By the time of becoming cloth

Page 1

กว่าจะเป็นผืน

By the time of becoming cloth

ปิยะพงษ์ มุดแก้ว



1

กวาจะเปนผืน

ปยะพงษ มุดแกว


2


3

กวาจะเปนผืน “ผาทอไทลื้อแตละผืน ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันจะแสดง ใหเห็นวามีการสืบทอดวัฒนธรรมผาทอ มาชานาน สวนสําคัญที่ถูกถายทอดความรู มารุนตอรุน คือ การเตรียมอุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชในการทอผา วัสดุตางๆ และกระบวนการผลิตผาทอแต บางสวนเกิดการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย อาทิ การใชวัสดุ การยอมสี แตนั่นก็ไมทําใหความรัก ความศรัทธา ตอภูมิปญญาผาทอของชาวไทลื้อเลือน หายไป”


4

วัสดุในการผลิตผาทอ ฝาย ชาวไทลื้อทั่วไป นิยมใชเสนฝายทอผืนผาเปนหลัก เนื่องจากเสนใยของฝายมีคุณสมบัติ ดูดความชื้นไดงาย เหมาะสําหรับ การเปนเครื่องนุงหมในเมืองรอน เพราะฝายดูดความชื้นแลว ความชื้น จะระเหยกลายเปนไอ ผูที่สวมใส เสื้อผาดวยผาฝายจะรูสึกเย็นสบาย ไหม ไหมดิบที่สาว ออกมาจากรังไหมครั้งแรก เปนไหมเสนใหญ ไมเรียบ สีเหลืองอมแสด เมื่อนํามาทอ ผาจึงทําใหเนื้อผาหนา หยาบ เรียกวา ไหมตน สวนไหมที่ สาวออกจากชั้นที่ 2 หลังจาก สาวไหมตนออกไปแลว จะเรียกวาไหมลาว เสนจะเล็กกวาไหมตน สวนไหมที่ไดจากชั้นในเปน ไหมเนื้อดี เรียกวา ไหมลวด หรือไหมนอย


5

วัสดุในการยอมสี ในอดีตสีที่นํามายอมเสนฝายและไหมสวนใหญไดจากวัสดุ ธรรมชาติซึ่งสามารถหาวัสดุไดตามทองถิ่นไมวาจะเปนเปลือก ราก ใบ ดอก แกนหรือผลของตนไมหรือวัตถุดิบจากสัตวบางชนิด เชน ครั่ง โดยผสมกับวัตถุดิบสารเคลือบหรือกระตุนสีอยางเชน สารสม เกลือ นําดาง เปนตน


6

แตกอนชาวไทลื้อเกือบทุกหลังคาเรือนยังมีกี่ทอผาอยูภายใน บาน ตั้งอยูบริเวณขางบานหรือถาเปนบานแบบยกสูงก็จะตั้งอยูบริเวณ ใตถุนบาน เมื่อเดินเขาไปในหมูบานก็จะเห็นกิจกรรมเกี่ยวกับ การผลิตผาทอ เชน การนําดอกฝายมาผึ่งแดด การเข็นหูกหรือ การเตรียมเสนยืน การสืบเสนยืนเขากับฟนหวี การกรอดายเสนพุงเขา กระสวย เปนตน ฟม คือเครื่องมือทอผา เปนแผงไมยาวทําจากไมเนื้อแข็ง มีคุณสมบัติเหนียว มีฟนเปนซี่ๆคลาย หวี ทําดวยไมไผหรือเหล็ก เพื่อใหสอด ดายเสนยืนผานเขาไปได

ตะกอหรือเขา มีหนาที่แยกเสน ยืนใหขึ้นลงเพื่อเปดใหมีจังหวะของ เสนดายที่พุงสอดขัดกันเปนเนื้อผาขึ้น


7

รอกทอผา ใชสําหรับการ ผู ก โยงตะกอกั บ ไม เ หยี ย บมี ห ลาย ชนิดเรียกตามวัสดุที่ใช เชน รอกไม รอกหิน รอกดินเผา รอกโลหะ

