OUTLINE
¤คÔิ´ด¹นÍอ¡ก¡กÃรÍอºบ áแµต ‹äไÁม ‹ÍอÍอ¡ก¹นÍอ¡กàเÊส Œ¹น
Êส¶ถÒา»ป ˜µตÂย¡กÃรÃรÁม ÊสÃร ŒÒา§ง¨จØุ´ดàเ´ด ‹¹น¨จÒา¡ก¤คÇวÒาÁม¤คÔิ´ด ¹นÍอ¡ก¡กÃรÍอºบ áแÅล ŒÇวáแÊส´ด§ง¨จØุ´ดàเ´ด ‹¹น¼ผ ‹Òา¹นÊสÔิè่§งµต ‹Òา§งæๆ ·ท∙Ñัé้§ง 2 ÁมÔิµตÔิ áแÅลÐะ 3 ÁมÔิµตÔิ ÍอÂย ‹Òา§งäไÃร¡กç็µตÒาÁมÊส¶ถÒา»ป ˜µตÂย¡กÃรÃรÁม Åล ŒÇว¹นÁมÕี àเÊส Œ¹นÃรÍอºบÃรÙู»ป ËหÃร×ืÍอ Outline ÍอÂยÙู ‹´ด ŒÒา¹น¹นÍอ¡ก ¢ขÍอ§งµตÑัÇวÁมÑั¹นàเÍอ§งàเÊสÁมÍอ «ซÖึè่§งàเ»ป š¹น àเÊส Œ¹น ·ท∙Õีè่ºบ ‹§งºบÍอ¡กÍอÑัµตÅลÑั¡กÉษ³ณ ¢ขÍอ§งÊส¶ถÒา»ป ˜µตÂย¡กÃรÃรÁม áแÅลÐะàเ»ป š¹นàเËหÁม×ืÍอ¹นàเÊส Œ¹น¡กíํÒาËห¹น´ด¢ขÕี´ด ¨จíํÒา¡กÑั´ด¢ขÍอ§งÊส¶ถÒา»ป ˜µตÂย¡กÃรÃรÁม¹นÑัé้¹นæๆ äไÁม ‹ãใËห Œ¤คÇวÒาÁม¤คÔิ´ด·ท∙Õีè่ ¹นÍอ¡ก¡กÃรÍอºบàเ¡กÔิ¹นàเÊส Œ¹น·ท∙Õีè่¡กíํÒาËห¹น´ดäไÇว Œ
สถาปัตยเรขา’ 55 ARCHIGRAPHIC 2012
หนังสือรวบรวมผลงานนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยสิทธิ์ ด่านกิตติกุล คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ บรรณาธิการบริหาร อาจารย์ปองพล ยาศรี : รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา บรรณาธิการ ประพันธ์พงษ์ มนต์แก้ว กองบรรณาธิการ ชวิศา ฉายอินทร์ อภิวัฒน์ ประทีปเรืองเดช ออกแบบรูปเล่ม สุขเกษม เกษมหฤทัยสุข ISBN 970-572-840-3 ปีที่พิมพ์ สิงหาคม 2556 จํานวนพิมพ์ 1,000 เล่ม พิมพ์ที่โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม
FORWARD “สถาปัตยเรขา” เป็นหนังสือที่คณะกรรมการนักศึกษา
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ดาํ เนินการจัดพิมพ์ เป็นประจําทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมและเผยแพร่ผลงานของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ทั้งหลักสูตร สถาปัตยกรรมและหลักสูตร สถาปัตยกรรมไทย สําหรับในปีการศึกษา 2555 ที่ผ่านมานั้น ผลงาน ภาคปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ การวางผัง และการก่อสร้าง ของเหล่านักศึกษาได้ถูกคัดเลือก และนํามาจัดพิมพ์ไว้ ในหนังสือ“สถาปัตยเรขา 55” นี้แล้วโดยครบถ้วน ซึ่งผลงานดังกล่าวนี้มิ ได้เพียงบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับการศึกษาเล่าเรียนตลอดระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมาเท่านั้น หากแต่ยังสะท้อนถึงคุณภาพการผลิตบัณฑิตของ สถาบันการศึกษาแห่งนี้อีกด้วย ขอขอบคุณคณะทํางานและผู้สนับสนุน ที่ได้ร่วมกันจัดทําหนังสือ “สถาปัตยเรขา 55” นี้จนสําเร็จลุล่วงได้โดยสมบูรณ์
รองศาสตราจารย์ ดร. ชัยสิทธิ์ ด่านกิตติกุล คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
[07]
HISTORY st
LINE [21]
th
4 LINE [115]
th
5 LINE [127]
nd
2 LINE [43]
rd
[75]
3 LINE
[141]
INDEX
ARCHIGRAPHIC 2012
ประวัติ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
HISTORY FACULTY OF ARCHITECTURE SILPAKORN UNIVERSITY
08 | 09
H
ISTORY
ประวัติ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พุทธศักราช 2498 ในนาม“คณะสถาปัตยกรรมไทย” ที่บริเวณวังตะวันออกของเจ้าฟ้ามหามาลากรมพระยา บําราบปรปักษ์ และพลเรือโทพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าขจรจรัสวงศ์กรมหมื่นปราบปรปักษ์ เจ้ากรมช่างสิปป์หมู่ โดยมีพระพรหมพิจิตรดํารงตําแหน่งคณบดี และอาจารย์พินิจ สุวรรณะบุณย์ เป็นผู้ช่วยคณบดีทําหน้าที่คล้ายเลขานุการ พ.ศ. 2501-2507 ขยายหลักสูตรการศึกษาต่อไปจนถึงระดับปริญญาตรีในหลักสูตร “ศิลปบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย” ใช้ระยะเวลาศึกษาตลอดหลักสูตรทั้งสิ้น 5 ปี ตามระบบสากลนิยม (สมัยศาสตราจารย์อัน นิมมานเหมินท์ ดํารงตําแหน่งคณบดี) พ.ศ. 2509 เปลีย่ นชือ่ คณะวิชาเป็น “คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์” และชื่อหลักสูตรการศึกษา เป็น “สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต” (สมัยนาวาเอก สมภพ ภิรมย์ ร.น. ดํารงตําแหน่งคณบดี) พ.ศ. 2516 เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย พ.ศ. 2517 เปิดสอนหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบชุมชน พ.ศ. 2522 ปิดหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย เพื่อเตรียมการเปิดสอน หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต พ.ศ. 2524 เปลีย่ นชือ่ หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต “สาขาวิชาออกแบบชุมชน” เป็น “สาขาวิชาการ ออกแบบ ชุมชนเมือง”เพื่อให้ตรงกับความหมายของ คําว่า “Urban Design”และเปลี่ยนชื่อจาก “ภาควิชาออกแบบชุมชนและผังเมือง” เป็น “ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง” ตามคําแนะนําของคณะอนุกรรมการบัญญัติศัพท์ อุดมศึกษาราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2529 เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม พ.ศ. 2530 เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการงานก่อสร้าง
พ.ศ. 2554 ปิดหลักสูตรอนุปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย พ.ศ. 2551 เปิดสอนหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบทางสถาปัตยกรรม และหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2549 เปิดสอนหลักสูตรการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบัณฑิต พ.ศ. 2548 เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโครงการก่อสร้าง (เดิมชื่อสาขาวิชาการจัดการงานก่อสร้าง) พ.ศ. 2547 เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ั ฑิต ได้แก่ พ.ศ. 2545 เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ ในระดับปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบณ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการมรดก ทางสถาปัตยกรรมกับการท่องเที่ยว พ.ศ. 2543 เปิดสอนหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2542 เปิดหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย และคณะฯ ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลให้จัดเตรียมกําลังคนด้านสถาปัตยกรรมไทย จึงดําเนินโครงการสถาปัตยกรรมไทยปริวรรตขึ้นเพื่อรับนักศึกษาเข้าศึกษาโดยตรง และจัดการเรียนการสอนที่อาคารศิลป์ พีระศรี 1 วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม พ.ศ. 2538 เปิดสอนระดับปริญญาบัณฑิตเพิม่ ขึน้ อีกหนึ่งหลักสูตร คือ หลักสูตร สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
“โรงเขียว” อาคารเรียนหลังแรก ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
10 | 11
PROGRAM ปีการศึกษา 2554 จัดการศึกษา 2 ระดับ ได้แก่ ระดับปริญญาบัณฑิตและระดับบัณฑิตศึกษา โดยเปิดสอนหลักสูตร การศึกษา รวมทั้งสิ้น 13 หลักสูตร ดังนี้ ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต 1. สาขาวิชาสถาปัตยกรรม 2. สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต 3. สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง 4. สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย 5. สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต 6. สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม 7. สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 8. สาขาวิชาการจัดการมรดกทางสถาปัตยกรรมกับการท่องเที่ยว (หลักสูตรนานาชาติ) ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 9. สาขาวิชาการจัดการโครงการก่อสร้าง 10. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรม 11. ปริญญาการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบัณฑิต 12. ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ปริญญาดุษฎีบัณฑิต 13. สาขาวิชาการจัดการมรดกทางสถาปัตยกรรมกับการท่องเที่ยว (หลักสูตรนานาชาติ)
พระพรหมพิจิตร (อู๋ ลาภานนท์) เกิดวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2433 ภายหลังเปลี่ยนชื่อและนามสกุล ตามบรรดาศักด์ที่เลิกใช้เป็นนายพรหม พรหมพิจิตรและได้รับตําแหน่งเป็นราช บัณฑิตในวิชาวิจิตรศิลป์สาขาจิตกรรม สํานักศิลปกรรม สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
การศึกษา
ได้ศึกษาหนังสือไทยที่โรงเรียนมหาพฤฒาราม และเข้าเป็นช่างเขียนในกรมโยธา กระทรวงโยธาธิการ พ.ศ.2477
การรับราชการ
พ.ศ.2451 ได้บรรจุเป็นช่างเขียนกรมโยธาธิการ พ.ศ.2455 กรมโยธาธิการเปลี่ยนนามมาเป็นกรมศิลปากร ย้ายมารับราชการในกรมศิลปากร พ.ศ.2468 ย้ายไปรับราชการในกรมรองาน กระทรวงวัเป็นเวลา 1 เดือน พ.ศ.2469 รับหน้าที่อาจารย์แผนกศิลปากรสถานราชบัณฑิตยสภา พ.ศ.2476 ราชบัณฑิตยสภายุบลง ย้ายมารับราชการในกรมศิลปากร พ.ศ.2493 เกษียนอายุราชการ ออกรับพระราชทานบํานาญ
ตําแหน่งราชการหน้าที่พิเศษ
ช่างเขียนชั้น 4,3,2 / ครูเอกชั้น 1 ประณีตศิลปกรรม / ช่างเอกชั้น 1 สถาปัตยกรรม / อาจารย์เอกสถาปัตยกรรม /สถาปนิกกองสถาปัตยกรรม / หัวหน้ากองประณีตศิลปกรรม / หัวหน้ากองหัตถศิลป / ที่ปรึกษาฝ่ายศิลปประจํากรมศิลปกร /กรรมการสํานักวัฒนธรรมศิลปกรรม / อาจารย์เอกคณะศิลปไทย ครูวาดเขียนเอกโรงเรียนเพาะช่าง / อาจารย์พิเศษคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / ผู้ก่อตั้งและดํารตําแหน่งคณะบดีคนแรกของคณะสถาปัตยกรรมไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อพ.ศ. 2498
ยศ บรรดาศักดิ์ และเครื่องราชอิสริยาภรณ์
พ.ศ. 2456 รองเสวกตรี ขุนบรรจงเลขา พ.ศ. 2462 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย พ.ศ. 2463 เป็นหลวงสมิทธิเลขา พ.ศ. 2466 รองเสวกโท หลวงสมิทธิเลขา พ.ศ. 2467 ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา พ.ศ. 2471 รองอํามาตย์เอก พระพรหมพิจิตร พ.ศ. 2480 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย และเหรียญจักรพรรดิมาลา พ.ศ. 2482 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก พ.ศ. 2483 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตริตาภรณ์มงกุฎไทย พ.ศ. 2485 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตริตาภรณ์ช้างเผือก
ARCHIGRAPHIC 2012
พระพรหมพิจิตร
สถาปัตยเรขา 2555
ประวัติ
12 | 13
