TWCAG2010

Page 1

TWCAG2010 Version 2.0

แนวทางการพัฒนาเว็บทีท่ ุกคนเขาถึงได TWCAG2010 (Thai Web Co ntent Accessibility Guidelines 2010)

สํานักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักสงเสริมและพัฒนาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร


สารบัญ

การพัฒนาเว็บไซตที่ทุกคนเขาถึงได ...............................................................................1 Web 2.0 และการเขาถึงขอมูลขาวสารของผูใชงานอินเทอรเน็ตที่มความพิการ………..…. 3 แนวทางการจัดทําเนือ้ หาเว็บไซตที่ทุกคนเขาถึงไดสําหรับประเทศไทย ป 2552 TWCAG2009 (Thai Web Content Accessibility Guidelines 2009)…………....7 หลักการ(Principle)……………………………………..……………………………….....… 9 หลักการที่ 1 รับรูได…………………………………………………………………..………12 หลักการที่ 2 ใชงานได………………………………………………………………..……...20 หลักการที่ 3 เขาใจได………………………………………………………………...………25 หลักการที่ 4 คงทนตอการเปลี่ยนแปลง……………………..……………………………...28 เอกสารอางอิง


TWCAG2010 Version 2.0

การพัฒนาเว็บไซตที่ทุกคนเขาถึงได Developing Accessible Website Web Accessibility หมายถึงความสามารถในการเขาถึงเนื้อหาบนเว็บไซต ที่ รองรั บ ผู ใ ช ทุ ก กลุ ม ไม ว า จะเป น ผู พิ ก ารหรื อ บุ ค คลทั ่ว ไป การที ่ทํ า ให เ ว็ บ ไซต มี ความสามารถเชนนี้จะทําใหผูใชที่พิการ (Disabled) สามารถเขาถึงและเขาใจเนื้อหา (Content) ในเว็บไซตนั้นรวมทั้งการมีปฏิสัมพันธกับเว็บไซตนั้นได การออกแบบให เว็บไซตใหสามารถเขาถึงได (Accessible) หรือสอดคลองกับขอแนะนําเรื่อง Web Accessibility ก็จะเปนประโยชนกับคนพิการทางสายตา คนพิการทางการไดยิน คนพิการทางรางกาย ผูใชทีท่ ุพลภาพชั่วคราว ผูส ูงอายุทีส่ ายตาเลือนลาง จนกระทั่ง ผูใชปกติที่ใชชองสัญญาณความเร็วต่ํา ใหสามารถเขาถึงเนื้อหาในเว็บไซตไดอยาง เทาเทียมกัน เมื่อเว็บไซตไดรับการพัฒนาใหทุกคนเขาถึงไดแลว จะสงผลใหคนตาบอดอาน เว็บไซตโดยใช Screen Reader หรือโปรแกรมอานหนาจอ และไดรับขอมูลที่ถูกตอง หรือสมบูรณมากยิ่งขึ้น ไมวาจะเปนขอมูลประเภทตัวหนังสือ ตัวเลข โดยเนนลําดับ การอ า นที ถ่ ู ก ต อ งตามการนํ า เสนอ หรื อ แม รู ป ภาพ ซึ ง่ สามารถทดแทนได ด ว ย คําอธิบาย สําหรับผูที่สายตาเลือนลางอาจใชโปรแกรมขยายหนาจอเพื่อใหอานงายขึ้น เปนตน การพัฒ นาเว็ บไซต ใหเป นเว็บไซตที่ทุกคนเขาถึงไดนั้น สิ่งสํ าคัญคื อความ เขาใจในขอจํากัดในการเขาถึงเนือ้ หาในเว็บไซต และทราบถึงวิธีการแกปญหาในจุด ตางๆ ดังนั้นทางกลุม Web Accessibility Initiative ภายใตองคกร World Wide Web Consortium หรือ W3C นั้น ไดสรางแนวทางของเว็บไซตที่สามารถเขาถึงไดคือ Web Content Accessibility Guidelines (WCAG) โดยกําหนดเปนระดับตางๆ 3 ระดับคือ A, AA และ AAA

Thai1Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

1


TWCAG2010 Version 2.0

สํ า หรั บ ประเทศไทย สํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสือ่ สาร โดยสํานักสงเสริมและพัฒนาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ไดเ ล็งเห็นความสําคั ญในการเขา ถึงข อมูล ขา วสารและการลดปญหาชองวา งทาง สังคมในยุคดิจิตอล และพยายามผลักดันใหคนพิการสามารถเขาถึงองคความรู และ บริ การต า งๆ ของภาครั ฐผ า นทางเว็ บ ไซต โดยพยายามเพิ ่ม จํ านวนเว็ บ ไซต ข อง หนวยงานภาครัฐใหสามารถรองรับการใชงานของคนพิการมากขึ้น ดวยวิธีการพัฒนา องคความรูและสรางเว็บไซตที่เปนสากลและเปนธรรม (Universal Design) ภายใต โครงการพัฒนาสังคมแหงความเทาเทียมดวย ICT ซึง่ เปนการออกแบบเว็บไซตให สามารถใชไดกับ ทุกคน ไมวาจะเปนคนปกติ คนพิ การ และผูส ูงอายุ ซึ่งมุ งหวังให คนพิการสามารถเขาถึงขอมูลขาวสาร และบริการของหนวยงานภาครัฐไดสะดวกขึ้น และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้นได ชวยเพิ่มความเสมอภาคและเทาเทียมกัน ให มี มากขึ ้นให สอดคล องตามบทบั ญ ญั ติ ต ามรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย พุทธศักราช 2550 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554 ตลอดจนพระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ พ.ศ. 2550 - พ.ศ.2554 และแผนพัฒนาสังคมแหงความเทาเทียมดวย ICT ดั ง นั น้ จึ ง มี ก ารจั ด ทํ า รู ป แบบการพั ฒ นาเว็ บ ไซต ใ ห เ ป น เว็ บ ไซต ที ่ทุ ก คน สามารถเขาถึงไดและกําหนดเกณฑมาตรฐานฉบับภาษาไทยขึน้ ภายใตชือ่ “Thai Web Content Accessibility Guidelines” (TWCAG) อันแนวทางในการสงเสริมให หนวยงานตางๆ ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซตทีผ่ ูดอยโอกาส คนพิการและผูส ูงอายุ สามารถเขาถึงไดในการรับขอมูลสารสนเทศและรับบริการอิเล็กทรอนิกส

Web Accessibility 2

2 Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0

Web 2.0 และการเขาถึงขอมูลขาวสารของผูใชงานอินเทอรเน็ตที่มีความพิการ ในปจจุบันนี้ คําวาเว็บ 2.0 นั้นได กลายเปนคํ าฮิตติดปากในกลุมชุมชน ออนไลนกันไปแลว เราจะมาดูกันวาเว็บ 2.0 นั้นคืออะไร และจะมีความเกี่ยวของกับ เรื ่อ งการเข า ถึ ง เนื ้อ หาโดยคนพิ ก ารที ่ใ ช ง านเว็ บ อย า งไรบ า ง โดยเฉพาะการใช เทคโนโลยีใหมๆ อยางเชน AJAX (Asynchronous JavaScript and XML) สําหรับ การสร า งหน า เว็ บ แบบโต ต อบกั บ ผู ใ ช ง านได โ ดยไม ต อ งเรี ย กหน า เว็ บ เพจใหม (Refresh) คําวาเว็บ 2.0 นั้นหมายถึงยุคที่ 2 ของการใหบริการบนโลก World Wide Web (www) ซึ่งจะชวยใหผูใชรวมมือกันและแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารไดงายขึ้น เว็บ 2.0 จะทําใหผูใชรูสึกเหมือนกับกําลังใชงานโปรแกรมเดสกทอปตางๆ อยางเชน Microsoft Words, Outlook และExcel เปนตน ในปจจุบัน สามารถแบงยุคของเว็บออกเปน 3 ยุค ดังนี้ 1. เว็บ 1.0 เปนเว็บที่ไมมีการเคลื่อนไหว มีเพียงเฉพาะขอมูลเทานั้น 2. เว็บ 1.5 มีการใชระบบการจัดการเนือ้ หา (Content Management