ไมคํา เปนไมไผขนาดเล็ก เหลาเรียบเสมอกัน ใชสอดดายเสน ยืนไวเพื่อทําใหเกิดลวดลายในการ ทอดวยเทคนิคขิด เรียกวาเขายังเปน แบบตะกอลอย ซึ่งลวดลายจะเกิด ขึ้นได 2 ครั้ง ไมดาบ เปนไมลักษณะแบน ยาว ปลายมนแหลม มักจะทําจาก ไมสัก ใชสอดดายผานเสนยืนแลว พลิกทางสันไมขึ้นเพื่อใหเกิดชองวาง ใหกระสวยพุงผานหรือใชในการเก็บ ดอกเปนลวดลาย


8

กระสวย เครื่องบรรจุหลอด ดายสําหรับทอผา มีกระสวยหลอด เดี่ยวและกระสวยหลอดคู ทําดวยไมเนื้อแข็ง มีรูปลักษณคลาย เรือ สวนหัวและทายเรียว ตรงกลาง ปอง มีรองสําหรับใสหลอดดาย

แกนหลอด เปนอุปกรณทํา จากไมไผใชสําหรับเก็บดายเสนพุง ที่จะนําไปใสกระสวย


9

การทอผา การเดินดาย หรือ การเข็นหูก หลังจากการกรอดายใสหลอด เรียบรอยแลว ก็จะนําหลอดดายเหลานั้นไปใสมาปลอยดาย เพื่อเดินดาย เสนยืนโดยใชมาเดินดาย ชาวไทลื้อเรียกการเดินดายวา “เข็นหูก” การรอย ฟนหวีและการหวีดาย การจัดเรียงเสนดายยืน จะตองเอาปลายดานหนึ่ง ของกําเสนยืนสอดผานรูฟมใหเขากับฟนหวี แลวผูกเขากับแกนของกงพัน มวนดาย การหวีดายจําเปนที่จะตองใชผูปฎิบัติอยางนอย 2 คน คนหนึ่ง หวีดายใหเรียบรอยแลสมําเสมอกัน โดยใชเครื่องมือที่มีลักษณะคลาย แปรงขนาดใหญ ทําดวยเสนใยกานตาล โดยถักเปนแปรง อีกคนหนึ่งมวน กงพัน จากนั้นนําไปขึงบนกี่ สําหรับเก็บตะกอตอไป การนําดายขึงบนกี่ เมื่อนําดายที่หวีเรียบรอยแลวมาขึ้นกี่ที่จะใช ในการทอผา ปลายดายดานหนึ่งมวนเขากับแกนมวนดายยืนดานหนาและ ปลายดายดานติดกับฟมมวนเขากับไมมวนผาดานหลัง การเก็บตะกอ หลังจากนําดายที่จะทอขึงขึ้นบนกี่เสร็จเรียบรอย แลว ก็มาถึงขั้นตอนการเก็บตะกอ โดยการเก็บลวดลายหรือแบบที่จะทอ ตามที่ตองการผูกเขากับเทาเหยียบใหเรียบรอยกอนเมื่อเก็บตะกอตาม ความตองการเสร็จเรียบรอยแลว ก็สามารถเริ่มการทอผาได


10

เริ่มการทอโดยการเหยียบไมเครื่องแยะหมูตะกอของเสนดาย ยืนชุดที่ 1 จะแยกออกจนเกิดชองวาง สอดกระสวยดายเสนพุงผานสลับ ตะกอชุดที่ 1 ตอจากนั้นจะยกตะกอชุดที่ 2 สอดกระสวยดายพุงกลับ ทําสลับกันไปเรื่อยๆ การกระทบฟนหวีหรือฟม เมื่อสอดกระสวยดายพุง กลับก็จะกระทบฟนหวีเพื่อใหดายพุงแนบติดกัน ไดเนื้อผาที่แนนหนา