D ETERMINATION ปณิธาน / วิสัยทัศน์ / พันธกิจ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปณิธาน “สร้างสรรค์ศิลปะ วิทยาการ และภูมิปัญญาเพื่อสังคม” วิสัยทัศน์ “ศิลปากรเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนําแห่งการสร้างสรรค์” (Silpakorn is a leading creative university) พันธกิจ 1. พัฒนา และถ่ายทอดความรู้ เพื่อเสริมสร้างบุคคลให้มีความรู้ในวิชาชีพชั้นสูง มีสติปัญญาความคิด และความรู้สึกรับผิดชอบต่อสังคม 2. ค้นคว้า วิจัย และสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพ เพื่อประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ 3. นําองค์ความรู้ ผลงานวิจัยและสร้างสรรค์ให้บริการทางวิชาการแก่สังคมเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนและพัฒนาศักยภาพ ในการแข่งขัน 4. ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมอันดีงามทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
ปณิธาน / วิสัยทัศน์ / พันธกิจ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ปณิธาน “รากฐานของนวัตกรรมแห่งการออกแบบ” “FOUNDATION OF INNOVATIVE DESIGN” วิสัยทัศน์ “มุ่งสู่ความเป็นเลิศด้านการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อมในระดับนานาชาติ” “TOWARDS INTERNATIONAL EXCELLENCE IN ARCHITECHTURAL AND ENVIRONMENTAL DESIGN CREATIVITY” ปรัชญา “สืบสานภูมิปัญญาไทย สร้างสรรค์สู่สากล” “THAI IN WISDOM-INTERNATIONAL IN CREATIVITY” พันธกิจ 1. จัดการเรียนการสอนสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสาขาวิชาที่เกี่ยวเนื่อง และผลิตบัณฑิตที่มีความรับผิดชอบด้านวิชาชีพต่อสังคม 2. ศึกษา วิจัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ตอบสนองการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาสังคม 3. ให้บริการวิชาการในสาขาที่จัดการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมทักษะในการประกอบวิชาชีพ และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 4. ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ภูมิปัญญาพื้นถิ่น และพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาไทย
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้มีการจัดแบ่งส่วนราชการและการจัดการบริหารภายในองค์กร ดังนี้
ARCHIGRAPHIC 2012
การแบ่งส่วนองค์กรและการบริหาร
สถาปัตยเรขา 2555
โครงสร้างองค์กรและการบริหารงานคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ภาควิชาสถาปัตยกรรม
ภาควิชาศิลปสถาปัตยกรรม
ภาควิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง
สํานักเลขานุการ
หอศิลปะสถาปัตยกรรมพระพรหมพิจิตรและ หอแสดงงานวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
ศูนย์ข้อมูลเพื่อการศึกษาสถาปัตยกรรมไทย
แผนภูมิที่ 1 แสดงการแบ่งส่วนราชการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ธันวาคม 2554)
14 | 15
การบริหารงานคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะกรรมกาบัณฑิตศึกษาประจํา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณะกรรมการประจํา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะกรรมการดําเนินงานหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ในลักษณะโครงการพิเศษประจําคณะ
คณะกรรมการดําเนินงานหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ในลักษณะโครงการพิเศษประจําสาขาวิชาการ จัดการมรดกทางสถาปัตยกรรมกับการท่องเที่ยว
คณะกรรมการดําเนินงานหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ในลักษณะโครงการพิเศษประจําสาขาวิชา การจัดการโครงการก่อสร้าง
คณะกรรมการประจําหอศิลปะสถาปัตยกรรม พระพรหมพิจิตร คณะกรรมการศูนย์ข้อมูล เพื่อการศึกษาสถาปัตยกรรมไทย
หัวหน้าภาควิชาสถาปัตยกรรม
รองคณบดีฝ่ายบริหาร
หัวหน้าภาควิชาศิลปสถาปัตยกรรม
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
หัวหน้าภาควิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม หัวหน้าภาควิชาออกแบบ และวางผังชุมชนเมือง
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา รองคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา
เลขานุการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหาร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ
แผนภูมิที่ 2 แสดงการบริหารงานคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
การบริหารงานสํานักเลขานุการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
หน่วยสารบรรณ หน่วยอาคาร สถานที่ หน่วยการเจ้าหน้าที่ งานบริหาร - ธุรการ
หน่วยประสานฯ วิทยาเขต หน่วยนโยบาย แผน และประกันคุณภาพการศึกษา หน่วยการเงินและบัญชี
สํานักงานเลขานุการ
งานคลังและพัสดุ หน่วยพัสดุ
หน่วยทะเบียนและประเมิณผล
งานบริการการศึกษา
หน่วยส่งเสริมพัฒนาการศึกษา
หน่วยกิจการนักศึกษา
แผนภูมิที่ 3 แสดงการบริหารงานสํานักเลขานุการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
16 | 17
ADMINISTRATORS คณะผู้บริหาร ( 14 กันยายน 2553 - ปัจจุบัน ) รองศาสตราจารย์ ดร. ชัยสิทธิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรพจน์ อาจารย์ศรินยา อาจารย์ปองพล อาจารย์ ดร.เกรียงไกร อาจารย์ ดร.สุพิชชา อาจารย์ ดร.ธนะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี อาจารย์ ดร.นวลลักษณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปณิตา อาจารย์ ดร.สินีนาถ อาจารย์นันทพล อาจารย์วนิดา นางชนาภัทร์
ด่านกิตติกุล สุขเกษม โทณสุกุมาร ยาศรี เกิดศิริ โตวิวิชญ์ จิระพิวัฒน์ เกษมสุข วัสสันตชาติ วงศ์มหาดเล็ก ศุกลรัตนเมธี จั่นเงิน พึ่งสุนทร วงศ์โรจนภรณ์
คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร รองคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหาร หัวหน้าภาควิชาสถาปัตยกรรม หัวหน้าภาควิชาศิลปะสถาปัตยกรรม หัวหน้าภาควิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม หัวหน้าภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง ผู้อํานวยการหอศิลปะสถาปัตยกรรมพระพรหมพิจิตร ผู้อํานวยการศูนย์ข้อมูลเพื่อการศึกษาสถาปัตยกรรมไทย เลขานุการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณะกรรมการประจําคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา หัวหน้าภาควิชาสถาปัตยกรรม หัวหน้าภาควิชาศิลปะสถาปัตยกรรม หัวหน้าภาควิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม หัวหน้าภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง อาจารย์ ดร.ทยากร จารุชัยมนตรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ต้นข้าว ปาณินท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุจิโรจน์ อนามบุตร อาจารย์ชาญวิทย์ สุขพร เลขานุการคณะสถาปัตยกกรมศาสตร์
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ
นโยบายการบริหารและดําเนินงาน “การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี ตลอดจนการหลั่งไหลของกระแสโลกาภิวัฒน์ และการเปิดเสรีในด้านต่างๆ ได้ก่อให้เกิดคําถามอย่างมากมายถึงทิศทางการพัฒนาในอนาคตของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อาทิ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ซึ่งเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ช่วยพัฒนาคนมีความสามารถที่จะก้าวตาม โลกอย่างรู้เท่าทันและมีความพร้อมที่จะรับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร จะทําการวิจัยและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความเข็มแข็ง ให้กับฐานความรู้ของประเทศเพื่อการพัฒนาประเทศได้มากน้อยเพียงใด จะสามารถพัฒนาเป็นผู้นําทางปัญญาและเป็น ศูนย์กลางความรู้ด้านสถาปัตยกรรมในระดับชาติและระดับนานาชาติได้อย่างไร จะสามารถขับเคลื่อนไปสู่การเป็นผู้นํา องค์ความรู้เฉพาะเรื่องอย่างเด่นชัดได้อย่างไร จะสามารถพัฒนาผลผลิตทางวิชาการให้มีความแตกต่างได้ด้วยวิธีใด คําถามเหล่านี้ล้วนแต่เป็นโจทย์สําคัญที่ต้องตระหนัก” ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนดังกล่าว คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรจําต้องพัฒนาอย่างสะท้อน ความเป็นจริง มีความจําเป็นต้องพัฒนาองค์กรไปสู่สถาบันแห่งการเรียนรู้ โดยพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นผู้รักการเรียนรู้อย่างบูรณาการ อีกทั้งพัฒนาบุคลากรในสถาบันให้มีความรู้ความสามารถเพิ่มมากขึ้น มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการให้บุคลากรมีส่วนร่วม ในการดําเนินการ การตัดสินใจ การแก้ปัญหา และการพัฒนาหน่วยงานแบบก้าวกระโดดเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเป็นสถาบัน การศึกษาที่มีคุณภาพชั้นนํา นอกเหนือไปจากนี้แล้วคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ยังต้องพัฒนาความสามารถในการใช้ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ทักษะและประสบการณ์ทางเทคโนโลยีเพื่อจัดการองค์ความรู้และทรัพยากรทางปัญญามุ่งสู่การแข่งขัน ดังกล่าว ดังนั้น “คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงควรเป็นแหล่งการศึกษาที่มุ่งพัฒนาตนเองอย่าง สร้างสรรค์สู่ความเป็นผู้นําทางปัญญาด้านสถาปัตยกรรม” ผลผลิตที่คาดหวังจากการดําเนินงานแบบทางสายกลางที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่พร้อมกับสืบสานพัฒนาบนฐานเดิมของ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์นั้น มีดังนี้ 1. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นแหล่งการศึกษาชั้นนําด้านสถาปัตยกรรมในการผลิตบัณฑิตที่มี ความเป็นเลิศด้านคุณภาพ มีคุณธรรม และมีลักษณะเป็นผู้ใฝ่รู้ 2. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นแหล่งการศึกษาชั้นนําด้านสถาปัตยกรรมที่ผลิตผลงานวิชาการ สําหรับสังคมไทยและสากล 3. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นผู้นําองค์ความรู้ให้บริการวิชาการแก่สังคม ตลอดจนเป็นผู้ชี้นํา การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
POLICIES
18 | 19
