เมืองสงขลา ได้ปรากฏชื่อในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1893 ว่าเป็นเมืองประเทศราชในจำ�นวน 16 หัวเมือง และ ในเอกสารที่บันทึกโดยคนไทยอีกหลายฉบับที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเมืองสงขลาได้บันทึกประวัติ ของชื่อเมืองสงขลาว่า มาจากบันทึกของพ่อค้า และนักเดินเรือชาวอาหรับเปอร์เซีย ระหว่าง ปี พ.ศ. 1993-2093 ในนามของเมือง “ซิงกูร์” หรือ “ซิงกอรา” แต่ในหนังสือประวัติศาสตร์ เและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยามของนายนิโกลาส แซร์แวส เรียกชื่อเมืองสงขลาว่า “เมืองสิงขร” โดยได้สันนิษฐานว่าคำ�ว่าสงขลาในปัจจุบันน่าจะเพี้ยนมาจากคำ�ว่า “สิงหลา” หรือ “สิงขร” แปลว่าเมืองสิงห์ เนื่องมาจากการที่พ่อค้าชาวเปอร์เซียอินเดีย ตามที่ได้กล่าวมาข้าง ต้น ได้แล่นเรือผ่านมาค้าขายและแลเห็นเกาะหนู-เกาะแมว ซึ่งเมื่อมองจากทะเลเข้าหาฝั่งใน ระยะไกล ๆ จะเห็นปรากฏเป็นภาพคล้ายสิงห์สองตัวหมอบเฝ้าปากทางเข้าเมืองสงขลา ชาว อินเดียจึงเรียกเมืองสงขลาในสมัยนั้นว่า “เมืองสิงหลา” ส่วนคนไทยเรียกว่า “เมืองสทิง” เมื่อ แขกมลายูเข้ามาค้าขายกับเมืองสิงหลา ก็จะออกเสียงเพี้ยนเป็น “เซ็งคอรา” เมื่อฝรั่งเข้ามา ค้าขายก็เรียกตามมลายูแต่เสียงเพี้ยนเป็นสำ�เนียงฝรั่งคือ “ซิงกอรา” (Singora) จากนั้นคน ไทยพื้นถิ่นเองก็ได้เรียกตามเสียงมลายูและฝรั่งเพี้ยนเป็นคำ�ว่า “สงขลา” ดังปัจจุบัน
ย่านเมืองเก่าสงขลา ตั้งอยู่ในเขตอำ�เภอเมือง มีถนนสายสำ�คัญ 3 สาย คือ ถนนนครนอก ถนนนครใน และ ถนนนางงาม เป็นถนนที่ประกอบไปด้วยอาคารและสถาปัตยกรรมที่งดงาม เป็น แหล่งเรียนรู้เรื่องราวความเป็นมาของชาวสงขลา ผ่านมุมมองทางสถาปัตยกรรม เมื่ออดีตราว 200 ปีก่อน ตัวเมืองสงขลาตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของทะเลสาบ เรียกว่า “เมือง สงขลา ฝั่งแหลมสน” จนกระทั่ง พ.ศ. 2385 จึงขยายมาทางฝั่งทิศตะวันออกบริเวณตำ�บลบ่อยาง เรียกกันว่า “เมืองสงขลาฝั่งบ่อยาง” โดยเริ่มแรกมีถนนสองสายคือ ถนนนครนอก เป็นถนนเส้น นอกติดกับทะเลสาบอดีตเคยเป็นแนวกำ�แพงเมืองเก่ามีประตูเมือง ออกสู่ทะเล 4 ทาง เป็นเส้น ทางคมนาคมที่สำ�คัญมีการแลกเปลี่ยนสินค้าทั้งทางบกและทางน้ำ� ปัจจุบันยังคงเป็นท่าเรือขนส่ง อยู่แต่มีขนาดใหญ่ขึ้นหลังทุบกำ�แพงเมือง มีถนนกว้างขวางมีความวุ่นวายมากขึ้น ผู้คนใหม่ๆเข้ามา ตั้งถิ่นฐานทำ�อาชีพประมง