System-CMS) ซึ่งชวยใหผูใชสามารถจัดการขอมูลไดดวยตนเอง 3. เว็บ 2.0 เป นเว็บ ทีใ่ ชโ ปรแกรมคอมพิว เตอร แบบโตตอบเต็ ม รูปแบบ ซึง่ เลียนแบบการทํางานของโปรแกรมเดสกทอป โดยที่ ผู ใ ช ส ามารถเก็ บ และแลกเปลี ่ย นข อ มู ล ของตนเองในเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตได

Thai3Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

3


TWCAG2010 Version 2.0

 ตัวอยางเว็บ 2.0  

  

เว็บ wiki ทั้งหลาย ซึ่งผูใชสามารถเขาไปเพิ่มและแกไขขอมูลไดดวย ตนเอง ยกตัวอยางเชนเว็บ www.wikipedia.org เปนตน RSS (Really Simple Syndication) หรือการรวบรวมขาวจากหลายๆ แหลงไวดวยรูปแบบที่งายในการเขาถึง เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนขอมูล เว็บ News Feeds (www.newsfeeds.net) เปนตน บล็อก (Blog) หรืออนุทนิ ออนไลน (Online Diary) เครือขายสังคม เชน MySpace (www.myspace.com) และ LinkedIn (www.linkedin.com) เปนตน เครื่องมือจัดการโครงการ เปนเครื่องมือที่ใชในการจัดการเวลาและ ทรัพยากรตาง ๆ เชน Base camp (www.basecamphq.com) เปนตน

 ปญหาสําหรับคนพิการ ในโปรแกรมเว็ บ 2.0 นั ้น มี ป ญหาหลายอย า งต อ การเข า ถึ งของ คนพิการ เหตุผลหลักๆ นั้นก็คือ เครื่องมือที่ใชในการพัฒนาเว็บ 2.0 ในชวง เริ่มตนนี้ ไมไดมีการคํานึงถึงเรื่องการเขาถึงของคนพิการเลย ตัวอยางปญหา ที่สําคัญคือการใช AJAX ซึ่งทําใหเกิดปญหาตอการอานเนื้อหาของโปรแกรม อานหนาจอ (Screen Reader)  ประเภทปญหาที่คนพิการอาจพบไดจากเว็บ 2.0 ไดแก  

4

กลองล็อกอินที่ตองการใหกรอกรหัสผานที่เปนภาพ (Captcha) โดยที่ ไมมีขอมูลในรูปแบบอื่นใหเลือก โปรแกรมแกไข WYSIWYG (What You See Is What You Get-ได ผลลัพธตามสิ่งที่เห็น) ทีไ่ มรองรับการทํางานของเทคโนโลยีสิง่ อํานวย ความสะดวก (Assistive Technology) หรือทํางานกับเมาส หรือ อุปกรณชี้ตําแหนง (Pointing Device) อื่นๆ แทนการใชคียบอรด 4 Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0 

 

การโตตอบโดยใชการลากเมาสแลวปลอย (Drag and Drop) หรือ การใชอุปกรณชี้ตําแหนงอื่นๆ เชน การใช Stylus เปนตน โดยไมมี ทางเลือกสําหรับการใชแปนพิมพสําหรับคนพิการทางการมองเห็น ผูใชโปรแกรมอานหนาจอไมทราบวามีการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาในบาง จุดของหนาเว็บ (โดยเฉพาะอยางยิ่งการใช AJAX) การสรางเนื้อหาที่คนพิการไมสามารถเขาถึงได อยางเชน - สร า งเนื ้อ หาโดยการใช โ ค ด ที ่ไ ม สื ่อ ความหมาย ซึ ่ง ทํ า ผู ใ ช ไมทราบโครงสรางของขอมูล - การใสภาพโดยไมมีคําอธิบาย - การเลือกเปลี่ย นรู ป แบบหนา ตาของเว็บ อาจมีรูป แบบเนือ้ หา และโครงสรางที่มีผลกระทบตอการเขาถึงของคนพิการ - สื่อประสม (Rich Media) อื่น ๆ ไมมี คําอธิ บาย (Alternative Text) หรือคําบรรยายใตภาพ (Caption) การควบคุมและใชงานสื่อประสมตางๆ เชน ภาพและเสียง ที่ไมรองรับ การทํางานของเทคโนโลยีสิ่งอํานวยความสะดวก หรือตองพึ่งพิงการใช เมาสหรืออุปกรณชี้ตําแหนงเพียงอยางเดียว

 โปรแกรมเว็บ 2.0 ที่ทุกคนเขาถึง ถาหากเรากําลังพิจารณาทีจ่ ะใชโปรแกรมเว็บ 2.0 กับผูใชแลว ควรมี การตรวจสอบป ญ หาเรื อ่ งการเข า ถึ ง ด ว ยความระมั ด ระวั ง เนื อ่ งจากว า โปรแกรมเว็บเหลานั้นอนุญาตใหผูใชสรางเนื้อหาไดเอง ซึ่งยากแกการควบคุม จึงควรปฏิบั ติ ตามขอแนะนํ า ATAG (Authoring Tool Accessibility Guidelines - แนวทางเพื่อการออกแบบเครื่องมือสรางเนื้อหาที่ทุกคนเขาถึง) รวมทั้ง WCAG

Thai5Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

5


TWCAG2010 Version 2.0

จุดตรวจ (Checkpoint) สําหรับ ATAG มีดังนี้      

6

สนับสนุนการใชเครื่องมือในการสรางเนื้อหาที่ทุกคนเขาถึงได สรางโคดที่ไดมาตรฐาน สนับสนุนการสรางเนื้อหาที่ทุกคนเขาถึง จัดใหมีแนวทางในการตรวจสอบและแกไขเนื้อหาเว็บที่ไมสามารถ เขาถึงได สงเสริมใหมีการจัดทําเอกสารสําหรับใหคําแนะนําชวยเหลือ (Help) ตรวจสอบวาเครื่องมือที่ใชในการสรางเนื้อหาเปนเครื่องมือที่คนพิการ สามารถใชงานไดหรือไม

6 Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0

แนวทางการจัดทําเนื้อหาเว็บไซตที่ทุกคนเขาถึงไดสําหรับประเทศไทยป 2553 TWCAG 2010 (Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010) ความเปนมา องคการ World Wide Web Consortium (W3C) ไดเริ่มประกาศใช Web Content Accessibility Guidelines 2.0 (WCAG 2.0) เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2551 หลังจากที่ไดเริ่มลงมือพัฒนามาตั้งแตป 2548 WCAG 2.0 นิยามความหมายของการสรางเนือ้ หาเว็บไซตทีค่ นพิการสามารถ เข า ถึ งได ว า การเข า ถึงนั ้น เกีย่ วข องกั บ ความพิ การหลายประเภท เช น พิการทาง สายตา พิการทางการไดยิน พิการทางรางกาย พิการทางการสือ่ สาร พิการทางการ เรียนรู พิการทางระบบประสาท ฯลฯ นอกจากนี้ WCAG 2.0 ยังชวยใหผูสูงอายุซึ่งมี ความสามารถที่เปลี่ยนไปตามอายุที่เพิ่มขึ้นและผูใชทั่วไปเขาถึงเนื้อหาเว็บไดงายขึ้น อีกดวย อยางไรก็ตาม แมวา WCAG 2.0 จะมีความพยายามครอบคลุมถึงความ พิการหลายๆ ดาน แต WCAG 2.0 ก็ยังไมสามารถแกปญหาการเขาถึงใหแก คนพิ ก ารทุ ก ประเภท ซึ ่ง มี ร ะดั บ ความรุ น แรงและความพิ ก ารซ้ ํา ซ อ นที ่แ ตกต า ง หลากหลายไดทั้งหมด WCAG 2.0 ไดรับการพัฒนาขึ้นจากความรวมมือของ W3C กับองคกรตาง ๆ ทั่วโลก เพื่อใหเกิดมาตรฐานกลางในการจัดทําเนื้อหาเว็บที่ทุกคนเขาถึงได ซึ่งตรงกับ ความตองการของคนพิการทัว่ ไปรวมทัง้ องคกรและหนวยงานภาครัฐ WCAG 2.0 ไดรับการพั ฒนามาจาก WCAG 1.0 และออกแบบมาเพื่อใหสามารถใชไดกับ เทคโนโลยี เ ว็ บ ทั ง้ ในป จ จุ บั น และอนาคต สามารถทดสอบโดยการใช เ ครื อ่ งมื อ ตรวจสอบความถูกตองอัตโนมัติหรือการตรวจสอบความถูกตองดวยมนุษย

