซีน โปลิ โ อ ครอบคลุมไดในระดับสูง โรคคอตีบ เปCนโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ ซึ่งทําใหเกิดการอักเสบ มีแผนเยื่อเกิดขึ้นใน ลําคอ ในรายที่รุนแรงจะมีการตีบตันของทางเดินหายใจ จึงไดชื่อวาโรคคอตีบ ซึ่งอาจทําใหถึงตายได และจาก พิษ (exotoxin) ของเชื้อจะทําใหมีอันตรายตอกลามเนื้อหัวใจ และเสนประสาทสวนปลาย โรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด เปCนโรคติดเชื้อที่จัดอยูในกลุมของโรคทางประสาทและกลามเนื้อ เกิดจากเชื้อ แบคทีเรีย Clostridium tetani ซึ่งผลิต exotoxin ที่มีพิษตอเสนประสาทที่ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อ ทําใหมีการหดเกร็งตัวอยูตลอดเวลา เริ่มแรกกลามเนื้อขากรรไกรจะเกร็ง ทําใหอาปากไมได โรคนี้จึงมีชื่อเรียก อีกชื่อหนึ่งวา โรคขากรรไกรแข็ง (lockjaw) ผูป‚วยจะมีคอแข็ง หลังแข็ง ตอไปจะมีอาการเกร็งของกลามเนื้อทั่ว ตัว ทําใหมีอาการชักได กรณีบาดทะยักในทารกแรกเกิดมีอาการไมดูดนม คอแข็ง หลังแข็ง ชักเกร็ง เมื่อมี สิ่งมากระตุน รวมกับประวัติระหวางอายุ 2 วัน ตองรองและดูดนมไดปกติ และเริ่มปYวยเมื่ออายุได 3-28 วัน 3.3 วิธีรายงาน รายงานตามแบบเฝ"าระวังโรค รง. 506 , รง. 507 3.4 แหลงขอมูล สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล จํานวนเด็กเกิดมีชีพ 4.2 นิยาม จํานวนเด็กเกิดมีชีพ หมายถึง จํานวนเด็กทั้งหมดที่เกิดมาชีวิต (มีสัญญาณชีวิต) ของอําเภอในชวง 12 เดือน ที่ ผานมานับจากเดือนที่ประเมิน 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล ศูนย5ขอมูลของอําเภอ 5. การประมวลผล - จํานวนผูปYวยโรคโปลิโอ* และคอตีบ* ตัวชี้วัด - อัตราปYวยโรคบาดทะยักทารกแรกเกิด (สูตรการคํานวณ) = จํานวนทารกแรกเกิดที่ป‚วยเปCนโรคบาดทะยัก* 1,000 คน จํานวนเด็กเกิดมีชีพในอําเภอ (* ประเมินในชวง 12 เดือนที่ผานมานับจากเดือนที่ประเมิน เชน ประเมินเดือนพฤษภาคม 2556 ใหประเมิน จํานวนผูป‚วยในชวงเดือนพฤษภาคม ป 2555 ถึง เดือนเมษายน 2556) 6. เกณฑ5การให - ไมผานเกณฑ5 ทั้ง 3 โรค ได 0 คะแนน คะแนน - ผานเกณฑ5 ทั้ง 3 โรค ได 2 คะแนน ตามเกณฑ5ตอไปนี้ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
97
7. ผูรับผิดชอบ/ ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
ไมมีผูป‚วยโรคโปลิโอ อัตราป‚วยโรคบาดทะยักทารกแรกเกิดไมเกิน 1 : 1,000 เด็กเกิดมีชีพ ไมมีผูป‚วยโรคคอตีบ หรือ มีจํานวนผูป‚วยลดลงเทากับหรือมากกวา รอยละ 80 เมื่อเทียบกับระยะเวลาเดียวกันของปที่ผานมา เชน ประเมินเดือน พฤษภาคม 2556 ใหประเมินจํานวนผูป‚วยโรคคอตีบในชวงเดือนพฤษภาคมป 2555 ถึง เดือนเมษายน 2556 เทียบกับ จํานวนผูป‚วยโรคคอตีบในชวงเดือนพฤษภาคมป 2554 ถึง เดือนเมษายน 2555 วาลดลงตามเกณฑ5หรือไม ชื่อ นายแพทย5 พรศักดิ์ อยูเจริญ ตําแหนง นายแพทย5ชํานาญการพิเศษ หัวหนากลุมโรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีนและโรคติดเชื้อ เฉียบพลันของระบบหายใจในเด็ก หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3196 , 0 2590 3199 มือถือ 081 4276276 โทรสาร 0 2965 9152 E-mail yoocharoen@hotmail.com ชื่อ นางพอพิศ วรินทร5เสถียร ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน กลุมโรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีนและโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจในเด็ก สํานัก โรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3196 มือถือ 081 6478831 โทรสาร 0 2965 9152 E-mail porpit@health.moph.go.th ชื่อ นายเผด็จศักดิ์ ชอบธรรม ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีนและโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจในเด็ก สํานัก โรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3196 มือถือ 0817020065 โทรสาร 0 2965 9152 E-mail ou056@yahoo.com
9. โรคไขหวัดใหญ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
98
1. ชื่อตัวชี้วัด 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด(สูตรการคํานวณ)
6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
มีการดําเนินงานเฝ>าระวังป>องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ดานความรวมมือ พหุภาคีระดับอําเภอ มีการดําเนินงานตามเกณฑ5มาตรฐานทั้ง 2 ขอ การดําเนินงานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญดานความรวมมือพหุภาคี ระดับอําเภอ การเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ภาคการแพทย5และสาธารณสุข เกณฑ5มาตรฐานในการพิจารณาดังมีคุณสมบัติ 2 ขอ ตอไปนี้ 1. มีแผนปฏิบัติการบูรณาการป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ระดับอําเภอ 2. มีศูนย5ปฏิบัติการและคณะกรรมการอํานวยการป"องกันควบคุมโรคไขหวัด ใหญ ระดับอําเภอ (รายละเอียดตามเอกสารแนบ) พหุภาคี หมายถึง หนวยงานที่อยูนอกสังกัด สสจ. ตั้งแต 2 หนวยงานขึ้นไป พิจารณาจากหลักฐาน และ เอกสารการดําเนินงาน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ ทั่วประเทศ หนวยงานสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ไดแก สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ ทั่วประเทศ พิจารณาจากหลักฐาน และ เอกสารการดําเนินงาน 1. แผนการปฏิบัติการบูรณาการป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญระดับอําเภอ 2. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการ ฯ 3. รายงานการประชุมของศูนย5ปฏิบัติการ ฯ มีการดําเนินงานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ดานความรวมมือพหุ ภาคี ระดับอําเภอ - ไมมีการดําเนินงาน ได 0 คะแนน - มีการดําเนินงาน 1 ขอ โดยเปCนขอใดขอหนึ่ง ได 1 คะแนน - มีการดําเนินงานครบทั้ง 2 ขอ ได 3 คะแนน 1. นางวีณา ภักดีสิริวิชัย (ผูรับผิดชอบตัวชี้วัด) ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ สํานักโรคติดตออุบัติใหม โทร. 02-5903159 มือถือ 081-8235943 โทรสาร 02-5903238 E-mail: bhakdi2005@yahoo.com 2. นางมนัญญา ประเสริฐสุข (ผูประสานงานตัวชี้วัด) ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สํานักโรคติดตออุบัติใหม โทร. 02-590-3238 โทรสาร 02-590-3238 E-mail: mananya_T@hotmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
99
เอกสารแนบ 1 : คําอธิบายการใหคะแนนตามเกณฑ0มาตรฐานระบบการดําเนินการเฝ>าระวัง ป>องกันควบคุมไขหวัดใหญของ อําเภอ ดานความรวมมือพหุภาคี ระดับอําเภอ เกณฑ0ประเมินมาตรฐาน คะแนนยอย เงื่อนไข 1. มีแผนปฏิบัติการบูรณาการ ไมไดคะแนน - มีแผนปฏิบัติการ โดยไมมีหนวยงานหลักที่เกี่ยวของรวมดําเนินการ ป"องกันควบคุมโรคไขหวัด ไดคะแนน - มีแผนปฏิบัติการบูรณาการ ที่มีหนวยงานหลักที่เกี่ยวของรวมดําเนินการ ใหญระดับอําเภอ เชน โรงพยาบาล หรือ องค5กรปกครองสวนทองถิ่น อาสาสมัครสาธารณสุข เปCนตน 2. มีศูนย5ปฏิบัติการและคําสั่ง ไมไดคะแนน - มีศูนย5ปฏิบัติการหรือคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการป"องกัน แตงตั้งคณะกรรมกรรมการ ควบคุมโรคไขหวัดใหญ ระดับอําเภออยางใดอยางหนึ่ง อํานวยการป"องกันควบคุม ไดคะแนน - มีศูนย5ปฏิบัติการและคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการป"องกันควบคุมโรค โรคไขหวัดใหญ ระดับ ไขหวัดใหญ ระดับอําเภอ อําเภอ
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
100
1. ชื่อตัวชี้วัด 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
มีการดําเนินงานเฝ>าระวังป>องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ดานการแพทย0 และสาธารณสุข มีการดําเนินงานตามเกณฑ5มาตรฐานทั้ง 2 ขอ การดําเนินงานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ดานการแพทย5และ สาธารณสุข การเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ดานการแพทย5และสาธารณสุข เกณฑ5มาตรฐานในการพิจารณา ดังมีคุณสมบัติทั้ง 2 ขอ ตอไปนี้ 1. โรงพยาบาล มีระบบการเฝ"าระวังผูป‚วยอาการคลายไขหวัดใหญ 2. โรงพยาบาล มีแนวทางปฏิบัติการ เรื่อง การเฝ"าระวังและการดูแล รักษาโรคไขหวัดใหญ (รายละเอียดตามเอกสารแนบ) พิจารณาจากหลักฐาน และ เอกสารการดําเนินงาน โรงพยาบาลศูนย0 / โรงพยาบาลทั่วไป / โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลศูนย0 / โรงพยาบาลทั่วไป / โรงพยาบาลชุมชนทั่วประเทศ หนวยงานสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ไดแก โรงพยาบาลศูนย0 / โรงพยาบาลทั่วไป / โรงพยาบาลชุมชนทั่วประเทศ พิจารณาจากหลักฐาน และ เอกสารการดําเนินงาน 1. รายงานการเฝ"าระวังผูป‚วยที่มีอาการคลายโรคไขหวัดใหญ 2. แนวทางปฏิบัติการเฝ"าระวังและการดูแลรักษาในโรงพยาบาล ที่เปCน ลายลักษณ5อักษร หรือ สามารถตรวจสอบได รอยละของสัปดาห5ที่มีการสงรายงานผูป‚วยที่มีอาการคลายโรคไขหวัดใหญ สม่ําเสมอ (รายละเอียดตามเอกสารแนบ) มีการดําเนินงานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคไขหวัดใหญ ดานการแพทย5และ สาธารณสุข - ไมมีการดําเนินงาน ได 0 คะแนน - มีการดําเนินงาน 1 ขอ โดยเปCนขอใดขอหนึ่ง ได 1 คะแนน - มีการดําเนินงานครบทั้ง 2 ขอ ได 2 คะแนน 1. นางวีณา ภักดีสิริวิชัย (ผูรับผิดชอบตัวชี้วัด) ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคติดตออุบัติใหม กรมควบคุมโรค โทร. 02-5903159 มือถือ 081-8235943 โทรสาร 02-5903238 E-mail : bhakdi2005@yahoo.com 2. นางมนัญญา ประเสริฐสุข (ผูประสานงานตัวชี้วัด) ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สํานักโรคติดตออุบัติใหม โทร. 02-590-3238 E-mail : mananya_T@hotmail.com อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
101
เอกสารแนบ 2 คําอธิบายการใหคะแนนตามเกณฑ0มาตรฐานระบบการดําเนินการเฝ>าระวัง ป>องกันควบคุมไขหวัดใหญของอําเภอ ดาน การแพทย0และสาธารณสุข เกณฑ0ประเมินมาตรฐาน คะแนนยอย เงื่อนไข 1. โรงพยาบาลมีระบบการเฝ"า ไมไดคะแนน - มีระบบการเฝ"าระวังผูป‚วยอาการคลายไขหวัดใหญคือรอยละของสัปดาห5 ระวังผูป‚วยอาการคลาย ที่มีการสงรายงานผูป‚วยที่มีอาการคลายไขหวัดใหญสม่ําเสมอนอยกวา 80 ไขหวัดใหญที่เขมแข็ง ไดคะแนน - มีระบบการเฝ"าระวังผูป‚วยอาการคลายไขหวัดใหญคือรอยละของสัปดาห5 ที่มีการสงรายงานผูป‚วยที่มีอาการคลายไขหวัดใหญสม่ําเสมอ เทากับหรือ มากกวา 80 สูตรการคํานวณ : รอยละของสัปดาห5ที่มีการสงรายงานผูป‚วยที่มีอาการ คลายไขหวัดใหญสม่ําเสมอ = จํานวนสัปดาห5ที่มีการสงรายงาน ผูป‚วยที่มีอาการคลายโรคไขหวัดใหญ x 100 จํานวนสัปดาห5 ณ เวลาประเมิน 2. โรงพยาบาลมีแนวทาง ปฏิบัติการเฝ"าระวัง และ การดูแลรักษาโรคไขหวัด ใหญ
(สัปดาห5 ณ เวลาการประเมิน ใชเวลานับยอนหลัง 1 ป เชนเดียวกับแนวทางการ ประเมินในองค5ประกอบที่ 2 มีระบบระบาดวิทยาในระดับอําเภอที่ดี) ไมไดคะแนน - มีแนวทางปฏิบัติการเฝ"าระวัง และการดูแลรักษาในโรงพยาบาลไมครบถวนตาม รายการยอย ไดคะแนน - มีแนวทางปฏิบัติการเฝ"าระวังและการดูแลรักษาในโรงพยาบาลครบถวน เปCนลาย ลักษณ5อักษร หรือ สามารถตรวจสอบได คือ 1) การคัดกรองผูป‚วย 2) การสงตอผูป‚วย 3) การจัดสถานที่แยกผูป‚วย 4) การ สํารองเวชภัณฑ5 วัสดุ อุปกรณ5ที่จําเปCนตามเกณฑ5ขั้นต่ํา 5) การป"องกันการติดเชื้อ ของบุคลากร เปCนตน หมายเหตุ : การสํารองเวชภัณฑ5 วัสดุ อุปกรณ5ที่จําเปCนตามเกณฑ5ขนั้ ต่ํา ของกระทรวงสาธารณสุขใน รพศ./รพท./รพช ตามรายการดังนี้ รพท. รพช. ที่ รายการ รพศ. (จํานวน) (จํานวน) (จํานวน) 1,000 1,000 200 1 ยาตานไวรัส 75 mg (แค็ปซูล) 500 500 100 2 ยาตานไวรัส 45 mg (แค็ปซูล) 500 500 100 3 ยาตานไวรัส 30 mg (แค็ปซูล) 100 100 30 4 หนากาก N 95 100 100 30 5 แวนครอบตา 500 500 200 6 ลวดเก็บตัวอยาง หรือ Throat swab หรือ มีทงั้ สองอยาง 50 50 5 7 เสื้อกาวน5กันน้ําชนิดนํากลับมา ใชใหมได (สําหรับบุคลากรทาง การแพทย5)
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
102
10. โรคเรื้อน ๑. ชื่อตัวชี้วัดที่๑ ๒. เกณฑ5
๓. ผลงาน ๓.๑ รายการขอมูล ๓.๒ นิยาม
๓.๓ วิธีรายงาน ๓.๔ แหลงขอมูล
ความครอบคลุมของกิจกรรมการคนหาผูปYวยโรคเรื้อนรายใหมตามมาตรฐาน ขั้นตอนการดําเนินงานตามกิจกรรมหลักของการคนหาผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหม ครบ ๕ ขั้นตอน ไดแก ขั้นตอนที่๑ : มีผูรับผิดชอบงานทีช่ ัดเจน ขั้นตอนที่๒ : มีการวิเคราะห5สถานการณ5โรคเรื้อนระดับอําเภอ อยางถูกตองตามขอบงชี้ทาง ระบาดวิทยาโรคเรื้อน ขั้นตอนที่๓ : มีแผนการดําเนินงานการคนหาผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหมที่สอดคลองกับสภาพป<ญหา ขั้นตอนที่๔ : มีงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานควบคุมโรคเรื้อน ขั้นตอนที่๕ : มีการดําเนินงานตามแผนที่กําหนดไวอยางนอยรอยละ ๗๐ ผูปYวยโรคเรื้อนรายใหม หมายถึง ผูป‚วยโรคเรื้อนทีไ่ มเคยไดรับการขึน้ ทะเบียนรักษา ดวยยา รักษาโรคเรื้อน (Multi Drug Therapy: MDT) มากอน การคนหาผูปYวยโรคเรื้อนรายใหมตามมาตรฐาน หมายถึง กิจกรรมการคนหาผูป‚วยโรคเรื้อน รายใหมสอดคลองกับขอบงชี้ทางระบาดวิทยา พื้นที่อําเภอ ที่มีขอบงชี้ทางระบาดวิทยาโรคเรื้อนขอใดขอหนึง่ ดังตอไปนี้ ๑.พบผูป‚วยใหมทุกป ติดตอกันในรอบ ๕ ป (ขอมูลป ๒๕๕๑ – ๒๕๕๕) ๒.พบผูป‚วยใหมที่เปCนเด็ก ปใดปหนึ่ง ในรอบ ๕ ป (ขอมูลป ๒๕๕๑ – ๒๕๕๕) ๓.พบผูป‚วยใหมปใดปหนึง่ ในรอบ ๕ ป โดยผูป‚วยใหมที่พบมียอดรวมตั้งแต ๑๐ คนขึ้นไป (ขอมูลป ๒๕๕๑ – ๒๕๕๕) มีกิจกรรมการคนพบผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหม ดังนี้ ๑.สํารวจหมูบานแบบเร็วในหมูบานที่พบผูป‚วยใหมเปCนเด็ก ๒.มีการเผยแพรประชาสัมพันธ5ความรูโรคเรื้อนในรูปแบบตางๆ ๓. ตรวจรางกายผูสัมผัสโรครวมบาน (Household contact) อยางนอยรอยละ ๘๐ พื้นที่อําเภอที่ไมมีขอบงชี้ทางระบาดวิทยาโรคเรื้อนดังกลาวขางตน มีกิจกรรมการคนพบผูป‚วย โรคเรื้อนรายใหมดังนี้ ๑.มีการเผยแพรประชาสัมพันธ5ความรูโรคเรื้อนในรูปแบบตางๆ ๒.ตรวจรางกายผูสัมผัสโรครวมบาน (Household contact) อยางนอยรอยละ ๘๐ แบบรายงานกิจกรรมการคนหาผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหม ๑.คําสั่งแตงตั้งผูรับผิดชอบงาน ๒.ขอมูลสถานการณ5โรคเรื้อนและการวิเคราะห5สถานการณ5โรค ๓.แผนงาน/โครงการ ดําเนินกิจกรรม ๔.รายงานสรุปผลการดําเนินงาน ๕. บัตรบันทึกผูป‚วยโรคเรื้อน รบ.๑ ต.๑๐ (นฮ.๓)/ทะเบียนผูป‚วย PB/MB /แบบรายงานผูป‚วย โรคเรื้อนรายใหมและเพิ่มเขามาในทะเบียนรักษา
๔. กลุมเป"าหมาย ๔.๑ รายการขอมูล ๔.๒ นิยาม ๔.๓ วิธีรายงาน อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
103
๔.๔ แหลงขอมูล ๕. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
๖. เกณฑ5การใหคะแนน
๗. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวชี้วัด
๑. ชื่อตัวชี้วัดที่๒ ๒. เกณฑ5 ๓. ผลงาน ๓.๑ รายการขอมูล ๓.๒ นิยาม
ขั้นตอน ที่ตองดําเนินการครบ ๕ ขั้นตอน ดังนี้ ๑.คําสั่งแตงตั้งผูรับผิดชอบงานและรายงานการประชุม ๒.ขอมูลสถานการณ5โรคเรื้อนและการวิเคราะห5สถานการณ5โรค ๓.แผนงาน/โครงการ ดําเนินกิจกรรมการคนหาผูป‚วยโรคเรื้อน ๔.มีงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานควบคุมโรคเรื้อน ๕. มีการดําเนินงานตามแผนที่กําหนดไวอยางนอยรอยละ ๗๐ ความครอบคลุมในการคนหาผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหมตามกิจกรรมหลักที่เปCนมาตรฐาน - ไมมีการดําเนินงานหรือดําเนินงานได ๑-๒ ขั้นตอน ได ๐ คะแนน - มีการดําเนินงานได ๓-๔ ขั้นตอน ได ๒ คะแนน - มีการดําเนินงานไดครบทัง้ ๕ ขั้นตอน ได ๓ คะแนน ผูรับผิดชอบ: ๑. พญ.บุษบัน เชื้ออินทร5 ตําแหนง หัวหนากลุมกําจัดโรคเรื้อน หนวยงาน: สถาบันราชประชาสมาสัย โทรศัพท5 ๐๒๕๙๐๓๓๓๐ Email: boosbun@gmail.com ๒. นางสาววิจิตรา ธารีสุวรรณ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน: สถาบันราชประชาสมาสัย โทรศัพท5 ๐๒๕๙๐๓๓๓๐ Email: ta_vita@hotmail.com ๓. ดร. กฤศน5วัต สมหวัง ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน: สถาบันราชประชาสมาสัย โทรศัพท5 ๐๒๕๙๐๓๓๓๐ Email: tonywang2504@hotmail.com ผูรับผิดชอบและผูประสานงานตัวชี้วัด: ๔. นางสาววีณา พริ้มแกว ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน: สถาบันราชประชาสมาสัย โทรศัพท5 ๐๒๕๙๐๓๓๓๐ Email: primkaew@yahoo.com
