รายงานการออกแบบฟ้อนต์

Page 1


คำนำ รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา การออกแบบตัวอัการเพื่อการพิมพ์ ARTD2304 ซึ่งได้จกั ทาเรื่ องการสร้างฟอนต์ประดิษฐ์ โดยใช้โปรแกรม Font lab เพื่อใช้ฟอนต์ในการเรี ยน หรื อในงานต่างๆ โดยลายระเอียดของการสร้างฟอนต์ และติดตั้งฟอนต์ประดิษฐ์

หากทารายงานฉบับนี้ผดิ พลาดประการใดขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดว้ ย

ผูจ้ ดั ทา นาย รัตนชัย ทองเผือก รหัส 5421301085 สาขา ออกแบบนิเทศศิลป์


สำรบัญ

ขั้นตอนการสร้างฟอนตืประดิษฐ์

ขั้นตอนการออกแบบปลับน้ าหนักและขยับโหด

ขั้นตอนการนาทดสอบการพิมพ์

ขั้นตอนการเปลี่ยนชื่อติดตั้งลงบนอุปกรณ์


รำยงำนโครงกำรออกแบบฟอนต์ ประดิษฐ์

ขั้นตอนกำรทำฟอนต์ ประดิษฐ์ 1 ขั้นตอนที่ 1 กำรสร้ ำงฟอนต์ ประดิษฐ์ เปิ ดโปรแกรม Font Lab

เปิ ดด้ วยโปรแกรม

Font lab


จากนั้นเปิ ดแม่แบบที่ อาจารย์ทาไว้ให้ 2 เริ่ มขั้นตอนการสร้างฟ้ อนต์ที่ละตัวจนเสร็ จ


(ดราฟโดยใช้เส้น 1pt)ดราฟ พยัชนะ ไทย-อังกฤษ โดยใช้เส้นน้ าหนักที่ 1 pt ให้ดราฟให้ครบทุกตัวอักษร จากนั้นเปลี่ยนน้ าหนักเส้น จะทาให้ตวั อักษรมีความหนามากขึ้น เพิ่มเส้นไปที่ 4 pt

2 ขั้นตอนที่ 2 ปรับนำ้ หนักของเส้ นให้ มีควำมใหญ่ มำกขึน้ โดยกำรใช้ คำสั่ง Contourจะมีคำสั่ งกำรปรับใช้ หัวกลมหรือเหลีย่ มเรำก็เลือกตำมควำมชอบ


4


3 ขั้นตอนที่ 3 จำกนั้นออกแบบเอกลักษณ์ (โค้ ง-เว้ ำ)ให้ เป็ น สไตล์ของตัวเอง

(โดยการดึงโหนดหรื อจุดในโครงสร้างของตัวอักษร)

จากนั้นทาให้ครบทุกตัวอักษร แล้วลองทดสอบ Test Font


หลังจากนั้นทาการตั้งค่าแล้วเปลี่ยนชื่อ


กดOK เราจะได้ฟอนต์ใหม่ ฟอนต์ name CRU-Rattanachai-58(จากนั้นเข้าไปแก้ไข file แล้ว ไปที่คาสัง่ Font Info)แก้ขอ้ มูล เปลี่ยนเป็ นชือฟอนต์เมื่อเสร็ จแล้วต้องไปที่ File ไปที่คาสัง่ Generate Font เป็ น TrueType/OpenType TT(ttf) และทาการติดตั้งลง Computer


CRU-Rattanachai-58 ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwx!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;' กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุึอูอิอีอึอือ่อ้อ๊อ๋อ์อาเแโใไ? ในทางวงการพิมพ์นั้นกล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึงตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรียงพิมพ์ เนื้อหา ที่มีขนาดและรูปแบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแบบตัวอักษรที่ใช้ในการเรียงพิมพ์ เนื้อหาที่ท่านกาลังอ่านอยู่นี้ มีชื่อแบบตัวอักษรชุดนี้ว่า บางพูด(Bangpood) ที่ประกอบด้วยรูป อักขระ(Glyphs) ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมายสัญลักษณ์(Signs and Symbols) วรรคตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษความเข้าใจในคาศัพท์เทคนิคต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบทางการพิมพ์นั้น มี ผู้รู้กล่าวไว้มากมาย ดังที่จานามาอ้างอิง-แปลสรุปความหมายไว้ให้เข้าใจเป็นความรู้พื้นฐานไว้ ร่วมกันในที่นี้คือ.ความหมายภาษาไทยของคาว่า Typography นั้นยังไม่มีการบัญญัติศัพท์คา ไทย โดยราชบัณฑิตยสถานไว้โดยตรง (2554) ส่วนใหญ่มักแปลและใช้คาว่า การพิมพ์ ดังเช่น เป็นคาแปลไว้ในพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย-อังกฤษ Lexitron ของ Nectec เป็นต้น Kyrnin,Jenifer, 2011 ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับ Typograpy เอาไว้ว่าหมายถึงการออกแบบและ การใช้งานตัวอักษรเพื่อการสื่อสาร ซึ่งมีจุดเิ่ริ่มต้นมานับแต่ที่กูเตนเบิร์กได้เริ่มใช้ในงานการพิมพ์ ในระบบเลตเตอร์เพรสมาก่อน แต่งานไทโพกราฟี่นั้น มีรากฐานการพัฒนามาจากงานเขียน ตัวอักษรแบบคัดลายมือเป็นรูปอักขระ ดังนั้นขอบข่ายของงานและความหมายจึงมีความ ครอบคลุมไปถึงทุกสิ่งทุกอย่าง นับแต่การเขียนรูปอักขระด้วยมือหรือการออกแบบตัวอักษร ไป จนถึงงานการพิมพ์ด้วยระบบดิจิตัลในหน้าเว็บไซต์อีกด้วย อีกทั้งยังครอบคลุมไปถึงภาระงาน ของนักออกแบบที่เป็นผู้ออกแบบสร้างสรรค์ตัวอักษร การจัดตัวอักษรทุกรูปแบบทุกส่วนที่ เกี่ยวข้องในงา่นที่ออกแบบด้วยนั่นเอง