Thai7Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

7


TWCAG2010 Version 2.0

เว็บไซตที่ทุกคนเขาถึงไดนั้นไมไดขึ้นอยูกับการจัดทําเนื้อหาเว็บใหเขาถึงได เพียงอยางเดียวเทานัน้ แตยังตองรวมถึงเว็บบราวเซอร หรือที่เรียกวา User Agent หรือเทคโนโลยีอื่นๆ อีกดวย ยกตัวอยางเชน ซอฟตแวรที่ใชในการพัฒนาเว็บนั้นไดมี บทบาทเปนอยางมากในเรื่องของการทําเว็บไซตที่ทุกคนเขาถึงได จึงควรมีแนวทาง หรือมาตรการสําหรับการจัดทําซอฟตแวรหรือเทคโนโลยีอื่นๆ ดวย เชน  องคประกอบสําคัญของเว็บที่ทุกคนเขาถึง (Essential Components of Web Accessibility)  แนวทางการพัฒนาเว็บบราวเซอร (User Agent) ที่ทุกคนเขาถึงได (User Agent Accessibility Guidelines - UAAG)  แนวทางสําหรับเครื่องมือพัฒนาเว็บที่ทุกคนเขาถึงได (Authoring Tool Accessibility Guidelines - ATAG) สํ า หรั บ ในประเทศไทยนั ้น นั บ ตั ้ง แต ช ว งป 2550 เป น ต น มา กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารหรือกระทรวงไอซีที ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญ ของปญหาการเขาถึงเว็บไซตของคนพิการในประเทศไทย จึงไดริเริ่มโครงการพัฒนา สังคมแหงความเทาเทียมดวย ICT ซึ่งไดจัดใหมีการฝกอบรมการสรางเว็บไซตที่ทุก คนเขาถึงไดมาตั้งแตป 2550 และไดจัดทําคูมือ TWCAG 2008 (Thai Web Content Accessibility Guidelines 2008) ขึ้นในป 2551 ซึ่งในขณะนั้นไดนําเอา WCAG 2.0 ที่ ยังเปนรางทีเ่ กือบสมบูรณแลวมาปรับใช และในป 2552 ก็ไดปรับใหเปน TWCAG 2009 ซึ่งไดนําเอา WCAG 2.0 ฉบับเสร็จสมบูรณที่ประกาศใชอยางเปนทางการแลว มาปรับใช คําแนะนําสําหรับการใช TWCAG 2010 นักพัฒนาเว็บและองคกรที่นํา TWCAG 2010 ไปใชนั้นมีความหลากหลาย เชน เปนนักออกแบบ เปนเจาหนาที่แผนและนโยบาย เปนฝายจัดซื้อ เปนอาจารยหรือเปน นักศึกษา ดังนั้น จึงตองมีคําแนะนําการใชงานเพื่อใหสามารถตอบสนองตอการใชงาน ที่หลากหลายได 8

8 Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0

หลักการ (Principle) TWCAG 2010 (Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010) เปน แนวทางการพั ฒนาเว็ บไซตทีท่ ุกคนเขา ถึ ง สามารถใช งานและเข าใจเนื อ้ หา โดย รายละเอียดภายในมาตรฐานฉบับนี้ เปนสวนที่มีความสําคัญสําหรับนักการออกแบบ และพัฒนาเว็บไซต ซึง่ อางอิงจากมาตรฐานสากล WCAG 2.0 ประกอบไปดวย ขอแนะนํา การพัฒนาและเงื่อนไขที่สามารถระบุไดวาหนาเว็บไซตนั้นไดทําตาม ขอแนะนําอยางถูกตองหรือไม ซึ่งแนวทางที่เหมาะสมสําหรับการพัฒนาและนําเสนอ เนื้อหาและขอมูลของเว็บไซตมี 4 หลักการดังตอไปนี้  TWCAG 2009 ประกอบดวยขอแนะนํา 4 หลักการ 1. สามารถรับรูได (Perceivable) 1.1 จั ด ให มี ข อ ความทดแทนสํ า หรั บ เนื ้อ หาที ่ไ ม ใ ช ข อ ความเพื อ่ ให สามารถเปลีย่ นไปสู รู ป แบบข อมู ล อื ่น ๆ เพื่อตอบสนองต อความ ตองการที่หลากหลายได เชน ตัวหนังสือขนาดใหญ (Large Print) คําพูด อักษรเบรลล สัญลักษณหรือภาษาที่งายขึ้น 1.2 จัดใหมีขอความทดแทนสําหรับสื่อที่กําหนดดวยเวลา (TimeBased Media) 1.3 สรางเนื้อหาที่สามารถนําเสนอไดหลายรูปแบบ เชน การเปลี่ยน รูปแบบโครงรางเอกสาร (Layout) โดยไมสูญเสียสารสนเทศหรือ โครงสรางของเอกสาร 1.4 จัดทํ าเนื้อหาเพื่อให ผูใช สามารถเห็น หรื อได ยิน เนื้อหาได ชัด เจน รวมทั้งการแยกความแตกตางของสีพื้นหนาและพื้นหลัง Thai9Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

9


TWCAG2010 Version 2.0

2. สามารถใชงานได (Operable) 2.1 ผูใชสามารถเขาถึงทุกสวนและการใชงานในหนาเว็บไดดวยการใช แปนพิมพเพียงอยางเดียว 2.2 กํ า หนดเวลาอย า งเพี ย งพอเพื ่อ ให ผู ใ ช ส ามารถอ า นและใช ง าน เนื้อหาได 2.3 ไมสรางเนื้อหาที่กอใหเกิดอาการชัก (Seizure) 2.4 จัดหาวิธีการใหผูใชสามารถทองหนาเว็บ คนหาเนื้อหาและทราบวา ตนเองอยูตําแหนงใดในเว็บไซตได 3. สามารถเขาใจได (Understandable) 3.1 ผูใชสามารถอานและเขาใจเนือ้ หาที่เปนขอความได 3.2 หนาเว็บปรากฏและทํางานในลักษณะที่ผูใชสามารถคาดเดาได 3.3 ชวยใหผูใชหลีกเลี่ยงความผิดพลาดและแนะนําวิธีแกปญหา 4. คงทนตอความเปลี่ยนแปลง (Robust) 4.1 เพิ่มความสามารถในการรองรับเทคโนโลยีเว็บตาง ๆ ที่หลากหลาย ทั้งในปจจุบนั และอนาคตได  แนวทาง (Guidelines) ภายใตแตละหลักการ จะมีแนวทางที่เปนขอปลีกยอยลงไปอีกทั้งหมด 12 ขอยอย ซึ่งไดใหคําแนะนําที่ผูพัฒนาเว็บตองทําเพื่อใหสามารถจัดทําเนื้อหาเว็บให คนพิการหลากหลายประเภทเขาถึงได แมวาตัวแนวทางจะไมสามารถทดสอบได แตก็ไดใหกรอบการทํางานและวัตถุประสงคหลักๆ ซึ่งจะชวยใหผูพัฒนาเขาใจเกณฑ ความสําเร็จและการใชงานเทคนิคตางๆ ไดดีขึ้น

10

Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 10 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0