อัตราความพิการระดับ ๒ ในผูปYวยโรคเรื้อนรายใหมตอแสนประชากร ในป. พ.ศ. ๒๕๕๕ ของ อําเภอลดลงมากกวาหรือเทากับรอยละ๕๐ เมื่อเทียบกับป. พ.ศ. ๒๕๕๐ ลดลง > รอยละ ๕๐ เมื่อเทียบกับ ป พ.ศ. ๒๕๕๐ จํานวนผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหมที่มคี วามพิการระดับ ๒ ในป ๒๕๕๕ ๑.ผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหม หมายถึง ผูป‚วยโรคเรื้อนที่ไมเคยไดรับการขึ้นทะเบียนรักษา ดวยยา รักษาโรคเรื้อน (Multi Drug Therapy: MDT) มากอน ๒. ความพิการระดับ ๒ หมายถึง ผูป‚วยโรคเรื้อนที่มคี วามพิการทีม่ องเห็นไดของอวัยวะ ตา มือ เทา ดังตอไปนี้ ๒.๑ ตา : หลับไมสนิทหรือ มานตาอักเสบ หรือกระจกตาเปCนฝ"าขุน สายตามัวมาก (นับนิ้วมือไมถูกทีร่ ะยะ ๖ เมตร หรือวัดสายตาไดนอยกวา ๖/๖๐) ๒.๒ มือ : รูปรางผิดปกติ หรือมีแผลหรือนิ้วมืองอ ขอติดแข็งหรือขอมือตก ๒.๓ เทา : รูปรางผิดปกติ หรือ มีแผลหรือนิ้วเทางอ ขอติดแข็งหรือขอเทาตก อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
104
๓.๓ วิธีรายงาน ๓.๔ แหลงขอมูล ๔. กลุมเป"าหมาย ๔.๑ รายการขอมูล ๔.๒ นิยาม ๔.๓ วิธีรายงาน ๔.๔ แหลงขอมูล ๕. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
๖. เกณฑ5การใหคะแนน
๗. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวชี้วัด
รายงานประจําเดือน ๑.บัตรบันทึกผูป‚วยโรคเรื้อน รบ.๑ ต.๑๐ (นฮ.๓) ๒.แบบรายงานผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหมและเพิ่มเขามาในทะเบียนรักษา ๓. ทะเบียนผูป‚วย PB/MB จํานวนประชากร ปลายปของอําเภอ จํานวนประชากร ปลายป หมายถึง จํานวนประชากรของอําเภอที่มีผูป‚วยใหมโรคเรื้อนรายใหม ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ของปที่นํามาคํานวณ รายงานขอมูลประจําป กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย หรือ เวปไซด5 www.dopa.go.th ๕.๑ อัตราความพิการระดับ 2 ในผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหม ตอ แสนประชากรของอําเภอป พ.ศ.๒๕๕๐ = จํานวนผูป‚วยใหมที่มีความพิการระดับ ๒ ในป ๒๕๕๐ ของอําเภอ x ๑๐๐,๐๐๐ = A จํานวนประชากร ปลายป พ.ศ.๒๕๕๐ ของอําเภอ ๕.๒ อัตราความพิการระดับ ๒ ในผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหม ตอ แสนประชากรของอําเภอ ป พ.ศ. ๒๕๕๕ = จํานวนผูป‚วยใหมที่มีความพิการระดับ ๒ ในป พ.ศ. ๒๕๕๕ ของอําเภอ x ๑๐๐,๐๐๐ = B จํานวนประชากรปลายป พ.ศ.๒๕๕๕ ของอําเภอ ๕.๓อัตราความพิการระดับ ๒ ในผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหม ตอ แสนประชากรของอําเภอลดลง = ๑๐๐ – [ B/A ๑๐๐] % อัตราความพิการระดับ ๒ ในผูป‚วยโรคเรื้อนรายใหมตอ แสนประชากรของอําเภอ ลดลง - <รอยละ ๓๕.๐ ได ๐ คะแนน - รอยละ ๓๕.๐-๔๙.๙ ได ๑.๕ คะแนน - รอยละ๕๐ ได ๒ คะแนน ผูรับผิดชอบ: ๑. พญ.บุษบัน เชื้ออินทร5 ตําแหนง หัวหนากลุมกําจัดโรคเรื้อน หนวยงาน: สถาบันราชประชาสมาสัย โทรศัพท5 ๐๒๕๙๐๓๓๓๐ Email: boosbun@gmail.com ๒. นางสาววิจิตรา ธารีสุวรรณ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน: สถาบันราชประชาสมาสัย โทรศัพท5 ๐๒๕๙๐๓๓๓๐ Email: ta_vita@hotmail.com ๓. ดร. กฤศน5วัต สมหวัง ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน: สถาบันราชประชาสมาสัย โทรศัพท5 ๐๒๕๙๐๓๓๓๐ Email: tonywang2504@hotmail.com ผูรับผิดชอบและผูประสานงานตัวชี้วัด: ๔. นางสาววีณา พริ้มแกว ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน: สถาบันราชประชาสมาสัย โทรศัพท5 ๐๒๕๙๐๓๓๓๐ Email: primkaew@yahoo.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
105
11. การป>องกันเด็กจมน้ํา 1. ชื่อตัวชี้วัด 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล
มีการดําเนินงานป>องกันเด็กจมน้าํ ไดตามที่กาํ หนด มีการดําเนินการป"องกันเด็กจมน้ํา 4 ขอ ในอําเภอมีตําบลอยางนอย 1 แหงดําเนินงานป"องกันเด็กจมน้ํา การดําเนินงานป"องกันเด็กจมน้ํา หมายถึง ในตําบลมีการดําเนินงาน ป"องกันเด็กจมน้ําในเรื่อง 1. มีการวิเคราะห5สถานการณ5/ป<จจัยเสี่ยงของการจมน้ําของเด็กในพื้นที่ 2. มีแผนงาน/โครงการในการดําเนินงานเฝ"าระวัง ป"องกัน การจมน้ําของเด็ก ในพื้นที่ พรอมทั้งมีงบประมาณและผูรับผิดชอบที่ชัดเจน 3. มีการสํารวจความสามารถในการวายน้ําเปCนของเด็กในพื้นที่ 4. มีการจัดใหเด็กอายุ 6-14 ปไดเรียนหลักสูตรวายน้ําเพื่อเอาชีวิตรอด ผูจัดเก็บขอมูลระดับอําเภอ: สสอ. ผูรายงาน: รพ.สต. รพช. ผูจัดเก็บขอมูลระดับจังหวัด: สสจ. ผูรายงาน: สสอ. รพศ./รพท. ผูจัดเก็บขอมูลระดับเขต: สคร. ผูรายงาน: สสจ. สสอ. รพ.สต. รพช. รพศ./รพท. อําเภอเป"าหมาย
1. ผลการวิเคราะห5สถานการณ5/ป<จจัยเสี่ยงของการจมน้ําของเด็กในพื้นที่ 2. แผนงาน/โครงการในการดําเนินงานเฝ"าระวัง ป"องกัน การจมน้ําของเด็ก ในพื้นที่ พรอมทั้งมีงบประมาณและผูรับผิดชอบที่ชัดเจน 3. ผลการสํารวจความสามารถในการวายน้ําเปCนของเด็กในพื้นที่ 4. หลักฐานภาพถายที่แสดงใหเห็นวามีการจัดใหเด็กอายุ 6-14 ปไดเรียน หลักสูตรวายน้ําเพื่อเอาชีวิตรอด
5. การประมวลผลตัวชี้วัด(สูตรการคํานวณ)
6. เกณฑ0การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ ผูประสานงานตัวชี้วัด
- มีการดําเนินการ 1 ขอ ได 1 คะแนน - มีการดําเนินการ 2 ขอ ได 2 คะแนน - มีการดําเนินการ 3 ขอ ได 3 คะแนน - มีการดําเนินการ 4 ขอ ได 4 คะแนน ชื่อ นางสุชาดา เกิดมงคลการ/นางสาวสม เอกเฉลิมเกียรติ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สํานักโรคไมติดตอ โทร. 0 2951 0402, 0 2590 3967 มือถือ 0 89218 8159 โทรสาร 02590 3968 E-mail jew_suchada@hotmail.com,om_atat@yahoo.com อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
106
1. ชื่อตัวชี้วัด 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
มีเด็กอายุต่ํากวา 15 ป.จมน้ําเสียชีวิตนอยกวาหรือเทากับรอยละ 50 ของ ป.ที่ผานมาหรือไมมีเด็กอายุต่ํากวา 15 ป.จมน้ําเสียชีวิต ในอําเภอมีจํานวนเด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิตนอยกวาหรือเทากับ รอยละ 50 ของปที่ผานมาหรือไมมีเด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิต จํานวนเด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิต จมน้ําเสียชีวิตนอยกวาหรือเทากับรอยละ 50 ของปที่ผานมา หมายถึง ในปที่ ประเมินมีจํานวนเด็กอายุต่ํากวา 15 ป จมน้ําเสียชีวิตนอยกวาหรือเทากับ รอยละ 50 เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผาน ไมมีเด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิต หมายถึง ในปที่ประเมินไมมีจํานวน เด็กอายุต่ํากวา 15 ป จมน้ําเสียชีวิตเลยแมแตรายเดียว ผูจัดเก็บขอมูลระดับอําเภอ: สสอ. ผูรายงาน: รพ.สต. รพช. ผูจัดเก็บขอมูลระดับจังหวัด: สสจ. ผูรายงาน: สสอ. รพศ./รพท. ผูจัดเก็บขอมูลระดับเขต: สคร. ผูรายงาน: สสจ. สสอ. รพ.สต. รพช. รพศ./รพท. เด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิต เด็กอายุต่ํากวา 15 ป หมายถึง เด็กแรกเกิดถึงเด็กที่มีอายุต่ํากวา 15 ป การเสียชีวิตจากการจมน้ํา หมายถึง การจมน้ําที่เกิดจากอุบัติเหตุ ยกเวนที่ เกิดจากการใชยานพาหนะ หรือการเดินทางทางน้ํา และภัยพิบัติ รายงานการเสียชีวิตจากมรณบัตรในพื้นที่นั้นๆ (A-B) x 100/B A = จํานวนการเสียชีวิตจากการจมน้ําของเด็กอายุต่ํากวา 15 ปในปพ.ศ. 2556 B = จํานวนการเสียชีวิตจากการจมน้ําของเด็กอายุต่ํากวา 15 ปในปพ.ศ. 2555 การประมวลผล: ผลลัพธ5ที่ไดเปCน + หมายถึง รอยละที่เพิ่มขึ้น ผลลัพธ5ที่ไดเปCน - หมายถึง รอยละที่ลดลง หมายเหตุ กรณีที่ผูประเมินเขาประเมิน ยังไมถึงเดือนธันวาคม เชน เขา ประเมินเดือนกรกฎาคม ใหใชจํานวนการเสียชีวิตของป 2555 ตั้งแตเดือน มกราคม-มิถุนายน เทียบกับจํานวนการเสียชีวิตของชวงเวลาเดียวกันกับป 2554
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
107
6. เกณฑ0การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
-ในอําเภอมีเด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิตมากกวารอยละ 50 ของปที่ ผานมา ได 0 คะแนน -ในอําเภอมีเด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิต ≤ รอยละ 50 ของปที่ผานมา หรือไมมีเด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิตได 1 คะแนน ชื่อ นางสุชาดา เกิดมงคลการ/นางสาวสม เอกเฉลิมเกียรติ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สํานักโรคไมติดตอ โทร. 0 2951 0402, 0 2590 3967 มือถือ 0 89218 8159 โทรสาร 0 2590 3968 E-mail jew_suchada@hotmail.com , som_atat@yahoo.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
108
12. การควบคุมการบริโภคยาสูบ 1.ตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ5
3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
มีการดําเนินการเฝ>าระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมยาสูบ โดยความรวมมือกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของในพื้นที่ • มีการดําเนินการเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมยาสูบ โดยความรวมมือกับ หนวยงานที่เกีย่ วของในพื้นที่ ดังนี้ 2. มีกระบวนการหรือสถานที่รับแจงการกระทําละเมิดกฎหมาย ไดแก การมีชองทางรับ เรื่องรองเรียน เชนโทรศัพท5 โทรสาร กลองรับเรื่องรองเรียน มีเจาหนาที่รับเรื่องรองเรียน เบอร5 สายดวน หรือเว็บไซต5รับเรื่องรองเรียน เปCนตน 2. มีแผนปฏิบัติการเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมยาสูบ โดยความรวมมือกับ หนวยงานที่เกีย่ วของในพื้นที่ 3. มีการดําเนินการเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมยาสูบ โดยความรวมมือกับ หนวยงานที่เกีย่ วของในพื้นที่ 4. มีการรายงานผลการดําเนินงานเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมาย - มีรายงานแสดงใหเห็นวามีการแจงการกระทําละเมิดกฎหมายในพืน้ ที่รับผิดชอบ - มีแผนและรายงานผลการดําเนินงานเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมายในพื้นที่รับผิดชอบ การเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมยาสูบ หมายถึง การดําเนินงานเฝ"าระวัง ตรวจเตือน ตรวจสอบ และดําเนินการกับผูละเมิดกฎหมายควบคุมยาสูบทั้งสองฉบับ ไดแก พระราชบัญญัติ คุมครองสุขภาพของผูไมสูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ5ยาสูบ พ.ศ. 2535 โดยความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่รับผิดชอบ เชน ตํารวจ สรรพสามิต และภาคีเครือขาย เปCนตน (สามารถDownload“คูมือพนักงานเจาหนาที่”ไดจากเว็บไซต5ของ สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ :www.thaiantitobacco.com) การกระทําที่ละเมิดกฎหมาย - พระราชบัญญัติคุมครองสุขภาพของผูไมสูบบุหรี่ พ.ศ.2535 เชน หามมิใหผูใดสูบบุหรี่ในเขต ปลอดบุหรี่การไมจัดสถานที่สาธารณะและสถานที่ที่ทํางานใหเปCนเขตปลอดบุหรี่หรือเขตสูบ บุหรี่ตามที่กฎหมายกําหนด เปCนตน - พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ5ยาสูบ พ.ศ. 2535 เชน รานคาไมจําหนายบุหรีใ่ หเด็กอายุต่ํา กวา 18 ป การจําหนายผลิตภัณฑ5ยาสูบที่ฉลากภาพคําเตือนบนซองบุหรี่ซิกาแรต และหอยาเสน ไมถูกตอง เปCนตน สรุปรายงานการดําเนินงานทุก 6 เดือน - มีรายงานแสดงใหเห็นวามีการแจงการกระทําละเมิดกฎหมายในพืน้ ที่รับผิดชอบ - มีแผนและรายงานผลการดําเนินงานเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมายในพื้นที่รับผิดชอบ เหมือนขอ 3.1 เหมือนขอ 3.2 เหมือนขอ 3.3 เหมือนขอ 3.4 ไมมี
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
109
6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวชี้วัด
1. ตัวชี้วัดที่ 2 2. เกณฑ5
3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
1. ไมมีการดําเนินการเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมยาสูบ โดยความรวมมือกับ หนวยงานที่เกีย่ วของในพื้นที่ หรือมีแตไมครบตามเกณฑ5ที่กําหนดทั้งสี่ขอ (0 คะแนน ) 2. มีการดําเนินการเฝ"าระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมยาสูบ โดยความรวมมือกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของในพื้นที่ ซึง่ ตองดําเนินการครบตามเกณฑ5ที่กําหนดทั้งสี่ขอ(3คะแนน ) 1. แพทย5หญิงปานทิพย5 โชติเบญจมาภรณ5 ตําแหนง ผูอํานวยการสํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ โทร 0 2580 9307 โทรสาร 0 2580 9237 E-mail address: pantipatk@yahoo.com 2. นางสาวจุรีย5 อุสาหะ ตําแหนง หัวหนากลุมยุทธศาสตร5และพัฒนาองค5กร โทร0 2580 7161 โทรสาร 0 2580 7162 E-mail address: jureeu@gmail.com 3. หัวหนากลุมเฝ"าระวังการละเมิดกฎหมาย โทร 0 2580 9264 โทรสาร 0 2580 9237 4.หัวหนากลุมพัฒนาภาคีเครือขายและการสื่อสาร โทร. 0 2580 9354 โทรสาร. 0 2580 7162 5.หัวหนากลุมพัฒนาวิชาการ โทร. 0 2580 6962โทรสาร. 0 2580 9237
มีการจัดสถานทีส่ าธารณะและสถานที่ทํางานใหเป@นเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกําหนด มีการจัดสถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานเปCนเขตปลอดบุหรีต่ ามที่กฎหมายกําหนด ดังนี้ 1. มีนโยบายอยางเปCนลายลักษณ5อักษรเพื่อดําเนินการจัดเขตปลอดบุหรี่หรือเขตสูบบุหรีใ่ น สถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานตามที่กฎหมายกําหนด (สถานที่ตามนิยามในขอ 3.2 ที่ กําหนด) 2. ผูบริหารขององค5กรมอบหมายอยางเปCนลายลักษณ5อักษรใหมีผูรับผิดชอบหลักเพื่อ ดําเนินการจัดเขตปลอดบุหรี่หรือเขตสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานตามที่ กฎหมายกําหนด (สถานที่ตามนิยามในขอ 3.2 ที่กําหนด) 3. มีการจัดทําฐานขอมูลสถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานตามที่กฎหมายกําหนด (สถานที่ ตามนิยามในขอ 3.2 ที่กําหนด) 4. มีการติดเครื่องหมาย/สัญลักษณ5แสดงเขตปลอดบุหรีห่ รือเขตสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ และสถานที่ทํางานตามที่กฎหมายกําหนดครบทุกแหง (สถานที่ตามนิยามในขอ 3.2 ที่กําหนด) มีรายงานหรือหลักฐานภาพประกอบแสดงใหเห็นวามีการดําเนินการจัดสถานที่สาธารณะและ สถานที่ทํางานใหเปCนเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกําหนด • สถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานที่ตองจัดเปCนเขตปลอดบุหรี่ตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 19 พ.ศ. 2553 หมายถึง 1.สถานที่ประเภทที่ 1 เปCนสถานที่ที่ตองปลอดบุหรี่ทงั้ หมด 1. สถานบริการสาธารณสุขและบริการสงเสริมสุขภาพ ไดแก โรงพยาบาล และสถานีอนามัย 2. สถานศึกษา ไดแก โรงเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอาชีวศึกษา 3. สถานที่สาธารณะที่ใชประโยชน5รวมกันทั้งภาครัฐและเอกชน ไดแก สนามกีฬาทุกประเภท ทั้งในรมและกลางแจง รานอาหารทั้งมีและไมมีเครื่องปรับอากาศ ตลาด และสวนสาธารณะ 4. ยานพาหนะสาธารณะและสถานีขนสงสาธารณะ ไดแก รถโดยสาร สาธารณะทุกประเภท รถรับสงนักเรียนหรือนิสิตนักศึกษาทุกประเภท และสถานีขนสงผูโดยสารทางบกทุกประเภท
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
110
