Wat thung maan khruba si wichai era

Page 1

เที่ยววิหารวัดทุงมาน ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ สุรางคนา พึ่งโพธิ์สภ



เที่ยววิหารวัดทุงมาน ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


เที่ยววิหารวัดทุงมาน 2 ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


วัดทุงมาน วัดทุงมาน สร า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 2369 ได รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2479 เปนวัดที่ เกาแกคูบานทุงมานมานานโดยประชาชนที่ชวยบํารุงวัดมีประมาณ 180 หลังคาเรือน เจาอาวาสองคปจจุบันของวัดทุงมานเลาวาวิหารวัด ทุงมานไดสรางขึ้นประมาณชวงพุทธศตวรรษที่ 24 เปนตนมา แตเนื่องจาก วิหารมีอายุมาเปนรอยกวาปจึงมีการบูรณะซอมแซมไปบางบางสวนแตก็ยังคง รูปเอาไวในเรื่องของโครงสรางและศิลปกรรมบางสวนและมีการบันทึกขอมูล ครั้งลาสุดวาวิหารไดมีการบูรณะครั้งลาสุดเมื่อป พ.ศ. 2517 ซึ่งสวนที่มีการ บูรณะคือสวนที่ชํารุดและหลุดหายไป เชน การลงสีเหลืองใหมบริเวณเสา กลมบริเวณดานหนาและดานในวิหาร ซึง่ เดิมคาดวาเปนการลงรักปดทอง เหมือนวิหารอืน่ ๆ แตเนือ่ งจากทางวัดมีงบประมาณทีค่ อ นขางจํากัดจึง ใชวัสดุที่มีราคาถูกลงแทน รวมไปถึงสวนที่เปนงานศิลปกรรม หรือลวดลายตางๆ ก็ทาดวยสีเหลืองและการประดับ กระเบื้องใหมที่บริเวณบันไดนาคแทน

เที่ยววิหารวัดทุงมาน 3 ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


วิหารวัดทุง มานตัง้ อยูก ลางบริเวณของวัดเปนวิหารแบบปด มีลกั ษณะแบบแปลนเปน สี่เหลี่ยมผืนผา ทรงหลังคามีลักษณะเปนแบบสองคอสามชายหรือเปนทรงจั่วซอนชั้น ถือไดวา เปนเอกลักษณอีกอยางหนึ่งของวิหารนี้ ตัวอาคารมีการกออิฐถือปูนพื้นยกสูงจากระดับพื้นดิน ภายนอกขึน้ มา โครงสรางภายในเปนระบบเสาและคานรับนํา้ หนักกออิฐถือปูน บริเวณเสาดาน นอกและดานในมีการสลักลวดลายพุม ขาวบิณฑและมีการคัน่ ลายดวยการประดับกระจก เพียง แตเสาดานในไมมีการประดับกระจกคั่นลาย

ประตูทางเขาและหนาตางทุกบานมีการสลักดวยลวดลายตางๆ อยางสวยงาม ฝา เพดานปดเฉพาะสวนหองทายที่มีแทนแกวประดิษฐานองคพระประธาน ซึ่งมีการประดับ ตกแตงดวยลวดลายดาวเพดาน สวนเพดานดานหนาเปดใหเห็นโครงสรางหลังคา ซึง่ มีลกั ษณะ โครงสรางหลังคาแบบขื่อมาตางไหม คือระบบเสาและคานรับนํ้าหนักแบบที่เห็นทั่วไปใน ลานนาที่มีการทําโครงสรางดวยการเขาไม ใชกระเบื้องและดินขอเปนวัสดุในการมุงหลังคา

เที่ยววิหารวัดทุงมาน 4 ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


ปนลมและหางหงส ปนลมและหางหงสเปนแผนไมแกะสลักที่วางตามแนว ลาดเอียงของหลังคานิยมใชปดหัวแปมักแกะสลักไมทําเปนลาย เกล็ดพญานาคและติดกระจกสี สวนหางหงสสลักเปนรูปเศียร นาคใชเทคนิคเดียวกับปนลมเดิมในอดีตลานนานิยมทําเปนตัว เหงาแตตอมาไดมีการบูรณะกันมาเรื่อยๆ จนทําใหกลายรูปแบบ มาเปนเศียรพญานาคแทนโดยใชวสั ดุคอื ไมเปนหลักและตกแตงดวยกระจกสี โดยลักษณะงาน ศิลปกรรมประเภทนี้มีความคลายคลึงกับวัดที่สําคัญของทางภาคเหนือ เชน วิหารวัดพระธาตุ หริภุญไชยหรือวิหารลายคําวัดพระสิงหวรมหาวิหาร