 เกณฑความสําเร็จ (Success Criteria) ในแตละแนวทางนั้น จะมีเกณฑความสําเร็จอยู 3 ระดับที่สามารถ ทดสอบไดเ พื่อให TWCAG 2009 สามารถใชงานในกรณี ทีต่ องมี การทดสอบ ขอกําหนดหรือความเขากันไดในเว็บไซต เพื่อใหสามารถสนองตอบตอความตองการ ที่หลากหลายของคนหลายกลุม และหลายสถานการณได จึงไดมีการกําหนดระดับใน การเขาถึงไว 3 ระดับคือ ระดับ A ระดับ AA ระดับ AAA 1. ระดับ A แนวทางขั้นต่ําสุดที่ตองทํา ไมเชนนั้นแลว การเขาถึงจะเปนไป ไดยากหรือไมไดเลย 2. ระดับ AA แนวทางขั้นกลางทีค่ วรจะทํา เพื่ออํานวยความสะดวกในการ เขาถึงเพิ่มขึ้น 3. ระดับ AAA แนวทางขั้นสูงสุดที่อาจจะทํา เพื่อใหผูใชเขาถึงและใชงาน เนื้อหาเว็บไดสูงสุด

Thai11 Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

11


TWCAG2010 Version 2.0

หลักการที่ 1: รับรูได จัดทําสารสนเทศและระบบตอประสานกับผูใช (User Interface) ในรูปแบบที่ผูใชสามารถรับรูได  แนวทางที่ 1.1 ขอความทดแทน จัดใหมีขอความทดแทนสําหรับเนื้อหาที่ไมใชขอความเพื่อใหสามารถ เปลี่ยนไปสูรูปแบบขอมูลอื่น ๆ เพื่อตอบตอความตองการที่หลากหลายได เชน ตัวหนังสือขนาดใหญ (Large Print) คําพูด อักษรเบรลล สัญลักษณหรือภาษา ที่งายขึ้น 1.1.1 เนื้อหาที่ไมใชขอความ – นําเสนอเนื้อหาที่ไมใชขอความตอผูใชดวย ขอความทดแทนที่มีวัตถุประสงคเทียบเทากัน ยกเวนในกรณีตอไปนี้ (ระดับ A)  ชิ ้น ส ว นควบคุ ม อิ น พุ ต – ถ า เนื ้อ หาที ่ไ ม ใ ช ข อ ความเป น ส ว น ควบคุ ม หรื อส ว นนํ า เข า ข อมู ล ของผู ใ ช ควรตั ้งชื ่อ (Name) ที่ สามารถอธิบายวัตถุประสงคของตัวมันเองได  สื ่อ ที ่กํ า หนดด ว ยเวลา – ถ า เนื ้อ หาที ่ไ ม ใ ช ข อ ความเป น สื ่อ ที ่ 1 กําหนดดวยเวลา (Time-Based Media) อยางนอยควรมีขอความ ทดแทนเพื่อใหคําอธิบายเนื้อหาที่ไมใชขอความนั้น  การทดสอบ – ถ า เนื ้อ หาที ่ไ มใ ช ขอ ความเป น ข อมู ล ทดสอบหรื อ โจทย ที ่ใ ช ไ ม ไ ด ถ า หากนํ า เสนอเป น ข อ ความ อย า งน อ ยให มี ขอความทดแทนเพื่ออธิบายเนื้อหาที่ไมใชขอความนั้นวาคืออะไร 0F

1

12

สื่อประสมตาง ๆ ที่มีความยาวเปนเวลา เชน วิดโี อ ภาพเคลื่อนไหว เสียงเพลงหรือเสียงพูด เปนตน

Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 12 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0 

การรั บ รู – ถ า เนื ้อ หาที ่ไ ม ใ ช ข อ ความนํ า มาใช เ พื ่อ การสร า ง 2 ประสบการณทางความรูส ึก (Sensory) บางอยาง อยางนอยใหมี ขอความทดแทนเพื่ออธิบายเนื้อหาที่ไมใชขอความนั้น CAPTCHA – ถาเนื้อหาที่ไมใชขอความนั้นนํามาใชเพื่อยืนยันวา การเขาถึงหนาเว็บเปนการกระทําของมนุษย ไมเปนการกระทําโดย คอมพิ ว เตอร ต อ งมี ข อ ความทดแทนเพื ่อ ระบุ แ ละอธิ บ าย วัตถุ ประสงค และต องมีเ นื้อหารูป แบบอื่น ๆ ทดแทน CAPTCHA เพื่อใหผูใ ชสามารถเขาถึ งได ดวยการใชประสาทสัมผัส อื่นๆ เพื่ อ ตอบสนองตอการใชงานของคนพิการประเภทตางๆ การตกแตง การจัดรูปแบบและการซอนเนื้อหา – ถาเนื้อหาที่ ไม ใ ช ข อ ความใช สํ า หรั บ การตกแต ง อย า งเดี ย วหรื อ สํ า หรั บ การ จัดรูปแบบ หรือซอนเนื้อหาไมใหผูใชมองเห็น ในกรณีนีค้ วรจัดให ระบบอํานวยความสะดวกสามารถไมนําเสนอหรือขามสิ่งเหลานี้ไป ได 1F

 แนวทางที่ 1.2 สื่อที่กําหนดดวยเวลา จัดใหมีขอความทดแทนสําหรับสื่อที่กําหนดดวยเวลา 1.2.1 เสียงหรือภาพวีดีทัศนเพียงอยางเดียว สําหรับสื่อประเภทเสียงหรือวีดีทัศนเพียงอยางเดียวที่บันทึกไวลวงหนา สิ่งหนึ่งสิ่งใดตอไปนี้ตองเปนจริง ยกเวนในกรณีที่เสียงหรือภาพวีดีทัศน เปนทางเลือกหนึ่งของสารสนเทศประเภทขอความ (ระดับ A)  เสียงที่บันทึกไวลวงหนา – จัดใหมีขอความทดแทนสําหรับสื่อที่ กําหนดดวยเวลา โดยใหมีขอมูลเทียบเทากับขอมูลเสียงที่บันทึกไว ลวงหนา 2

กิจกรรมบางอยางในเว็บไซตที่วัตถุประสงคเพื่อใหผูใชเกิดความรูสกึ บางอยาง เชน การใหผูใชดูภาพ ลายกนหอยที่หมุนไปมาเพื่อใหเกิดความรูสึกเวียนศีรษะ เปนตน

Thai13 Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

13


TWCAG2010 Version 2.0 

วี ดี ทั ศ น ที ่บั น ทึ ก ไว ล ว งหน า – ควรจั ด ให มี ข อ ความทดแทน (Caption) สําหรับสื่อทีก่ ําหนดดวยเวลา หรือมีเสียงบรรยายที่ให ขอมูลไดเทียบเทากับวีดีทัศนที่บันทึกไวลวงหนา

1.2.2 คําบรรยายเสียงหรือภาพ มีคําบรรยายเสียงหรือภาพ (Caption) สําหรับเนื้อหาที่เปนเสียงเพียง อยางเดียวที่บันทึกไวลวงหนาในสื่อซิงโครไนซ 3 ยกเวนวาสื่อนั้นเปน ทางเลือกสําหรับเนื้อหาที่เปนขอความและมีขอความกํากับไวชัดเจน (ระดับ A) 2F

1.2.3 คําบรรยายประเภทเสียงหรือทางเลือกสื่อ (ที่บันทึกไวลวงหนา) ควรจัดใหมีขอความทดแทนสําหรับสื่อที่กําหนดดวยเวลาหรือมีเสียง บรรยายในเนื ้อหาวี ดี ทัศน ที่บั น ทึ กไว ล ว งหน า สํ า หรั บ สื ่อซิ ง โครไนซ ยกเวน เมื่อสื่อนั้นเปน ทางเลื อกสํ าหรับเนื้อหาข อความและมีการแจ ง กํากับไวชัดเจน (ระดับ A) 1.2.4 คําบรรยายภาพหรือเสียง ควรจัดใหมีคําบรรยายเสียงสําหรับเนื้อหาประเภทเสียงทีถ่ ายทอดสด สําหรับสื่อซิงโครไนซ (ระดับ AA) 1.2.5 คําบรรยายประเภทเสียง (บันทึกไวลวงหนา) จั ด ให มี คํ า บรรยายประเภทเสี ย งสํ า หรั บ เนื ้อ หาวี ดี ทั ศ น ที บ่ ั น ทึ ก ไว ลวงหนาในสื่อซิงโครไนซ (ระดับ AA) 1.2.6 ภาษามือ (บันทึกไวลวงหนา) จัดใหมีการแปลภาษามือสําหรับเนื้อหาประเภทเสียงที่บันทึกไวลวงหนา ในสื่อซิงโครไนซ (ระดับ AAA) 3