5. ศาสนสถาน สถานปฏิบัติธรรมในศาสนาและนิกายตางๆ ไดแก วัด มัสยิด โบสถ5 และ สถานปฏิบัติธรรม 2.สถานที่ประเภทที่ 2 เปCนสถานที่ที่ตองปลอดบุหรี่แตอาจจัดหรือไมจัดใหมีเขตสูบบุหรี่กไ็ ด 1. สถานที่ราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานของรัฐ 2. สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา 3. ป<²มน้ํามัน 4. สนามบินนานาชาติ ทั้งนี้ สถานที่ทั้งสี่ประเภทนี้: - พื้นที่สวนที่เปCนอาคารหรือสิ่งปลูกสรางจะตองเปCนเขตปลอดบุหรี่ 100% ยกเวน สนามบินนานาชาติ - พื้นที่สวนที่ไมใชอาคารหรือสิ่งปลูกสรางตองปลอดบุหรีด่ วย แตอาจจะจัดใหมีเขต สูบบุหรี่หรือไมจัดก็ได - กรณีที่มีการจัดเขตสูบบุหรีต่ องเปCนไปตามที่กฎหมายกําหนด
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5.การประมวลผลตัวชี้วัด(สูตรการคํานวณ 6. เกณฑ5การใหคะแนน
• การจัดเขตปลอดบุหรี่ หมายถึง การแสดงเครื่องหมายเขตปลอดบุหรี่ตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ซึง่ ตองมีสภาพและลักษณะ ดังนี้ - ตองติดเครื่องหมาย/สัญลักษณ5เขตปลอดบุหรี่ บริเวณทางเขาสถานที่สาธารณะทุก ชองทาง และภายในสถานที่สาธารณะทีเ่ ห็นไดชัดเจน - ไมมีอุปกรณ5หรือสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการสูบบุหรี่ - ไมมีการสูบบุหรี*่ • การจัดเขตสูบบุหรี่นอกอาคารสิง่ ปลูกสรางตามที่กฎหมายกําหนด - จะตองไมอยูบริเวณทางเขา-ออก ของสถานที่สาธารณะหรือที่ทํางาน - จะตองไมอยูในบริเวณที่เป•ดเผยอันเปCนที่เห็นเดนชัดแกผูมาใชสถานที่นั้น - ไมอยูในบริเวณที่กอใหเกิดความเดือดรอนรําคาญแกประชาชนที่อยูในบริเวณขางเคียง • ความรับผิดชอบของเจาของสถานที่สาธารณะและที่ทํางาน - ตองติดเครื่องหมายเขตปลอดบุหรีต่ ามที่กฎหมายกําหนด - ตองดูแลไมใหมีการสูบบุหรีใ่ นพื้นที่ที่เปCนเขตปลอดบุหรี่ สรุปรายงานการดําเนินงานทุก 6 เดือน มีการรายงานหรือหลักฐานภาพประกอบแสดงใหเห็นวามีการดําเนินการจัดสถานที่สาธารณะ และสถานที่ทํางานใหเปCนเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกําหนด เหมือนขอ 3.1 เหมือนขอ 3.2 เหมือนขอ 3.3 เหมือนขอ 3.4 ไมมี 1. สถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานไมไดจัดใหเปCนเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกําหนด ครบทุกแหง หรือดําเนินการไมครบตามเกณฑ5ที่กําหนดทั้งสี่ขอ( 0 คะแนน ) 2. มีการจัดสถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานเปCนเขตปลอดบุหรีต่ ามที่กฎหมายกําหนด ซึง่ ตองดําเนินการครบตามเกณฑ5ที่กาํ หนดทั้งสี่ขอ(2คะแนน )
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
111
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวชี้วัด
1. แพทย5หญิงปานทิพย5 โชติเบญจมาภรณ5 ตําแหนง ผูอํานวยการสํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ โทร 0 2580 9307 โทรสาร 0 2580 9237 E-mail address : pantipatk@yahoo.com 2. นางสาวจุรีย5 อุสาหะ ตําแหนง หัวหนากลุมยุทธศาสตร5และพัฒนาองค5กร โทร0 2580 7161 โทรสาร 0 2580 7162 E-mail address : jureeu@gmail.com 3. หัวหนากลุมเฝ"าระวังการละเมิดกฎหมาย โทร 0 2580 9264 โทรสาร 0 2580 9237 4. หัวหนากลุมพัฒนาภาคีเครือขายและการสื่อสาร โทร. 0 2580 9354 โทรสาร. 0 2580 7162 5. หัวหนากลุมพัฒนาวิชาการ โทร. 0 2580 6962โทรสาร. 0 2580 9237
* หมายเหตุ :ไมมีการสูบบุหรี่ (ตามนิยามตัวชี้วัด : มีการจัดสถานที่สาธารณะและสถานที่ทํางานใหเป@นเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมาย กําหนด) หมายถึง ตรวจไมพบการละเมิดกฎหมาย หรือ ไมมีรายงานการรับเรื่องรองเรียนการละเมิดสูบบุหรี่ในที่หามสูบภายในองค0กรนั้นๆ
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
112
13. การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล0 1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
มีการดําเนินการเฝ>าระวังการละเมิดกฎหมายควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 มีรายงานการดําเนินการเฝ"าระวังการละเมิดกฎหมายตามแนวทางที่กําหนด รายงานการดําเนินการเฝ"าระวังการละเมิดกฎหมาย การดํ า เนิ น การเฝ> า ระวั ง คื อ การมี ก ระบวนการ หรื อ สถานที่ รั บ แจงการกระทํ า ละเมิ ด กฎหมาย ไดแกการมีชองทางรับเรื่องรองเรียน เชน โทรศัพท5 หรือโทรสาร หรือกลองรับเรื่อง รองเรียน หรือเจาหนาที่รับเรื่องรองเรียน หรือตูรับจดหมาย หรือ E-mail address หรือการ จัดสถานที่เปCนที่รับเรื่องรองเรียน การกระทําละเมิดกฎหมาย ไดแกการกระทําดังตอไปนี้ พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล0 พ.ศ.2551 1. มาตรา 27 หามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล5ในสถานที่ที่กฎหมายกําหนด ไดแก 1.1 วัดหรือสถานที่สําหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา 1.2 สถานบริการสาธารณสุขของรัฐหรือสถานพยาบาลตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล และรานขายยาตามกฎหมายวาดวยยา 1.3 สถานที่ราชการ ยกเวนสถานที่ที่จัดไวเปCนรานคาหรือสโมสร 1.4 หอพักตามกฎหมายวาดวยหอพัก 1.5 สถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยสถานศึกษาแหงชาติ 1.6 สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง หรือ รานคาในบริเวณสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง 1.7 สวนสาธารณะของทางราชการที่จัดไวเพื่อการพักผอนของประชาชนโดยทั่วไป 2. มาตรา 28 หามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล5ในวัน หรือเวลาที่รัฐมนตรีประกาศหาม ไดแก 2.1 วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาฬหบูชา วันเขาพรรษา (ยกเวนการขายในโรงแรม ตามกฎหมายวาดวยโรงแรม) 2.2 หามขายในเวลาอื่น นอกจากตั้งแตเวลา 11.00 – 14.00 และ เวลา 17.00 – 24.00 น. 3. มาตรา 29 หามขายใหแกบุคคลตอไปนี้ 3.1 บุคคลซึ่งอายุต่ํากวา 20ปบริบูรณ5 3.2 บุคคลที่มีอาการมึนเมาจนครองสติไมได 4. มาตรา 30 หามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล5โดยวิธีการหรือในลักษณะดังตอไปนี้ 4.1 ใชเครื่องขายอัตโนมัติ 4.2 การเรขาย 4.3 การลดราคาเพื่อประโยชน5ในการสงเสริมการขาย 4.4 ใหหรือเสนอสิทธิในการเขาชมการแขงขัน การแสดง การใหบริการ การชิงโชค การ ชิงรางวัล หรือสิทธิประโยชน5อื่นใดอันเปCนการตอบแทนแกผูซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 หรือแก ผูนําหีบ หอ หรือสลาก หรือสิ่งอื่นใดเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล5มาแลกเปลี่ยน หรือแลกซื้อ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
113
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย
4.5 โดยการแจก แถม ให หรือแลกเปลี่ยนกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 หรือกับสินคาอื่น หรือ การใหบริการอยางอื่นแลวแตกรณี หรือแจกจายเครื่องดื่มแอลกอฮอล5ในลักษณะเปCนตัวอยาง ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 หรือเปCนการจูงใจสาธารณชนใหบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 รวมถึงการกําหนดเงื่อนไขการขายในลักษณะที่เปCนการบังคับซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล5โดย ทางตรงหรือทางออม 5. มาตรา 31 หามบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล5ในสถานที่หรือบริเวณดังตอไปนี้ 5.1 วัด หรือสถานที่สําหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา 5.2 สถานบริการสาธารณสุขของรัฐหรือสถานพยาบาลตามกฎหมายวาดวย สถานพยาบาล และรานขายยาตามกฎหมายวาดวยยา 5.3 สถานที่ราชการ ยกเวนสถานที่ที่จัดไวเปCนรานคาหรือสโมสร 5.4 สถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยสถานศึกษาแหงชาติ 5.5 สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง หรือ รานคาในบริเวณสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง 5.6 สวนสาธารณะของทางราชการที่จัดไวเพื่อการพักผอนของประชาชนโดยทั่วไป 6. มาตรา 32 หามโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล5หรือแสดงชื่อหรือเครื่องหมายของเครื่องดื่ม แอลกอฮอล5อันเปCนการอวดอางสรรพคุณหรือชักจูงใจใหผูอื่นดื่มทั้งโดยตรงหรือโดยออม เวน แตเปC น การปรากฏของภาพสั ญ ลั ก ษณ5 ข องเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล5 หรื อ สั ญ ลั ก ษณ5 ข อง บริษัทผูผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล5นั้นเทานั้น ทั้งนี้ตามที่ปรากฏในกฎกระทรวง พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2552 มาตรา 6 (10) กําหนดประเภทและชนิดอาหารที่ผลิตเพื่อจําหนาย นําเขาเพื่อจําหนาย หรือที่ จําหนาย ซึ่งจะตองมีฉลาก ขอความในฉลาก เงื่อนไขและวิธีการแสดงฉลาก ตลอดจน หลักเกณฑ5และวิธีการโฆษณาในฉลาก ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศ กระทรวงสาธารณสุขเรื่องสุรา กําหนดใหฉลากสุรา ตองแสดงรายละเอียดดังนี้ 1. ขอความบนฉลากตามประกาศกระทรวงการคลังวาดวยเรื่องวิธีการบริหารงานสุรา หรือ ประกาศกรมสรรพสามิตวาดวยเรื่องหลักเกณฑ5วิธีการและเงื่อนไข วาดวยการขออนุญาตและ ออกใบอนุญาตใหนําสุราเขามาในราชอาณาจักร ที่ออกตามกฎหมายวาดวยสุรา 2. ขอความ ”คําเตือน : หามจําหนายสุราแกบุคคลซึ่งมีอายุต่ํากวา 20 ปบริบูรณ5 : การดื่มสุราทําใหความสามารถในการขับขี่ยานพาหนะลดลง : บุคคลซึ่งมีอายุต่ํากวา 20ปบริบูรณ5ไมควรดื่ม“ เปCนภาษาไทย โดยใชตัวอักษรเสนทึบขนาดความสูงไมนอยกวา 5 มิลลิเมตร อยูในกรอบซึ่ง แยกสวนจากขอความอื่น สีของกรอบและขอความตัดกับสีพื้นฉลาก จนอานไดชัดเจน แนวทางที่ กํา หนด หมายถึ ง แนวทางการปฎิ บั ติ ต ามคู มื อการปฏิ บั ติ งานสํ า หรั บ พนั กงาน เจาหนาที่บังคับใชกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 สรุปรายงานการดําเนินงานทุก 6 เดือน โรงพยาบาลชุมชน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ รพ.สต. และองค5การบริหารสวนตําบล
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
114
4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผล ตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ0การให คะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผู ประสานงานตัวชี้วัด
คณะกรรมการควบคุมโรคระดับอําเภอหรือสวนราชการที่ไดรับมอบหมาย เหมือนขอ 3.2 เหมือนขอ 3.3 เหมือนขอ 3.4 ไมมี ไมมีรายงาน ได 0 คะแนน มีรายงาน ได 2 คะแนน นางสาวสิริกุล วงษ5สิริโสภาคย5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3373 โทรสาร 0 2590 3143 E-mail address : vsirikul@gmail.com นางเพ็ญศรี ป<ญญาตั้งสกุล ตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3015 โทรสาร 0 2591 9313 E-mail address : tuips99@hotmail.com นายกานตพงศ5 ไชยชนะ ตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3015 โทรสาร 0 2591 9313 E-mail address :riyon03@hotmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
115
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผล ตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ0การให คะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผู ประสานงานตัวชี้วัด
มีกระบวนการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล0ในพื้นที่ มีรายงานผลการดําเนินการ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล5ในระดับพื้นที่รับผิดชอบ กระบวนการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล0 คือ กระบวนการควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล5ตาม พ.ร.บ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 พ.ศ. 2551 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ ตามคูมือการปฏิบัติงานสําหรับพนักงานเจาหนาที่เพื่อการบังคับใชกฎหมายควบคุมการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล5และยาสูบ สรุปรายงานการดําเนินงานทุก 6 เดือน โรงพยาบาลชุมชน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ รพ.สต. และองค5การบริหารสวนตําบล คณะกรรมการควบคุมโรคระดับอําเภอหรือสวนราชการที่ไดรับมอบหมาย เหมือนขอ 3.2 เหมือนขอ 3.3 เหมือนขอ 3.4 ไมมี - ไมมีแผนและ/หรือไมมีรายงานผลการดําเนินการ ฯ ได 0 คะแนน - มีแผนและมีรายงานผลการดําเนินการบังคับใชกฎหมายในพื้นที่รับผิดชอบ ได 3 คะแนน นางสาวสิริกุล วงษ5สิริโสภาคย5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3373 โทรสาร 0 2590 3143 E-mail address : vsirikul@gmail.com นางเพ็ญศรี ป<ญญาตั้งสกุล ตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3015 โทรสาร 0 2591 9313 E-mail address : tuips99@hotmail.com นายกานตพงศ5 ไชยชนะ ตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล5 กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3015 โทรสาร 0 2591 9313 E-mail address :riyon03@hotmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
116
14. โรคจากมลพิษสิ่งแวดลอม 1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ5
อําเภอที่มีปAญหามลพิษสิ่งแวดลอมมีการจัดบริการเวชศาสตร0สิ่งแวดลอมในพื้นที่ หนวยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ที่มีป<ญหาผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดลอมมีการ จัดบริการเวชศาสตร5สิ่งแวดลอมรอยละ 60
3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล ขอยายเนื้อหาทั้งหมดไปไวในนิยาม 3.2 นิยาม -การจัดบริการเวชศาสตร0สิ่งแวดลอม หมายถึง การดําเนินการเพื่อดูแลสุขภาพผูมี ความเสี่ยงตอการไดรับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดลอม โดยมีการดําเนินงาน 2 กิจกรรมเปCนอยางนอย จึงเรียกวามีการจัดบริการเวชศาสตร5สิ่งแวดลอม รายละเอียด กิจกรรม มีดังนี้ 1. คนหาและประเมินความเสี่ยง 2. สื่อสารและประชาสัมพันธ5แกประชาชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ 3. ติดตามเฝ"าระวังสภาวะสุขภาพกลุมเสี่ยง 4. การวินิจฉัยโรค และหาสาเหตุการกอโรคเบื้องตน 5. รองรับหรือสงตอผูป‚วยหรือผูที่ไดรับผลกระทบทางสุขภาพ เพื่อการวินิจฉัยและดูแล รักษาตอไป 6. ผลักดันและดําเนินการแผนงาน โครงการหรือนโยบายในการป"องกัน สนับสนุน และ แกไขป<ญหา 7. สรางและประสานเครือขายกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการป"องกัน ควบคุม และ แกไขป<ญหา 8. ฝ³กอบรมและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในหนวยบริการและเครือขาย - มลพิษสิ่งแวดลอม หมายถึง สิ่งปนเปžŸอนในสิ่งแวดลอม ไดแก ดิน น้ํา อากาศ ที่ปลอย ทิ้งจากแหลงกําเนิด หรือมีอยูตามธรรมชาติ ซึ่งอาจกอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพ สิ่งแวดลอม หรือภาวะที่เปCนพิษภัยอันตรายตอสุขภาพอนามัยของประชาชนได เชน ขยะ อันตราย สารโลหะหนักปนเปžŸอนในน้ําและดิน สารอินทรีย5ระเหยงายปนเปžŸอนในอากาศ หมอกควันไฟป‚า เปCนตน - โรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอม หมายถึง ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษ ปนเปžŸอนในดิน น้ํา อากาศ อันเนื่องจากกิจกรรมของมนุษย5 ที่ทําใหเกิดโรคหรือ ผลกระทบตอสุขภาพทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้องรัง ทั้งนี้ไมรวมถึงอุบัติภัยฉุกเฉินจาก สารเคมี ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และโรคติดเชื้อตางๆ - ผูมีความเสี่ยงตอการไดรับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดลอม หมายถึง ประชาชนผูอยู ในพื้นที่ที่มีป<จจัย หรือแหลงกอมลพิษที่มีแนวโนม หรือมีโอกาสสัมผัสและรับเขาสู รางกายหรือหวงโซอาหาร - การประเมินความเสี่ยง หมายถึง การประเมินโอกาสที่ประชาชนไดรับผลกระทบ/รับ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
117
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม
4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
สัมผัสมลพิษสิ่งแวดลอม โดยดําเนินการประเมินทางสิ่งแวดลอม และ/หรือการประเมิน ทางสุขภาพ - การประเมินทางสิ่งแวดลอม หมายถึง การสํารวจ เก็บตัวอยางสิ่งแวดลอม เพื่อการ ตรวจวิเคราะห5หาปริมาณมลพิษที่ปนเปžŸอนในสิ่งแวดลอม หรือ การรวบรวมขอมูลทุติย ภูมิทางสิ่งแวดลอมจากหนวยงานที่เกี่ยวของ - การประเมินทางสุขภาพ หมายถึง การสํารวจหรือประเมินสภาวะสุขภาพของ ประชาชนที่ไดรับผลกระทบ/รับสัมผัสมลพิษสิ่งแวดลอม โดยใชแบบประเมินฯ และ/หรือ การเก็บตัวอยางทางชีวภาพ และ/หรือสํารวจ ตรวจสอบความผิดปกติทางรางกาย โดย ใชหลักการทางระบาดวิทยามาประยุกต5ใชในการดําเนินงาน - การเฝ>าระวังสภาวะสุขภาพกลุมเสี่ยง หมายถึง การติดตามสภาวะสุขภาพกลุมเสี่ยง อยางตอเนื่อง - ลักษณะปAญหาทางมลพิษสิ่งแวดลอมที่จะดําเนินการผลักดันใหเกิดการจัดบริการ เวชศาสตร0สิ่งแวดลอม มี 5 ประเภท อยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้ ป<ญหาหมอกควัน ป<ญหา สารตะกั่ว ป<ญหาสารหนู ป<ญหาสารแคดเมียม และป<ญหาขยะอันตราย รวมทั้งป<ญหา มลพิษสิ่งแวดลอมประเภทอื่นๆ ในพื้นที่ สสอ.รวบรวมผลการดําเนินงานจัดบริการเวชศาสตร5สิ่งแวดลอมของหนวยบริการ สาธารณสุข และรายงานผลตามแบบฟอร5มที่กําหนดรายไตรมาส - หนวยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอในพื้นที่เป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่เป"าหมาย จํานวนหนวยบริการสาธารณสุขที่มีป<ญหาผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดลอมทั้งหมดในอําเภอ - จํานวนหนวยบริการสาธารณสุขที่มีปAญหาผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดลอมทั้งหมด ในอําเภอ หมายถึง จํานวนหนวยบริการสาธารณสุขที่มีป<ญหาผลกระทบจากมลพิษ สิ่งแวดลอมตามที่กําหนดไว 5 ประเภทอยางใดอยางหนึ่ง หรือตามป<ญหาที่พบในพื้นที่ อําเภอนั้นๆ - ตามแบบฟอร5มที่สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอมกําหนด - สถานีอนามัย/PCU รพ.สต. รพช./รพท.ในพื้นทีเป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอในพื้นที่เป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่เป"าหมาย - ภายหลังจากที่อําเภอไดสนับสนุน ผลักดันใหเกิดการดําเนินงาน ประเมินความเสี่ยง ทางดานสิ่งแวดลอมหรือทางสุขภาพและมีการจัดบริการเวชศาสตร5สิ่งแวดลอมตามเกณฑ5 - อําเภอคํานวณผลการดําเนินงาน จากสูตร รอยละความครอบคลุมของการจัดบริการเวชศาสตร0สิ่งแวดลอม = จํานวนหนวยบริการสาธารณสุขทีม่ ีป<ญหาผลกระทบและมีการจัดบริการเวชศาสตร5สงิ่ แวดลอม x 100 จํานวนหนวยบริการสาธารณสุขทีม่ ีป<ญหาผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดลอมทั้งหมดในอําเภอ
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
118
6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
- ความครอบคลุมของการจัดบริการเวชศาสตร5สิ่งแวดลอมของอําเภอ < รอยละ 60 ได 0 คะแนน - ความครอบคลุมของการจัดบริการเวชศาสตร5สิ่งแวดลอมของอําเภอ ≥รอยละ 60 ได 3 คะแนน ชื่อ นางสายใจ พินิจเวชการ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม โทร. 0-2590-4539 มือถือ 0813828277 โทรสาร 0-2591-8218 E-mail pinijs2006@yahoo.com ชื่อ นางสาวฉันทนา ผดุงทศ นายแพทย5ชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม โทร. 0-2590-4539 มือถือ 0819893609 โทรสาร 0-2591-8218 E-mail cpadungt@gmail.com ชื่อ นางสุธิดา อุทะพันธุ5 หัวหนากลุมเวชศาสตร5สิ่งแวดลอม หนวยงาน กลุมเวชศาสตร5สิ่งแวดลอม โทร. 0-2590-4393 มือถือ 0865207905 โทรสาร 0-2591-8218 E-mail usutida@gmail.com
อําเภอที่มีปAญหามลพิษสิ่งแวดลอมมีการจัดกิจกรรม/มีสวนรวม/สนับสนุน/ผลักดัน ใหประชาชนมีความตระหนักหรือมีสวนรวมในการป>องกัน และแกไขปAญหามลพิษ สิ่งแวดลอม มีกิจกรรม หรือการดําเนินการที่แสดงใหเห็นวาประชาชนมีการตระหนัก หรือมีสวนรวม ในการป"องกัน และแกไขป<ญหาในพื้นที่ (ตามนิยามขอ 3.2) การตระหนักถึงปAญหาหรือมีสวนรวมฯ หมายถึง ประชาชนในพื้นที่มีการให ความสําคัญตอป<ญหามลพิษสิ่งแวดลอมอยางใดอยางหนึ่งใน 5 ประเภท ของป<ญหาทาง สิ่งแวดลอมอันไดแก ป<ญหาหมอกควัน ป<ญหาสารตะกั่ว ป<ญหาสารหนู ป<ญหาสาร แคดเมียม และป<ญหาขยะอันตราย ดวยการมีตัวแทนจากชุมชนเขารวม 1) จัดประชุมใหขอคิดเห็น หรือ 2) จัดทํากิจกรรมรณรงค5 หรือ 3) จัดกิจกรรมแกไขป<ญหา หรือ 4) จัดกิจกรรมเฝ"าระวังมลพิษสิ่งแวดลอม โดยกิจกรรมดังกลาว อาจเปCนหนวยงานใดหนวยงาน หนี่ง ในอําเภอที่มีการจัดกิจกรรมที่ มิใชเฉพาะหนวยงานของกระทรวงสาธารณสุข อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
119
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
6. เกณฑ5การใหคะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
- สสอ.รวบรวมขอมูลผลการดําเนินการเกี่ยวกับการตระหนัก หรือ การมีสวนรวมฯ ของ ประชาชน จากหนวยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ และรายงานผลตามแบบฟอร5มที่กําหนด - หนวยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอในพื้นที่เป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่เป"าหมาย - สถานีอนามัย/PCU รพ.สต. รพช./รพท.ในพื้นทีเป"าหมายที่มีการดําเนินการจัดบริการ เวชศาสตร5สิ่งแวดลอม - อําเภอที่มีป<ญหามลพิษสิ่งแวดลอม และดําเนินการจัดบริการเวชศาสตร5สิ่งแวดลอม - รายงานผลตามแบบฟอร5มที่กําหนด - สถานีอนามัย/PCU รพ.สต. รพช./รพท.ในพื้นทีเป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอในพื้นที่เป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่เป"าหมาย - อําเภอที่มีป<ญหามลพิษสิ่งแวดลอมสนับสนุน/ติดตามใหหนวยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ หรือหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของจัดกิจกรรมการตระหนักถึงป<ญหาและการมีสวนรวมของ ประชาน - จํานวนครั้งของการจัดกิจกรรม หรือการดําเนินการที่แสดงใหเห็นวาประชาชนมีการ ตระหนัก หรือมีสวนรวมในการป"องกัน และแกไขป<ญหาในพื้นที่.............ครั้ง - ไมมีการจัดกิจกรรม(ตามเกณฑ5นิยาม 3.2) ได 0 คะแนน - มีการจัดกิจกรรม(ตามเกณฑ5นิยาม 3.2) มากกวาหรือเทากับ 1 ครั้ง ตอป ได 2 คะแนน ชื่อ นางสายใจ พินิจเวชการ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม โทร. 0-2590-4539 มือถือ 0813828277 โทรสาร 0-2591-8218 E-mail :pinijs2006@yahoo.com ชื่อ นางสาวฉันทนา ผดุงทศ นายแพทย5ชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม โทร.0-2590-4539 มือถือ 0819893609 โทรสาร 0-2591-8218 Email:cpadungt@gmail.com ชื่อ นางสุธิดา อุทะพันธุ5 หัวหนากลุมเวชศาสตร5สิ่งแวดลอม หนวยงาน กลุมเวชศาสตร5สิ่งแวดลอม โทร.0-2590-4393 มือถือ 0865207905 โทรสาร 0-2591-8218Email:usutida@gmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
120
เอกสารแนบ แบบฟอร0มการบันทึกการจัดบริการเวชศาสตร0สิ่งแวดลอมในพื้นที่ ชื่อหนวยบริการ........................................................................................................ 1.การจัดบริการเวชศาสตร5สิ่งแวดลอมในพื้นที่ ลําดับที่ กิจกรรม การจัดบริการ สถานที่/วันที่ จัดบริการ มี ไมมี 1. คนหาและประเมินความเสี่ยง 2. สื่อสารและประชาสัมพันธ5แกประชาชนและหนวยงานที่ เกี่ยวของ 3. ติดตามเฝ"าระวังสภาวะสุขภาพกลุมเสี่ยง 4. การวินิจฉัยโรค และหาสาเหตุการกอโรคเบื้องตน 5. รองรับหรือสงตอผูป‚วยหรือผูที่ไดรับผลกระทบทางสุขภาพ เพื่อ การวินิจฉัยและดูแลรักษาตอไป 6. ผลักดันและดําเนินการแผนงาน โครงการหรือนโยบายในการ ป"องกัน สนับสนุน และแกไขป<ญหา 7. สรางและประสานเครือขายกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการ ป"องกัน ควบคุม และแกไขป<ญหา 8. ฝ³กอบรมและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในหนวยบริการและ เครือขาย สรุปการจัดบริการเวชศาสตร0สิ่งแวดลอมในพื้นที่ ผานเกณฑ0 ไมผานเกณฑ0 2.ประชาชนตระหนักหรือมีสวนรวมในการป"องกัน แกไขป<ญหาโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอม ลําดับที่ กิจกรรม รายละเอียดของกิจกรรม สถานที่/วันที่ ที่จัด กิจกรรม 1. การจัดประชุมใหขอคิดเห็น เรื่อง/ประเด็น ................................. 2. กิจกรรมรณรงค5 เรื่อง/ประเด็น ................................. 3. กิจกรรมการแกไขป<ญหา เรื่อง/ประเด็น ................................. 4. กิจกรรมเฝ"าระวังมลพิษ เรื่อง/ประเด็น สิ่งแวดลอม ................................. 5. กิจกรรมอื่นๆ เรื่อง/ประเด็น .................................
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
121
15. โรคจากการประกอบอาชีพ 1. ชื่อตัวชี้วัด 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล
3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล
4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล
การจัดบริการดูแลสุขภาพเชิงรุกใหเกษตรกร มีการจัดบริการดูแลสุขภาพครบวงจรเชิงรุกใหเกษตรกรไดครอบคลุมมากกวาหรือเทากับ รอยละ 10 - ขอมูลการใหบริการดูแลสุขภาพครบวงจรเชิงรุกแกกลุมเกษตรกรในพื้นที่เป"าหมาย - ขอมูลเกษตรกรในพื้นที่เป"าหมายที่ไดรับการตรวจประเมินความเสี่ยงจากการสัมผัสสาร กําจัดศัตรูพืชกลุมออร5กาโนฟอสเฟตและคาร5บาเมตโดยใช Reactive paper และ ประเมินความเสี่ยงจากป<ญหาโครงรางกระดูกและกลามเนื้อ - ขอมูลเกษตรกรที่มีผลการตรวจพบวามีความเสี่ยงและไมปลอดภัยจากการสัมผัสสาร กําจัดศัตรูพืช - ขอมูลเกษตรกรที่มีผลการตรวจพบความเสี่ยงจากป<ญหาโครงรางกระดูกและกลามเนื้อ - การจัดบริการดูแลสุขภาพเชิงรุก หมายถึงการใหบริการการตรวจประเมินความเสี่ยง จากการทํางาน - เกษตรกร หมายถึง คนไทยที่ประกอบอาชีพและมีรายไดหลักมาจากการเพาะปลูก - การตรวจประเมินความเสี่ยงจากการสัมผัสสารกําจัดศัตรูพืช กลุมออร0กาโนฟอสเฟต และคาร0บาเมตโดยใช Reactive paper หมายถึง การตรวจประเมินความเสี่ยงซึ่งมี ขั้นตอนประกอบดวย 1. สัมภาษณ5/ชักประวัติ โดยใชแบบฟอร5มที่กําหนด 2. เจาะเลือดหาเอนไซม5โคลีนเอสเตอเรสโดยใชกระดาษทดสอบพิเศษ 3. บันทึกผลการตรวจ และรายงานผลในแบบฟอร5มที่กําหนด - การตรวจประเมินความเสี่ยงจากปAญหาโครงรางกระดูกและกลามเนื้อ ใชแบบ ประเมินอาการผิดปกติของระบบโครงรางและกระดูก และขอบงชี้อันตรายที่เกี่ยวของกับ การรับภาระงานของกลามเนื้อในกลุมเกษตรกร(Agri-Ergo) - รายงานโดยใชแบบฟอร5มที่กําหนด - สถานบริการสาธารณสุข (สอ. , รพ.สต.)พื้นที่เป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอเป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดจํานวน 76 แหง - สํานักงานป"องกันควบคุมโรคทั้ง 12 แหง - สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม - ขอมูลเกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบของหนวยงาน - ขอมูลเกษตรกรในพื้นที่เป"าหมายของหนวยงานรับผิดชอบ ที่มีความเสี่ยงจากการสัมผัส สารกําจัดศัตรูพืชกลุมออร5กาโนฟอสเฟตและคาร5บาเมต และความเสี่ยงจากป<ญหาโครง รางกระดูกและกลามเนื้อ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
122
4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล
5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
เกษตรกร หมายถึง ผูประกอบอาชีพเพาะปลูกในพื้นที่รับผิดชอบของหนวยงาน - รายงานโดยใชแบบฟอร5มที่กําหนด - สถานบริการสาธารณสุข (สอ. , รพ.สต.)พื้นที่เป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอเป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดจํานวน 76 แหง - สํานักงานป"องกันควบคุมโรคทั้ง 12 แหง - สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม 1. สูตรการคํานวณหาความครอบคลุมในการจัดบริการเชิงรุกใหเกษตรกรความ ครอบคลุมในการจัดบริการเชิงรุกใหเกษตรกร = จํานวนเกษตรกรที่ไดรับการตรวจ X100 จํานวนเกษตรกรในพื้นที่หนวยงานนั้นๆ รับผิดชอบ 2. สูตรการคํานวณหาอัตราเกษตรกรที่มีผลการตรวจพบวามีความเสี่ยงและไม ปลอดภัยจากการสัมผัสสารกําจัดศัตรูพืช (สูตรการคํานวณนี้เพื่อหาวิธีจัดการแกไขป<ญหา) = จํานวนเกษตรกรที่ไดรับการตรวจมีผลพบวามีความเสี่ยงและไมปลอดภัยฯ X 100 จํานวนเกษตรกรที่ไดรับการตรวจทั้งหมด 3. สูตรการคํานวณหาเกษตรที่มีผลการตรวจพบความเสี่ยงตอปAญหาโครงรางกระดูก และกลามเนื้อ = จํานวนเกษตรที่มีผลการตรวจพบความเสี่ยงตอป<ญหาโครงรางกระดูกและกลามเนื้อ X 100 จํานวนเกษตรกรที่ไดรับการตรวจทั้งหมด - มีการจัดบริการดูแลสุขภาพเชิงรุกใหเกษตรกรไดครอบคลุมนอยกวารอยละ 10 ได 0 คะแนน - มีการจัดบริการดูแลสุขภาพเชิงรุกใหเกษตรกรไดครอบคลุมมากกวาหรือเทากับรอยละ 10 ได 3 คะแนน ชื่อ หัวหนากลุมอาชีวอนามัย ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุข ชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม โทร. 02 590 4385 มือถือ โทรสาร 02 590 4383, 02 590 4388 ชื่อ นางสาวชนิตา โลหะภากร ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุข ปฏิบัติการ หนวยงาน สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม โทร. 02 590 4383 มือถือ 081-7178990 โทรสาร 02 590 4383, 02 590 4388 E-mail c.envocc@gmail.com อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
123
1. ชื่อตัวชี้วัด 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.4 แหลงขอมูล
4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล
5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
ผูที่มีผลการตรวจพบวาเสี่ยงและไมปลอดภัยจากการตรวจคัดกรองดวยกระดาษ ทดสอบพิเศษ รวมทั้งผูมีผลความเสี่ยงจากปAญหาโครงรางกระดูกและกลามเนื้อไดรับ การถายทอดวิธีการป>องกันตนเอง ผูที่มีผลการตรวจพบวาเสี่ยงและไมปลอดภัยจากการตรวจคัดกรองดวยกระดาษทดสอบ พิเศษ รวมทั้งผูมีผลความเสี่ยงจากป<ญหาโครงรางกระดูกและกลามเนื้อไดรับการ ถายทอดวิธีการป"องกันตนเองเทากับ 100 % - ขอมูลผูที่มีผลการตรวจพบวามีความเสี่ยงและไมปลอดภัยจากการสัมผัสสารกําจัด ศัตรูพืชที่ไดรับการถายทอดวิธีการป"องกันตนเอง การถายทอดวิธีการป>องกันตนเองจากการสัมผัสสารกําจัดศัตรูพืช หมายถึงการให ความรูโดยเจาหนาที่สาธารณสุขเกี่ยวกับอันตรายและความเสี่ยงจากการใชสารกําจัด ศัตรูพืช ทางเขาสูรางกาย วิธีการป"องกันการสัมผัส และการปฏิบัติตนเมื่อพบวามีความ เสี่ยงทั้งจากสารเคมีกําจัดศัตรูพืช และป<ญหาการบาดเจ็บจากโครงรางกระดูกและ กลามเนื้อ - รายงานโดยใชแบบฟอร5มที่กําหนด - สถานบริการสาธารณสุข (สอ. , รพ.สต.)พื้นที่เป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอเป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดจํานวน 76 แหง - สํานักงานป"องกันควบคุมโรคทั้ง 12 แหง - สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม ขอมูลผูที่มีผลการตรวจพบวามีความเสี่ยงและไมปลอดภัยจากการสัมผัสสารกําจัดศัตรูพืช จํานวนเกษตรกรที่มีผลการตรวจพบวามีความเสี่ยงและไมปลอดภัยทั้งหมด หมายถึง ผลรวมของจํานวนเกษตรกรผูที่ไดรับการตรวจดวยกระดาษทดสอบพิเศษ แลวผลการ ตรวจพบวามีความเสี่ยงบวกกับจํานวนเกษตรกรที่ผลการตรวจพบวาไมปลอดภัย - รายงานโดยใชแบบฟอร5มที่กําหนด - สถานบริการสาธารณสุข (สอ. , รพ.สต.)พื้นที่เป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอเป"าหมาย - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดจํานวน 76 แหง - สํานักงานป"องกันควบคุมโรคทั้ง 12 แหง - สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม สูตรการคํานวณหาอัตราเกษตรกรที่มีความเสี่ยงและไมปลอดภัยที่ไดรับการถายทอด วิธีการป>องกันตนเองจากการสัมผัสสารกําจัดศัตรูพืช = จํานวนเกษตรกรที่มีผลการตรวจพบวามีความเสี่ยงและไมปลอดภัยที่ไดรับการถายทอดวิธกี ารป"องกันตนเอง X 100
จํานวนเกษตรกรที่มีผลการตรวจพบวามีความเสี่ยงและไมปลอดภัยทั้งหมด
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
124
6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
- ผูที่มีผลการตรวจพบวาเสี่ยงและไมปลอดภัยจากการตรวจคัดกรองดวยกระดาษทดสอบ พิเศษไดรับการถายทอดวิธีการป"องกันตนเองนอยกวา 100 % ได 0 คะแนน - ผูที่มีผลการตรวจพบวาเสี่ยงและไมปลอดภัยจากการตรวจคัดกรองดวยกระดาษทดสอบ พิเศษไดรับการถายทอดวิธีการป"องกันตนเองเทากับ 100 % ได 2 คะแนน ชื่อ หัวหนากลุมอาชีวอนามัย ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุข ชํานาญการพิเศษ หนวยงาน สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม โทร. 02 590 4385 มือถือ โทรสาร 02 590 4383, 02 590 4388 E-mail ชื่อ ตําแหนง หนวยงาน โทร. มือถือ โทรสาร E-mail
นางสาวชนิตา โลหะภากร นักวิชาการสาธารณสุข ปฏิบัติการ สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม 02 590 4383 081-7178990 02 590 4383, 02 590 4388 c.envocc@gmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
125
16. การป>องกันอุบัติเหตุทางถนน 1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 2. เกณฑ5
3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล
3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม
4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด 6. เกณฑ5การใหคะแนน
มีดําเนินงานการงานเฝ>าระวังและบูรณาการงานป>องกันอุบัติเหตุทางถนนรวมกับเครือขายในพื้นที่ มีการดําเนินงาน ตามเกณฑ5 4 ขอ 1. มีการวิเคราะห5สถานการณ5 / ป<จจัยเสี่ยงของการเกิดอุบัตเิ หตุทางถนนในพื้นที่ 2. มีการนําขอมูลอุบัติเหตุไปใชประโยชน5ในการไปขับเคลื่อนใหเกิดการแกไขป<ญหาในพื้นที่ โดยนําเสนอป<ญหาตอหนวยงานทีเ่ กี่ยวของ 3. มีแผนงาน/โครงการ การดําเนินงานในพื้นที่และรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ โดยเปCน ผูนําหรือมีสวนสําคัญในการดําเนินงาน 4. มีการติดตาม ประเมินผลการดําเนินงาน - ผลการวิเคราะห5สถานการณ5 / ป<จจัยเสี่ยงของการเกิดอุบัตเิ หตุในพืน้ ที่ - แผนงาน/โครงการ การดําเนินงานการป"องกันอุบตั ิเหตุทางถนน เชน การสงเสริมการสวมหมวกนิรภัย , การแกไขป<ญหาเมาแลวขับ, การสงเสริมความปลอดภัยทางถนนในกลุมเยาวชน, ผูใชแรงงาน, การ สงเสริมการสวมหมวกนิรภัยในเด็ก เปCนตน - รายงานผลการติดตามประเมินผลการดําเนินงานการป"องกันอุบัติเหตุทางถนน อุบัติเหตุทางถนน หมายถึง อุบัตเิ หตุจากการใชยานพาหนะที่ออกแบบในการขนสงบุคคลหรือสิ่งของ ที่เกิดขึ้นบนทางหลวงสาธารณะ ซึง่ เปCนสาเหตุใหเกิดการบาดเจ็บ พิการ และเสียชีวิต ทัง้ ที่เปCนผูขับขี่ ผูโดยสาร หรือ คนเดินเทา เครือข!ายในพื้นที่ หมายถึง หนวยงานที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานป"องกันอุบัติเหตุทางถนนที่อยูใน พื้นที่ เชน ฝ‚ายปกครอง องค5กรปกครองสวนทองถิ่น ขนสง ป"องกันและบรรเทาสาธารณภัย สถานศึกษา ตํารวจ ภาคเอกชน NGO ฯลฯ ระดับอําเภอ ผูจัดเก็บขอมูล: สสอ. ผูรายงาน: สอ. รพ.สต. รพช. ระดับจังหวัด ผูจัดเก็บขอมูล: สสจ. ผูรายงาน: สสอ. รพศ./รพท. ระดับเขต ผูจัดเก็บขอมูล: สคร. ผูรายงาน: สสจ. สอ. รพ.สต. รพช. รพศ./รพท. สสจ. ปภ. ตํารวจ. ขนสง
รายงานความกาวหนาหรือรายงานผลการดําเนินงาน สอ. รพ.สต. รพช. รพศ./รพท. สสจ. ปภ. ตํารวจ ขนสง - มีการดําเนินงานตามเกณฑ5ที่กําหนด (ขอละ 1 คะแนน, คะแนนเต็ม 4 คะแนน ) โดยมีเกณฑ5การใหคะแนนยอยในแตละขอ ดังนี้ 1) มีหลักฐานการดําเนินงานแสดงชัดเจนให 1 คะแนน 2) มีการดําเนินงาน แตมีหลักฐานแสดงการดําเนินงานไมชัดเจนให 0.5 คะแนน 3)ไมมีการดําเนินงานหรือไมมีหลักฐานแสดง ได 0 คะแนน ** ในเกณฑ5ขอที่ 4 “การติดตามประเมินผล” ถาโครงการยังไมแลวเสร็จ ใหพิจารณาดูแผน ดําเนินงาน วามีการวางแผนติดตามาประเมินผลอยางชัดเจนหรือไม
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
126
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
ชื่อ ตําแหนง หนวยงาน โทร. มือถือ โทรสาร E-mail
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2
จํานวนผูบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในกลุมเป>าหมายของแผนงาน/โครงการ(จากตัวชี้วัดที่ 1) หลังดําเนินโครงการ ลดลง จากกอนดําเนินโครงการ อย!างน$อย 5 เปอรBเซ็นตB ในอําเภอหรือในพื้นที่ที่กําหนดของแผนงาน/โครงการ มีจํานวนผูบาดเจ็บจากอุบตั ิเหตุทางถนนใน กลุมเป"าหมาย หลังดําเนินโครงการ ลดลง จากกอนดําเนินโครงการ อย!างน$อย 5 เปอรBเซ็นตB
2. เกณฑ5 3.1 รายการขอมูล
3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)
นางนงนุช ตันติธรรม/นายขจรศักดิ์ จันทร5พาณิชย5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ/ ชํานาญการ สํานักโรคไมติดตอ 0 2590 3967 0 897883020 0 2590 3968 nuchtt@hotmail.com, khajohn_j@hotmail.com
- รายงานจํานวนผูบาดเจ็บจากอุบตั ิเหตุทางถนนในกลุมเป"าหมายของแผนงาน/โครงการ โดยอางอิง จากขอมูลของหนวยงานที่มีความนาเชื่อถือ เชน ขอมูลในโรงพยาบาลหรือในสถานบริการสาธารณสุข ในพื้นที่, ขอมูลของสถานีตํารวจในพื้นที่ อื่นๆ หรือถาไมมีแหลงขอมูลที่อิงอางได ใหใชวิธีการเก็บ ขอมูลกอนดําเนินโครงการและหลังดําเนินโครงการ โดยเก็บจากแหลงพื้นที่ที่ดําเนินโครงการ หรือใช ผลการวิเคราะห5ขอมูลในเกณฑ5ตัวชี้วัดที่ 1 ขอที่ 1 ได - กลุมเป>าหมายในแผนงาน/โครงการ หมายถึง กลุมเป"าหมายที่ปรากฏในแผนงาน/โครงการกําหนด และในพื้นที่ที่กําหนด เชน กลุมเยาวชน, กลุมผูใชรถจักรยานยนต5, กลุมผูใชแรงงาน เปCนตน - ผูบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในกลุมเป"าหมายของแผนงาน/โครงการ หมายถึง ผูบาดเจ็บจาก อุบัติเหตุทางถนนที่เปCนกลุมเป"าหมายที่ปรากฏอยูในแผนงาน/โครงการที่ดําเนินงาน โดยอางอิงขอมูล ของหนวยงานที่มีความนาเชื่อถือ เชน ขอมูลในโรงพยาบาลหรือในสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่, ขอมูลของสถานีตํารวจในพื้นที่, ขอมูลของบริษัทกลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ อื่นๆ ระดับอําเภอ ผูจัดเก็บขอมูล: สสอ. ผูรายงาน: สอ. รพ.สต. รพช. ระดับจังหวัด ผูจัดเก็บขอมูล: สสจ. ผูรายงาน: สสอ. รพศ./รพท. ระดับเขต ผูจัดเก็บขอมูล: สคร. ผูรายงาน: สสจ. สอ. รพ.สต. รพช. รพศ./รพท. ปภ, ตํารวจ อื่นๆ
สอ. รพช. รพศ./รพท. /สสจ./สคร. จํานวนผูบาดเจ็บจากอุบัตเิ หตุทางถนนในกลุมเป"าหมายของแผนงาน/โครงการ หลังดําเนินโครงการ นอยกวา กอนดําเนินโครงการ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
127
6. เกณฑ5การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
- จํานวนผูบาดเจ็บหลังดําเนินโครงการ < กอนดําเนินโครงการ อยางนIอย 5 เปอรCเซ็นตC ได 1 คะแนน - จํานวนผูบาดเจ็บหลังดําเนินโครงการ < กอนดําเนินโครงการ แตไมถึง 5 เปอรCเซ็นตC ได 0.5 คะแนน - จํานวนผูบาดเจ็บหลังดําเนินโครงการ ไมลดลง ได 0 คะแนน ชื่อ นางนงนุช ตันติธรรม/นายขจรศักดิ์ จันทร5พาณิชย5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ/ ชํานาญการ หนวยงาน สํานักโรคไมติดตอ โทร. 0 2590 3967 มือถือ 0 897883020 โทรสาร 0 2590 3968 E-mail nuchtt@hotmail.com, khajohn_j@hotmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
128
17. โรคอหิวาตกโรค 1. ชื่อตัวชี้วัด 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล
มีการดําเนินงานเฝ>าระวังป>องกันควบคุมโรคอหิวาตกโรคไดตามเกณฑ0ที่กําหนด การดําเนินงานเฝ"าระวังป"องกันควบคุมโรคอหิวาตกโรคไดผานเกณฑ5ตามที่กําหนด การดําเนินงานเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรคอหิวาตกโรค ในอําเภอเป"าหมาย ได ตามเกณฑ5ที่กําหนด 3 ขอ ไดแก 1) มีการวิเคราะห5สถานการณ5โรค/ป<จจัยเสี่ยง ของการเกิดโรค 2) มีแผนงาน/โครงการ และ 3) มีการดําเนินการ อหิวาตกโรค หมายถึง ภาวะที่มีการถายเปCนน้ําจํานวนมาก มีเนื้ออุจจาระนอย เกิดขึ้นอยางเฉียบพลัน การติดเชื้อกอโรคอหิวาตกโรคเกิดจากการติดตอจาก บุคคลหนึ่งไปสูอีกบุคคลหนึ่ง ทาง Fecal- oral-route หรือโดยการกินอาหาร หรือดื่มน้ําที่ปนเปžŸอนเชื้อ Vibrio cholerae O1 หรือ O 139 ทําใหเกิดโรค จึง ทําใหเกิดการติดตอแบบสัมผัสโดยตรง ป<จจัยที่สงเสริมใหเกิดการติดเชื้อไดงาย ไดแก อายุนอย ภูมิคุมกันบกพรอง ภาวะทุพโภชนาการ การเดินทางไปยัง แหลงที่มีการระบาดของเชื้อ การไมไดรับนมแม อนามัยสวนบุคคลไมดี การกิน อาหารหรือดื่มน้ําที่ปนเปžŸอน โรคอหิวาตกโรค ที่ใชอธิบายถึง อาการป‚วยที่เกิดจากการกินอาหารหรือน้ําที่ ปนเปžŸอนเชื้อ Vibrio cholerae O1 ผูป‚วยถายเปCนน้ําจํานวนมาก มีเนื้ออุจจาระ นอย เกิดขึ้นอยางเฉียบพลันรวมกับมีอาการและอาการแสดงของการขาดน้ําอยาง รวดเร็วและรุนแรง อาจมีคลื่นไส อาเจียน สวนใหญไมมีไข ไมปวดทอง - อําเภอรวบรวมขอมูลและติดตามผลการดําเนินงานในตําบลเป"าหมายตามแบบ ประเมินรายการเกณฑ5ที่กําหนด - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด รวบรวมขอมูล และติดตามผลการดําเนินงานของ อําเภอที่รับผิดชอบพื้นที่เป"าหมาย อําเภอเป"าหมายดําเนินงานเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรคอหิวาตกโรค ไดผาน เกณฑ5ตามที่กําหนด
4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล อําเภอเป"าหมาย 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน อําเภอที่ไมผานเกณฑ5ที่กําหนดคือมีคะแนนรวมนอยกวารอยละ 75 ได 0 คะแนน อําเภอที่ผานเกณฑ5ที่กําหนดคือมีคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับรอยละ 75 ได 3 คะแนน
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
129
7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน 1. ชื่อ นายแพทย5พรชนก รัตนดิลก ณ ภูเก็ต ตัวชี้วัด ตําแหนง นายแพทย5เชี่ยวชาญ หัวหนากลุมกลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3189 มือถือ 081 8394154 โทรสาร 0 2591 8436 E-mail : tapanokr@yahoo.com 2. ชื่อ นางสาวสุรัสวดี กลิน่ ชั้น ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3190 มือถือ 085 0637390 โทรสาร 0 2591 8436 E-mail : suratsawadee_k@hotmail.com 3. ชื่อ นางสาวพรเพชร ศักดิ์ศิริชัยศิลป˜ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3180 , 0 2965 9592 มือถือ 089 4837045 โทรสาร 0 2951 0918 E-mail : phet_sa@hotmail.com เกณฑ0การใหคะแนน : ระดับอําเภอเป>าหมาย รายการเกณฑ0ที่กําหนด 1. อําเภอมีการวิเคราะห5สถานการณ5โรค/ป<จจัยเสี่ยงของการเกิดโรคอหิวาตกโรค ในพื้นที่ไดครบถวนตามที่กําหนด 2. อําเภอมีแผนงานโครงการในการดําเนินงานเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรค อหิวาตกโรค พรอมทั้งมีงบประมาณและผูรับผิดชอบที่ชัดเจน 3. อําเภอดําเนินการป"องกัน ควบคุมโรคอหิวาตกโรค เพื่อลดป<จจัยเสี่ยง
การใหคะแนน (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) 30 คะแนน 20 คะแนน 50 คะแนน
หมายเหตุ : อําเภอผานเกณฑ0 คือ มีคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับ 75 คะแนน (รายละเอียดเกณฑ0ในภาคผนวก )
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
130
ภาคผนวก คะแนน(คะแนนเต็ม=100คะแนน) อําเภอ 1 อําเภอ 2 อําเภอ3
รายละเอียดเกณฑ0 1. อําเภอมีการวิเคราะห0สถานการณ0โรค หรือปAจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคอหิวาตกโรคใน พื้นที่ ไดครบถวนตามที่กําหนด (30 คะแนน) 1.1 อําเภอมีการวิเคราะห5ลกั ษณะการระบาดของโรคอหิวาตกโรคยอนหลัง 3–5 ป ดวยสถิติ อัตรา อัตราสวน สัดสวน - ตัวแปรพื้นที่ ( 5 คะแนน ) - ตัวแปรตามบุคคล ( 5 คะแนน ) - ตัวแปรตามเวลา ( 5 คะแนน ) 1.2 อําเภอมีการวิเคราะห5ป<จจัยเสี่ยงของการเกิดโรคอหิวาตกโรค วิเคราะห5สาเหตุของการเกิดโรค จากผูป‚วยที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาล จากการ สอบสวนการระบาดของโรค ( 5 คะแนน) 1.3 มีการนําเสนอผลการวิเคราะห5ความเสี่ยง หรือ สถานการณ5โรคในการประชุมผูบริหาร/ ผูเกี่ยวของประจําทุกเดือน หรือเมือ่ เป•ด WAR Room (10คะแนน) 2. อําเภอมีแผนงานโครงการในการดําเนินงานเฝ>าระวัง ป>องกัน ควบคุมโรคอหิวาตกโรค(20คะแนน) 2.1 อําเภอตองมีแผนงานโครงการเฝ"าระวังป"องกัน ควบคุมโรคอหิวาตกโรค(5คะแนน) 2.2 อําเภอ มีการระบุกิจกรรมยอยในการปฏิบัติงาน/ระบุเวลา/ผูรับผิดชอบ/กิจกรรมและ แผนงาน ( 10 คะแนน ) 2.3 อําเภอมีงบประมาณในการดําเนินงานและระบุไวในแผนสามารถตรวจสอบได ( 5 คะแนน ) 3. อําเภอดําเนินการป>องกันควบคุมโรคโรคอหิวาตกโรค เพื่อลดปAจจัยเสีย่ ง(50คะแนน) 3.1 มีกิจกรรมการนําเสนอแผนงานโครงการใหเจาหนาที่รับทราบและเขาใจ อยางทัว่ ถึง (5 คะแนน ) 3.2 มีกิจกรรมการเฝ"าระวังสถานการณ5โรคตรวจสอบการระบาดของโรคทีเ่ ขมขน โดย(5 คะแนน) - ติดตามสถานการณ5โรคอุจจาระรวงเฉียบพลันที่สูงเกิน 5 % เทียบกับปทีผ่ านมาในชวงเวลาเดียวกัน หรือสูงผิดปกติตามบริบทของพื้นที่ และหรือการระบาดของอหิวาตกโรคอยางตอเนือ่ ง - สง RSC ในผูป‚วยสงสัยและหรือสง RSC ในผูป‚วย watery diarrhea ทุกรายเมือ่ เกิดการระบาดของโรค 3.3 มีกิจกรรมการเฝ"าระวังโรคลวงหนา ไดแก ( 10 คะแนน ) - การสุมตรวจหาเชือ้ ในน้าํ ดื่มน้ําใช อาหาร สงตรวจอยางนอย 1 ครั้ง/ป - เก็บตัวอยางน้าํ ประปาเพือ่ เฝ"าระวังปริมาณคลอรีนตกคาง 3.4 มีกิจกรรมการเผยแพรประชาสัมพันธ5หรือใหสุขศึกษาแก กลุมเสีย่ ง กลุมแมบานผูประกอบการ และประชาชนทัว่ ไป โดยอาศัยสื่อตางๆ ( 10 คะแนน ) 3.5 มีกิจกรรมการประสานความรวมมือกับ อปท และหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ในการปรับปรุง สุขาภิบาลสิ่งแวดลอม เชน คลอรีนในนําดื่มนําใช การลางตลาด สุขาภิบาลโรงฆาสัตว5 ชุมชนแออัด การกําจัดสิงปฏิกูล เปCนตน(10คะแนน) 3.6 การเตรียมทีมเฉพาะกิจในการสอบสวนควบคุมโรคใหพรอมปฏิบัติงานและมีการตอบสนองที่ รวดเร็ว ( 5 คะแนน ) - มีการสอบสวนและควบคุมโรคที่เร็วโดยไมตอรอผล lab - มีรายงานผล lab ที่เร็ว - มีการเฝ"าระวังเชิงรุกติดตอกัน 10 วันในพื้นที่ที่มีผูป‚วยเพื่อคนหาผูป‚วยรายใหม 3.7 มีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ตามเกณฑ5ที่กาํ หนด วิธีปฏิบัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ทํางาน ( 5 คะแนน ) รวมคะแนน
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
หมายเหตุ
131
1. ชื่อตัวชี้วัด 2. เกณฑ5 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน
3.4 แหลงขอมูล 4. กลุมเป"าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.4 แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ5การใหคะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงาน ตัวชี้วัด
อัตราปYวยโรคอหิวาตกโรค ในระดับอําเภอนอยกวาคามัธยฐาน 5 ป. ยอนหลัง อัตราป‚วยโรคอหิวาตกโรคในระดับอําเภอนอยกวาคามัธยฐาน 5 ปยอนหลัง (อัตรา ป‚วยตอประชากรแสนคน) จํานวนผูป‚วยโรคอหิวาตกโรค อัตราปYวยโรคอหิวาตกโรค หมายถึง จํานวนผูป‚วยโรคอหิวาตกโรค ตอประชากร แสนคน ตามปปฏิทิน ซึ่งสามารถคํานวณจากจํานวนผูป‚วย คูณดวย 100,000 หาร ดวยจํานวนประชากรกลางป อัตราปYวยในระดับอําเภอไมเกินคามัธยฐาน 5 ป. ยอนหลัง โดยคํานวณจาก คามัธยฐาน 5 ป ยอนหลัง ตามปปฏิทิน (พ.ศ. 2550-2554) หมายเหตุ : กรณีเดือนที่ผูประเมินเขาประเมิน ยังไมถึงเดือนธันวาคม เชน เขา ประเมิน ณ เดือน พฤษภาคม ใหใชอัตราป‚วยของป 2555 ตั้งแตเดือน มกราคม – เมษายน 2555 เทียบกับคามัธยฐานของอัตราป‚วยยอนหลัง 5 ป ของชวงเวลา เดียวกัน คือระหวางเดือน มกราคม – เมษายน ของป 2550 – 2554 แทน จังหวัดรวบรวมขอมูลและติดตามผลการดําเนินงานในอําเภอเป"าหมายตามแบบ รายงานตามแบบบัตร รง.506 และ รง. 507 สํานักงานป"องกันควบคุมโรค รวบรวมขอมูล และติดตามผลการดําเนินงานของ จังหวัดที่รับผิดชอบอําเภอเป"าหมาย กรมควบคุมโรค โดยสํานักโรคติดตอทั่วไป รวบรวบขอมูลและติดตาม ความกาวหนา ผลการดําเนินงานของจังหวัดที่รับผิดชอบอําเภอเป"าหมาย โดยผาน เครือขายผูรับผิดชอบ ของสํานักงานป"องกันควบคุมโรค รายงานตามแบบบัตร รง.506 และ รง.507 ในระบบรายงานการเฝ"าระวังโรคของ สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค และประชากรกลางป ของกระทรวงมหาดไทย ประชากรทั่วไป จํานวนประชากรกลางป ประชากรกลางปของกระทรวงมหาดไทย จํานวนผูป‚วยโรคอหิวาตกโรค 100,000 จํานวนประชากรกลางป - อัตราป‚วยโรคอหิวาตกโรคมากกวาหรือเทากับคามัธยฐาน 5 ป ยอนหลัง ได 0 คะแนน - อัตราป‚วยโรคอหิวาตกโรคนอยกวาคามัธยฐาน 5 ป ยอนหลัง ได 2 คะแนน 1. ชื่อ นายแพทย5พรชนก รัตนดิลก ณ ภูเก็ต ตําแหนง นายแพทย5เชี่ยวชาญ หัวหนากลุมกลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