POLICIES นโยบายและการดําเนินงานตามแผนงานหลัก จากแนวคิดและวิสัยทัศน์ข้างต้น จึงได้กําหนดนโยบายและแนวทางการดําเนินงานตามแผนงานหลักด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. นโยบายด้านการบริหารจัดการ 1) บริหารจัดการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) 2) ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถ สมรรถนะ ความก้าวหน้าทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ และความก้าวหน้าในสายงานของบุคลากรสายสนับสนุน 3) พัฒนาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์สู่สถาบันการเรียนรู้ มีการจัดการความรู้ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิต การวิจัยและงานสร้างสรรค์ การบริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โดยเน้นอัตลักษณ์ของ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 4) พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ 5) พัฒนาระบบบริหารจัดการรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2. นโยบายด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 1) พัฒนาระบบและกลไกในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เป็นประจําทุกปี โดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ เป็นไปตามเป้าประสงค์ของนโยบายคุณภาพของคณะฯ และ มหาวิทยาลัย ทั้งในระดับภาควิชา และคณะฯ 2) ส่งเสริมให้มีการกําหนดมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์คุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานอุดมศึกษา เพื่อใช้เป็นกรอบในการ ดําเนินงานตามอัตลักษณ์ของคณะฯและมหาวิทยาลัย ให้มีการบูรณาการภารกิจ 4 ด้าน คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพของบัณฑิตตามปณิธานของคณะฯ และมหาวิทยาลัย และรองรับการประกันคุณภาพภายนอก สอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตอันพึงประสงค์ 3) ส่งเสริมให้นําระบบประกันคุณภาพการศึกษาเข้าเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษา และนําผลการประเมินคุณภาพจาก ภายในและภายนอกมาปรับปรุงพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 4) เร่งรัดให้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อสะดวกต่อการจัดทํารายงานประกันคุณภาพการศึกษา สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ วางแผนพัฒนาคุณภาพได้อย่างเป็นระบบและใช้ข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจได้ทุกระดับ 5) พัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องและส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกคณะฯ 6) ส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของระบบประกันคุณภาพการศึกษาและนักศึกษาสามารถนําความรู้ไปใช้ในการพัฒนาตนเอง และสร้างเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ รวมทั้งเปิดโอกาสให้บุคลากรภายนอก และศิษย์เก่าเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของระบบและกลไก การพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. นโยบายด้านการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา 1) พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตามมาตรฐานของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งชาติ และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 2) พัฒนาหลักสูตรใหม่และจัดการเรียนการสอนให้มีลักษณะเชิงสร้างสรรค์ทุกหลักสูตร 3) ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพในระดับสากล พร้อมสําหรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 4) พัฒนาการระบบการเรียนรู้แบบ Web Based Learning
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
4. นโยบายด้านการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา 1) พัฒนากิจการนักศึกษาให้เสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ มีลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม 2) จัดสรรทรัพยากรสําหรับการพัฒนานักศึกษาให้สอดคล้องกับเป้าหมายการผลิตบัณฑิต 3) จัดสรรทุนการศึกษาหรือแสวงหาแหล่งทุนการศึกษาเพื่อสนับสนุนนักศึกษาที่มีความจําเป็นในทุกระดับการศึกษา 4) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาระหว่างสถาบัน นักศึกษาปัจจุบันกับศิษย์เก่า 5.นโยบายด้านการวิจัยและการสร้างสรรค์ 1) ส่งเสริมและสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยกับมหาวิทยาลัยและหน่วยงานภายนอกทั้งระดับชาติและ นานาชาติในการพัฒนางานวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ 2) ส่งเสริมการนําผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์สนองตอบการพัฒนาชุมชน และเศรษฐกิจชุมชน เพื่อความเข้มแข็งเศรษฐกิจชุมชน เศรษฐกิจของประเทศ 3) ส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์ และการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรของผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่หรือนําไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ 4) ส่งเสริมการบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์กับกระบวนการจัดการเรียนการสอน 6. นโยบายด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน 1) ส่งเสริมการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ อย่างหลากหลายตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์หรือมีการบูรณาการร่วมกับสาขาอื่นๆ 2) ส่งเสริมการให้บริการวิชาการที่ตอบสนองกับความต้องการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชุมชน 3) เพื่อสร้างองค์ความรู้และช่วยเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชนโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงหรือเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจ เชิงสร้างสรรค์แก่ชุมชน 4) ส่งเสริมการนําผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ บูรณาการกับการบริการทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ 5) ส่งเสริมการบูรณาการการให้บริการวิชาการกับการเรียนการสอน
7. นโยบายด้านการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 1) ส่งเสริมโครงการจัดตั้งสถาบันศิลปสถาปัตยกรรมไทย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรให้เป็นศูนย์ข้อมูล เพื่อการเรียนรู้ทางด้านสถาปัตยกรรมไทย ศิลปะ การออกแบบ การสร้างสรรค์ และศิลปวัฒนธรรมซึ่งเป็นมรดกของชาติ 2) ส่งเสริมการนําภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ชุมชนไปพัฒนาองค์ความรู้และมีความเข้าใจ ตระหนักในคุณค่า ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และสามารถนํามาพัฒนาให้เกิดรายได้ให้ตนเองและท้องถิ่น 3) ส่งเสริมบูรณาการการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเข้ากับ งานวิจัย งานสร้างสรรค์ การบริการวิชาการ และกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
ผลงานนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2555 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
1LINE st
FACULTY OF ARCHITECTURE SILPAKORN UNIVERSITY
“ ภาควิชาที่ผมสังกัดอยู่คือภาควิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม
โดยชื่อก็เห็นชัดเจน อยู่แล้วว่าภาควิชาจัดการเรียนการสอนโดยเน้นเกี่ยวกับเทคนิควิธีที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตย กรรมหรือการก่อสร้างอาคาร หากจะพิจารณาง่ายๆก็จะเห็นได้ว่าภาควิชาทั้งสี่ภาคของ คณะมีขอบเขตในการจัดการเรียนการสอนที่ค่อนข้างชัดเจน โดยที่ ภาคสถาปัตยกรรม - จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิชาการออกแบบทั้งหมด ภาคศิลปสถาปัตยกรรม - จัดการเรียนการสอนในวิชาต่างๆที่เกี่ยวกับความเป็นไทยและ ประวัติศาสตร์ ภาคออกแบบชุมชนผังเมือง - เป็นวิชาที่เกี่ยวกับงานในสเกลใหญ่ๆ ของเมือง หรือสิ่งรอบๆอาคาร(ภูมิสถาปัตย์) ดังนั้น วิชาความรู้ที่ไม่เข้าข่ายกับทั้งสามภาคก็จะมาอยู่ที่ ภาคนี้ทั้งหมดหรืออาจคิดง่ายๆว่าเป็นภาค “จับฉ่าย”นั่นเอง โดยภาพรวมของหน้าที่ของภาค นั้นทําหน้าที่จัดการเรียนการสอนในรายวิชาสนับสนุนต่างๆ เช่น ศึกษาเกี่ยวกับวัสดุและ การนําไปใช้ วิธีการก่อสร้าง วิชาโครงสร้าง วิชาคํานวณต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สนับสนุนวิชาการออกแบบเพื่อให้การออกแบบนั้นเสร็จสมบูรณ์สามารถแปลงความคิดในหัว ออกไปเป็นงานสถาปัตยกรรมที่ใช้งานได้นั้นเอง รูปแบบการเรียนของภาคฯก็จะเหมือนๆในภาควิชาอื่นๆที่เน้นการปฏิบัติเพื่อนักศึกษา จะได้รู้จริง ตามแนวความคิดที่ว่า “Learning by doing” ควบคู่กับภาคทฤษฎี นักศึกษาอาจ จะพบว่างานของภาคฯเยอะและหนัก แต่นั้นก็จะเป็นผลประโยชน์ต่อตัวนักศึกษาเองใน อนาคต และถึงแม้รายวิชาในภาคจะดูมีความเป็นวิทยาศาสตร์อยู่มาก โดยเฉพาะวิชา โครงสร้าง วิชาคํานวณต่างๆ แต่ก็ยังเป็นวิทยาศาสตร์ที่ยังคํานึงถึงสุนทรียศาสตร์ในด้าน ความงามเป็นหลัก
“
outline
หากพูดถึงคําว่า ซึง่ ไม่มบี ริบทกํากับ ผมก็จะนึกถึง คําว่า “ร่างหรือโครง” ไม่ว่าจะเป็นร่างของบทความที่จะเขียน หรือโครงของหนังสักเรื่อง รวมถึงการมองเห็นภาพรวมทั้งหมดของสิ่งที่ผมสนใจ แต่หากใช้คํานี้ในบริบทของงาน สถาปัตยกรรม คําว่า outline กลับให้ความรู้สึกถึง 1. เส้นขอบหรือเส้นรอบของอาคาร โดยเฉพาะในยามที่แสงสว่างไม่มากหรือในระยะ ไกล เราจะมองไม่เห็นรายละเอียดของงานสถาปัตยกรรม แต่ยังสามารถที่จะบอกถึงรูปร่าง หรือรูปทรงของสิ่งที่เห็นได้ 2. กรอบของขอบเขตหรือรายละเอียดของข้อกําหนดของการออกแบบ ซึ่งอาจจะเป็น outline ของ requirement ที่ได้มาว่าจะต้องทําอะไร อย่างไรบ้าง 3. กรอบหรือภาพใหญ่ๆของแนวความคิด
“ ดังนั้น คําว่า outline
จึงดูเสมือนเป็นการมองเป็นภาพรวมโดยไม่ได้ใส่ใจหรือ พิจารณาในส่วนรายละเอียดมากนัก เพื่อความเข้าใจในตัวงาน ทั้งหมด (ภาพกว้าง/ภาพรวม) นั่นเอง ÍอÒา¨จÒาÃรÂย ´ดÃร.¹น¹น·ท∙
¤คØุ³ณ¤คíํé้ÒาªชÙู
ÀภÒา¤คÇวÔิªชÒาàเ·ท∙¤ค¹นÔิ¤คÊส¶ถÒา»ป ˜µตÂย¡กÃรÃรÁม
24 | 25
1
st Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
02550010_นายชยางกูร เกตุพยัคฆ์
02550052_นางสาวษวรส เพียรสูตร
02550002_นางสาวกชพร โปวสุวรรณ
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 02550011_นางสาวชุตินันท์ เตชผาติพงศ์
261 101
BASIC DESIGN
การออกแบบเบื้องต้น
PROJECT DESIGN : The analytical drawing of natural object วัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ ที่จะค้นหาและฝึกฝนวิธีการสร้างสรรค์ การเชื่อมต่อรูปทรง เรขาคณิต(Geometric Form) ที่มีลักษณะเป็นหน่วยย่อย (Units) จํานวนสองหน่วยด้วยเทคนิค วิธีการต่างๆ ตลอดจนเพื่อให้นักศึกษา ได้ฝึกฝนการแสดงแบบ 2 มิติและ 3 มิติ ด้วยหุ่นจําลอง
02550018_นายธงไชย ขอเพิ่มทรัพย์
26 | 27
1
st Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 101
BASIC DESIGN
การออกแบบเบื้องต้น