สื่อที่จัดใหภาพ เสียงและขอความหรือสื่ออื่น ๆ เกิดขึ้นพรอมกัน เพื่อใหขอมูลแกสิ่งที่แสดงอยูในขณะนั้น เชน ในขณะ

ที่มีภาพ จะมีเสียงที่ตรงกับเนื้อหาของภาพและมีคําอธิบายที่ตรงกับภาพและเสียงที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

14

Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 14 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0

1.2.7 คําบรรยายเสียงเพิม่ เติม (บันทึกไวลวงหนา) หากมีชวงเสียงเงียบในวีดีทัศน (แตมีการนําเสนอเนื้อหาที่ตองอาศัย การมองเห็นเพียงอยางเดียวในขณะนั้น) ควรมีการเพิม่ คําบรรยาย ประเภทเสี ย งเพือ่ อธิ บ ายเหตุ การณ ใ นวี ดีทัศ น ใ นชว งที ่ไม มีเ สี ย งนั ้น สําหรับสื่อซิงโครไนซดวย (ระดับ AAA) 1.2.8 ทางเลือกสื่อ (บันทึกไวลวงหนา) จัดใหมีขอความทดแทนสําหรับสื่อซิงโครไนซที่กําหนดดวยเวลาและสื่อ วีดีทัศนที่มีภาพเพียงอยางเดียวที่บันทึกไวลวงหนา (ระดับ AAA) 1.2.9 เสียงเพียงอยางเดียว (สด) มี ข อ ความทดแทนสํ า หรั บ สื ่อที ่กํา หนดด ว ยเวลาที ่ส ามารถให ข อมู ล เทียบเทากับเนื้อหาประเภทเสียงที่ถายทอดสด (ระดับ AAA)  แนวทางที่ 1.3 ปรับเปลี่ยนได สรางเนื้อหาที่สามารถนําเสนอไดหลายรูปแบบ (เชน การเปลีย่ นรูปแบบ โครงรางเอกสาร โดยไมสูญเสียสารสนเทศหรือโครงสรางของเอกสาร 1.3.1 สารสนเทศและความสัมพันธ –สารสนเทศโครงสรางและความสัมพันธ ระหวางกันที่นําเสนอในหนาเว็บสามารถหาไดดวยวิธีทางโปรแกรม หรือ จัดใหมีขอความทดแทนอธิบายความสัมพันธนั้น (ระดับ A) 1.3.2 ลําดับที่มีความหมาย – เมื่อลําดับในการนําเสนอเนื้อหามีผลกระทบ ตอความหมาย ผูใชสามารถตัดสินหรือเขาใจลําดับการอานที่ถูกตองได ดวยวิธีทางโปรแกรม (ระดับ A) 1.3.3

ลักษณะทางประสาทสัมผัส – ขอความอธิบายเพื่อใหเขาใจหรือ วิธีการใชงานเนื้อหา ตองไมขึ้นอยูกับลักษณะทางประสาทสัมผัสของ องคประกอบตาง ๆ ของหนาจอ เชน รูปราง ขนาด ตําแหนง ทิศทาง หรือเสียง (ระดับ A)

Thai15 Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

15


TWCAG2010 Version 2.0

 แนวทางที่ 1.4 แยกแยะได จัดทําเนื้อหาเพื่อใหผูใชสามารถเห็นหรือไดยินเนื้อหาไดชัดเจน รวมทั้ง การแยกความแตกตางของสีพื้นหนาและพื้นหลัง 1.4.1 การใชสี - ไมควรใชสีเพียงอยางเดียวในการสื่อความหมาย แจ ง เหตุการณ กระตุนการตอบสนอง หรือแสดงความแตกตาง (ระดับ A) 1.4.2 การควบคุมเสียง - ถามีเสียงประกอบยาวมากกวา 3 วินาที จะตองมี กลไกในการหยุดเลนชั่วคราวหรือจบการเลน หรือมีกลไกในการควบคุม ระดั บ ความดั ง ของเสี ย ง ซึ ่ง แยกเป น อิ ส ระจากการตั ้ง ค า เสี ย งใน ระบบปฏิบัติการ (ระดับ A) 1.4.3 คาความตางของความเขม(Contrast) - การแสดงผลขอความหรือ ภาพของขอความ (Image of text) ตองมีคาสัดสวน Contrast 4.5 ตอ 1 ยกเวนในกรณีตอไปนี้ (ระดับ AA)  ขอความขนาดใหญ – ขอความหรือภาพของขอความขนาดใหญ มีอัตราสวน Conrast อยางนอย 3 ตอ 1  Incidental – ขอความหรือภาพของขอความที่เปนสวนประกอบที่ ยั ง ไม ทํ า งานของส ว นต อ ประสานกั บ ผู ใ ช หรื อ ที ่ใ ช สํ า หรั บ การ ตกแตง หรือเปนสวนที่ไมปรากฏใหเห็น หรือเปนสวนหนึ่งของภาพ ซึ ่ง มี ชิ ้น ส ว นภาพอื ่น ๆ อี ก มาก กรณี เ หล า นี ้ ไม จํ า เป น ต อ งมี ขอกําหนดในเรื่อง Contrast  ขอความในตราสั ญลั ก ษณ – ข อความที่เ ป น ส ว นหนึ่งของตรา สัญลักษณหรือยี่หอไมจําเปนตองมีขอกําหนดคา Contrast 1.4.4 ปรับขนาดขอความ – ผูใชสามารถปรับลดขนาดขอความไดอยางนอย รอยละ 200 โดยไมตองใชเทคโนโลยีสิง่ อํานวยความสะดวกโดยไม สูญเสียเนื้อหาหรือการทํางานของหนาเว็บ ยกเวนสําหรับคําบรรยาย ภาพและเสียงหรือภาพของขอความ (ระดับ AA) 16

Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 16 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0

1.4.5 ภาพของขอความ (Image of Text) 4 –หากเทคโนโลยีที่ใชสามารถ เขาถึงการนําเสนอดวยการมองเห็น (Visual Presentation) ได เรา สามารถใชขอความในการสื่อความหมายแทนการใชภาพของขอความ ยกเวนในกรณีตอไปนี้ (ระดับ AA)  ปรับใหตรงตามความตองการ - ภาพของขอความสามารถปรับ ใหตรงตามความตองการของผูใ ชได  จําเปน – วิธีการนําเสนอขอความเฉพาะแบบมีความสําคัญอยางยิ่ง ในการนําเสนอนัยของสารสนเทศ 3F

1.4.6 คา Contrast (ปรับปรุง) – การแสดงผลขอความหรือภาพของขอความ ตองมีอัตราคา Contrast อยางนอย 7 ตอ 1 ยกเวนในกรณีตอไปนี้ (ระดับ AAA) ขอความขนาดใหญ – ขอความหรือภาพของขอความขนาดใหญมี อัตราสวน Contrast อยางนอย 4.5 ตอ 1  Incidental – ขอความหรือภาพของขอความที่เปนสวนประกอบที่ ยังไมทํางานของสวนตอประสานกับผูใช หรือที่ใชสําหรับการตกแตง หรื อเป นส วนที ่ไม ปรากฏให เ ห็น หรื อเปน ส วนหนึ ่งของภาพซึ ่งมี ชิ้นสวนภาพอื่นๆ อีกมาก กรณีเหลานี้ ไมจําเปนตองมีขอกําหนดใน เรื่อง Contrast  ข อ ความในตราสั ญ ลั ก ษณ – ข อ ความที ่เ ป น ส ว นหนึ ่ง ของตรา สัญลักษณหรือยี่หอไมจําเปนตองมีขอกําหนดคา Contrast 