CRU-Rattanachai-58 Italic ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwx!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;' กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุึอูอิอีอึอือ่อ้อ๊อ๋อ์อาเแโใไ? ในทางวงการพิมพ์นั้นกล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึงตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรียงพิมพ์ เนื้อหา ที่มีขนาดและรูปแบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแบบตัวอักษรที่ใช้ในการเรียงพิมพ์ เนื้อหาที่ท่านกาลังอ่านอยู่นี้ มีชื่อแบบตัวอักษรชุดนี้ว่า บางพูด(Bangpood) ที่ประกอบด้วยรูป อักขระ(Glyphs) ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมายสัญลักษณ์(Signs and Symbols) วรรคตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษความเข้าใจในคาศัพท์เทคนิคต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบทางการพิมพ์นั้น มี ผู้รู้กล่าวไว้มากมาย ดังที่จานามาอ้างอิง-แปลสรุปความหมายไว้ให้เข้าใจเป็นความรู้พื้นฐานไว้ ร่วมกันในที่นี้คือ.ความหมายภาษาไทยของคาว่า Typography นัน้ ยังไม่มีการบัญญัติศัพท์คา ไทย โดยราชบัณฑิตยสถานไว้โดยตรง (2554) ส่วนใหญ่มักแปลและใช้คาว่า การพิมพ์ ดังเช่น เป็นคาแปลไว้ในพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย-อังกฤษ Lexitron ของ Nectec เป็นต้น Kyrnin,Jenifer, 2011 ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับ Typograpy เอาไว้ว่าหมายถึงการออกแบบและ การใช้งานตัวอักษรเพื่อการสื่อสาร ซึ่งมีจุดเิ่ริ่มต้นมานับแต่ที่กูเตนเบิร์กได้เริ่มใช้ในงานการพิมพ์ ในระบบเลตเตอร์เพรสมาก่อน แต่งานไทโพกราฟี่นั้น มีรากฐานการพัฒนามาจากงานเขียน ตัวอักษรแบบคัดลายมือเป็นรูปอักขระ ดังนั้นขอบข่ายของงานและความหมายจึงมีความ ครอบคลุมไปถึงทุกสิ่งทุกอย่าง นับแต่การเขียนรูปอักขระด้วยมือหรือการออกแบบตัวอักษร ไป จนถึงงานการพิมพ์ด้วยระบบดิจิตัลในหน้าเว็บไซต์อีกด้วย อีกทั้งยังครอบคลุมไปถึงภาระงาน ของนักออกแบบที่เป็นผู้ออกแบบสร้างสรรค์ตัวอักษร การจัดตัวอักษรทุกรูปแบบทุกส่วนที่ เกี่ยวข้องในงา่นที่ออกแบบด้วยนั่นเอง