มาเช่าพักอาศัยและทำ�การค้า ตึกแถวโบราณถูกดัดแปลงเป็นอู่เรือ เก็บ เครื่องมือจับสัตว์น้ำ� ร้านซ่อมเครื่องยนต์ เป็นวิถีใหม่ที่มาสวมทับและยังคงดำ�เนินอยู่ ตึกโบราณ เหล่านั้นขาดการดูแล ปล่อยให้ทรุดโทรมมากนอกจาก บ้านที่มีเจ้าของเดิมที่มีฐานะเท่านั้นที่ยัง คงอนุรักษ์เอาไว้ บางหลังก็สร้างใหม่ไม่เหลือแบบเดิม เพื่อรองรับกิจกรรมใหม่ เช่น อพาร์ตเมนท์ ท่าเรือขนส่งสินค้า และโกดัง ถนนนครใน เป็นถนนเส้นในเมืองเคยคับคั่งด้วยผู้คนพักอาศัยและ ค้าขาย ปัจจุบันการค้าแบบในอดีตที่ยังสืบทอดมา เช่น เครื่องสังขภัณฑ์ อัญมณี ของแห้งซึ่งมีอยู่ น้อย ร้านค้าที่มีมากคือ ร้านอาหารทั้งแบบอยู่ในตึกแถวที่สร้างใหม่และตึกแถวเก่า ที่เหลือมีมาก ที่สุดเป็นที่พักอาศัยที่ปิดเงียบ ส่วนใหญ่ตึกแถวเก่าที่เจ้าของอยู่เองจะเป็นคนชรา ที่ลูกหลานไป เรียนหรือทำ�งานที่อื่นจะปิดบ้านเงียบทั้งวัน ยกเว้นออกมาตักบาตรและไปตลาดตอนเช้า ชายชรา มักชอบออกมาจิบน้ำ�ชา กาแฟ พบปะเพื่อน ต่อมามีการตัดถนนสายที่สามเรียกว่าถนนเก้าห้องหรือ ย่านเก้าห้อง เพื่องานสมโภชเสาหลักเมือง ต่อมาเรียกกันว่า ถนนนางงาม เป็นที่ตั้งของวัดและศาล เจ้าที่สำ�คัญ โดยเฉพาะศาลเจ้าพ่อหลักเมืองบรรยากาศมีความสงบมาก กิจกรรมส่วนใหญ่เป็นร้าน อาหาร ร้านน้ำ�ชา กาแฟโบราณ เมื่อเข้ามาเที่ยวชมผู้คนยังเป็นคนดั้งเดิมโดยเฉพาะร้านน้ำ�ชา กาแฟ โบราณจะเป็นแหล่งพบปะแลกเปลี่ยนข่าวสารของคนแถบนั้นได้เป็นอย่างดี
อาคารตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 ประมาณปี 2379 เป็นต้นมา มีลักษณะเด่นของรูปแบบ (style) สถาปัตยกรรมนี้คือ หลังคาจั่วหรือมนิลา มีความลาด ชัน ประมาณ 60 องศาขึ้นไป สมัยแรกมุงด้วยจาก และ มาเปลี่ ย นเป็ น กระเบื้ อ งดิ น เผาเกาะยอในสมั ย หลั ง ๆ ส่วนใหญ่เป็นอาคารชั้นเดียวใช้โครงสร้างเสา-คานไม้ มี กันสาดด้านหน้าและด้านหลัง บานประตูเป็นบานเฟี้ยม มีช่องแสงเหนือบานประตูไม่ค่อยมีประดับประดา มี จำ�นวนน้อยมากตั้งอยู่บนถนนนครนอก ส่วนใหญ่จะมี ความทรุดโทรมมาก ด้านหลังจะเป็นท่าเรือประมง
มักเป็นอาคารกลุ่มใหญ่ สร้างติดแนวถนน มีส่วนค้าขายอนยู่ด้านหน้า เนื่องจากแปลง ที่ดินยาวจึงเปิด Court กลาง เป็นบ่อน้ำ� ซักล้างและส้วม ส่วนอาคารด้านหลังเป็นที่พักอาศัย อาคารมีทั้งชั้นเดียวและสองชั้น ผนังก่ออิฐฉาบปูนโครงสร้าเป็นกำ�แพงรับน้ำ�หนักโครงสร้าง หลังคาเป็นไม้มุงกระเบื้องดินเผาโค้งแบบจีน กระเบื้องกาบกล้วยคว่ำ�และหงาย หน้าต่างเป็น ช่องเปิดทำ�ด้วยไม้ขนาดเล็กแคบ ไม่นิยมทำ�กันสาด มีลวดลายประดับบ้างตามหลังคา สันหลังคา เชิงชายและช่องเปิด ในลักษณะปูนปั้นเขียนสี พบมากสลับกันไปกับตึกแถวรูปแบบอื่นๆในตอ นกลางๆถนนนครในและจุดตัดต่างบนถนนนครนอก