เที่ยววิหารวัดทุงมาน 5 ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


คันทวย คันทวยมีหนาที่สําหรับคํ้ายันเพื่อรองรับ นํ้าหนักของโครงสรางสวนชายคาและยังเพิ่ม ความสวยงามใหแกวิหารอีกดวยซึ่งปกติแลว ถาเปนวิหารแบบลานนาทั่วไปมีองคประกอบ อยูสามสวนคือสวนบนมักทําเปนลายแถวหนา กระดานสวนกลางเปนบริเวณที่ตกแตงดวยลาย มากที่สุด โดยแตละที่ก็มีความนิยมแตกตางกัน ไปและสวนลางจะเปนสวนทีเ่ ล็กและอยูใ นรูปทรง สามเหลีย่ ม คันทวยทีว่ หิ ารวัดทุง มานจะสลักเปน ลวดลายพญานาคเชนเดียวกับวัดอีกหลายที่ใน ภาคเหนือ แตลักษณะการทําคันทวยประเภทนี้ จะไมนิยมในทางภาคเหนือสวนใหญแตมักจะพบในภาคกลางเปนรูปแบบเดียวกันคือไมนิยม สลักสวนบนแตจะทําเฉพาะสวนกลางและสวนลาง ซึง่ พบไดตงั้ แตชว งสมัยแรกของรัตนโกสินทร เชน คันทวย พระอุโบสถวัดสุวรรณาราม กรุงเทพฯ การรับรูปแบบรัตนโกสินทรเขามาใชโดยชวง ในชวงพุทธศตวรรษที่ 24 จึงทําใหคันทวยมีลักษณะที่ตางไปจากแบบลานนา ซึ่งมีการลดทอน บางสวนออกจึงทําใหดูมีขนาดเล็กจนดูเหมือนงานประดับตกแตงมากกวาการรองรับนํ้าหนัก

เที่ยววิหารวัดทุงมาน 6 ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


บานประตูทางเขาวิหาร มีการสลักไมเปนลวดลายพรรณพฤกษาที่บานประตู ซึ่งจะปรากฏในรูปแบบของลาย เครือเถากานขดที่มีลักษณะคลายเถาวัลยของพืชที่มวนกลม ในขณะเดียวกันก็มีใบแตกแซม ออกมาจากกานเครือเถาและมีกานที่แตกมวนในลักษณะเดียวกันอีก โดยมีการเชื่อมลายดวย กานสลักดอกไมคอื ดอกตาสับปะรด มีลกั ษณะของลวดลายคลายผลสับปะรดและมีกลีบดอกไม ขอบหยักปลายมนประกบตัวผลทั้งสองขางรองรับดวยกลีบดอกขนาดเล็ก 2 กลีบรองรับใต ดอกอยูใบไมที่แตกออกมาจะมีลักษณะเปนใบเทศ มีการใชเทคนิคการลงรักปดบนลวดลาย ดวยลวดลายแบบนี้มีความคลายคลึงกับศิลปะแบบรัตนโกสินทร ซึ่งลวดลายแบบนี้มักพบที่ หนาบันเปนที่นิยมสรางกันมาตั้งแตปลายพุทธศตวรรษที่ 23 เปนตนมา ทั้งนี้ก็แสดงใหเห็น การผสมผสานระหวางลวดลายแบบลานนากับการ ผูกลายแบบภาคกลาง ในลําพูนเองก็พบลักษณะของ ลวดลายประเภทนีเ้ ชนกัน ซึง่ เริม่ นิยมสรางตัง้ แตสมัย ครูบาศรีวิชัยและสงอิทธิพลตองานศิลปกรรมอื่นๆ

เที่ยววิหารวัดทุงมาน 7 ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


บานหนาตาง

ลวดลายที่สลักบนบานไมของหนาตางสวนใหญเปนลวดลายพรรณพฤกษาอยูเต็ม กรอบ เปนลายใบเทศกานขดเชื่อมลายดวยดอกสับปะรดดูคลายกับลักษณะของประตูทางเขา วิหาร ซึ่งก็เปนลวดลายที่มีอิทธิพลในลานนามากชวงพุทธศตวรรษที่ 24–25 เปนอิทธิพลของ ศิลปะรัตนโกสินทร หรืออิทธิพลการสรางวัดตามกระบวนการครูบาฯ ทานเอง รวมทั้งมีการ สลักลายกนกเชื่อมลายดวยนกคาบตอจากใบเทศและชวงลางจะปรากฏรูปมาขึ้นเปนคูหันหนา เขาหากัน อาจจะเปนคติความเชื่อของการสลักภาพสัตวตามคติแบบอินเดียวาดวยการสรางรูป สัตวประจําทิศตางๆ ที่เผยแพรเขามายังไทยก็เปนได