02550051_นายศิรวิทย์ โพธิจันทจินดา PROJECT DESIGN : Kios_ร้านเล็กๆ อาหารน้อยๆ วัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และ ฝึกฝนการสร้างสรรค์วัตถุ(Object) ที่มี คุณลักษณะเฉพาะทางด้านรูปทรง(Form) ที่สัมพันธ์กับขนาดและสัดส่วนของร่างกาย มนุษย์(Human body)สอดคล้องกับ พฤติกรรมและกิจกรรม(Behavior&Activity) ตลอดจนเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกฝนการ แสดงแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ
แนวความคิด : ใช้การสร้าง Form จากเส้น tracing ของ action ของการทําอาหารซึ่งขั้นตอน ในการทําอาหารแต่ละช่วงจะอยู่ใน 1 unit พอดีแล้วจึงนํา unit มาเรียงกัน ( Tilling) ตามขึ้นตอนของการ ทําอาหารเป็นแนวยาว
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 แนวความคิด : วิเคราะห์ความต้องการและการดําเนิน ชีวิตของ user คือรักธรรมชาติและความสงบ นํามาสู่การทดลองเครื่องมือที่จะนํามาใช้ใน การออกแบบ โดยแสดงให้เห็นความต้องการของ user ในระดับที่มากหรือน้อยผ่านเครื่องมือการ กรีด-พับ
02550038_นางสาววนิดา บุญเฮ้า
28 | 29
1
st Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 101
BASIC DESIGN
การออกแบบเบื้องต้น
02550029_นางสาวแป้ง วรฐิติ แนวความคิด : เป็น kiosk ที่เกิดจากการ subtract รูปทรงกระบอก เพื่อให้เกิดพื้นที่ใช้สอยต่างๆ และสามารถปรับเปลี่ยน รูปแบบของร้านได้ (ตอนเก็บร้าน-เปิดร้าน)
PROJECT DESIGN : Kios_ร้านเล็กๆ อาหารน้อยๆ
สถาปัตยเรขา 2555
ARCHIGRAPHIC 2012
แนวความคิด : แนวคิดหลักคือการใช้เครื่องมือสร้าง Form ให้เหมาะสมกับการใช้งาน โดยใช้ วิธีม้วน กรีด พับ และแบ่งพื้นที่การใช้งาน kiosk ออกเป็น 2 ที่ใหญ่ๆคือที่ทําขนมกับ ที่วางขายโดยการม้วน กรีด พับจะปรับ ตามการใช้งาน เช่น ม้วนเป็นชั้นวางของ และจัดโซนของพื้นที่ และ การกรีดเพื่อ เพิ่มการติดต่อของพื้นที่ และพับเพื่อเพิ่ม การใช้สอยทําเป็นชั้นวางขนมและที่ ชําระเงิน
02550022_นางสาวธาลินี จิรกิตติพงษ์
30 | 31
1
st Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 102
ARCHITECTURAL DESIGN 1
การออกแบบสถาปัตยกรรม 1
แนวความคิด : ใช้ความสงบในการแบ่งกิจกรรมต่างๆออกจากกัน โดยที่กิจกรรมที่มีความสงบ หรือส่วนตัวมากแต่ละ กิจกรรมจะแยกออกจากกัน ส่วนกิจกรรมที่สงบหรือ ส่วนตัวน้อยพื้นที่กิจกรรมจะซ้อนทับกัน ในเรื่องของ Form มาจากการรับแสงของธรรมชาติกิจกรรมใด ต้องการแสงธรรมชาติมากรูปทรงก็จะเปิดรับแสงมาก ส่วนกิจกรรมที่ต้องการแสงจากธรรมชาติปานกลาง หรือน้อย รูปทรงก็จะเปิดรับแสงน้อย
02550018_นายธงไชย ขอเพิ่มทรัพย์
2555 ARCHIGRAPHIC 2012
วัตถุประสงค์เพื่อให้ฝึกฝนการออกแบบพื้นที่ใช้สอยทั้งภายใน และภายนอกของอาคารทีม่ คี วามเหมาะสม ในการใช้งาน และสอดคล้องกับรูปแบบ รวมถึงสภาพของพื้นที่ตั้งรวมไปถึงการเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม
สถาปัตยเรขา
PROJECT DESIGN : V-House
02550002_นางสาวกชพร โปวสุวรรณ
แนวความคิด : At first, There is a plenty of nature in thesite such as, trees, slope around the river bank and the river I want them still or cut some trees of out least. To follow the objective I choose to dig up the soil and add it above ground to be level, supporting the house It is possible to input source of water in the middle of the house following function. Also with the bypass of water through the river.
32 | 33
1
st Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 102
ARCHITECTURAL DESIGN 1
การออกแบบสถาปัตยกรรม 1
แนวความคิด : แบ่งความสัมพันธ์ตามระดับของต้นไม้ ราก ลําต้น กิ่ง และใบ(ยอดไม้)ให้สอดคล้อง กับความต้องการของผู้ใช้งาน
02550014_นางสาวณัฐณิชา จริยาเศรษฐโชค
2555 ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา PROJECT DESIGN : V-House แนวความคิด : linear in non-linear ใช้การม้วนplaneสร้างspace ที่ทําให้เกิดการปิดล้อมที่เพิ่มขึ้นจากข้างนอกเข้าไปข้างใน เกิดความต่อเนื่องของพื้นที่เป็นlinear และสร้างvoidให้เกิด spaceใหม่ๆแทรกไปตามlinear system
02550042_นางสาววรัญญา ภัทรพงศ์พันธ์
34 | 35
1
st Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
02550055_นายอนวัช เพชรอุดมสินสุข 02550052_นางสาวษวรส เพียรสูตร 02550005_นายเกษม ว่องพิชิตกุล 02550009_นางสาวชนากานต์ ทิพย์แสง
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
262 102
FINAL PROJECT : Reproduction ศึกษาหลักการแสดงแบบด้วยสีนํ้า สีหมึก หรือดินสอสี รวมถึงการเขียนภาพ นอกสถานที่ เพื่อเสริมสร้างความสามารถ ในการแสดงแบบทางสถาปัตยกรรม และวิธี การประยุกต์ใช้กับการแสดงแบบ จากนั้น จึงวิเคราะห์วิธีการ และเทคนิคจากภาพของ ศิลปิน หรือสถาปนิก ที่ชื่นชอบแล้วนํามา ทําขึ้นใหม่เพื่อฝึกทักษะการประยุกต์
ARCHITECTURAL PRESENTATION 1
การแสดงแบบทางสถาปัตยกรรม 1
36 | 37
1
st Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
ศึกษาความเป็นมา คุณสมบัตวิ สั ดุ การนําไปใช้ของวัสดุก่อสร้างเบื้องต้น และการออกแบบโครงสร้างให้สัมพันธ์ กับการก่อสร้าง รวมถึงความสามมารถ ของวัสดุ จากนั้นจึงนํามาประยุกต์ใช้ใน การออกแบบบ้านไทยโครงสร้างไม้ตาม ประเพณีและเอกลักษณ์ของแต่ละภาค ซึ่งเน้นในเชิงโครงสร้างและการออกแบ บที่สอดคล้องกัน
ภาคใต้ 02550066_ชนะพล โอภาสเจริญกิจ
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
263 103
ภาคกลาง
MATERIALS AND CONSTRUCTION 2
วัสดุและการก่อสร้าง 2
02550018_นายธงไชย ขอเพิ่มทรัพย์
38 | 39
1
st Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
263 103
MATERIALS AND CONSTRUCTION 2
วัสดุและการก่อสร้าง 2
ภาคเหนือ(กาแล)
02550050_นางสาวศิรดา ปุญสิริ
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
02550073_ปิยะชัย แย้มพวงทอง
ภาคเหนือ(ล้านนา)
40 | 41
1
st Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
02550020_นายธนัช สมวงษ์
เรือนขนมปังขิง
วัสดุและการก่อสร้าง 2
ARCHIGRAPHIC 2012
MATERIALS AND CONSTRUCTION 2
สถาปัตยเรขา 2555
263 103
02550057_นายอภินันท์ เจติยานนท์
ภาคอีสาน
ผลงานนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2555 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
2LINE nd
FACULTY OF ARCHITECTURE SILPAKORN UNIVERSITY
“
การเรียนการสอนสถาปัตยกรรมไทย ที่เปิดเป็นหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต
(สถาปัตยกรรมไทย) นั้น เริ่มมีมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2538 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 18 ปี โดยตลอดระยะเวลา 18 ปีที่ผ่านมาภาควิชาศิลปสถาปัตยกรรมได้ปรับปรุงและพัฒนา การเรียนการสอนอยู่เสมอ เพื่อให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านงานสถาปัตยกรรมไทย อันเป็นเอกลักษณ์ของชาติไปสู่คนรุ่นต่อไปๆ ทั้งได้พยายามอย่างยิ่งที่จะให้การถ่ายทอด ความรู้นี้เป็นไปอย่างทันต่อยุคสมัย ซึ่งอาจไม่ถูกจริตคนรุ่นใหม่เช่นนักศึกษาเพราะรู้สึก เหมือนว่างานสถาปัตยกรรมไทยเป็นของเก่า เชย และล้าสมัย แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้น การเรียนการสอนด้านสถาปัตยกรรมไทยมี 3 ส่วนประกอบกัน ส่วนแรกนั้น คือ สถาปัตยกรรมไทยแบบประเพณีที่ถือเป็นรากฐานอันมั่งคงและองค์ความรู้อันมั่งคั่ง ด้วยสติปัญญาของคนไทย จนกลายมาเป็นภูมิปัญญาอันควรค่าแก่การรักษาไว้ ส่วนต่อมา คือ งานสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัยที่ปรับตัวเพื่อตอบสนองให้เข้ากับยุคสมัย ที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โดยมีฐานที่แข็งแรงจากองค์ความรู้ที่สืบเนื่องมาจากอดีต ส่วนสุดท้าย คือ สถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่ ซึ่งจะพัฒนาต่อยอด และอาจกลายเป็น ปรากฎการณ์ทางสถาปัตยกรรม อันเป็นตัวแทนของความเป็นไทยในอนาคต โดยมีนักศึกษา เป็นกําลังสําคัญ ที่จะเป็นผู้เรียนรู้อดีต พัฒนาปัจจุบัน และสร้างอนาคตของชาติสืบไป
“
การสร้างสรรค์ที่ไม่ถูกจํากัดไว้ด้วยกรอบบังคับทางความคิด แต่ในขณะเดียวกันยังสามารถเห็นเส้นทางความคิดที่ชัดเจนได้
”
ÍอÒา¨จÒาÃรÂย ¾พºบÊสØุ¢ข ·ท∙Ñั´ด·ท∙Íอ§ง ÀภÒา¤คÇวÔิªชÒาÈศÔิÅล»ปÊส¶ถÒา»ป ˜µตÂย¡กÃรÃรÁม
46 | 47
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
02540001_นางสาวกนกรัช 02540002_นายกวินเดช 02540003_นายกัมพล 02540004_นายกิตติคุณ 02540005_นายจักริน 02540006_นายจิรภัทร 02540007_นางสาวจิรัชญา 02540008_นายจิรัฎฐ์ภณ 02540009_นางสาวชมพูนุท 02540010_นางสาวชมพูนุท
261 103
ARCHITECTURAL DESIGN 2
การออกแบบสถาปัตยกรรม 2
ARCHIGRAPHIC 2012
ศึกษาหาข้อมูล และวิเคราะห์จากผลงาน อาคารที่ถูกสร้างจริง ทั้งในเชิงที่ว่าง กระบวนการ การออกแบบ และแสดงความคิดเห็น ผ่านการ วิเคราะห์ผลงานดังกล่าว เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ และเสริมสร้างกระบวนการออกแบบ การสื่อสาร การจัดการกับที่ว่าง แล้วนําความรู้ที่ได้ไปใช้ ประยุกต์ในการออกแบบผลงานของตนเอง
สถาปัตยเรขา 2555
CASE STUDY : Apartment In Yokohama
ลิ้มถิรคุณ กําแพงแก้ว สุวรรณปริญญา เวชชกิจ จิตวัฒนวิไล ฉันท์พิชัย ยงพงศา เฉลิมวงศาเวช แก้วตั้ง โลหะเจริญสุข
48 | 49
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
PROJECT DESIGN : Domestic+
ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบที่ว่าง และรูปทรงของสถาปัตยกรรมที่สัมพันธ์กับการใช้สอย และสภาพภูมอิ ากาศ ในรูปแบบของที่พักอาศัยประเภทตึกแถว โดยศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวกับที่ตั้ง สภาพชุมชนในบริเวณที่ตั้งโครงการ จากนั้นเสนอแนวความคิดที่จะนํามาสร้างเอกลักษณ์ให้กับสถาปัตยกรรมที่ออกแบบเพื่อตอบสนองความต้องการในด้านของ Function ลักษณะนิสัย และปฏิสัมพันธ์ของ User และบุคคลอื่นที่เข้ามาใช้อาคาร
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 แนวความคิด : - สร้างก้อน Function 3 ก้อน 1.) Domestic 2.) Community Area 3.) Store - ทั้ง 3 ก้อน Overlap กันเกิดเป็น Court เพื่อรับ แสงและลม - ทุกก้อนสามารถมองเห็นส่วนจอดจักรยาน
261 103
ARCHITECTURAL DESIGN 2
การออกแบบสถาปัตยกรรม 2
02540075_นางสาวอัญชิสา เงินถาวร
50 | 51
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 103
ARCHITECTURAL DESIGN 2
การออกแบบสถาปัตยกรรม 2
แนวความคิด : - See a piano man, The players felt the show. - See nature, Add a moods playing the piano.