132
หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3189 มือถือ 081 8394154 โทรสาร 0 2591 8436 E-mail : tapanokr@yahoo.com 2. ชื่อ นางสาวสุรัสวดี กลิน่ ชั้น ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3190 มือถือ 085 0637390 โทรสาร 0 2591 8436 E-mail : suratsawadee_k@hotmail.com 3. ชื่อ นางสาวพรเพชร ศักดิ์ศิริชัยศิลป˜ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอทางอาหารและน้ํา สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 0 2590 3180 , 0 2965 9592 มือถือ 089 4837045 โทรสาร 0 2951 0918 E-mail : phet_sa@hotmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
133
18. โรคมือ เทา ปาก 1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1
ศูนย0เด็กเล็กไดมาตรฐาน และ อําเภอมีแนวทางการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP) โรคมือ เทา ปาก
2. เกณฑ0 - ศูนย5เด็กเล็กผานเกณฑ5ประเมินของกรมควบคุมโรค - อําเภอมีแนวทางการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP) โรค มือ เทา ปาก 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล
3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.๔ แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล
- จํานวนศูนย5เด็กเล็กทั้งหมดในอําเภอ - จํานวนศูนย5เด็กเล็กที่ไดรับการประเมิน - จํานวนอําเภอที่มีแนวทางการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP) โรคมือ เทา ปาก ศูนย0เด็กเล็ก หมายถึง ศูนย5เด็กเล็กในสังกัดองค5กรปกครองสวนทองถิ่นหรือองค5กร อื่นๆ ในอําเภอทั้งหมด มาตรฐานศูน ย0เ ด็กเล็ก หมายถึ ง เกณฑ5ป ระเมิ นศูน ย5เ ด็กเล็ กของกรมควบคุ มโรคที่ กําหนดไวสําหรับการประเมินมาตรฐานศูนย5เด็กเล็ก แนวทางการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP) หมายถึง เกณฑ5 ที่กํา หนดขึ้ น ของอํ า เภอในการปฏิ บั ติ ง าน หรื อ ตามคู มื อการปฏิ บั ติ งานของ อําเภอเมื่อพบรายงานผูป‚วยโรค มือ เทาปากในพื้นที่ ตัวอยางเชน การเฝ"าระวังโรค การสอบสวนโรค การเก็บตัวอยางสงตรวจทางหองปฏิบัติการ การป"องกันควบคุมโรค หรือ การใหสุขศึกษาประชาสัมพันธ5 เปCนตน - อําเภอรายงานผลการประเมินมาตรฐานศูนย5เด็กเล็กใหแกสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรายงานผลการประเมินใหแกสํานักงานป"องกันควบคุมโรค - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอหรือโรงพยาบาลประจําอําเภอ - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอหรือโรงพยาบาลประจําอําเภอ - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ตามขอ 3.2 ตามขอ 3.3 ตามขอ 3.4
4.2 นิยาม 4.3 วิธีรายงาน 4.๔ แหลงขอมูล 5. การประมวลผลตัวชี้วัด มาตรฐานศูนย0เด็กเล็ก จํานวนศูนย5เด็กเล็กไดมาตรฐานตามเกณฑ5ที่กําหนด (สูตรการคํานวณ) จํานวนศูนย5เด็กเล็กทั้งหมดในอําเภอ
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
134
6. เกณฑ0การใหคะแนน
7. ผูรับผิดชอบ/ ผูประสานงาน
- ศูนย5เด็กเล็กผานเกณฑ5ประเมินของกรมควบคุมโรค (คิดตามสัดสวน) ผานเกณฑ5การประเมินทุกแหง ได 2 คะแนน (คิดตามสัดสวนถามีเศษใหป<ดทิ้ง) ไมผานเกณฑ5ทุกแหง ได 0 คะแนน - อําเภอมี SOP เมื่อมีรายงานผูป‚วยโรคมือเทาปาก มี SOP ได 1 คะแนน ไมมี SOP ได 0 คะแนน 1. นายแพทย5พรศักดิ์ อยูเจริญ ตําแหนง นายแพทย5ชํานาญการพิเศษ หัวหนากลุมโรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีน และโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจ ในเด็ก หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 02 590 3196-9 2. นางวีณา ภักดีสิริวิชัย ตําแหนง หัวหนากลุมวิชาการและการเตรียมความพรอมฉุกเฉิน หนวยงาน สํานักโรคติดตออุบัติใหม โทร 02 590 3238 โทรสาร 02 590 3238 E-mail: bhakdi2005@yahoo.com 3. นางสมนึก เลิศสุโภชวณิชย5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีนและโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบ หายใจในเด็ก สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 02 590 3183 มือถือ 089 207 0669 โทรสาร 02 591 0918 E-mail: nuekl@hotmail.com 4. นางมนัญญา ประเสริฐสุข ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมวิชาการและการเตรียมความพรอมฉุกเฉิน สํานักโรคติดตออุบัติใหม โทร 02 590 3238 โทรสาร 02 590 3238 E-mail: mananya_t@hotmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
135
1. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 2. เกณฑ0 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล 3.2 นิยาม
3.3 วิธีรายงาน 3.๔ แหลงขอมูล 4. กลุมเป>าหมาย 4.1 รายการขอมูล 4.2 นิยาม
อัตราปYวยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป. ระดับอําเภอ ลดลงกวาป.ที่ผานมา อัตราป‚วยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ระดับอําเภอ ลดลง (เมื่อเทียบกับปที่ ผานมา) - จํานวนประชากรกลางประดับอําเภอ (ในปที่ผานมา) - จํานวนผูป‚วยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป (ในปที่ผานมา) โรคมื อ เทา ปาก หมายถึง โรคติ ดเชื้ อพบบอยในเด็กทารกและเด็กเล็ ก มั กเกิด ขึ้ น ในชวงอากาศเย็ นและชื้ น โดยประเทศไทยพบไดตั้ งแตตนฤดู ฝนจนถึ งฤดูหนาว คื อ ตั้งแตเดือนมิถุนายน และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นสูงสุดในเดือนธันวาคม มีลักษณะอาการไข มีแผลเปž¢อยหลายแผลในปาก และมีอาการเจ็บรวมกับมีตุมน้ําพองขนาดเล็กที่ฝ‚ามือ นิ้ว มือ ฝ‚าเทา และบางครั้งอาจมีปรากฏที่กน หมายเหตุ : อัตราป‚วยโรคมือ เทา ปากในที่นี้ กําหนดเฉพาะในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป (เนื่องจากเปCนโรคติดเชื้อที่พบบอยในเด็กทารกและเด็กเล็ก) - รายงาน 506/507 ในระบบของศูนย5ขอมูลระดับอําเภอหรือระดับจังหวัด - ศูนย5ขอมูลระดับอําเภอหรือระดับจังหวัด - จํานวนประชากรกลางปของกลุมอายุต่ํากวา 5 ป ในระดับอําเภอ - จํานวนผูป‚วยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป - ผูป‚วยโรคมือ เทา ปากในที่นี้ หมายถึงผูป‚วยโรคมือ เทา ปาก ในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ในอําเภอ (ในปที่ผานมา) - รายงาน 506/507 ในระบบของศูนย5ขอมูลระดับอําเภอหรือระดับจังหวัด - ศูนย5ขอมูลระดับอําเภอหรือระดับจังหวัด
4.3 วิธีรายงาน 4.๔ แหลงขอมูล จํานวนผูป‚วยโรคมือเทาปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ปในอําเภอ x 100,000 5. การประมวลผลตัวชี้วัด จํานวนประชากรกลางปของกลุมอายุต่ํากวา 5 ป (สูตรการคํานวณ) 6. เกณฑ0การใหคะแนน - อัตราป‚วยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ตอประชากรแสนคน ต่ํากวาปที่ ผานมา ได 2 คะแนน - อัตราป‚วยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ตอประชากรแสนคน สูงกวาปที่ ผานมา ได 0 คะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ 1. นายแพทย5พรศักดิ์ อยูเจริญ ผูประสานงาน ตําแหนง นายแพทย5ชํานาญการพิเศษ หัวหนากลุมโรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีน และโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจ ในเด็ก หนวยงาน สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 02 590 3196-9 อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
136
2. นางวีณา ภักดีสิริวิชัย ตําแหนง หัวหนากลุมวิชาการและการเตรียมความพรอมฉุกเฉิน หนวยงาน สํานักโรคติดตออุบัติใหม โทร 02 590 3238 โทรสาร 02 590 3238 E-mail: bhakdi2005@yahoo.com 3. นางสมนึก เลิศสุโภชวณิชย5 ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมโรคติดตอที่ป"องกันไดดวยวัคซีนและโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบ หายใจในเด็ก สํานักโรคติดตอทั่วไป โทร. 02 590 3183 มือถือ 089 207 0669 โทรสาร 02 591 0918 E-mail: nuekl@hotmail.com 4. นางมนัญญา ประเสริฐสุข ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ หนวยงาน กลุมวิชาการและการเตรียมความพรอมฉุกเฉิน สํานักโรคติดตออุบัติใหม โทร 02 590 3238 โทรสาร 02 590 3238 E-mail: mananya_t@hotmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
137
ภาคผนวก 1 ตัวชี้วัดเป>าประสงค0 ยุทธศาสตร0 1 ยุทธศาสตร0ที่ 1 : การพัฒนาและรวมมือกับเครือขายภาคีภายในและนานาชาติ รวมทั้งสนับสนุนพื้นที่ดําเนินงาน เฝ"า ระวัง ป"องกันและควบคุมโรคอยางเขมแข็งและยั่งยืน เป>าประสงค0เชิงยุทธศาสตร0 1.1 องค5กรทุกระดับสามารถบริหารจัดการและขับเคลื่อนการเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุม โรค/ภัยสุขภาพและการบังคับใชกฎหมายเพื่อลดป<ญหาที่มีผลกระทบตอสุขภาพประชาชน ทําใหทุกอําเภอ ทุกจังหวัด และ ประเทศมีระบบควบคุมโรคที่เขมแข็งและยั่งยืน ตัวชี้วัดเป>าประสงค0เชิงยุทธศาสตร0 : ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ตัวชี้วัดระดับกรม 1) ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 : จํานวนจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนา”อําเภอ ควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” 2) หนวยวัด : จังหวัด 3) น้ําหนัก : 10 4) คําอธิบาย : 4.1 จังหวัด หมายถึง จังหวัด 76 จังหวัด ยกเวน กทม. 4.2. อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน หมายถึง อําเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการการเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ5 โดยวัดจากเกณฑ5 คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน 5 ดาน 4.3 เกณฑ0คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน 5 ดาน ประกอบดวย ลําดับที่ 1 2. 3. 4. 5.
ประเด็นการประเมิน มีคณะกรรมการการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ มีระบบระบาดวิทยาที่ดใี นระดับอําเภอ มีการวางแผน ติดตามและประเมินผลการป"องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานที่เกี่ยวของเปCนรูปธรรม มีผลสําเร็จของการควบคุมป"องกันโรคที่สําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข และเปCนป<ญหาในพื้นที่ อยางนอยประเด็นละ 1 เรื่อง รวม
คะแนน 5 20 10 5 10 50
ทั้งนี้ อําเภอ ตองไดคะแนนรวม ไมต่ํากวารอยละ 80 คือ ไดคะแนนไมต่ํากวา 40 คะแนน จากคะแนนเต็ม 50 คะแนน จึงถือวาเปCนอําเภอที่ผานเกณฑ5คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน 4.4 จังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนา “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง จังหวัดในกลุมเป"าหมายมีการดําเนินงานตามองค5ประกอบครบ 5 ดาน ดังนี้ องค0ประกอบ
รายละเอียดการดําเนินงาน
1
นํ า ขอมู ล ทางระบาดวิ ท ยาของโรคและภั ย สุขภาพมาประเมินสถานการณ0 รวมถึงปAจจัยที่ เกี่ยวของอื่น มากําหนดเป>าหมาย วางแผนและ ปฏิบัติการรวมกันในการพัฒนาใหเกิด “อําเภอ
คะแนนที่ได (คะแนน)
เอกสารหลักฐาน
20
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
138
องค0ประกอบ
รายละเอียดการดําเนินงาน ควบคุ ม โรคเขมแข็ ง แบบยั่ ง ยื น ” ระหวาง หนวยงานภายในจัง หวัด และ/หรือหนวยงาน ภายนอก/องค0กรอื่น 1.1 มีระบบขอมูล ครบ 4 ดาน • ข อ มู ล โ ร ค แ ล ะ ภั ย สุ ข ภ า พ (2คะแนน) • ป< จ จั ย เสี่ ย งที่ เ ปC น ภั ย ตอสุ ข ภาพ เชน ป<จจัยทางสังคม ประชากร สิ่งแวดลอม และพฤติกรรมเสี่ยง(2คะแนน) • ขอมู ล การดํ า เนิ น งานเพื่ อ ขั บ เคลื่ อ น อํ า เภอควบคุ ม โรคเขมแข็ ง แบบยั่ ง ยื น (2คะแนน) • มี ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ข อ มู ล ร ะ ห ว า ง เครือขายภายในจังหวัด เครือขายระดับ เขต และ/หรือสวนกลาง(2คะแนน)
2
1.2 มีการวิเคราะห5และนําเสนอขอมูลตามขอ1.1 เพื่ อ ประเมิ น สถานการณ5 และรวมแกป< ญ หาโดย บุคลากรจากหนวยงานระดับจังหวัด อําเภอ และ/ หรือหนวยงานจากภายนอกอื่น ๆ อยางนอยเดือน ละ 1 ครั้ง 1.3 รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ วิเคราะห5ผลการ ประเมิ น Self Assessment คุ ณลั กษณะอํา เภอ ควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน เพื่อหาสวนขาดที่ ตองการพั ฒ นา ( Gap) และวางแผน กํ า หนด เป" าหมายการพั ฒ นาอํา เภอควบคุม โรคเขมแข็ ง แบบยั่งยืน ในปงบประมาณ 2556 จังหวัดมีกลไกการสนับสนุนใหอําเภอผานเกณฑ0 คุ ณ ลั ก ษณะอํ า เภอควบคุ ม โรคเขมแข็ ง แบบ ยั่งยืน 2.1 มี คํ า สั่ ง แตงตั้ง คณะกรรมการฯ ที่ มี บ ทบาท หนาที่ใ นการสนับสนุนใหเกิดอําเภอควบคุมโรค เขมแข็งแบบยั่งยืน ซึ่งประกอบดวยบุคลากรของ สํานั กงานสาธารณสุ ขจั ง หวั ด หนวยงานภายใน จังหวัด และ/หรือหนวยงานภายนอกอื่นๆ 2.2 จัดทําแผนยุทธศาสตร5 และแผนปฏิบัติราชการ ประจํ าปงบประมาณ พ.ศ.2556 เพื่ อ สนับ สนุ น อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน 2.3 สื่ อ สาร ถายทอด ชี้ แ จงนโยบาย จั ด เวที
คะแนนที่ได (คะแนน)
เอกสารหลักฐาน
8
เอกสารแสดงวาจังหวัดมีระบบขอมูลโรคและภัยสุขภาพ รวมถึงป<จจัยเสี่ยงที่เปCนภัยสุขภาพ เชน ป<จจัยทางสังคม ประชากร สิ่งแวดลอม และพฤติกรรมเสี่ยง ขอมูลการ ดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบ ยั่งยืน และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางเครือขาย ภายในจังหวัด เครือขายระดับเขตและ/หรือสวนกลาง
6
เอกสารแสดงการวิเคราะห5และนําเสนอขอมูลทางระบาด วิทยาของโรคและภัยสุขภาพ เพื่อประเมินสถานการณ5 และรวมแกป<ญหาโดยบุคลากรจากหนวยงานระดับอําเภอ จังหวัดและ/หรือหนวยงานภายนอกอื่น อยางนอยเดือน ละ 1 ครัง้ จังหวัดแสดงเอกสารการวิเคราะห5ผลการประเมิน Self Assessment คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบ ยั่งยืนของอําเภอที่รับผิดชอบมาพิจารณารวมกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของ เพื่อหาสวนขาดที่ตองการพัฒนา (Gap) รวมทัง้ ดําเนินการวางแผน กําหนดเป"าหมายการพัฒนาอําเภอ ควบคุมโรคเขมแข็งแบบยัง่ ยืนของปงบประมาณ 2556
6
20 5
มีคําสั่งแตงตัง้ คณะกรรมการฯ ซึง่ ประกอบดวยบุคลากร ของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด หนวยงานภายในจังหวัด และ/หรือหนวยงานภายนอกอื่นๆ
5
มีแผนยุทธศาสตร5 และแผนปฏิบัตริ าชการ ประจําป งบประมาณ พ.ศ.2556 เพื่อสนับสนุนอําเภอควบคุมโรค เขมแข็งแบบยั่งยืน มีการสื่อสาร หรือ ถายทอด หรือ ชี้แจงนโยบาย หรือ จัด
5
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
139
องค0ประกอบ
รายละเอียดการดําเนินงาน
คะแนนที่ได (คะแนน)
แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู กั บ หนวยงานภายใตสั ง กั ด สํานั กงานสาธารณสุ ขจั ง หวั ดในทุ กระดับ และ/ หรือหนวยงานภายนอกอื่น รับทราบอยางทั่วถืง
3
4.