1.4.7 ไมมีเสียงพื้นหลังหรือระดับความดังเสียงพื้นหลังต่ํา – สําหรับเนื้อหา ประเภทเสียงเพียงอยางเดียวที่บันทึกไวลวงหนาซึ่ง 1) มีเนื้อหาที่เปน

4

มีลักษณะเชนเดียวกับรูปภาพทัว่ ไป แตในรูปภาพนั้นมีเพียงขอความที่ตองการนําเสนอเนื้อหาบางอยาง

Thai17 Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

17


5

TWCAG2010 Version 2.0

เสียงพื้นหนา 2) ไมเปนเสียงอธิบาย CAPTCHA และ 3) ไมเปน การรองเพลงเพือ่ ใชในงานดนตรี เชน การรองเพลงหรือการรองแร็พ อยางนอยสิ่งหนึ่งสิ่งใดตอไปนี้ตองเปนจริง (ระดับ AAA)  ไมมีเสียงพื้นหลัง – ขอมูลประเภทเสียงไมมีเสียงพื้นหลัง  ปดเสียง – สามารถปดเสียงพื้นหลังได  20 เดซิเบล – เสียงพื้นหลังมีระดับความดังนอยกวาระดับความดัง ของเสียงเนื้อหาหลัก 20 เดซิเบล ยกเวนเสียงที่ดังขึ้นเปนครั้งคราว เปนระยะเวลา 1-2 วินาที 4F

1.4.8 การแสดงผลที่มองเห็นได (Visual Presentation) – สําหรับการ แสดงผลที่มองเห็นไดของกลุมขอความ ตองมีกลไกดังตอไปนี้ (ระดับ AAA) 1. ผูใชสามารถเลือกสีพื้นหนาและพื้นหลังได 2. ตองมีตัวอักษรนอยกวา 80 ตัว (หรือ 40 ในกรณีที่เปนภาษาจีน ภาษาญี่ปุนและภาษาเกาหลี) 3. ไม ป รั บ ตั ว อั กษรเหยี ย ดเต็ ม บรรทั ด (เหยี ย ดจากด า นซ า ยสุ ด ไป ดานขวาสุด) 4. ระยะหางระหวางบรรทัดควรมีระยะหางอยางนอยหนึ่งชองวางครึ่ง (Space and a half) ในยอหนาเดียวกัน และระยะหางระหวางยอ หนามากกวา 1.5 เทาของระยะหางระหวางบรรทัด 5. ผูใ ชสามารถปรับขนาดของขอความไดรอยละ 200 โดยไมตองใช เทคโนโลยี สิ ง่ อํ า นวยความสะดวก และผู ใ ช ไ ม ต อ งเลื อ่ นอ า น ขอความตามแนวนอนในรูปแบบหนาจอเต็ม

5

18

เสียงพื้นหนาหมายถึง เสียงที่เปนเนื้อหาหลัก สวนเสียงพื้นหลังหมายถึงเสียงประกอบอื่น ๆ

Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 18 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0

1.4.9 ภาพของขอความ (ไมมีขอยกเวน) – ภาพของขอความตองใชสําหรับ การตกแตงเพียงอยางเดียวเทานั้น หรือใชในกรณีที่วิธีการแสดงผลบาง แบบที่จําเปนอยางยิ่งตอการสื่อความหมาย (ระดับ AAA)

หลักการที่ 2: ใชงานได

Thai19 Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

องคประกอบของสวนตอประสานกับผูใ ช

19


TWCAG2010 Version 2.0

 แนวทาง 2.1 เขาถึงไดโดยแปนพิมพ ผูใ ช ส ามารถเข าถึ งทุ กกระบวนการใช งานในหน า เว็ บ ได ด วยการใช แปนพิมพเพียงอยางเดียว 2.1.1 แปนพิมพ - ผูใชตองสามารถเขาถึงทุกกระบวนการทํางานของเนื้อหา ได โ ดยใช แ ป น พิ ม พ โดยไม ต อ งมี ก ารกํ า หนดความเร็ ว ในการเคาะ แปนพิมพ(Keystroke) ยกเวนในกรณีที่การทํางานที่ตองใชขอมูลนําเขา ซึง่ ขึ ้นอยู กับเส น ทางการเคลือ่ นไหวของผู ใ ชที่ไม เป น จุ ดสิ ้น สุ ดอย า ง เดียวเทานั้น เชน การใชขอมูลนําเขาดวยการใชมือเขียน (ระดับ A) 2.1.2 ไมมีกับดักแปนพิมพ (Keyboard Trap) – ถาหากโฟกัสของแปนพิมพ สามารถเลื ่อ นไปที ่วั ต ถุ ใ ดในหน า เว็ บ ได โ ดยการใช แ ป น พิ ม พ ต อ ง สามารถเลือ่ นโฟกั สออกจากวั ตถุ นัน้ ไดด ว ยการใชแ ป นพิ มพ เ ชน กั น และถาจําเปนตองใชปุมลูกศรหรือปุมแท็บ ตองมีคําแนะนําใหผูใชทราบ ถึงวิธีการเลื่อนโฟกัสออก (ระดับ A) 2.1.3 แปนพิมพ (ไมมีขอยกเวน) – การใชงานเนือ้ หาทุกอยางตองสามารถ เขาถึงไดดวยการใชแปนพิมพโดยไมตองกําหนดความเร็วในการเคาะ แปนพิมพ (ระดับ AAA)

 แนวทาง 2.2 เวลาทีเ่ พียงพอ 20

Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 20 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0

กําหนดเวลาอยางเพียงพอเพื่อใหผูใชสามารถอานและใชงานเนื้อหาได 2.2.1 เวลาทีส่ ามารถปรับได – สําหรับการจํากัดเวลาในการใชงานเนื้อหา สิ่งหนึ่งสิ่งใดตอไปนี้ตองเปนจริง (ระดับ A)  ยกเลิก – ผูใชสามารถยกเลิกการจํากัดเวลาไดกอนการใชงานจริง หรือ  ปรับเปลี่ยน – ผูใ ชสามารถปรับเปลีย ่ นการจํากัดเวลากอนการใช งานไดอยางนอย 10 เทาของความยาวของเวลาที่กําหนดไว หรือ  ขยาย – ต องเตื อนผู ใ ชก อ นทีเ่ วลาจะหมดและให ส ามารถขยาย เวลาเพิ่มไดอยางนอย 20 วินาทีดวยวิธีงาย ๆ (เชน การกดปุม Space) และผูใชสามารถขยายเวลาออกไปไดอยางนอย 10 เทา ของเวลาที่จํากัดไว หรือ  ข อ ยกเว น สํ า หรั บ เหตุ ก ารณ ส ด – การจํ า กั ด เวลาเป น สิ ่ง ซึ่ ง จํ า เป น ต อ งใช ใ นเหตุ ก ารณ ส ด (Real-time event) เช น ใน การประมูลสินคา จึงไมสามารถใหทางเลือกในการปรับเปลี่ยนเวลา ได หรือ  ขอยกเวนที่สําคัญอยางยิ่ง – การจํากัดเวลาเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง ถาหากขยายเวลาออกไปแลวจะทําใหไมสามารถใชงานไดถูกตอง  ขอยกเวน 20 ชั่วโมง – การจํากัดเวลานั้นนานกวา 20 ชั่วโมง 2.2.2 การพัก หยุดหรือซอน – สําหรับสารสนเทศที่มีการเคลื่อนไหว กะพริบ เลื่อนขึ้นลง หรือปรับทันกาลอัตโนมัติ (Auto-update) ทุกขอตอไปนี้ตอง เปนจริง (ระดับ A)  การเคลื่อนไหว กะพริบ เลื่อนขึ้นลง – สําหรับสารสนเทศใดที่มี การเคลื่อนไหว กะพริบหรือเลื่อนขึ้นลงซึ่ง 1) เริ่มเองโดยอัตโนมัติ 2) เกิดขึ้นนานกวา 5 วินาที และ 3) นําเสนอคูขนานกับเนื้อหาอื่น