02540071_นายสุวัฒน์ชัย ถินกลาง
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
02540103_นางสาววรางคณา ลิลิตาภรณ์
PROJECT DESIGN : Domestic+
52 | 53
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
แนวความคิด : ออกแบบบ้านที่มีความโปร่ง โดยความโปร่งของบ้านจะแบ่งไปตาม ระดับ ปฏิสัมพันธ์แต่ละชั้น อีกทั้งแต่ละยูนิตจะถูกเชื่อมกัน ด้วย ทางเดินซึ่งเปิดมุมมองไปยังสวน และเปิด ให้ทุกยูนิตมีมุมมอง 360 องศา ถึงกันเพื่อรับรู้ธรรมชาติ รอบทิศทาง
261 103
ARCHITECTURAL DESIGN 2
การออกแบบสถาปัตยกรรม 2
02540028_นายธนวิชญ์ นนทะแก้ว
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 PROJECT DESIGN : Mix-Used Housing
แนวความคิด : Intersect Space Between Joinery
02540039_นายปรินทร์ จงสุขกิจพาณิชย์
54 | 55
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
CASE STUDY : Unite d’ Habitation
ศึกษาหาข้อมูล และวิเคราะห์จากผลงาน อาคารที่ถูกสร้างจริง ทั้งในเชิงที่ว่าง กระบวนการ การออกแบบ และแสดงความคิดเห็น ผ่านการ วิเคราะห์ผลงานดังกล่าว เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ และเสริมสร้างกระบวนการออกแบบ การสื่อสาร การจัดการกับที่ว่าง แล้วนําความรู้ที่ได้ไปใช้ ประยุกต์ในการออกแบบผลงานของตนเอง
261 104
ARCHITECTURAL DESIGN 3
การออกแบบสถาปัตยกรรม 3
ARCHIGRAPHIC 2012
ตรีลาพี ตีระพงศ์ไพบูลย์ นฤปจาตุรงค์พร อุไรเลิศประเสริฐ จงสุขกิจพานิช วานิชโชว์กิจ จิตตประไพ โกทนุช นุยุทธิ์
สถาปัตยเรขา 2555
02540016_ณธฤษภ์ 02540025_ไททวีป 02540031_ธัญชนิต 02540035_นรมณ 02540039_ปรินทร์ 02540040_ปรียานันท์ 02540041_ปาจรีย์ 02540043_พริมา 02540046_พิชชาภา
56 | 57
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 104
ARCHITECTURAL DESIGN 3
การออกแบบสถาปัตยกรรม 3
PROJECT DESIGN : เริงเรย์ @ แหลมแท่น | บางแสน
Service Apartment By Sea สําหรับคนรุ่นใหม่ ที่รักทะเล ที่หลงไหลในรูปแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัยใหม่ และแสวงหารูปแบบในการดํารงชีวิต ที่แตกต่าง
02540002_นายกวินเดช กําแพงแก้ว
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
แนวความคิด : 1. Sea view 2. Middle corridor for the spread approach 3. Transition space between corridor and house approach for owners space or their activities. 4. The different of space of each unit type.
58 | 59
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 104
ARCHITECTURAL DESIGN 3
การออกแบบสถาปัตยกรรม 3
แนวความคิด : สร้างลักษณะของอาคารให้มีความเป็นบ้าน เรือนไทยร่วมสมัย และผสมผสานกับพื้นที่ภายในภายนอก อีกทั้งใช้วัสดุให้เข้ากับบริบทโดยรอบ
02540005_นายจักริน จิตวัฒนวิไล
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 PROJECT DESIGN : เริงเรย์ @ แหลมแท่น | บางแสน
02540021_นายณัฐวัฒน์ คํารณฤทธิศร
60 | 61
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
PROJECT DESIGN : Nhongmon Complex
เป็นโครงการที่ตั้งอยู่บนถนนสุขุมวิท ฝั่งตรงข้ามตลาดหนองมน ซึง่ เป็นตลาดเก่าแก่ และมีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักกันดีและเป็นแหล่งของฝากของนักเดินทางท่องเที่ยว โดยเฉพาะ อย่างยิ่งข้าวหลามหนองมนที่มีชื่อเสียงและรู้จักกันดี โครงการหนองมนคอมเพล็กซ์ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ด้านหน้าได้แบ่งออกเป็น 6 แปลง โดยมีวัตถุประสงค์ให้ออกแบบเป็นอาคารพาณิชย์และอาคารพักอาศัย ซึ่งมี พื้นที่ดินเฉลี่ยแปลงละ 25-35 ตารางวา ในส่วนที่ 2 เป็นที่ดินลักษณะสี่เหลี่ยมมีพื้นที่ 230 ตารางวา มีวัตถุประสงค์ที่ออกแบบให้เป็นบูทิคอพาร์ตเมนท์ขนาด 35-40 ห้องนอน ซึ่งจะ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ Studio Type และ One Bedroom Type
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
261 104
02540019_นางสาวณัฐณิชา ฉันติกุล
ARCHITECTURAL DESIGN 3
การออกแบบสถาปัตยกรรม 3
62 | 63
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 104
ARCHITECTURAL DESIGN 3
การออกแบบสถาปัตยกรรม 3
02540025_นายไททวีป ตีระพงไพบูลย์ แนวความคิด : ปรัชญาการพัฒนาชุมชนได้พูดถึงบุคคล แต่ละบุคคลสามารถมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน หรือปรับเปลี่ยนพื้นที่ให้เข้า กับตนเอง facade ของอาคารถูกออกแบบมา รองรับข้อปรัชญานี้ โดยตัว facade มีลักษณะ เป็นที่ปลูกต้นไม้ประมาณ 7 ชั้น ซึ่งแต่ละบุคคล สามารถเลือกสรรต้นไม่มาปลูกได้ ในที่นี้หมาย ความว่า แต่ละบุคคลในแต่ละห้องสามารถ ตกแต่งด้วยดอกไม้ให้วิจิตรงดงาม หรืออาจจะไม่ ปลูกแต่กับแขวนผ้าด้วยซํ้า
02540074_นางสาวอรวรา บุญจับ
ARCHIGRAPHIC 2012
แนวความคิด : เนื่องจาก user เป็นครอบครัวที่มี user ที่เป็นเด็กประกอบอยู่ด้วย จึงใช้รูปทรงอาคาร ที่เหมือนกับขนมหวาน และเป็นวงกลม ซึ่งมี ผนัง 2 ชั้นที่โปร่งแสงเพื่อให้แสงที่ผ่านเข้า ภายในอาคารมีมิติ แต่ยังมีความเป็นส่วนตัว ผนังที่โปร่งแสงยังบอกเล่าเรื่องราวของ user ในเวลากลางคืนเมื่อเปิดแสงไฟในอาคาร อีกด้วย
สถาปัตยเรขา 2555
PROJECT DESIGN : Nhongmon Complex
64 | 65
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
CASE STUDY : NA House
ศึกษาหาข้อมูล และวิเคราะห์จาก ผลงานอาคารที่ถูกสร้างจริง ทั้งในเชิง ที่ว่าง กระบวนการการออกแบบ แล้วให้ นักศึกษาวิเคราะห์ผลงานดังกล่าว เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ และเสริมสร้าง กระบวนการออกแบบ การจัดการที่ว่าง ลําดับการเข้าถึง Function ภายในอาคาร และแนวความคิดสําคัญในการออกแบบ อย่างละเอียด เพื่อเป็นแนวทางในการ ออกแบบสถาปัตยกรรมภายในต่อไป
02540010_ชมพูนุช 02540013_โชดก 02540020_ณัฐพัชร์ 02540029_ธนัท 02540033_ธิดาทิพย์ 02540039_ปรินทร์ 02540040_ปรียานันท์ 02540068_สิดาพร
โลหะเจริญสุข วิจิตรวิชิตกุล โลไทยสงค์ เนียมรุ่งเรือง จั่นหยง จงสุขกิจพานิช วานิชโชว์กิจ อนันตศิริรัตน์
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
ZONING DIAGRAM
261 109
INTERIOR ARCHITECTURE
สถาปัตยกรรมภายใน
ACCESS DIAGRAM
66 | 67
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 109
INTERIOR ARCHITECTURE
สถาปัตยกรรมภายใน
PROJECT : Whiskey’s Condo
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
02540002_นายกวินเดช 02540006_นายจิรภัทร 02540039_นายปรินทร์ 02540050_นายภวัต
กําแพงแก้ว ฉันท์พิชัย จงสุขกิจพาณิชย์ เพียรเพ็ญศิริวงศ์
68 | 69
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 108
ARCHITECTURAL PRESENTATION II
การแสดงแบบทางสถาปัตยกรรม 2
DIAGRAMING MODEL :
เลือกผลงานของสถาปนิกที่สนใจจะศึกษามา 1 ผลงานแล้วค้นคว้า หาข้อมูลเกี่ยวกับแนวความคิดหลักของผลงานนั้น เพื่อให้นักศึกษานํามาทําหุ่นจําลองที่สื่อถึงแนวความคิดหลักของผลงานเป็น Diagram ที่สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้
02540021_นายณัฐวัฒน์ คํารณฤทธิศร
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 STORY BOARD :
ศึกษาเรื่องราวจากภาพยนต์แล้วนํามานําเสนอใหม่ให้เป็นรูปแบบ 2 มิติ ที่เกี่ยวเนื่องกันของทิศทางการเดินทาง มุมมอง ช่วงเวลา และอื่นๆ เพื่อให้นักศึกษาฝึกการนําเสนอเรื่องราวที่เป็นลําดับขั้นตอนผ่านรูปแบบ 2 มิติ
02540017_นายณัฐาปกรณ์ คะปูคํา 02540019_นางสาวณัฐณิชา ฉันติกุล 02540022_นายติณห์ ศิรวีระมงคล 02540025_นายไททวีป ตีระพงศ์ไพบูลย์ 02540062_นางสาวศินิมา โรจน์สุธีวัฒน์
70 | 71
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