2.4 มีการถายทอดความรู แนวปฏิบัติเกี่ยวกับทีม เฝ"าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับตําบล ใหแกหนวยงานที่ เ กี่ ย วของในอํ า เภอทุ ก แหง รับทราบอยางทั่วถึง จังหวัดมีระบบการติดตามความกาวหนา และ ผลสําเร็จ พรอมสรุปผลการดําเนินงาน ปAญหา/ อุ ป สรรคและขอเสนอแนะ เพื่ อ สนั บ สนุ น การ พัฒนาใหเกิด"อําเภอควบคุ มโรคเขมแข็งแบบ ยั่งยืน" 3.1 กําหนดแผนการติดตามประเมินผล โดยมี ปฏิทินการทํางานอยางชัดเจน 3.2 มีการนิเทศ กํากับ ติดตามผลการดําเนินงาน ของอําเภออยางนอย 2 ครัง้ ตอป ในไตรมาส 2 และ 3 3.3 สรุปรายงานผลการดําเนินงานในภาพรวม รอบ 6 และ 9 เดือน พรอมใหขอเสนอแนะในการ ขับเคลื่อนอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยัง่ ยืน ให หนวยงานที่เกีย่ วของรับทราบอยางทั่วถึง 3.4 เผยแพร ผลการดําเนินงานขับเคลื่อนอําเภอ ควบคุมโรคเขมแข็งแบบยัง่ ยืน ใหหนวยงานที่ เกี่ยวของรวมถึงหนวยงานภายนอก/องค5กรอื่น รับทราบ อยางทั่วถึง จังหวัดมีระบบเฝ>าระวังโรค สอบสวน และ การปAองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่มี ประสิทธิภาพ 4.1 ทีมเฝ"าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับจังหวัด ดําเนินการเฝ"าระวัง สอบสวน ป"องกัน ควบคุมโรคไดตามมาตรฐานที่สอดคลอง กับกฎอนามัยระหวางประเทศ 4.2 มีการประเมินระบบเฝ"าระวัง หรือถอด บทเรียนการสอบสวน การป"องกัน ควบคุมโรค พรอมขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนาอยางนอย 1 เรื่อง ตอป
5
เอกสารหลักฐาน เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู กับหนวยงานภายใตสังกัดสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัดในทุกระดับ และ/หรือหนวยงาน ภายนอกอื่น รับทราบอยางทั่วถืง(ถาจังหวัดจัดรวมกับ หนวยงานอื่น เขาเกณฑ5ขอนีไ้ ด แตตองมีหลักฐานวาจังหวัด เปCนเจาภาพรวม ในการจัดงานหรือการสนับสนุน งบประมาณ หรืออื่นๆ) มีการถายทอดความรู แนวปฏิบัติเกี่ยวกับทีมเฝ"าระวัง สอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับตําบล ใหแกหนวยงานที่เกี่ยวของในอําเภอทุกแหงรับทราบอยาง ทั่วถึง
20
5 5
มีแผนการติดตามประเมินผล โดยมีปฏิทินการทํางาน อยางชัดเจน รายงานผลการนิเทศ กํากับ ติดตามผลการดําเนินงานของ อําเภอ อยางนอย 2 ครัง้ ตอป
5
รายงานสรุปผลการดําเนินงานในภาพรวม พรอมให ขอเสนอแนะในการขับเคลื่อนอําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง แบบยั่งยืน ใหหนวยงานที่เกีย่ วของรับทราบอยางทั่วถึง
5
มีการเผยแพรผลการดําเนินงานขับเคลื่อนอําเภอฯ ให หนวยงานที่เกีย่ วของรับทราบ
20 10
ผลการประเมินรับรองมาตรฐาน SRRT ของระดับจังหวัด
10
ผลการประเมิน หรือรายงานการถอดบทเรียนการ สอบสวน การป"องกัน ควบคุมโรค พรอมขอเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาอยางนอย 1 เรื่อง ตอป
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
140
องค0ประกอบ 5
คะแนนที่ได เอกสารหลักฐาน (คะแนน) อําเภอผานเกณฑ0คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรค 20 เอกสาร/หลักฐานที่แสดงผลการประเมินอําเภอผานเกณฑ5 เขมแข็งแบบยั่งยืนตามเป>าหมาย ดังนี้ คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเขมแขงแบบยัง่ ยืน โดย ไดคะแนน 4 8 12 16 20 คณะกรรมการของจังหวัด รายละเอียดการดําเนินงาน
อําเภอผาน เกณฑ5รอยละ
60
65
70
75
80
*ภาพรวมจังหวัด ตองมีจาํ นวนอําเภอที่ผานเกณฑ5 คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยัง่ ยืน อยางนอย รอยละ 70 ของอําเภอทั้งหมดใน จังหวัด รวมคะแนนทั้งสิ้น
100
หมายเหตุ : ทั้งนี้จังหวัด ตองไดคะแนนรวม ไมต่ํากวา 92 คะแนน (ใชผลการประเมินรอบ 9 เดือนหลังจากที่ สคร. ได ดําเนินการประเมิน) จึงถือวาเปCน ”จังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง แบบยั่งยืน” 4.5 เครือขาย หมายถึง หนวยงานหรือองค5กรภายนอกกรมควบคุมโรค ที่ระบุไวเปCนเป"าหมายการพัฒนาสราง เสริมศักยภาพความเขมแข็ง ปงบประมาณ 2556 โดยแบงเปCน 3 ระดับดังนี้ ระดับพื้นที่ หมายถึง กลุมบุคคล หรือองค5กรที่อยูภายในจังหวัดและหรือกรุงเทพมหานคร โดยเนนประเด็น พัฒนาเสริมสรางศักยภาพ ดังนี้ - จังหวัดพัฒนาในเรื่องระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนา”อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบ ยั่งยืน” - อําเภอเนนความเขมแข็งการจัดการงานเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรคเชิงบูรณาการในระดับอําเภอ ประกอบดวย สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาลชุมชน ทีม SRRT ระดับอําเภอ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพระดับ ตําบล สถาบันการศึกษา องค5กรปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานภาครัฐและเอกชนอื่น ๆ รวมทั้งภาคประชาชน เชน กลุม แรงงานนอกระบบ และแกนนําชุมชน ระดับชาติ หมายถึง องค5กรทั้งภาครัฐและเอกชนในระดับ นโยบายที่มีเป"าหมายการทํางานรวมกันในการ สนับสนุน ผลักดัน การปฏิบัติภารกิจดานการเฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรค เพื่อขับเคลื่อนใหหนวยงานภายใตสังกัดไป ดําเนินการ โดยอาจอยูในรูปของคณะกรรมการ คณะทํางาน แผนยุทธศาสตร5หรือมีบันทึกขอตกลงความรวมมือ (MOU) ที่ ชัดเจน เชน งานกวาดลางโรคพิษสุนัขบา (กรมปศุสัตว5) ไขหวัดใหญหวัดนก(กระทรวงที่เกี่ยวของ) บุหรี่ สุรา (ทุกกระทรวง) อาหารและน้ํา(กรมอนามัยและสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) เปCนตน ระดับนานาชาติ หมายถึง องค5กรทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีบทบาทดําเนินงาน เฝ"าระวัง ป"องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพระหวางประเทศ เชน องค5กรระหวางประเทศ จังหวัดหรืออําเภอในพื้นที่ชายแดนและจังหวัดที่มีแรงงานตาง ดาว จังหวัดชายแดนของประเทศเพื่อนบาน องค5กรเอกชน เชน มูลนิธิรักษ5ไทย เปCนตน ทั้งนี้ ในแตละระดับแบงประเภทของเครือขาย เป@น 5 ประเภท ไดแก เครือขายภาคราชการ (ใน/นอก สาธารณสุข) เครือขายภาคเอกชน เครือขาย NGO เครือขายสื่อมวลชน เครือขายภาคทองถิ่นและเครือขายภาคประชาชน 5) สูตรการคํานวณ : -
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
141
6) เป>าหมายความสําเร็จภาพรวมกรม ฯ : 46 จังหวัด นับจากผลการประเมินของสคร.ตามขอ 14.2 หนวย วัด จํานวนจัง หวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการให จังหวัด เกิดการพัฒนา”อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” ตัวชี้วัด
เป>าหมาย (ป.งบประมาณ) 2556
46 (60%)
2557 53
2558 61
2559 68
2560
(70%)
(80%)
(90%)
(100%)
76
7) เกณฑ0การใหคะแนน : ระดับกรม นับจากผลการประเมินของสคร.ตามขอ 14.2 หนวย ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ วัด จํานวนจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิด จังหวัด การพัฒนา”อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน”
เกณฑ0การใหคะแนนป.งบประมาณ 2556 1 2 3 4 5 35
40
46
50
55
8) รายละเอียดขอมูลพื้นฐาน : ขอมูลพืน้ ฐานประกอบตัวชี้วัด หนวยวัด จํานวนจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิด จังหวัด การพัฒนา”อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” *ผานเกณฑ5ฯ ที่กําหนดของป 2554 ซึ่งตางจากเกณฑ5ป 2555 นี้
ผลการดําเนินงานในอดีต ป.งบประมาณ 2553
-
2554 55*
2555
64
9) แหลงขอมูล ร า ย ง า น จ า ก ร ะ บ บ ข อ มู ล ตั ว ชี้ วั ด ร ะ ดั บ ก ร ม สํ า นั ก น โ ย บ า ย แ ล ะ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร5 ส ป . ส ธ . ผ า น ท า ง http://healthdata.moph.go.th/kpi/ และจากระบบบริหารจัดการงบประมาณ กรมควบคุมโรค โดยสํานักงานป"องกัน ควบคุมโรคที่ 1 - 12 10) วิธีการจัดเก็บขอมูล : กองแผนงาน รวบรวมขอมูลจากสคร.จากการรายงานในระบบ Estimates และจากรายงานตามระบบขอมูลตัวชี้วัดระดับ กรม ปงบประมาณ 2556 กระทรวงสาธารณสุข ของกลุ มภารกิจดานขอมู ลขาวสาร สํ านักนโยบายและยุทธศาสตร5 สํานั กงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ภายใตชื่อตัวชี้วัด “รอยละของจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนาอําเภอควบคุม โรคเขมแขงแบบยั่งยืน” (http://healthdata.moph.go.th/kpi/ เขาหนาจอ ระบบขอมูลตัวชี้วัดสําคัญ เลือก ตัวชี้วัดสําคัญระดับ กรม ปงบประมาณ 2556 เลือก ประเมินผลทุกไตรมาส เลือก จังหวัดที่ตองการ แลวดูขอมูลตัวชี้วัด ซึ่งตัวตั้งเปCนเลข 1 ถาคะแนน รวมของแตละจังหวัดผานเกณฑ5เทากับหรือมากกวา 92 คะแนน และเลข 0 กรณีไมผานเกณฑ5 กรณีคะแนนขอยอยของแตละ องค5ประกอบ สามารถขอไดที่สคร. โดยสคร.จะเปCนผูขอจากจังหวัด) และจัดทําสรุปรายงานในภาพรวม เสนอกรม ฯ ดังนี้ ไตรมาส 1 รายงานความกาวหนาการดําเนินโครงการที่นําสงตัวชี้วัด และรายงาน SAR ในระบบ Estimates ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ไตรมาส 2 รายงานความกาวหนาการดําเนินโครงการที่นําสงตัวชี้วัด และรายงาน SAR ในระบบ Estimates พรอมแนบ file ตามขอ 14.1 ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2556 ไตรมาส 3 รายงานความกาวหนาการดําเนินโครงการที่นําสงตัวชี้วัด และรายงานผลการประเมินขอมูลที่จังหวัดทํา Self Assessment ตามองค5ประกอบของจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนา”อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบ ยั่งยืน”พรอมแนบfileตามขอ 4.2ประกอบรายงานSARในระบบ Estimatesภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2556 ไตรมาส 4 รายงานความกาวหนาการดําเนินโครงการที่นําสงตัวชี้วัด และรายงาน SAR ในระบบ Estimates ภายในวันที่ 30 กันยายน 2556
11) ความถี่ในการจัดเก็บขอมูล : 4 ครั้ง ตอป (รายไตรมาส) อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
142
12) ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผูอํานวยการกองแผนงาน เบอร0ติดตอ : 02 590 3086 13) ผูจัดเก็บขอมูล : 1. นายอริยะ บุญงามชัยรัตน5 02 590 3084 2. นางนาถลดา ประสงค5ศรี 02 590 3091 14) แบบรายงาน จังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนา”อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” 14.1 ผลการประเมิน Self assessment จังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนา”อําเภอควบคุม โรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” โดยจังหวัดประเมินตนเอง ชื่อจังหวัด
ผานเกณฑ0 ฯ /ไมผานเกณฑ0 ฯ
1. 2.
14.2 ผลการประเมินจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนา”อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง แบบยั่งยืน” โดยสํานักงานป"องกันควบคุมโรคที่..................... องค0ประ กอบ 1
2
รายละเอียดการดําเนินงาน
คะแนน เต็ม นํา ขอมู ล ทางระบาดวิ ทยาของโรคและภั ยสุ ข ภาพมาประเมิ น 20 สถานการณ0 รวมถึงปAจจัยที่เกี่ยวของอื่น มากําหนดเป>าหมาย วางแผนและปฏิ บั ติ ก ารรวมกั น ในการพั ฒ นาใหเกิ ด “อํ า เภอ ควบคุ ม โรคเขมแข็ ง แบบยั่ ง ยื น ” ระหวางหนวยงานภายใน จังหวัด และ/หรือหนวยงานภายนอก/องค0กรอื่น 1.1 มีระบบขอมูล ครบ 4 ดาน 8 • ขอมูลโรคและภัยสุขภาพ (2คะแนน) • ป< จ จั ย เสี่ ย งที่ เ ปC น ภั ย ตอสุ ข ภาพ เชน ป< จ จั ย ทางสั ง คม ประชากร สิ่งแวดลอมและพฤติกรรมเสี่ยง(2คะแนน) • ขอมู ล การดํ า เนิ น งานเพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นอํ า เภอควบคุ ม โรค เขมแข็งแบบยั่งยืน(2คะแนน) • มี ก ารแลกเปลี่ ย นขอมู ล ระหวางเครื อ ขายภายในจั ง หวั ด เครือขายระดับเขต และ/หรือสวนกลาง(2คะแนน) 1.2 มี การวิเ คราะห5แ ละนํ าเสนอขอมู ลตามขอ1.1 เพื่ อประเมิ น 6 สถานการณ5และรวมแกป<ญหาโดยบุคลากรจากหนวยงานระดั บ จังหวัด อําเภอ และ/หรือหนวยงานจากภายนอกอื่น ๆ อยางนอย เดือนละ 1 ครั้ง 1.3 รวมกั บหนวยงานที่เกี่ย วของ วิเคราะห5 ผลการประเมิน Self 6 Assessment คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน เพื่อ หาประเด็นที่ตองพัฒนา (GAP) และวางแผน กําหนดเป"าหมายการ พัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ในปงบประมาณ 2556 จั ง หวั ด มี ก ลไกการสนั บ สนุ น ใหอํ า เภอผานเกณฑ0 คุ ณ ลั ก ษณะ 20 อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน 2.1 มี คํ า สั่ ง แตงตั้ ง คณะกรรมการฯ ที่ มี บ ทบาทหนาที่ ใ นการ 5 สนั บ สนุ น ใหเกิ ด อํ า เภอควบคุ ม โรคเขมแข็ ง แบบยั่ ง ยื น ซึ่ ง ประกอบดวยบุคลากรของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด หนวยงาน ภายในจังหวัด และ/หรือหนวยงานภายนอกอื่นๆ
จังหวัด....
คะแนนที่ได จังหวัด.... จังหวัด....
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
143
องค0ประ กอบ
3
4.