11

การตกแตง ผูหญิงชาวไทลื้อทั่วไปไดผานการอบรมสั่งสอนกอนแตงงาน จากแม ยาย และญาติผูใหญที่เปนผูหญิงใหทําหนาที่ดูแลงานบาน งานเรือนรวมถึงการทอผา เปนการถายทอดความรูทางวัฒนธรรมของ ชาวไทลื้ออันสําคัญ เกาะ หรือ ลวง เทคนิค การเกาะ คือ การทอผาใหเกิด ลวดลายบนผืนผาดวยวิธีการ เพิ่มเสนพุงพิเศษเขาไป โดยพุง ดายออกริมดานหนึ่งสูริมผาอีก ดานหนึ่ง ทําใหเกิดลวดลายโดย ใชเสนพุงธรรมดาหลายสีพุง ยอนกลับไปมาเปนชวงๆ ทอดวย เทคนิคขัดสาน ขิด เปนเทคนิคการทํา ลวดลายบนผืนผาดวยวิธีการ เพิ่มเสนพุงพิเศษเขาไป โดยพุง ดายออกริมดานหนึ่ง ทําใหเกิด ลวดลายตลอดหนากวางของ ผืนผา


12

จก เปนเทคนิคการทํา ลวดลายบนผืนผาดวยวิธีการเพิ่ม เสนพุงพิเศษเขาไป จะใชนิ้วมือ ไม หรือขนเมนสอดนับดายเสนยืนแลว ยกขึ้น จากนั้นสอดใสเสนพุงพิเศษ เขาไปทําใหเกิดลวดลายเฉพาะจุด หรือเปนชวงๆ มัดหมี่ หรือ มัดกาน เทคนิคการมัดดายใหเกิดลวดลาย กอนนําไปยอมสี ภาษาไทยลื้อเรียก วา “มัดกาน” ชาวไทลื้อโดยรวมมัด ดายเสนพุง ยกดอก เทคนิคการทํา ลวดลายที่เกิดจากวิธีการยกเขา แยกเสนยืนขึ้นลง แตไมไดเพิ่มเสน พุงพิเศษเขาไปในผืนผา เชน จก หรือขิด การยกดอกในบางครั้งจะ มีการใชเสนพุงจํานวนสองเสนหรือ มากกวานั้นเขาไป หรือใชเสนใย โลหะสีเงินสีทองเขาไปอีกดวย


13

ปนไก คือการปนหรือตี เกลียวเสนดายสองสีที่ตางกันเขา ดวยกัน ทําใหเกิดสีเหลือบเหมือน ตะไครนํา ที่ชาวไทลื้อเรียกวา “ไค” ออกเสียง ไก เชน สีเหลือง กับสีเขียว สีแดงกับสีดํา เปนตน เทคนิคนี้พบในการตกแตงลายริ้ว ของผาซิ่นไทลื้อแบบทุกกลุม คนไทยทั่วไปเรียกเทคนิคนี้วา “หางกระรอก” การปกเย็บเสนเงินเสน ทอง เปนเทคนิคการใชเสนโลหะ สีเงินสีทองวางทาบลงบนผืนผา ใหเกิดลวดลายแลวเย็บตรึงเปน จุดๆ เทคนิคนี้ปรากฏบนลายหนา หมอนที่ชาวไทลื้อทําถวายหรือใชใน โอกาสพิเศษ


14

การปกเลื่อม เปนการ เอาเลื่อมเงินขนาดเล็กเย็บ ติดตกแตงบนผาใหเกิดความ แวววาว ชาวไทลื้อโดยรวมนิยม ตกแตงแบบนี้กับเสื้อที่สวมใสใน โอกาสพิเศษและหนาหมอน

ถัก เปนเทคนิคการเก็บ ชายครุยดายเสนยืนโดยการมัด และถักใหเปนลวดลายตางๆ ตกแตงชายผาใหสวยงามชาวไท ลื้อโดยรวมนิยมใชเทคนิคนี้ใน การตกแตงชายครุยของผาหลบ และตุง