263 106
CONSTRUCTION 2
การก่อสร้างอาคาร 2
ศึกษาวิธีการก่อสร้างอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก การทํารอยต่ออาคาร เทคนิคการก่อสร้างอาคารคอนกรีต ในแต่ละส่วนของอาคาร และสภาพการต่างๆกัน ฝึกปฏิบัติ การเขียนแบบก่อสร้าง มีการศึกษานอกสถานที่
02540025_นายไททวีป ตีระพงศ์ไพบูลย์
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
02540019_นางสาวณัฐณิชา ฉันติกุล
PROJECT : ้ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก บ้านพักอาศัย 2 ชัน
72 | 73
2
nd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
263 105
STRUCTURE 1
โครงสร้าง 1
ศึกษาคุณสมบัติต่างๆของวัสดุโครงสร้าง และพฤติกรรมเมื่อมีแรงมากระทําทฤษฎีและคํา จํากัดความของหน่วยแรงต่างๆ ความสัมพันธ์ ระหว่างของหน่วยแรงประลัยของวัสดุ และการใช้ หน่วยแรงให้เหมาะสม และการออกแบบโครงสร้าง ศึกษาโครงสร้างอาคารเบื้องต้น ระบบต่างๆ ให้เข้าใจถึงกลวิธีในการทํางาน การรับและการ กระจายถ่ายเทนํ้าหนัก และความเป็นไปได้ในการ ออกแบบโครงสร้าง
02540004_กัมพล 02540007_จิรัชญา 02540010_ชมพูนุท 02540026_ธนพล 02540049_ภทรินทร์ 02540066_สรพัฒน์ 02540071_สุวัฒน์ชัย 02540097_พรเทพ 025400102_วชิรกร
สุวรรณปริญญา ยงพงศา โลหะเจริญสุข คําทอง บ่วงสิริ มณีวงศ์ ถินกลาง เพชรสัมฤทธิ์ หงส์วชิราภรณ์
02540055_วรุตม์ 02540058_วันทนีย์ 02540060_วิศรุต 02540061_ศวิตา 02540063_ศุภเจต 02540065_สมภพ 02540083_คุณากร
พูนนิพงศ์ เวชอนันทนุรักษ์ พรโชคธนเสถียร ศรีวิเศษ เอกเอื้อมณี เฉลิมพนาพันธ์ ตรีกนกวิทยา
รอดจินดา เปลี่ยนม่วง กิตติธนารัตน์ ผลาภิรมย์ ไชยคง ยังมี ปัสสาจันทร์
ARCHIGRAPHIC 2012
02540011_ชลธิชา 02540023_ทวีวรรณ 02540030_ธนาภา 02540042_พงศ์พันธุ์ 02540053_โยษิตา 02540059_วิจิตรา 02540094_เบญจมาภร
สถาปัตยเรขา 2555
PROJECT : Structral Model
ผลงานนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
3LINE rd
FACULTY OF ARCHITECTURE SILPAKORN UNIVERSITY
“
มีใครซักคนบอกให้ผมเขียนเรียงความเกี่ยวกับสังกัดที่ตนวนเวียนอยู่ และคําบางคําซึ่งกว้าง และธรรมดา เขียนไปตามมุมมองของผม… ฟังดูไม่ใช่เรื่องง่าย มองไม่เห็นหนทางที่จะเขียน หรือเชื่อมโยงทั้งสองเรื่อง เข้าด้วยกัน แต่สถานการณ์แบบนี้ก็คล้ายๆกับยามที่เราเป็นน้องใหม่ และโดนรุ่นพี่หน้าตาน่ากลัวชี้ให้ลุกขึ้นยืน อย่างกระทันหัน พร้อมกับตะโกนใส่ว่า “ขอการแสดงหน่อย!” .... จะทําอย่างไรได้ นอกเสียจากต้องแสดง ความคิดอะไรซักอย่างหนึ่ง ออกไป ในภาควิชาสถาปัตยกรรมที่ผมสังกัดอยู่ เรารับผิดชอบสอนออกแบบ และอะไรอีกหลาย อย่างที่คล้ายๆ แบบนั้น เรามีอาจารย์หลากแบบ หลายช่วงอายุ ความคิด และตัวตน ทั้งเรียบง่าย และซับซ้อนกว่าสมัย ที่เรามองเห็นเมื่อยังเป็นเด็กนักศึกษามากมาย ความสุขอย่างหนึ่งที่ผมมีก็คือการได้สอน ตรวจงาน และกินกาแฟ ยามบ่ายร่วมกับอาจารย์วีระ เรียนรู้สิ่งที่ผมไม่อาจเป็นจากการมอง และพูดคุยกับอาจารย์ ผมไม่มีความคิดอะไรมากนัก เกี่ยวกับการจัดการสอนแบบสี่ภาควิชาเป็นหนึ่งคณะอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โรงเรียนสถาปัตยกรรมที่อื่นๆก็มีบ้างที่ใช้วิธีเดียวกันนี้ และมีบ้างที่พยายามจะไม่แบ่งแยก ให้ชัดเจนเช่นนี้ เท่าที่ได้รับฟังมา ทั้งสองวิธีล้วนมีปัญหาและประโยชน์ไปคนละแบบ โลกอาจต้องการวิธีมองสิ่งต่างๆเป็นเนื้อ เดียวกันเพื่อเข้าใจถึงความสัมพันธ์ที่ไม่ขาดสาย ขาดตอน พอๆกับที่ต้องการวิธีคิดแยกแยะการปฏิบัติที่แยกย่อย เพื่อจัดการกับหมวดหมู่ของ ความแตกต่างได้อย่างสะดวก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ก็คงเป็นเช่นเดียวกัน ไม่มีใดถูกหรือผิด เพียงเดินไต่ไปบนความสมดุลของเราให้เจอ ก็อย่างที่บอกไปแล้วผมไม่มีความคิดอะไร เกี่ยวกับภาควิชาของตนมากนัก
”
ÍอÒา¨จÒาÃรÂย Íอ´ดÔิÈศÃร ÈศÃรÕีàเÊสÒาÇว¹นÑั¹น·ท∙ ÀภÒา¤คÇวÔิªชÒาÊส¶ถÒา»ป ˜µตÂย¡กÃรÃรÁม
“กรอบ” ทางความคิดเป็นเรื่องที่สองที่ถูกกําหนดให้ต้องแสดงความคิดเห็นส่วนตัว ลงไป ซึ่งไม่น่าจะตรง กับคําว่า“Outline”ที่ให้มาซะทีเดียวนัก โดยอุดมคติแล้วผมเชื่อว่า สิ่งต่างๆ โดยดั้งเดิมนั้นมีข้อจํากัดอยู่ ไม่มากนัก มนุษย์ครั้งเมื่อเริ่มรู้จักไฟไม่น่าจะมีกรอบของ ความคิด มากมายอย่างที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ ชีวิตมันควร จะดิบกว่านี้ สดกว่านั้น อิสระเสรี กว่านี้สิ อย่างไรก็ดีผมพบว่าหลายครั้งผมผ่านชีวิตอย่างยากลําบากเมื่อละเลยการมีอยู่ของกรอบ บางอย่าง เช่นเดียวกันกับที่ผมเองก็ไม่เคยไปถึงที่สุดทางของความสด หรืออิสระเสรีภาพ อะไรที่เคยนึกฝัน หลายครั้งผมพบว่าชีวิตตราบเท่าที่เรายังดํารงอยู่ มีกรอบบางๆทั้งที่เป็นไป โดยธรรมชาติ และทั้งต่อตัวเองที่เราจําเป็นต้องเคารพอยู่บ้าง ยกตัวอย่างเช่น ร่างกายเรามีกรอบ ของเวลาที่เหมาะสมในการคิด ทํางาน พักผ่อนอยู่ การไม่เชื่อแบบนั้นอาจจะพอทําได้ในยาม ที่เรายังเป็นเด็กมีกําลังสะสมมาชดเชย แต่เมื่อไม่ใช่ เด็กแล้วการเคารพ และ ยอมตามกรอบ ของเวลาในร่างกายเรานั้นสําคัญอย่างยิ่ง อีกตัวอย่างหนึ่งซึ่งผมทบทวน บ่อยครั้งขึ้นในระยะหลัง ก็คือเรื่อง “หน้าที่” หน้าที่ที่ไม่หมายความแค่การงานแลกเงินทอง แต่หมายถึงเรื่อง บางประการ ที่เรากําหนดขึ้นเอง และเลือกที่จะทําตามวิถีทางนั้น หน้าที่นั้นคือ “กรอบ” ของความคิดแบบหนึ่ง โดยไม่ต้องสงสัยเราทําตามนั้น มุ่งไปทางนั้น และบางครั้งแม้แต่จําเป็น ต้องทําแบบนั้น เรื่องหน้าที่นี้คนญี่ปุ่นแทบจะทุกคนเป็นตัวอย่างอันดี เร็วๆนี้มีคนใกล้ชิดเล่า เรื่องหนึ่งให้ฟัง เกี่ยวกับหญิงสาวซึ่งกําลังดุว่าลูกทารกแรกเกิดของเธอที่กําลังร้องไห้จ้า เสียงดังอยู่ ชายชราผ่านมาเห็นเข้าจึงพูดขึ้นว่าหน้าที่สั่งสอนลูกนั้นเป็นของแม่ก็จริงอยู่ แต่หน้าที่ของเด็กก็คือ ร้องไห้เช่นกัน ดังนั้นแล้วแทนที่จะดุว่าเธอควรที่จะชมเชยว่าร้องได้ดี ร้องออกมาให้เต็มที่ที่สุด ถึงจะถูกต้อง เรื่องนี้ฟังเพียงแว่บแรกก็คงหัวเราะแต่หากคิดตาม ก็จะเห็นถึงความหมาย ของ “หน้าที่” ที่แสนกินใจและเราทุกคนต่างมีหน้าที่แบบนี้ ไม่ต่างกัน
78 | 79
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 106
ARCHITECTURAL DESIGN 4
การออกแบบสถาปัตยกรรม 4
02530048_นายสิรณัฐ พุทธิพิพัฒน์ขจร แนวความคิด : จากการที่โรงเรียนแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้ๆกับสวนรถไฟ และหอจดหมายเหตุพุทธาตุอินทปัญโญทําให้ได้รับ ธรรมชาติและความสงบจากบริบทโดยรอบ จึงได้ ออกแบบให้โรงเรียนนี้ได้รับวิว และความรู้สึกสงบ จากธรรมชาติเข้ามาให้มากที่สุด โดยการทําเป็น อาคารแนวยาวขนานกับสวนรถไฟ โดยมีคลองเป็น ทั้งตัวคั่นและตัวเชื่อมกับธรรมชาติ นอกจากนี้ยังยกอาคารขึ้นเป็นสามชั้นนอกจาก จะทําให้รับวิวได้ทั้งสามชั้นแล้วยังเพิ่มร่มเงาและ การรับรู้ให้แก่ชั้นล่างอีกด้วย
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 PROJECT DESIGN : Bangkok Senior High School
ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรม ประเภทอาคารสาธารณะขนาดกลางโดยเน้นความสัมพันธ์ ของประโยชน์ใช้สอยที่มีความซับซ้อน รูปลักษณะ ขนาดที่ตั้ง สภาพแวดล้อม ความต่อเนื่อง ทางสัญจร บริเวณใกล้เคียง และผลกระทบจากกฎหมาย ข้อบัญญัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบ และโครงสร้าง
02530033_นางสาวพุทธิพร ตั้งเด่นไชย แนวความคิด : เป็นโรงเรียนที่มุ่งหวังที่จะสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่าง ครูกับนักเรียน และนักเรียนกับ นักเรียน รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างบริบทภายในโรงเรียน และกิจกรรมบริเวณพื้นที่รอบๆ โรงเรียน ซึ่งเป็นสถานที่ พักผ่อนของบุคคล ภายในกรุงเทพฯ ด้วยจุดเด่นของโรงเรียนนี้คือบุคคลภายนอก สามารถเดินเชื่อมต่อกับสวนรถไฟขึ้นมาบนหลังคา ของโรงเรียนที่ฝังกิจกรรมต่างๆ โดยไม่รบกวนบุคคล ที่อยู่ภายในโรงเรียน ส่วนความสัมพันธ์ภายในโรงเรียน นั้น ออกแบบให้มีพื้นที่สําหรับพบปะโดยมุ่งเน้นไปที่ พื้นที่บริเวณโรงอาหารซึ่งเป็นพื้นที่ที่ทุกคนสามารถมา รวมตัวกันได้ง่ายที่สุด