มักเป็นอาคารกลุ่มใหญ่ สร้างติดแนวถนน มีส่วนค้าขายอนยู่ด้านหน้า เนื่องจาก แปลงที่ดินยาวจึงเปิด Court กลาง เป็นบ่อน้ำ� ซักล้างและส้วม ส่วนอาคารด้านหลังเป็น ที่พักอาศัย อาคารมีทั้งชั้นเดียวและสองชั้น ผนังก่ออิฐฉาบปูนโครงสร้าเป็นกำ�แพงรับ น้ำ�หนักโครงสร้างหลังคาเป็นไม้มุงกระเบื้องดินเผาโค้งแบบจีน กระเบื้องกาบกล้วยคว่ำ� และหงาย หน้าต่างเป็นช่องเปิดทำ�ด้วยไม้ขนาดเล็กแคบ ไม่นิยมทำ�กันสาด มีลวดลาย ประดับบ้างตามหลังคา สันหลังคา เชิงชายและช่องเปิด ในลักษณะปูนปั้นเขียนสี พบ มากสลับกันไปกับตึกแถวรูปแบบอื่นๆในตอนกลางๆถนนนครในและจุดตัดต่างบนถนน นครนอก
อาคารอยู่ในช่วงอายุไม่เกิน 30 ปี จะเป็น 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรกเป็น อาคารที่ก่อสร้างใหม่ โดยยังกลมกลืนสภาพแวดล้อม มีความสูง 1- 2 ชั้นหน้าตาจะ คล้ายกับแบบจีนดั้งเดิมแต่ประยุกต์ให้ทันสมัยมากขึ้น ด้วยการออกแบบและการใช้วัสดุ หลังคา ลักษณะที่สองคือเป็นอาคารเก่าแบบจีนดั่งเดิมแล้วมีการปรับปรุงใหม่ลักษณะ จะเป็นการใช้วัสดุใหม่มาผสม เช่น กระเบื้องลอน สีและการตกแต่ง แต่ยังคงภาพลักษณ์ แบบจีนไว้ พบมากในถนนนครใน
รับอิทธิพลจากตะวันตก ในช่วงปลายรัชกาลที่ 3 แต่มาเด่นชัดในรัชกาลที่ 4 ตั้งแต่ปี 2394 เป็นต้นมา เนื่องจากได้รับอิทธิพลจีนและตะวันตกโดยเฉพาะโปรตุเกส ลักษณะอาคารจึงเป็นแบบ ปีนังและสิงคโปร์ อาคารจะสร้างชิดถนน บางครั้งมีทางเดินหน้าอาคารมีกันสาดช่องกลางอาคารมี ช่องโล่งสำ�หรับบ่อน้ำ�และส้วม และมีอาคารด้านหลังอีกอาคารหนึ่ง อาคารมี 2 ชั้นในสมัยแรกและ มี 3 ชั้นในสมัยหลัง ใช้อิฐก่อสร้างแบบจีนโครงสร้างเป็นกำ�แพงรับน้ำ�หนัก เป็นโครงสร้าง เสา – คานคสล. วัสดุมุงเป็นกระเบื้องดินเผา เช่นกระเยื้องกาบกล้วยแบบจีนแต่งแนวด้วยปูนขึ้นหรือ กระเบื้องเกาะยอ หลังคาทรงจั่วแบบจีน ต่อมายื่นกันสาดและอาคารมุมจะเป็นทรงปั้นหยา ในช่วง หลังมีการเพิ่มระเบียงกันสาดและแผงบังหลังคา (Parapet) เน้นลวดลายประดับในส่วนช่องเปิดซึ่ง มักเป็นส่วนโค้ง หน้าต่างมักเป็นบานเกล็ดไม่เปิดยาวถึงพื้น