Thai21 Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

21


TWCAG2010 Version 2.0

ต อ งมี ก ลไกให ผู ใ ช พั ก หยุ ด หรื อ ซ อ นสิ ง่ นั ้น ได เว น แต ว า การเคลื่อนไหว การกะพริบหรือการเลื่อนขึ้นลงเปนสิ่งสําคัญอยาง ยิ่งของกิจกรรม การปรับทันกาลอัตโนมัติ – สําหรับสารสนเทศที่มีการปรับทัน กาลอัตโนมัติซึ่ง 1) เริ่มเองโดยอัตโนมัติ และ 2) นําเสนอคูข นาน กับเนื้อหาอื่น ตองมีกลไกใหผูใชสามารถพัก หยุดหรือซอนสิ่งนั้น ได หรือควบคุมความถี่ของการปรับทันกาลได เวนแตวาการปรับ ทันกาลอัตโนมัตินั้นเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งของกิจกรรม

2.2.3 ไมมีการกําหนดเวลา – การกําหนดเวลาไมเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งใน เหตุการณหรือกิจกรรมของเนื้อหา ยกเวนสําหรับสื่อซิงโครไนซที่ไมมี การโตตอบกับผูใช (Non-interactive synchronized media) และ เหตุการณสด (ระดับ AAA) 2.2.4 การขั ด จั ง หวะ – ผู ใ ช ส ามารถเลื ่อ นการขั ด จั ง หวะหรื อ หยุ ด การขัดจังหวะนั้นได ยกเวนการขัดจังหวะในกรณีเหตุฉุกเฉิน (ระดับ AAA) 2.2.5 การตรวจสอบสิทธิ์การใชงานใหม (Re-authentication) – เมื่อ ช ว งเวลาที ่ได รั บ การตรวจสอบสิ ท ธิ ์การใช งานหมดลง ผู ใ ช ส ามารถ ดําเนินกิจกรรมตอไปไดโดยไมสูญเสียขอมูลหลังจากการตรวจสอบสิทธิ์ การใชงานใหม (ระดับ AAA)  แนวทาง 2.3 อาการชัก ไมสรางเนื้อหาที่กอใหเกิดอาการชัก (Seizure) 2.3.1 การกระพริบ 3 ครั้งหรือต่ํากวาระดับที่กําหนดไว – ในหนาเว็บตอง ไมมีเนื้อหาสวนใดทีก่ ะพริบ 3 ครั้งหรือมากกวาใน 1 วินาที หรือ การกะพริบนั้นต่ํากวาขอกําหนดต่ําสุดการกะพริบหรือการกะพริบของ แสงสีแดง (3 ครั้งตอวินาที) (ระดับ A) 22

Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 22 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0

2.3.2 การกระพริบ 3 ครั้ง – ในหนาเว็บตองไมมีเนื้อหาสวนใดที่กะพริบ 3 ครั้งหรือมากกวาใน 1 วินาที (ระดับ AAA)  แนวทาง 2.4 ทองหนาเว็บได จั ด หาวิ ธี การให ผูใ ช ส ามารถท องหน า เว็ บ ค น หาเนื ้อหาและทราบว า ตนเองอยูตําแหนงใดในเว็บไซตได 2.4.1 ขามบล็อก – มีกลไกสําหรับขามบล็อกของเนื้อหาทีป่ รากฏซ้าํ ๆ ใน หลายหนาเว็บ (ระดับ A) 2.4.2 ชื่อหนาเว็บ – หนาเว็บตองมีชื่อที่อธิบายเนื้อหาหรือวัตถุประสงคของ ตัวมันเอง (ระดับ A) 2.4.3 ลําดับโฟกัส – ถาหากผูใ ชสามารถทองไปตามหนาเว็บไดอยางเปน ลําดับ และลําดับการทองหนาเว็บนั้นมีผลตอความหมายหรือการใชงาน ส ว นประกอบที ่รั บ โฟกั ส ได ต อ งมี ลํ า ดั บ การเลื อ่ นโฟกั ส ที ่ช ว ยคง ความหมายและการใชงานไดเชนเดิม (ระดับ A) 2.4.4 วัตถุประสงคของลิงค– วัตถุประสงคของแตละลิงคสามารถเขาใจได โดยขอความลิงคเพียงอยางเดียว หรือดวยบริบทของลิงคที่สามารถทํา ความเขาใจดวยวิธีทางโปรแกรม ยกเวนในกรณีทีว่ ัตถุประสงคของ ขอความของลิงคนั้นทําใหผูใชทั่วไปรูสึกวากํากวม (ระดับ A) 2.4.5 หลายวิธี – จัดใหมีวิธหี ลายวิธีในการคนหนาเว็บที่ตองการในเว็บไซต ยกเวนในกรณีที่หนาเว็บนั้นเปนผลลัพธหรือขั้นตอนหนึ่งในกระบวนการ ทํางานบางอยาง (ระดับ AA)

Thai23 Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

23


TWCAG2010 Version 2.0

2.4.6 หัวเรื่องและปายกํากับ – หัวเรื่องและปายกํากับตองอธิบายเนื้อหา หรือวัตถุประสงคของตัวมันเอง (ระดับ AA) 2.4.7 โฟกัสที่มองเห็นได –สวนตอประสานกับผูใชที่สามารถเขาถึงไดโดย แป น พิ ม พ จ ะต อ งมี รู ป แบบการทํ า งานที ่ส ามารถมองเห็ น โฟกั ส ของ แปนพิมพได (ระดับ AA) 2.4.8 ตําแหนง – ตองมีขอมูลสําหรับบอกตําแหนงของผูใชในเว็บไซตได (ระดับ AAA) 2.4.9 วัตถุประสงคของลิงค (สําหรับลิงคเทานั้น) – มีกลไกที่ชวยใหผูใช ทราบวัตถุประสงคของลิงคไดจากขอความเพียงอยางเดียว ยกเวนใน กรณี ที่วั ต ถุ ป ระสงค ข องข อความของลิ งค นั ้น ทํ า ให ผูใ ช ทั่ว ไปรู ศึ กว า กํากวม (ระดับ AAA) 2.4.10 หัวเรื่องในแตละภาคสวน (Heading Section) – ตองใชหัวเรื่องใน การจัดระเบียบเนื้อหาในแตละสวนของหนาเว็บ (ระดับ AAA)

24

Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 24 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0

หลักการที่ 3: เขาใจได สารสนเทศและการใชงานของสวนตอประสาน ผูใชตองสามารถเขาใจได  แนวทาง 3.1 สามารถอานได ผูใชสามารถอานและเขาใจเนือ้ หาที่เปนขอความได 3.1.1 ภาษาในหนาเว็บ – ในแตละหนาเว็บ ภาษามนุษยที่ใชสามารถถูกระบุ ดวยวิธีทางโปรแกรม (ระดับ A) 3.1.2 ภาษาในบางสวนของหนาเว็บ – ภาษามนุษยในแตละตอนหรือวลีที่ อยู ใ นเนื ้อ หาของหน า เว็ บ สามารถระบุ ว า เป น ภาษาใดด ว ยวิ ธี ท าง โปรแกรม ยกเวนสําหรับการใชชื่อเฉพาะ คําศัพทเชิงเทคนิค คําซึ่งไม สามารถตั ด สิ น ว า เป น ภาษาใดได และคํ า หรื อ วลี ที ป่ ระดิ ษ ฐ ขึ น้ เพื ่อ นํามาใชเฉพาะบริบทของเนื้อหาสวนนั้น (ระดับ AA) 3.1.3 คําที่พบไมบอย – มีกลไกในการใหคํานิยามเฉพาะของคําหรือวลีที่ใช ในลักษณะผิดไปจากเดิมหรือจํากัดวิธีการใช รวมทัง้ สํานวนภาษาและ ศัพทเฉพาะทาง (ระดับ AAA) 3.1.4

คํายอ – มีกลไกในการระบุคําหรือความหมายเต็มของคํายอ (ระดับ AAA)