80 | 81
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
แนวความคิด ต้องการให้การเชื่อมต่อของอาคาร และสวนวชิรเบญจทัศน์ยังคงอย่จู ึงทํา อาคารให้มองดโู ปร่งในชั้นแรกด้วยการ นําฟังก์ชั่นส่วนใหญ่ไว้ด้านบน อีกวิธีหนึ่งคือการสร้างลักษณะ อาคารให้เกิดการเชื่อมต่อทางสายตา และมุมมองของสวนวชิรเบญจทัศกับ ถนนด้านหน้าโดยเน้นการมองแล้วให้ เกิดความรู้สึกว่าสวนเป็นรูปภาพหนึ่ง ด้วยการทําทางเข้าหลักที่มีความกว้าง พุ่งตรงไปยังสวนเพื่อเชื่อมต่อจากถนน และเป็นการสร้างความรู้สึกใหม่ให้กับ สวนสาธารณะแห่งนี้อีกด้วย
PROJECT DESIGN : Bangkok Senior High School
02530050_นายสุขเกษม เกษมหฤทัยสุข
การออกแบบสถาปัตยกรรม 4
ARCHIGRAPHIC 2012
ARCHITECTURAL DESIGN 4
สถาปัตยเรขา 2555
261 106
02530024_นายธีราธร สุปรารภ แนวความคิด : "ความสงบ" ซึ่งปัจจัยที่ก่อให้เกิด ความสงบมี 2 ปัจจัย คือ 1)ปัจจัยทางสถาปัตยกรรม : การวางผังของอาคาร การจัดZoning 2)ปัจจัยภายนอก : ความเป็นธรรมชาติรอบๆSite การออกแบบโรงเรียนจะแบ่งส่วน ห้องเรียนกับส่วนอื่นๆให้แยกออกจากกัน เพื่อความสงบของห้องเรียนแต่จะมีทาง เชื่อมที่มีคอร์ตสวนตรงกลางเชื่อมส่วน ห้องเรียนกับส่วนอื่น และพื้นที่ส่วนใหญ่ ของโรงเรียน เช่น ห้องเรียน พื้นที่กินข้าว ฯลฯ ก็จะหันหน้าเข้าบ่อนํ้าและสวน ทางด้านหลังเพื่อหนีความวุ่นวายทางถนน ด้านหน้า
82 | 83
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 106
ARCHITECTURAL DESIGN 4
การออกแบบสถาปัตยกรรม 4
02530016_นายดิษย์ แสงทองสุข แนวความคิด : ดึงลักษณะเด่นของ office ที่มีการใช้ช่องเปิดจํานวนมาก รวมกับ สีสัน และความร่มรื่นของพืชพรรณ เข้าด้วยกัน โดยพื้นที่ ดังกล่าวจะมีความแตกต่างกันตามการใช้งานในแต่ละชั้น
แนวความคิด : แนวความคิดการขึ้นฟอร์มคํานึงถึง พื้นที่ถายนอกก่อนเข้าไปใช้งานที่มีลักษณะ ทึบตันไม่น่าเข้าแต่หลังจากเข้าไปจะรู้สึก ต่างออกไป การขึ้น Form มาจากการ วิเคราะห์โซนผู้ใช้งานและการสัญจรของ อาคารรูปตัวยูโดยมี 2 โซนหลักๆคือ โซนสาธารณะซึ่งอยู่ในชั้น 1 และ 2 และโซนของนักศึกษาและสถาปนิกใช้งาน ร่วมกันอยู่ชั้น 3 และ 4 โดยทั้ง 2 โซนนี้จะ เป็นอาคารรูปตัวยูเพื่อสร้างคอร์ดตรงกลาง หลังจากนําตัวยูทั้งสองตัวซ้อนทับไขว้กัน อยู่สร้างคอร์ดให้กับทั้ง 2 โซน และส่วนจุดตัดของหางตัวยูถูกจัดให้เป็น ส่วนของ utility core
02530049_นายสุกฤษฎิ์ หาญพิชิตวิทยา
ARCHIGRAPHIC 2012
ให้ผู้ออกแบบเสนอความสัมพันธุ์ของสิ่งปลูกสร้างและที่ว่างทางสถาปัตยกรรม ในรูปแบบอาคารขนาดใหญ่ ประกอบด้วยสตูดิโอและห้องคอมพิวเตอร์สําหรับนศ.ปริญญาตรี, พื้นที่สํานักงานให้เช่าสําหรับสถาปนิกทั่วไป และห้องปฏิบัติการส่วนกลางที่ใช้ร่วมกันทั้งนศ. และผู้เช่า อีกทั้งพื้นที่ส่วนบริการ และอาคารจอดรถ
สถาปัตยเรขา 2555
PROJECT DESIGN : SUSA_Silpakorn University Studio of Architecture
84 | 85
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 106
ARCHITECTURAL DESIGN 4
การออกแบบสถาปัตยกรรม 4
PROJECT DESIGN : SUSA_Silpakorn University Studio of Architecture
02530043_นางสาวศรัณญา ประธาน
แนวความคิด :
สตูดิโอนักศึกษาสถาปัตย์และออฟฟิศสถาปนิกที่สามารถ ก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์การแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ระหว่างนักศึกษาและสถาปนิก พร้อมทั้งมีอาคารจอดรถ ร้านเครื่องเขียน coffee shop และ green space สาธารณะ ที่เป็นพื้นที่ร่มขนาดใหญ่บริเวณชั้นล่างของตัวสถาปัตยกรรม สําหรับทั้งกลุ่มบุคคลทั่วไป กลุ่มสถาปนิก นักศึกษาและผู้คน รอบบริบทนั้นใช้พักผ่อน นั่งเล่น ชมนิทรรศการ การบิดของ Form ให้เกิดความเป็นมิตรต่อผู้เข้าใช้งานทําให้เกิดการเข้าถึง ได้จากหลายๆทิศทาง
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
02530004_นายกิตติมนัส ตั้งธรรม แนวความคิด : โปรเจคออฟฟิสนี้ได้รับแรงบัลดาลใจ จากบริบทรอบๆงาน โดยเฉพาะแนวทาง การพัฒนาของชุมชนเดิมเนื่องจากไซต์งาน ตั้งอยู่กับถนนข้าวสาร สนามหลวง จะเห็น ได้ว่าทั้ง 2 สถานที่นี้ เป็นสถานที่ๆมีชื่อเสียง มีบทบาทหน้าที่ต่อพื้นที่ต่างกันอย่างสิ้นเชิง แต่ก็มีความสัมพันธ์อย่างมาก โปรเจคออฟฟิสนี้จึงนําแนวทางการ พัฒนาของตัวอย่างข้างต้นนํามาปรับใช้ให้ เข้ากับโปรแกรม เพื่อกําหนดพื้นที่ กิจกรรม ผู้ใช้งาน ให้กับงานสถาปัตยกรรมโดยจะมี บทบาทเป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ของ ชุมชนเดิมส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมต่อที่ มากขึ้น
86 | 87
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
แนวความคิด : ประเด็นแรกคือการเชื่อมต่อหรือการมี ปฏิสัมพันธ์กับบริบทโดยรอบของโครงการโดยการ นํา corridor บางส่วนออกมาริมอาคารทําให้ มีการมองเห็นเชื่อมต่อกับผู้คนภายนอก นําแสง ธรรมชาติเข้าสู่ภายใน และเพิ่มความโปร่งเบาของ รูปทรง อีกประเด็นคือศักยภาพของพื้นที่ในการ เปลี่ยนแปลง จะพบว่าห้างสรรพสินค้ามีการ พัฒนาในพื้นที่ส่วนที่เรียกว่า Promotion Area เพิ่มขึ้น ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับความเปลี่ยน แปลง โดยในโครงการนี้ตัดสินใจที่จะเพิ่มพื้นที่ Promotion Area กระจายอยู่รอบอาคาร เพื่อใช้ ประโยชน์จากการมองเห็นกิจกรรม ดึงดูดคน จากภายนอก ทั้งยังเพิ่มปฏิสัมพันธ์กับผู้คนที่ สัญจรไปมา
02530038_นายภูมิภัทร เมฆมัลลิกา
261 107
ARCHITECTURAL DESIGN 5
การออกแบบสถาปัตยกรรม 5
ARCHIGRAPHIC 2012
เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกออกแบบ เปรียบเทียบ งานสถาปัตยกรรมที่มีแบบ และระบบอาคาร ที่แตกต่างกัน อีกทั้งให้นักศึกษาฝึกการ แสดงออกของโครงสร้างและงานระบบอาคารที่ เหมาะสมภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายอาคาร ขนาดใหญ่พิเศษ และเพื่อเป็นการฝึกการแสดง แบบ และอธิบายแบบ ทางสถาปัตยกรรม
สถาปัตยเรขา 2555
PROJECT DESIGN : Double Happiness Plaza
02530009_นายชัชวาล สุวรรณสวัสดิ์ แนวความคิด : เพิ่มพื้นที่แห่งความสุข การพักผ่อน และพื้นที่ สีเขียวให้กับบริเวณแยกซังฮี้ โดยจัดมุมมอง ต่างๆในห้างให้ชนกับพื้นที่สีเขียว โดยมีGreen Acade จับกับ retail และ Roof Garden ทั้งอาคารใช้ฟอร์มที่เป็นเส้นธรรมชาติแทรก พื้นที่สีเขียวลงไปในอาคาร
88 | 89
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
แนวความคิด : In to out การมองถึงส่วน negative space และ possitive space ที่เกิดขึ้น โดยให้พื้นที่ภายในเป็น possitive space ที่ต้องการจะดันออกไปสู่พื้นที่ภายนอก และในทางกลับกันก็นําพื้นที่ภายนอกเข้ามาสู่ภายในอาคารให้โปร่งโล่งเมื่อได้พยายาม นําสองพื้นที่ไปสู่อีกพื้นที่นึง จะทําให้พื้นที่นั้นขาดจากกัน เส้นทางสัญจร และร้านค้าบางร้านจึงเป็นตัวเชื่อมระหว่างทั้งสอง
02530037_นางสาวภาวินี คงวัฒนเศรษฐ
PROJECT DESIGN : Double Happiness Plaza
การออกแบบสถาปัตยกรรม 5
02530045_นายศิวะพงศ์ ไกรศรพรสรร แนวความคิด : "Terrace" แนวคิดที่จะสร้างห้างสรรพสินค้าที่มีลักษณะเดินเล่น ชิวๆ เหมือนในสวนพักผ่อน โดยไม่ให้เกิดความรู้สึกปิดล้อม ทําให้ ห้างสรรพสินค้ามีลักษณะ Open air และ Form อาคารเกิดจากการ ที่จะทําให้ circulation เชื่อมกันทั้งโครงการ จึงทํา Form อาคารที่ แสดงถึงความลื่นไหลของ Form เชื่อมต่อแต่ละชั้น ส่วน Open air ของโครงการคือส่วน retail