CRU-Rattanachai-58 Bold ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwx!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;' กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุึออู ิอีอึออื ่อ้อ๊อ๋ออ์ าเแโใไ? ในทางวงการพิมพ์นนั้ กล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึงตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรียงพิมพ์ เนื้อหา ที่มขี นาดและรูปแบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแบบตัวอักษรที่ใช้ในการเรียงพิมพ์ เนื้อหาที่ทา่ นกาลังอ่านอยู่นี้ มีชอื่ แบบตัวอักษรชุดนี้วา่ บางพูด(Bangpood) ที่ประกอบด้วยรูป อักขระ(Glyphs) ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมายสัญลักษณ์(Signs and Symbols) วรรคตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษความเข้าใจในคาศัพท์เทคนิคต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบทางการพิมพ์นนั้ มี ผู้รกู้ ล่าวไว้มากมาย ดังที่จานามาอ้างอิง-แปลสรุปความหมายไว้ให้เข้าใจเป็นความรู้พื้นฐานไว้ ร่วมกันในที่นี้คือ.ความหมายภาษาไทยของคาว่า Typography นั้นยังไม่มีการบัญญัติศัพท์คา ไทย โดยราชบัณฑิตยสถานไว้โดยตรง (2554) ส่วนใหญ่มักแปลและใช้คาว่า การพิมพ์ ดังเช่น เป็นคาแปลไว้ในพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย-อังกฤษ Lexitron ของ Nectec เป็นต้น Kyrnin,Jenifer, 2011 ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับ Typograpy เอาไว้วา่ หมายถึงการออกแบบ และการใช้งานตัวอักษรเพื่อการสื่อสาร ซึง่ มีจุดเิ่รมิ่ ต้นมานับแต่ที่กูเตนเบิรก์ ได้เริม่ ใช้ในงานการ พิมพ์ในระบบเลตเตอร์เพรสมาก่อน แต่งานไทโพกราฟีน่ ั้น มีรากฐานการพัฒนามาจากงานเขียน ตัวอักษรแบบคัดลายมือเป็นรูปอักขระ ดังนัน้ ขอบข่ายของงานและความหมายจึงมีความ ครอบคลุมไปถึงทุกสิง่ ทุกอย่าง นับแต่การเขียนรูปอักขระด้วยมือหรือการออกแบบตัวอักษร ไป จนถึงงานการพิมพ์ด้วยระบบดิจิตัลในหน้าเว็บไซต์อีกด้วย อีกทั้งยังครอบคลุมไปถึงภาระงาน ของนักออกแบบที่เป็นผูอ้ อกแบบสร้างสรรค์ตวั อักษร การจัดตัวอักษรทุกรูปแบบทุกส่วนที่ เกี่ยวข้องในงา่นที่ออกแบบด้วยนัน่ เอง


CRU-Rattanachai-58 Italic-Bold ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwx!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;' กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุึออู ิอีอึออื ่อ้อ๊อ๋ออ์ าเแโใไ? ในทางวงการพิมพ์นนั้ กล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึงตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรยี งพิมพ์ เนื้อหา ที่มขี นาดและรูปแบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเชน่ แบบตัวอักษรที่ใช้ในการเรียงพิมพ์ เนื้อหาที่ทา่ นกาลังอ่านอยู่นี้ มีชอื่ แบบตัวอักษรชุดนี้วา่ บางพูด(Bangpood) ที่ประกอบด้วยรูป อักขระ(Glyphs) ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมายสัญลักษณ์(Signs and Symbols) วรรคตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษความเข้าใจในคาศัพท์เทคนิคต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบทางการพิมพ์นนั้ มี ผู้รกู้ ล่าวไว้มากมาย ดังที่จานามาอ้างอิง-แปลสรุปความหมายไว้ให้เขา้ ใจเป็นความรู้พื้นฐานไว้ ร่วมกันในที่นี้คือ.ความหมายภาษาไทยของคาว่า Typography นั้นยังไม่มีการบัญญัติศัพท์คา ไทย โดยราชบัณฑิตยสถานไว้โดยตรง (2554) ส่วนใหญ่มักแปลและใช้คาว่า การพิมพ์ ดังเชน่ เป็นคาแปลไว้ในพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย-อังกฤษ Lexitron ของ Nectec เป็นต้น Kyrnin,Jenifer, 2011 ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับ Typograpy เอาไว้วา่ หมายถึงการออกแบบ และการใช้งานตัวอักษรเพื่อการสื่อสาร ซึง่ มีจุดเิ่รมิ่ ต้นมานับแต่ที่กูเตนเบริ ก์ ได้เรมิ่ ใช้ในงานการ พิมพ์ในระบบเลตเตอร์เพรสมาก่อน แต่งานไทโพกราฟีน่ ั้น มีรากฐานการพัฒนามาจากงานเขียน ตัวอักษรแบบคัดลายมือเป็นรูปอักขระ ดังนัน้ ขอบข่ายของงานและความหมายจึงมีความ ครอบคลุมไปถึงทุกสิง่ ทุกอย่าง นับแต่การเขียนรูปอักขระด้วยมือหรือการออกแบบตัวอักษร ไป จนถึงงานการพิมพ์ด้วยระบบดิจิตัลในหน้าเว็บไซต์อีกด้วย อีกทั้งยังครอบคลุมไปถึงภาระงาน ของนักออกแบบที่เป็นผูอ้ อกแบบสร้างสรรค์ตวั อักษร การจัดตัวอักษรทุกรูปแบบทุกส่วนที่ เกี่ยวข้องในงา่นที่ออกแบบด้วยนัน่ เอง




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.