3.1.5 ระดับการอาน – เมือ่ การอานขอความตองใชความสามารถในการอาน สูงกวาระดับมัธยมตน ควรจัดใหมีรูปแบบที่ไมตองใชความสามารถใน การอานที่สูงกวาระดับมัธยมตน (ระดับ AAA) 3.1.6 การออกเสียง – มีกลไกสําหรับระบุวิธีการออกเสียงเฉพาะของคําใน กรณี ที ่ค วามหมายของคํ า ในบริ บ ทนั ้น มี ค วามกํ า กวมหากไม ท ราบ วิธีการออกเสียงที่ถูกตอง (ระดับ AAA) Thai25 Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

25


TWCAG2010 Version 2.0

 แนวทางที่ 3.2 สามารถคาดเดาได หนาเว็บปรากฏและทํางานในลักษณะทีผ่ ูใชสามารถคาดเดาได 3.2.1 เมื่อไดรับโฟกัส – เมื่อสวนประกอบหนาเว็บไดรับโฟกัส จะตองไมมี ความเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในบริบทเกิดขึ้น (ระดับ A) 3.2.2 เมื่อมีขอมูลนําเขา – การเปลีย่ นแปลงการตัง้ คาในสวนตอประสานกับ ผูใชตองไมกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงบริบทโดยอัตโนมัติ เวนแตวามี การแจงใหผูใชทราบลวงหนาวาจะเกิดเหตุการณเชนนั้นขึ้น 3.2.3 การทองหนาเว็บอยางเปนระบบ – สําหรับการทองชุดหนาเว็บที่กลไก การทองที่เหมือนกันในแตละหนา จะตองมีลําดับการเขาถึงแตละหนาใน ลําดับที่สัมพันธกัน แตละครั้งที่ใชงาน ยกเวนผูใชเปนผูเปลีย่ นลําดับ การทองหนาเว็บนั้นดวยตนเอง (ระดับ AA) 3.2.4 การนําเสนออยางสม่ําเสมอ –ชิ้นสวนหนาเว็บที่ทํางานในลักษณะ เดียวกันในเว็บไซต สามารถถูกระบุวาหนาเว็บเหลานี้ทํางานดวยวิธีการ ที่ชัดเจน แนนอน(ระดับ AAA) 3.2.5 เปลี่ยนแปลงตามที่ขอ – ผูใชตองเปนผูรองขอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง บริบทในหนาเว็บ หรือมีกลไกใหผูใชยกเลิกการเปลี่ยนแปลงนั้น (ระดับ AAA)  แนวทาง 3.3 ชวยผูใชใหหลีกเลี่ยงความผิดพลาดและแนะนําวิธีแกปญหา 3.3.1 การระบุขอผิดพลาด - เมื่อตรวจพบความผิดพลาดของขอมูลนําเขา โดยอั ต โนมั ติ ต อ งระบุ ค วามผิ ด พลาดที ่เ กิ ด ขึ ้น ของชิ ้น ส ว นนั ้น และ อธิบายความผิดพลาดแกผูใชในรูปของขอความ (ระดับ A) 3.3.2 ปายกํากับหรือคําแนะนํา – ตองมีปายกํากับ (Label) หรือคําแนะนํา (Instruction) เมื่อตองการขอมูลนําเขาโดยผูใช (ระดับ A) 26

Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 26 | MICT


TWCAG2010 Version 2.0

3.3.3 การแนะนําความผิดพลาด – เมื่อตรวจพบความผิดพลาดของขอมูล นําเขาโดยอัตโนมัติ และมีคําแนะนําสําหรับแกไขความผิดพลาดนั้น ซึ่ง ตองแจ งแกผูใช เว นแตว าการกระทํา เช นนั้นจะเปนการละเมิ ดความ ปลอดภัยหรือวัตถุประสงคของเนื้อหา (ระดับ AA) 3.3.4 การปองกันความผิดพลาด (กฎหมาย การเงินและขอมูล) – สําหรับ หน า เว็บ ที ่กอให เ กิด ข อผูกมั ด ทางกฎหมายหรื อธุ รกรรมทางการเงิ น หรือ ทําใหมีการใหแกไขหรือลบขอมูลในระบบเก็บขอมูล หรือมีการให ขอมูลการตอบสนองของผูใช อยางนอยสิ่งหนึ่งสิ่งใดตอไปนี้ตองเปน จริง (ระดับ AA) 1. ยอนกลับได ยกเลิกการสงขอมูลโดยวิธีทําใหคืนสูสภาพเดิม 2. ตรวจสอบ ข อมู ล ที ่ผูใ ช นํ า เข า ต อ งมี การตรวจสอบว า มี ค วาม ผิ ด พลาดหรื อ ไม และเป ด โอกาสให ผู ใ ช ไ ด แ ก ไ ข ความผิดพลาดนั้น 3. ยืนยัน มีกลไกสําหรับการตรวจทาน ยืนยัน และแกไขขอมูล กอนการสงขอมูลในขั้นสุดทาย 3.3.5 การชวยเหลือ – มีเอกสารชวยแนะนํา (Help) ที่ตรงกับบริบทแกผูใช (ระดับ AAA) 3.3.6 การปองกันความผิดพลาด (ทั้งหมด) – สําหรับหนาเว็บที่ตองใหผูใช สงขอมูล อยางนอยสิ่งหนึ่งสิ่งใดตอไปนี้ตองเปนจริง 1. ยอนกลับได ยกเลิกการสงชอมูลโดยวิธีทําใหคืนสูสภาพเดิม 2. ตรวจสอบ ขอมูลที่ผูใชนําเขาตองผานการตรวจสอบวามีความ ผิ ด พลาดหรื อ ไม และเป ด โอกาสให ผู ใ ช ไ ด แ ก ไ ข ความผิดพลาดนั้น 3. ยืนยัน มีกลไกสําหรับการตรวจทาน ยืนยัน และแกไขขอมูล กอนการสงขอมูลในขั้นสุดทาย Thai27 Web Content Accessibility Guidelines 2010 | MICT

27


TWCAG2010 Version 2.0

หลักการที่ 4: คงทนตอความเปลีย่ นแปลง เนื้อหาตองคงทนตอความเปลี่ยนแปลงอยางเพียงพอ เพื่อใหสามารถนําไปใชกับเทคโนโลยีตางๆ  แนวทาง 4.1 ความเขากันได เพิ่มความสามารถในการรองรับเทคโนโลยีเว็บตาง ๆ ทีห่ ลากหลายทั้ง ในปจจุบันและอนาคตไดถึงขีดสุด 4.1.1 การกระจายพจน (Parsing) – หากมีการใชภาษาคอมพิวเตอรเพื่อ อธิบายเนื้อหา (Markup language) แตละพจน (Element) ตองมีแท็ก เริ่มและแท็กจบที่สมบูรณ รวมทั้งไมมีแอตทริบิวตแ ละ ID ที่ซํ้ากั น ยกเวนในกรณีที่มีการกําหนดใหใชคุณลักษณะเชนนั้นได (ระดับ A) 4.1.2

28

ชื่อ บทบาทและคา – สําหรับทุกสวนตอประสานกับผูใช (รวมถึง สว นประกอบของฟอร ม ลิ งค แ ละสว นประกอบอื น่ ๆ ที ส่ ร า งขึ น้ โดย ภาษาสคริปต) ตองกําหนดคาใหแอตทริบิวต name (ชื่อ) และ role (หนาที่) ซึ่งสามารถหาไดดวยวิธีทางโปรแกรม สถานะ คุณสมบัติและ ค า ต า ง ๆ ที ผ่ ู ใ ช กํ า หนดได ก็ ส ามารถตั ้งค า ด ว ยวิ ธี ทางโปรแกรมได การการเปลี่ยนแปลงที่เกิดแกชิ้นสวนเหลานี้สามารถแจงเตือนผานเว็บ บราวเซอร หรื อเทคโนโลยี สิ ่งอํ า นวยความสะดวกสํ า หรั บ คนพิ การ (ระดับ A)

Thai Web Content Accessibility Guidelines 2010 28 | MICT


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.