5
รายละเอียดการดําเนินงาน
คะแนน เต็ม 2.2 จั ด ทํ า แผนยุ ท ธศาสตร5 และแผนปฏิ บั ติ ร าชการ ประจํ า ป 5 งบประมาณ พ.ศ.2556 เพื่อสนับสนุนอําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง แบบยั่งยืน 5 2.3 สื่อสาร ถายทอด ชี้แจงนโยบาย จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู กับ หนวยงานภายใตสัง กัดสํานักงานสาธารณสุขจัง หวัดในทุกระดับ และ/หรือหนวยงานภายนอกอื่น รับทราบอยางทั่วถืง 2.4 มีการถายทอดความรู แนวปฏิบัติเกี่ยวกับทีมเฝ"าระวังสอบสวน 5 เคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับตําบล ใหแกหนวยงานที่เกี่ยวของใน อําเภอทุกแหงรับทราบอยางทั่วถึง จั ง หวั ด มี ร ะบบการติ ด ตามความกาวหนาและผลสํ า เร็ จ พรอม 20 สรุ ป ผลการดํ า เนิ น งานปA ญ หา/อุ ป สรรคและขอเสนอแนะเพื่ อ สนับสนุนการพัฒนาใหเกิด"อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน" 3.1 กําหนดแผนการติดตามประเมินผล โดยมีปฏิทินการทํางาน 5 อยางชัดเจน 3.2 มีการนิเทศ กํากับ ติดตามผลการดําเนินงานของอําเภออยาง 5 นอย 2 ครัง้ ตอป ในไตรมาส 2 และ 3 3.3 สรุปรายงานผลการดําเนินงานในภาพรวม รอบ 6 และ 9 เดือน 5 พรอมใหขอเสนอแนะในการขับเคลื่อนอําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง แบบยั่งยืน ใหหนวยงานที่เกีย่ วของรับทราบ 3.4 เผยแพร ผลการดําเนินงานขับเคลื่อนอําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง 5 แบบยั่งยืน ใหหนวยงานที่เกีย่ วของรวมถึงหนวยงานภายนอก/ องค5กรอื่น รับทราบ อยางทั่วถึง จังหวัดมีระบบเฝ>าระวังโรค สอบสวน และการปAองกัน ควบคุม 20 โรคและภัยสุขภาพ ที่มีประสิทธิภาพ 4.1 รายงานผลการดําเนินงานทีมเฝ"าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว 10 (SRRT) ระดับจังหวัด ดําเนินการเฝ"าระวัง สอบสวน ป"องกัน ควบคุม โรคไดตามมาตรฐานที่สอดคลองกับกฎอนามัยระหวางประเทศ 4.2 มีการประเมินระบบเฝ"าระวัง หรือถอดบทเรียนการสอบสวน 10 การป"องกัน ควบคุมโรค พรอมขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนา อยางนอย 1 เรื่อง ตอป อํา เภอผานเกณฑ0คุ ณ ลัก ษณะอํ า เภอควบคุ มโรคเขมแข็ งแบบ 20 ยั่งยืนตามเป>าหมาย ดังนี้ 4 8 12 16 20 ไดคะแนน อําเภอผานเกณฑ5รอยละ 60 65 70 75 80 *ภาพรวมจังหวัด ตองมีจาํ นวนอําเภอที่ผานเกณฑ5คุณลักษณะ อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนอยางนอย รอยละ 70 ของ อําเภอทั้งหมดในจังหวัด รวมคะแนนทั้งสิ้น 100
จังหวัด....
คะแนนที่ได จังหวัด.... จังหวัด....
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
144
หมายเหตุ : ทั้งนี้จังหวัด ตองไดคะแนนรวม ไมต่ํากวา 92 คะแนน (ใชผลการประเมินรอบ 9 เดือนหลังจากที่ สคร. ได ดําเนินการประเมิน) จึงถือวาเปCน “จังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง แบบยั่งยืน” ตัวชี้วัดระดับสํานักงานป>องกันควบคุมโรค 1) ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 : จํานวนจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนา”อําเภอ ควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” 2) หนวยวัด : จังหวัด 3) น้ําหนัก : 10 4) คําอธิบาย : (เหมือนตัวชี้วัดระดับกรม ขอ 4 คําอธิบาย) 5) สูตรการคํานวณ : 6) เป>าหมายความสําเร็จแตละสคร. (นับจากผลการประเมินของสคร.ตามขอ 14.2) ตัวชี้วัด จังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการ พัฒนา “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” สคร 1 =3 สคร 2 =5 สคร 3 =9 สคร 4 =8 สคร 5 =4 สคร 6 =9 สคร 7 =7 สคร 8=4 สคร 9=5 สคร 10=8 สคร 11=7 สคร 12=7
หนวยวัด จังหวัด
เป>าหมาย (ป.งบประมาณ) 2556 46
2557 53
2558 61
2559 68
2560
(60%)
(70%)
(80%)
(90%)
(100%)
76
2 3 6 5 2 6 4 2 3 5 4 4
7) เกณฑ0การใหคะแนนแตละ สคร. (นับจากผลการประเมินของสคร.ตามขอ 14.2) เกณฑ0การใหคะแนนป.งบประมาณ 2555 หนวย ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ วัด 1 2 3 4 5 จํานวนจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการให จังหวัด ต่ํากวาเป"าหมาย ต่ํากวา เทากับ มากกวา มากกวา เกิดการพัฒนา”อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” 2 จังหวัด เป"าหมาย1 เป"าหมาย เป"าหมาย 1 เป"าหมาย 2 จังหวัด จังหวัด จังหวัด หมายเหตุ : 1. สําหรับ สคร 1 ถามีจํานวนจังหวัดที่มรี ะบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนา”อําเภอควบคุมโรค เขมแข็งแบบ ยั่งยืน” 3 จังหวัด ใหได 5 คะแนน 2. ทั้งนี้แตละ สคร.สามารถพิจารณานําเป"าหมายความสําเร็จภาพรวมแตละสคร และเกณฑ5การใหคะแนนทั้งปไปถายทอดเปCน ระดับความสําเร็จของการสนับสนุนใหจังหวัดที่มรี ะบบบริหารจัดการและสนับสนุนตามมาตรฐานที่กําหนดเพื่อพัฒนา "อําเภอควบคุมโรค เขมแข็งแบบยั่งยืน" เพื่อถายทอดเปCนตัวชี้วัดของกลุมงาน/บุคคล ภายในสคร. ในรอบ 6 เดือนแรก และ 6 เดือนหลัง ใหสอดคลองตามบริบท ของ สคร.แตละแหง
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
145
8) รายละเอียดขอมูลพื้นฐาน : ขอมูลพืน้ ฐานประกอบตัวชี้วัด หนวยวัด จํานวนจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิด จังหวัด การพัฒนา”อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” *ผานเกณฑ5ฯ ที่กําหนดของป 2554 ซึ่งตางจากเกณฑ5ป 2555 นี้
ผลการดําเนินงานในอดีต ป.งบประมาณ 2553 2554 2555 55* 64
9) แหลงขอมูล รายงานจากระบบขอมูลตัวชี้วัดระดับกรม สํานักนโยบายและยุทธศาสตร5 สป.สธ.ผานทาง http://healthdata.moph.go.th/kpi/ และ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของแตละสคร. 10) วิธีการจัดเก็บขอมูล : 10.1 สคร.กระตุนเตือนใหจังหวัดรายงานขอมูลผานระบบขอมูลตัวชี้วัดระดับกรม ปงบประมาณ 2556 กระทรวง สาธารณสุข ของกลุมภารกิจดานขอมูลขาวสาร สํานักนโยบายและยุทธศาสตร5 สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ภายใตตัวชี้วัดชื่อ “รอยละของจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนา อําเภอควบคุมโรคเขมแขงแบบยั่งยืน” (ขอมูลดังกลาวเปCน ขอมูลที่จังหวัดดําเนินการประเมินตนเอง (Self Assessment) ตามองค5ประกอบของการเปCนจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหาร จัดการใหเกิดการพัฒนา”อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน”) 10.2 ไตรมาส 1 สคร.1-12 รายงานความกาวหนาการดําเนินโครงการทีน่ ําสงตัวชี้วัด และรายงาน SAR ในระบบ Estimates ภายในวันที่ 25 ธันวาคม 2555 10.3 ไตรมาส 2 สคร.1-12 รายงานความกาวหนาการดําเนินโครงการทีน่ ําสงตัวชี้วัด และรายงาน SAR ในระบบ Estimates พรอมแนบ file ตามขอ 14.1 ภายในวันที่ 25 มีนาคม 2556 ซึ่งสรุปมาจากขอมูลที่จังหวัดรายงานเขามาในระบบฯ (http://healthdata.moph.go.th/kpi/ เขาหนาจอ ระบบขอมูลตัวชี้วัดสําคัญ เลือก ตัวชี้วดั สําคัญระดับกรม ปงบประมาณ 2556 เลือก ประเมินผลทุกไตรมาส เลือก จังหวัดที่ตองการ แลวดูขอมูลตัวชี้วัด ซึง่ ตัวตั้งเปCนเลข 1 ถาคะแนนรวมของแตละจังหวัด ผานเกณฑ5 เทากับหรือมากกวา 92 คะแนน และเลข 0 กรณีไมผานเกณฑ5 กรณีคะแนนขอยอยของแตละองค5ประกอบ สามารถขอ ไดที่จังหวัด) 10.4 ไตรมาส 3 สคร.1-12 รายงานความกาวหนาการดําเนินโครงการที่นําสงตัวชีว้ ัด และรายงานผลการประเมินขอมูลที่ จังหวัดทํา Self Assessment ตามองค5ประกอบของจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการพัฒนา”อําเภอควบคุม โรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” พรอมแนบ file ตามขอ 14.2 ประกอบรายงานSAR ในระบบ Estimates ภายในวันที่ 25 มิถุนายน 2556 10.5 ไตรมาส 4 สคร.1-12 รายงานความกาวหนาการดําเนินโครงการทีน่ ําสงตัวชีว้ ัด และรายงาน SAR ในระบบ Estimates ภายในวันที่ 25 กันยายน 2556 10.6 กองแผนงาน รวบรวมขอมูลจากสคร. และจัดทําสรุปรายงานในภาพรวม ****กรณีสงขอมูลลาชากวากําหนด หักคะแนนวันละ 0.5 คะแนน 11) ความถี่ในการจัดเก็บขอมูล : 4 ครั้ง ตอป (รายไตรมาส) 12) ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด : ผูอํานวยการสํานักป>องกันควบคุมโรคที่ 1-12
13) ผูจัดเก็บขอมูล : กลุมงาน/เจาหนาที่ที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบดําเนินการ
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
146
14) แบบรายงาน (เหมือนตัวชี้วัดระดับกรม ขอ 14 แบบรายงาน จังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการ พัฒนา”อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน”)
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
147
ภาคผนวก 2 รายชื่อผูรับผิดชอบอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน สํานักงานป>องกันควบคุมโรค สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 1 โทรฯ สํานักงาน 0 2972 9606-9 โทรสาร 0 2551 4347 1 พญ.นันทพร เมฆสวัสดิชัย นายแพทย5เชี่ยวชาญ รองผูอํานวยการ สคร 086-6091642 2 นางจงดี กิ่งเกลา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมแผนงานและประเมินผล 081-9322322 3 นางนภัทร วัชราภรณ5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมระบาดวิทยาและขาวกรอง 081-7194495 4 นางธัญญา รอดสุข พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคึเครือขาย 089-1448006 สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 2 โทรฯ สํานักงาน..036 266600 ตอ 71,81 โทรสาร 036 267585 1 นางวิจติ ร เอี่ยมบริสุทธิ์ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 089-5478934 2 นางเพ็ญศรี ไผทรัตนB นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 081 8338509 สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 3 โทรฯ สํานักงาน 038-260970 โทรสาร 038 260206 1 นางมาลี เกิดพันธุ5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 089 244 1734 2 นางสาวจรรยา ภู!กลั่น พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 086 997 2597 3 นางสาวสมปอง โรจน5รุงศศิธร นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมแผนงานและประเมินผล 081 715 7272 4 นางสุรีย5 เต็มศิริพันธ5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมระบาดวิทยาและขาวกรอง 084 012 2362 สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 4 กลุมแผนงานและประเมินผล 032_310767 กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 032-310761-2 ตอ 116 1 นางเปรมมาส กันตะโอภาส นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมแผนงานและประเมินผล 081 2869348 2 นางขนิษฐา อติรัตนา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมแผนงานและประเมินผล 089-4119596 3 นายยอดชาย กลมศิลา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 081-3788217 4 นางเพ็ญรุง ฉัตรไชยรัตน5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 086-1667731
nunny.cloud@hotmail.com jongdee07@gmail wnapatr@gmail.com tanya.rods@hotmail.com peetonarak@gmail.com pphatairat@gmail.com Ho8823@hotmail.com cphuklan@yahoo.com pong9869@gmail.com epizone3@yahoo.com prem2496@hotmail.com tha_2510@hotmail.com klomsila9@gmail.com penrungc@yahoo.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
148
สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 5 โทรฯ สํานักงาน 044-244266 โทรสาร 044-259250 1 นางมยุรี ศิลป˜ตระกูล นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 2 นางทิติยาณี เทพหัสดิน ณ อยุธยา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 3 นางปนัดดา ไชยชมภู นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 4 นางรัฐริณีย5 พันธุ5รอด พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 5 นางสุพรรณี เจริญวงศBเพ็ชร นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 6 นางสาวธันวดี รูรอบ นักสังคมสงเคราะห5ปฏิบัติการ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 7 ดร.เพลินพิศ สุวรรณอําไพ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 8 ดร.บัณฑิต วรรณประพันธ5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมแผนงานและประเมินผล สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 6 โทรฯ สํานักงาน.043-222818-9 โทรสาร 043-226164 1 พญ.ศศิธร ตั้งสวัสดิ์ นายแพทย5เชี่ยวชาญ ผูชวยผูอํานวยการ 2 นายเกียรติชัย สารเศวต นักสังคมสงเคราะห5ชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 3 นางสาวกังสดาล สุวรรณรงคB นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมแผนงานและประเมินผล 4 นางสาวเสาวลักษณ5 คัตมาตย5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 5 นายกิตติพชิ ญ5 จันที นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมระบาดวิทยาและขาวกรอง 6 นายบุญเทียน อาสารินทร5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 7 นางสาวชุติมา วัชรกุล นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมแผนงานและประเมินผล สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 7 โทรฯ สํานักงาน 045 243235 โทรสาร 045 255188 , 045 250556 1 นางมนัสนันท5 ลิมปวิทยากุล นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ กลุมแผนงานและประเมินผล 2 นางฐิติมา โกศัลวิตร นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 3 นางสุชญา สีหะวงษ5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมแผนงานและประเมินผล 4 นางสาวจุติพร ผลเกิด นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย
084-1546334 081-9779827 089-5842622 081-1207186 089-8457455 081-8762262 086-9836363 081-8792350
m_siltrakul@yahoo.com thititok4@yahoo.com panadch@yahoo.com rattarinee@gmail.com sjjsupannee066@gmail.com tanwadeer@yahoo.com plernpit@hotmail.com bunditddc5@hotmail.com
086-4513773 081-9262573 086-2232657 089-8400699 084-5199811 084-2772556 089-6222660
sasitth@gmail.com sansawed@hotmail.com pudong10@yahoo.com lovekaiou@gmail.com somjant2002@yahoo.com arsatian@yahoo.com wachrakul@yahoo.com
081 8788844 081 7609845 089 5797865 081 3934334
tim_vbd@yahoo.com nokthitimako@gmail.com nang_vbd@yahoo.com jponkert@yahoo.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
149
สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 8 โทรฯ สํานักงาน 056-221822 โทรสาร 056-226620 1 นายกัมปนาท นิยะโมสถ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 2 นายสันติ เกิดทองทวี นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 3 นางสาวศิริรัตน5 ตันไสว นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 9 โทรฯ สํานักงาน 055214615-7 ตอ111,112 โทรสาร 055 321237-8 1 นายวิรัช ประวันเตา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ พัฒนาภาคีฯ 2 นายภัทรเดช วรศรีหิรัญ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ พัฒนาภาคีฯ 3 ดร.ไพรัตน5 อนอินทร5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ พัฒนาวิชาการ 4 นางวรรณา วิจิตร นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ ระบาดวิทยาและขาวกรอง 5 นางอุษารัตน5 ติดเทียน นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ แผนงานและประเมินผล สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 10 โทรฯ สํานักงาน 053-206484 ตอ 205,212 โทรสาร 053-903740 1 ดร.ป•ยะดา คุณาวรารักษ5 นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 2 นางสาวอนงค5พร ประพันธ5วงศ5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 3 นางสาวนพพร ศรีผัด นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 11 โทรฯ สํานักงาน 075-360068 โทรสาร 075- 342328 1 นางเกษรา ญาณเวทย5สกุล นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคเครือขาย 2 นางศิริพร มัชรินทร5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคเครือขาย 3 นางสาวอรรถพร ณ นคร นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมพัฒนาภาคเครือขาย สํานักงานป>องกันควบคุมโรคที่ 12 โทร 074 336 079-81 ตอ 22-3 ตอ 36 โทรสาร 074 336 084 1 นางป<จฉิมา บัวยอม นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ รองผูอํานวยการ 2 นางสาวเสาวลักษณB มุสิกะรังษี นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย 3 นางสาวจิรวัฒน5 ศานติสุข นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมแผนงานและประเมินผล 4 นางสวรรยา จันทูตานนท5 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ กลุมระบาดวิทยาและขาวกรอง
08-7196-5737 08-6933-3782 08-9906-9630
khun_gong@yahoo.co.th santikead@gmail.com ao1188@hotmail.com
089 7049941 081 9731705 081 9732040 897055463 081 9732040
virat2225@hotmail.com phataradate@hotmail.com pai.on1971@gmail.com fer_nattalega@yahoo.com peawwarn@hotmail.com
089-8500730 089-4298278 081-8834634
wararakp1@hotmail.com ampika_25@hotmail.co.th sripudncd@yahoo.com
081-9781911 087-9155142 084-8940390
kyanvaidsakul@yahoo.com SIRI_ncd@hotmail.com auttaporn.nanagara@gmail.com
086 490 6762 089 736 4700 086 597 8975 086 567 9107
Pad5259@hotmail.com Saowamu@hotmail.com Chirawat_61@hotmail.com Syw43@hotmail.com
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
150
ภาคผนวก 3 รายชื่ออําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน สคร. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
เขตตรวจราชการที่ 1 2 3 9 4 5 14 10 12 11 13 18 17 15 16 6 7 8
ป. 2554 จังหวัด นนทบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ ตราด นครปฐม สมุทรสงคราม ชัยภูมิ เลย กาฬสินธุ5 สกลนคร ยโสธร อุทัยธานี อุตรดิตถ5 เชียงใหม แพร นครศรีธรรมราช ระนอง นราธิวาส
อําเภอ ปากเกร็ด พัฒนานิคม บางบอ เมือง ดอนตูม บางคนที ภูเขียว ภูหลวง กมลาไสย พังโคน เมือง สวางอารมณ5 น้ําปาด จอมทอง หนองมวงไข ทุงใหญ กะเปอร5 แวง
ป. 2555 จังหวัด สระบุรี อางทอง สระแกว ระยอง นครปฐม ประจวบคีรีขันธ5 บุรีรัมย5 อุดรธานี มหาสารคาม มุกดาหาร ศรีสะเกษ อุทัยธานี สุโขทัย ลําปาง เชียงราย สุราษฎร5ธานี ตรัง ป<ตตานี
อําเภอ เฉลิมพระเกียรติ เมือง คลองหาด เมือง บางเลน เมือง คูเมือง นายูง แกดํา ดอนตาล กันทรารมย5 หนองฉาง คีรีมาศ เถิน เมือง เกาะสมุย รัษฎา เมือง อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
151
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
152
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
153
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
154
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556
155
อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2556