เที่ยววิหารวัดทุงมาน 8 ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


ชอฟา ลักษณะเปนชอฟาปากปลาหรือปากหงส เทคนิคเปนงานปูนปนประดับกระจก เดิม แลวชอฟาลานนามักทําจากไมและมีการแกะ สลัก โดยสลักขึ้นจากไมทอนเดียวใหเปนเสน มีลักษณะเรียบงายเปนแทงปลายเรียว โดย สวนปลายที่โคงตอมาดานหนาและปลาย เรียวแหลมจะมีการตกแตงดวยลายพรรณ พฤกษา (แบบแกวอังวะ) แตเนื่องจากมีการ บูรณะงานสถาปตยกรรมอยูเรื่อยๆ จึงทําให ชางตองเปลี่ยนมาใชเทคนิคปูนปนแทน รวม ถึงลานนายุคหลังก็ไดรับคติครุฑยุคนาคของทางภาคกลางเขามา และนิยมสรางเปนรูปหงส พญานาค และนกหัสดีลิงค ตัวอยางเชน ชอฟาอุโบสถ วัดพระแกว กรุงเทพฯ ดังนั้นทําใหวิเคราะหไดวาชอฟาของวิหารวัดทุงมานมีการรับรูปแบบของศิลปะ แบบภาคกลางเขามา หรือชวงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในงานสถาปตยกรรมของลําพูนก็คือสมัย รัตนโกสินทร

เที่ยววิหารวัดทุงมาน 9 ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


ซุมประตูทางเขาวิหาร มีการสรางซุมเปนทรงบุษบกหรือทรง ปราสาทที่ลักมีษณะสําคัญคือ สวนฐานมีฐาน สิงหรองรับชองประตูมีเสากรอบประดับกาบ พรหมศร บัวหัวเสา สวนซุมเปนทรงปราสาท ยอด ซึ่งจําลองมาจากปราสาทที่ทําเปนเรือน ยอด แนวคิดในการสรางซุม ประตูและหนาตาง ที่มีเสารองรับสวนหลังคาที่เปนยอดปราสาท นี้ถือวาประตูหรือหนาตางเปนสัญลักษณของ ความเปนปราสาท ใชในความหมายเสมือนวา พระพุทธเจาประทับอยูภายในปราสาท กลาว คือเวลามองจากภายนอกผานชองประตูหรือ หนาตางเขาไป มักตรงกับที่พระพุทธเจาประทับนั่งภายในปราสาทอยางแทจริง เชนเดียวกับ ซุมที่วิหารวัดทุงมานเมื่อเทียบกับวัดที่มีลักษณะคลายกันแลว สวนใหญเปนวัดที่อยูในสมัย รัตนโกสินทรทั้งสิ้น เชน ซุมประตูทรงปราสาทยอด พระอุโบสถวัดสุวรรณารามและซุมประตู ทรงปราสาทยอดวัดราชบพิตร เปนตน ถือไดวา เปนรูปแบบของศิลปะตัง้ แตอยุธยาตอนปลาย ที่สงตอไปยังสมัยรัตนโกสินทรและเมื่อมีการติดตอกับลานนา ตั้งแตยุคตนจวบจนรวมเปน ประเทศสยามแลว ทําใหมีอิทธิพลของศิลปะแพรกระจายเขามายังลานนานั่นเอง

เที่ยววิหารวัดทุงมาน 10 ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


หนาบัน หนาบันวิหารวัดทุงมานมีการสลักลวดลายกระหนกกานขดลอกันเปนวงๆ เชื่อม ลายดวย กาบลาย และมีลวดลายลักษณะทรงพุมขาวบิณฑเปนตัวออกลาย หากถาเปน หนาบันแบบลานนาดัง่ เดิม มักนิยมทําเปนโครงสรางมาตางไหมและมีการสลักดวยกลวดลาย พรรณพฤกษา โดยไมมีการใชเทคนิคลงรักปดทองอยางเชนปจจุบัน ในสวนของลวดลาย หนาบันวิหารวัดทุง มานทีเ่ ราเห็นนีเ้ ชนนี้ ก็มกี ารรับอิทธิพลของศิลปะภาคกลางเขามาซึง่ พบวา เปนชวงพุทธศตวรรษที่ 24 นับวาเปนชวงทีล่ า นนามีการรับอิทธิพลจากภาคกลางมาหลาย พ.ศ. แลว ทําใหสงผลตอการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของลวดลายและเทคนิคในการสรางศิลปกรรม ประกอบงานสถาปตยกรรม

เที่ยววิหารวัดทุงมาน 11 ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


เที่ยววิหารวัดทุงมาน 12 ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ


เที่ยววิหารวัดทุงมาน ชมศิลปกรรมยุคครูบาฯ © 2015 (พ.ศ. 2558) โดย สุรางคนา พึ่งโพธิ์สภ สงวนลิขสิทธิ์ พิมพครั้งแรกเมื่อ ตุลาคม พ.ศ. 2558 จัดพิมพโดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม เรียบเรียงและออกแบบโดย สุรางคนา พึ่งโพธิ์สภ ออกแบบโดยใชฟอนท TH SarabunPSK 14 pt. หนังสือเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอน เพื่อสงเสริม และตอยอดศักยภาพการศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.