15

ลวดลาย ลวดลายบนผืนผาประกอบดวยเสนและสีที่เลือกมาถักทอ นั้น อยูภายใตกรอบของสังคมและวางอยูบนพื้นฐานแบบฉบับเดียวกัน ในกลุม ทั้งนี้สอดคลองกับคําอธิบายของ ยศ สันติสมบัติ วาศิลปะ สะทอนภาพของสังคมวัฒนธรรม ซึ่งสังคมวัฒนธรรมแตละแหงจะ เลือกผลิตงานศิลปะ “สะทอนอารมณรวมของสมาชิกสังคมออกมา” สวนในสังคมกสิกรรม งานศิลปะมักเปนภาพสะทอนของธรรมชาติและ ความเชื่อทางศาสนา สี เปนสวนประกอบอีก อยางหนึ่งที่มีความสําคัญในการ ตกแตงลวดลายบนผืนผา สะทอน คานิยมและสุนทรียภาพของกลุม ชนตางๆ ชาวไทลื้อสวนใหญนิยม ใชสีแบบพหุรงค คือมีหลายสี ประกอบกันเปนลวดลาย การ ใชสีสามารถแบงเปนสีหลักและ สีประกอบ ไดแก สีแดง สีดํา สี เหลืองเปนสีหลักและสีเขียว สีชมพู สีสม สีมวงเปนสีประกอบ


16

เสน เปนหนวยสําคัญของลวดลายผา โดยเฉพาะเสนตรงและ เสนเฉียง สวนเสนตรงถูกใชเปนเสนแบงหนวยลายในแถวเดียวกันเปน หองๆ นอกจากนี้ยังมีเสนตรงแนวตั้งที่ประกอบอยูในดานลางสุดของ หนวยลาย “สรอยสา” หรือ “สายยอย” บางครั้งทําเปนลักษณะจุด ไขปลาทางแนวตั้ง สวนเวนเฉียงถาประกอบกัน 2 เสน จะเกิดเปนมุม แหลมขึ้นคลายเสนซิกแซ็ก เมื่อทําเปนเสนตอเนื่องกันเปนเสนเดียวกัน ชาวไทลื้อเรียกวา ลายงูลอย(เสนแนวตั้ง) หรืองูนอย(เสนแนวนอน) ซึ่ง เปนทั้งหนวยลายและเสนหลักในการประกอบลาย รวมกันเปนหนวยลาย ขนาดใหญ ปรากฏอยูในสวนตางๆของโครงสรางผา ชาวไทลื้อมักจะใชเท คนิคขิดหรือมุกหมัด


17

สิ่งที่ทําใหเกิดลวดลาย ลวดลายที่ถูกสรางสรรคขึ้นนั้นเกิดจากสิ่งที่ผูทอไดไปพบเห็น แลวเกิดความตราตรึงใจจึงไดนําเอาสิ้งเหลานั้นมากลั่นกรองบวกกับ จิตนาการแหงการสรรคสรางกลายเปนลวดลายที่ปรากฏออกมา บนผืนผา

มา

ชาง


18

กําเบอ

จิงโจนํา

หนอไม


19

ผักกูด

โปยกั๊ก

ดอกแกว


20


“จากรอยเส�นพันสายฝายที่รัก ตองฟูมฟกดูแลกวาสิ่งไหน มอบหยาดเหงื่อทุมใหทั้งกายใจ กวาจะไดผืนผาที่นาชม ผาผืนนี้แสนสวยงามยามมองเห็น กวาจะเปนตองเย็บตัดใหเหมาะสม ตีเกลียวยอมสีสวยนาภิรมณ มัดผูกปมถักทอเปนอยางดี”

ปยะพงษ มุดแกว

กวาจะเปนผืน ปยะพงษ มุดแกว ภาพและเนื้อเรื่อง © 2016 (พ.ศ. 2559) โดย ปยะพงษ มุดแกว สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพครั้งแรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 จัดพิมพโดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ออกแบบและจัดรูปเลมโดย ปยะพงษ มุดแกว ออกแบบโดยใชฟอนต (TH Neramit AS) และ (TH Charm of AU) 16pt หนังสือเลมนี้เปนผลงานทางวิชาการ จัดทําขึ้นเพื่อสงเสริมและตอยอดศักยภาพการศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม


“เพราะผ้าทอ เป็นเสมือนตัวแทนของ วัฒนธรรม ในจังหวัดน่าน” ปิยะพงษ์ มุดแก้ว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.