ในปี พ.ศ. 2358 พระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้พระยาวิเชียรคีรี (เถี้ยนเส้ง) เจ้าเมืองสงขลาจัดการฝังหลักไชย เมืองทรงพระราชทานไม้ชัยพฤกษ์หลักไชยต้น หนึ่งกับเทียนชัยเล่มหนึ่งพร้อมเครื่องไทยทาน ต่างๆ และโปรดเกล้าฯ ให้พระอุดมปิฎกออกไป เป็นประธานด้านพุทธพิธี และพระราชครู อัษฎ าจารย์ พ ราหมณ์ อ อกไปเป็ น ประธานฝ่ า ยพิ ธี พราหมณ์
พระยาสงขลา (เถี้ยนเส้ง) ได้เกณฑ์กรม การและไพร่จัดการทำ�โรงพิธีใหญ่ขึ้นกลางเมือง สงขลา ในวันพิธีได้จัดขบวนแห่หลักไม้ชัยพฤกษ์ กับเทียนชัยเป็นขบวนใหญ่ เมื่อได้เวลาอุดมฤกษ์ ตรงกับวันศุกร์ที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2385 อัญเชิญ หลักไม้ชัยพฤกษ์ลงฝังที่ใจกลางเมืองสงขลา ต่อ มาสร้างตึกเก๋งจีนคร่อมหลักเมืองไว้ 3 หลัง
ในปี พ.ศ. 2460 สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้า ฟ้ากรมขุนลพบุรีราเมศวร์ อุปราชมณฑลปักษ์ใต้ ได้ มีลายพระหัตถ์แจ้งว่าหลักเมืองจังหวัดสงขลา ปลวกกัด ชำ�รุด พ่อค้าและประชาชน จ.สงขลา ช่วยกันแกเงินทำ� เสาหลักเมืองด้วยซีเมนต์คอนกรีต เพื่อจะได้อยู่อย่างถาวร อุดมฤกษ์ในการวางเสาหลักเมือง ตรงกับวันศุกร์ที่ 1 มีนาคม 2460 เชิญหลักลงหลุมแล้วกลบดินเป็นปฐมฤกษ์ เสาหลั ก เมื อ งจึ ง อยู่ คู่ เ มื อ งสงขลาเป็ น ที่ เ คารพของชาว สงขลาตราบจนทุกวันนี้
โรงสี “หั บ โห้ หิ ้ น ” สร้ า งโดยขุ น ราชกิ จ กา รี ย ์ (ซุ ่ น เลี ่ ย ง เสาวพฤกษ์ ) ในปี พ.ศ. 2464 เป็ น โรง สี ข ้ า วใช้ เ ครื ่ อ งจั ก รไอน้ ำ � ขนาดใหญ่ ม ี ป ล่ อ งไฟสู ง 34 เมตร สร้ า งตามมาตรฐานประเทศอั ง กฤษ ชื ่ อ หั บ โห้ หิ ้ น เป็ น ภาษาฮกเกี ้ ย น หมายถึ ง ความสามั ค คี ความ กลมเกลี ย ว ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง โรงสี ข ้ า วโบราณหรื อ โรงสี แ ดงมี ช ื ่ อ ที ่ ช าว สงขลาเรี ย กว่ า หั บ โห้ หิ ้ น มี ล ั ก ษณะเป็ น อาคาร สี แดงขนาดใหญ่ ต ั ้ ง อยู ่ บ ริ เ วณริ ม ทะเลสาบสงขลาใน อดี ต ที ่ ต ั ้ ง ของโรงสี ข ้ า วโบราณนี ้ ม ี ค วามเกี ่ ย วเนื ่ อ ง
กั บ เส้ น ทางการเดิ น เรื ่ อ ที ่ ส ามารถเชื ่ อ มต่ อ ได้ ก ั บ พื ้ น ที ่ เ พาะปลู ก ข้ า วในยุ ค แรกของการตั ้ ง เมื อ งผู ้ ค น โดยทั ่ ว ไปจะนำ � ข้ า วสารมาจากพื ้ น ที ่ ท ะเลโดยทาง เรื อ และนำ � ส่ ง ที ่ โรงสี แ ดง (หั บ โห้ หิ ้ น ) ปั จ จุ บ ั น โรง สี ข ้ า วแห่ ง นี ้ ไ ด้ ย ุ บ เลิ ก กิ จ การเนื ่ อ งจากสภาพสั ง คม ที ่ เ ปลี ่ ย นไปซึ ่ ง อาคารแห่ ง เดี ย วกั น นี ้ ไ ด้ ก ลายสภาพ เป็ น ท่ า เรื อ สำ � หรั บ จอดเรื อ ประมง ส่ ว นบริ เวณด้ า น หน้ า ของโรงสี แ ดงได้ ม ี ก ารนำ � รู ป ปั ้ น คนงานแบก กระสอบข้ า วสาร และภาพวาดอาแปะเป็ น จุ ด ที ่ ดึ ง ดู ด ความความสนใจจากผู ้ ค นและนั ก ท่ อ งเที ่ ย วที ่ พากั น ไปถ่ า ยภาพอย่ า งเพลิ ด เพลิ น ใจ
วัดยางทอง ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 1 ถนนนางงาม ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปัจจุบันมีเนื้อที่ ประมาณ 4 ไร่ โดยมีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ ติดถนนสงขลาบุรี ซึ่งมีสถานีดับเพลิงของเทศบาลอยู่ฝั่งตรงข้าม ทิศใต้ ติดด้านหลังบ้านเรือนของชาวบ้านริมถนนยะหริ่ง ทิศตะวันออก ติดถนนนางงาม ทิศตะวันตก ติดด้านหลังบ้านเรือนของชาวบ้านริมถนนนครใน วัดยางทอง เป็นที่ตั้งของ บ่อยาง ซึ่งเป็นชื่อท้องถิ่นของที่ตั้งเมืองสงขลา ส่วนจะสร้างขึ้นเมื่อไหร่ นั้นไม่ปรากฎหลักฐาน สืบได้แต่เพียงเค้าเงื่อนจากพงศาวดารเมืองสงขลาว่า ในราชการที่ 1 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ ไทยยังคงรบกับพม่า เมื่อเกิดสงครามเก้าทัพ พม่าได้บุกมาทางถลางหรือภูเก็ต กองทัพ เมืองสงขลาจึงได้ยกไปช่วย หลังจากเสร็จศึกเก้าทัพแล้วเจ้าเมืองสงขลาก็ได้สร้างอุโบสถวัดยางทอง (ทำ�นองสร้างบุญล้างบาป) สภาพปัจจุบัน วัดยางทองมีอุโบสถ 1 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง ศาลาบำ�เพ็ญกุศล 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง และกุฏิ 5 หลัง ซึ่งเสนาสนะเหล่านี้เก่าที่สุดคือกุฏิที่ผู้เขียนอยู่สร้างเมื่อ พ.ศ. 2500 นอก นั้นเกือบทั้งหมดสร้างมาไม่เกิน 20 ปี แต่เมื่อขุดดินลงไปภายในวัดก็จะเจอก้อนอิฐในสมัยต่างๆทับถม อยู่หนาแน่นและทั่วไปเคยมีผู้ให้ความเห็นว่าถ้าจะศึกษายุคสมัยวัดยางทองอาจศึกษาจากก้อนอิฐแต่ละ รุ่นที่ฝังอยู่ในดิน
หลวงพ่อบ่อยาง เป็นพระประธานที่อัญเชิญมาจาก อุโบสถหลังเก่า คาดหมายว่า ถ้าพระประธานองค์นี้มีอายุเท่ากับ อุโบสถหลังเก่า ก็น่าจะมีอายุเกินสองร้อยปี และมีเรื่องเล่าว่า ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก เพราะตอนสงครามโลกครั้งที่สองนั้น บริเวณรอบ วัดและใกล้โรงอุโบสถจะมีระเบิดลง แต่ไม่โดนอุโบสถที่มีพระ ประธานองค์นี้สถิตอยู่
เทศบาลนครสงขลา ร่วมกับการท่องเที่ยว
และกีฬา จ.สงขลา เนรมิตอาคารเก่าคลาสสิก สไตล์ชิโนโปรตุกีส ซึ่งสร้างเมื่อ พ.ศ.2462 อายุ 96 ปี บริเวณสี่แยกถนนนางงามตัดถนนรามัน เขต เทศบาลนครสงขลา ซึ่งเป็นย่านเมืองเก่าสงขลา สร้างศิลปะแนวสตรีทอาร์ต (Street Art) หรือ ศิลปะข้างถนนด้วยภาพวาดสีน้ำ� เป็นการบอก เล่าเรื่องราวย้อนอดีตของเมืองสงขลา โดยจำ�ลอง บรรยากาศร้านน้ำ�ชาชื่อ “ฟุเจา” ที่เคยเปิดใน อาคารดังกล่าวมาเป็นเรื่องราวของภาพ
สำ�หรับองค์ประกอบของภาพ มีชายสามคน ซึ่งเป็นผู้สูงวัย กำ�ลังนั่งดื่มน้ำ�ชา อ่านหนังสือพิมพ์ และพูดคุยกันอย่างมีความสุข รวมทั้งมีนาฬิกาไม้ แบบเก่า สิ่งของที่วางขายในร้านก็เป็นสินค้าดั้งเดิม ในอดีต เพื่อบอกเล่าเรื่องราววิถีชีวิตดั้งเดิมของชาว เมืองสงขลา ซึ่งภาพที่วาดออกมาลงตัว เข้ากับผนัง อาคารเก่าที่เริ่มชำ�รุดมีรอยแตกของอิฐ เหมือนกับ ร้านน้ำ�ชาที่ตั้งอยู่ริมถนนจริงๆ ทำ�ให้สตรีทอาร์ตแห่ง นี้กลายเป็นจุดขายด้านการท่องเที่ยวแห่งใหม่ของ เมืองสงขลา ได้รับความสนใจจากผู้คนและนักท่อง เที่ยว หรือแม้แต่นิสิตนักศึกษาที่จบการศึกษา รวม ทั้งการถ่ายภาพพรีเวดดิ้ง ที่พากันไปถ่ายภาพเพื่อ เก็บเป็นความประทับใจไว้ เนื่องจากเป็นสตรีทอาร์ต แห่งแรกของ จ.สงขลา
เมืองสงขลานอกจากเป็นเมืองที่มีความน่า
สนใจทางด้านสถาปัตยกรรม เมืองแห่งการค้าแล้ว เมือง สงขลายังเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรม ประเพณี มีความ หลากหลายทางเชื้อชาติ ศาสนา และเป็นจุดเด่นในการ ดึงดูดความสนใจจากผู้คนมากมายมาท่องเที่ยวสถาน ที่ต่างๆในเมืองสงขลา ซึ่งสิ่งเหล่านี้สมควรที่จะช่วยกัน อนุรักษ์ไว้
อ้างอิง
นางสาวสุภาวดี เชื้อพราหมณ์. (2546). ตึกแถว ผลผลิตทางกายภาพและวัฒนธรรมในชุมชนเมืองเก่าสงขลา. วิทยานิพนธ์การศึกษาตามหลักสูตรปริญญาสถาปัตยกรรม ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาสถาปัตยกรรม, ภาควิชา สถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สำ�นักงานเทศบาลนครสงขลา. สืบค้นจาก http://www. songkhlacity.go.th/frontpage. สำ�นักงานวัฒนธรรม จังหวัดสงขลา. (2558). สืบค้นจาก www.m-culture. go.th/songkhla. วัดยางทอง. สืบค้นจาก www. watyangtong.com
ผู้จัดทำ� : นางสาวชเนตตี ศรีบุญนาค อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ชัชวาล ชุมรักษา สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