ARCHIGRAPHIC 2012
ARCHITECTURAL DESIGN 5
สถาปัตยเรขา 2555
261 107
90 | 91
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
โครงการนี้เป็นโครงการที่สืบเนื่องจากโครงการ Double Happiness Plaza ซึ่งอยู่ในบริเวณ Site งานเดียวกัน เพื่อให้นักศึกษา ฝึกออกแบบสถาปัตยกรรมประเภทโรงพยาบาลที่ให้บริการแก่สตรีเป็นหลัก โดยเน้นการจัดความสัมพันธ์ของประโยชน์ใช้สอยที่มี ความหลากหลาย กลุ่มกิจกรรมกับทางสัญจร และความเหมาะสมกับบริบทที่ตั้งและสภาพแวดล้อม กฎหมายและโครสร้าง ให้สัมพันธ์กับเครื่องมือ และกระบวนการทางการแพทย์
02530012_นางสาวณภัทร คันธารักษ์
261 107
ARCHITECTURAL DESIGN 5
การออกแบบสถาปัตยกรรม 5
แนวความคิด : concept ของงานสืบเนื่องมาจาก concept ของห้างฯ คือการคว้าน mass ของตึก เพื่อให้เกิด space ใช้งาน เพื่อแสงสว่าง บรรยากาศ การถ่ายเทของลม สามารถเข้าถึง แผนกต้อนรับได้ 2 ทาง คือ 1.ทางดรอปคนไข้ที่มีหลังคา 2.คือทางสําหรับคนเดินเท้ามาจากทางฝั่งของ ห้างฯ มีการจัดโถงโดยใช้นํ้าและธรรมชาติ ในการออกแบบใหู้้พักคอยได้ผ่อนคลาย และระหว่างห้อง ในส่วน IPD จะมีการคว้าน ห้องบางห้องออกเพื่อให้เกิด space ที่ผู้ป่วยจะ ออกมานั่งเล่นพักผ่อนในพื้นที่สีเขียว
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
PROJECT DESIGN : Women’s Wellness Center
แนวความคิด : เนื่องจากบริบทรอบข้างของ SITE ขาด แคลนพื้นที่สีเขียว และ พื้นที่สําหรับชุมชน จึงออกแบบอาคารให้มีพื้นที่เปิดโล่งที่แตกต่างกัน คือสวนด้านซ้ายเป็นพื้นที่เปิดโล่ง สําหรับผู้ป่วย มีความเป็นส่วนตัวมาก ส่วน ด้านขวาเปิดเป็นพื้นที่สีเขียวสําหรับชุมชน มีความเป็นส่วนตัวน้อย พื้นที่ต่างๆในอาคาร เช่น ส่วนพักคอย โถง และทางเดินต่างๆ ออกแบบให้สามารถมองเห็นพื้นที่เปิดโล่ง ได้จากทุกๆส่วน เพื่อสร้างบรรยากาศให้แก่ ผู้ใช้งานในอาคาร เน้นการเปิดให้สามารถ เชื่อมต่อทางตั้งผ่าน OPEN FLOOR ในชั้น IPD(ผู้ป่วยใน) เพื่อสร้างพื้นที่ส่วนกลาง
02530008_นายชัชชัย โชควนิช
92 | 93
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 107
ARCHITECTURAL DESIGN 5
การออกแบบสถาปัตยกรรม 5
แนวความคิด : การเชื่อมพื้นที่ว่างระหว่างสองอาคาร ด้วยการสัญจรทางเท้าจากชั้น Ground และ ชั้น 1 ซึ่งเชื่อมต่อตั้งแต่ MRT, Retail ของห้าง สรรพสินค้า ต่อเนื่องมายังส่วน Retailของ โรงพยาบาลรวมถึงการเชื่อมต่อด้วยมุมมอง จากภายในสู่ภายนอกอาคารทั้งสองหลังผ่าน Open Space ขนาดใหญ่ระหว่างสองอาคาร
02530019_นางสาวธนัฏฐา ธนะวัฒนานนท์
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
PROJECT DESIGN : Women’s Wellness Center
แนวความคิด : ต้องการจะแบ่งแกนระหว่างผู้ใช้ภายใน กับภายนอกให้ชัดเจนเป็นแกนและมีการ เชื่อมต่อกันบริเวณแกนกลางที่มาตัดกับทั้ง 2 แกนซึ่งวิธีน้จะสามารถแบ่ ี งพื้นที่ได้ชัดเจนขึ้น รวมไปถึงจุดเชื่อมต่อจากห้าง ได้ทำทาง arcade เชื่อมต่อมาจากทางเดินของห้าง โดยเส้นทางที่ว่านั้นจะอยู่ในร่มตลอดแนว ทำให้ผู้ท่เดิ ี นมาปลอดภัยจากสภาพอากาศ และรถยนต์ซ่งเกิ ึ ดจากความแออัดของถนน เหล่านั้น
02530036_นายภาคิน วิษณวาภิคุปต์ ไทวคุณิกกุล
94 | 95
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
แนวความคิด : การออกแบบใช้เอกลักษณ์ของ Space แบบไทยมาสร้างความโอบล้อมและความรู้สึก เชิญชวนต่อแขกผู้มาเยี่ยม การเปิด open space ให้เกิดขึ้นระหว่างเรือนหลักกับแม่นํ้า เจ้าพระยา ทําให้รู้สึกถึงความเชื่อมต่อทาง มุมมอง ใช้ชานไม้ไล่ระดับส่งไปยังตัวเรือนหลัก ที่มีความสูงไม่มาก ให้ผู้ใช้ค่อยๆรับรู้สถาปัตยกรรมและบริบทของที่ตั้งที่สวยงามไปพร้อมๆ กัน ในขณะเดียวกันการเปลี่ยนระดับชานให้ สูงขึ้น จนถึงเรือนนอนเป็นการแบ่งแยกความ เป็นส่วนตัวที่ยังไม่ตัดขาดจากเรือนหลักซึ่งใช้ รับรองแขก และทําอาหาร ใช้ศาลาไทยเล็กๆ เป็นพื้นที่เปลี่ยนผ่านระหว่างชานหน้าเรือนหลัก กับสระว่ายนํ้า
02530052_นายภูธดล เดชพงษ์
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
02530068_นางสาวภูรี อําพันสุข แนวความคิด : แนวความคิดในการออกแบบมาจากการศึกษาลักษณะผู้อยู่อาศัย ในบ้าน ซึ่งมีหลากหลายกิจกรรมของคนในครอบครัวงานออกแบบนี้ จึงแสดงถึงการกลมเกลียวและอบอุ่นของครอบครัวนี้ โดยการออกแบบ ให้เป็นเรือนหมู่ที่มีการโอบล้อม และมีศาลาท่านํ้าเพื่อพูดคุยสังสรรค์ ของผู้ใช้สอย
262 105
THAI ARCHITECTURAL DESIGN 1
การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 1
PROJECT DESIGN : บ้านพ่อครัวใหญ่
ศึกษาคติ แนวคิด และการก่อสร้างอาคารพักอาศัยแบบพื้นบ้านภาคกลางของประเทศไทย โดยเน้นศึกษาลักษณะ เฉพาะ เช่นรูปแบบของบ้านเรือน สัดส่วน โครงสร้าง วัสดุ ตลอดจนแนวทางการนําไปใช้ในการออกแบบเพื่อใช้ในการประยุกต์ ให้ร่วมสมัย ทั้งอุปนิสียของผู้อยู่อาศัย และการใช้งานในปัจจุบัน พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติการออกแบบ และเขียนแบบรวมไปถึง การศึกษานอกสถานที่
96 | 97
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
262 105
THAI ARCHITECTURAL DESIGN 1
การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 1
แนวความคิด : ธรรมชาติอยู่รอบตัวบ้าน ดังนั้นพื้นที่การใช้สอยในบ้านก็อยู่ รอบธรรมชาติเช่นเดียวกัน
02530016_นายดิษย์ แสงทองสุข
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 PROJECT DESIGN : บ้านพ่อครัวใหญ่
02530075_นางสาวศุภสุตา วรามิศ แนวความคิด : “บ้านภาคกลางกับต้นไม้ในชาน” นําต้นไม้ มาเป็นทุกส่วนของเรือน
98 | 99
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
แนวความคิด : การจัดวางพื้นที่ให้มีลักษณะลอยตัวโดย การยกพื้นอาคารให้สูงขึ้น วางตําแหน่งให้ดู เชิญชวน และมีความเป็นส่วนตัวของพื้นที่สปา ให้ผู้ใช้บริการได้สัมผัสกับความสงบ สบาย และธรรมชาติริมแม่นํ้าปิง
02530078_นางสาวสิรินันท์ มีจั่น
PROJECT DESIGN : Rim Ping Boutique Spa
ศึกษาคติ แนวคิดและการก่อสร้าง อาคารพักอาศัยแบบพื้นบ้านภาคเหนือของ ประเทศไทย โดยเน้นศึกษาลักษณะ เฉพาะ สัดส่วน โครงสร้าง วัสดุตลอดจนแนวทางการ นําไปใช้ในการออกแบบเพื่อใช้ในการประยุกต์ ให้ร่วมสมัย และเหมาะสมกับประเภทการ ใช้งานแบบสปา
02530073_นายวีรวัฒน์ เหมือนแย้ม
262 105
THAI ARCHITECTURAL DESIGN 1
การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 1
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
แนวความคิด : ศึกษาสถาปัตยกรรมและสภาพ แวดล้อมของชนเผ่าชาวเขาทางภาค เหนือนํามาออกแบบโดยเน้นให้ใช้ธรรม ชาติบําบัด ( Natural Therapy ) สร้างความผ่อนคลายให้แก่ผู้ใช้บริการ ด้วยต้นไม้ และพืชสมุนไพรในโครงการ
100 | 101
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
PROJECT DESIGN : Rim Ping Boutique Spa
02530026_นางสาวปัญจพร อัศวศิริโรจน์ แนวความคิด : สปาล้านนาสําหรับครอบครัวที่พาเด็กเล็ก มาด้วยทําให้ผู้ปกครองสามารถใช้บริการสปา ได้อย่างสะดวก ประกอบไปด้วย - โถงต้อนรับ และร้านอาหารสําหรับแขกที่ มาแวะทานอาหาร - ศาลานั่งเล่นของบ้านพักแต่ละหลังระหว่าง ส่วนอาบนํ้ากลางแจ้ง ทําให้เด็กสามารถเล่น อยู่ที่ศาลาหรือจะลงมาแช่นํ้ากับผู้ปกครองก็ได้ - สนามเด็กเล่นซึ่งล้อมรอบด้วยบ้านพักและ ร้านอาหารทําให้ผู้ใหญ่สามารถดูความเคลื่อนไหวของเด็กได้
การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 1
แนวความคิด : “ยี่เป็ง” ประเพณีสําคัญของภาคเหนือ ที่พื้นดินนํ้า และท้องฟ้าที่จะเชื่อมต่อกัน ด้วย “แสงไฟ” สปาที่เปรียบเสมือนโคมไฟในประเพณี ยี่เป็งที่ส่องแสงเชื่อมต่อไปยังท้องฟ้า โดยมีสระนํ้าที่เป็นศูนย์กลางและช่วย สะท้อนแสงไปทั่วบริเวณพื้นดิน จึงทําให้ สปาแห่งนี้ส่องแสงเชื่อมท้องฟ้า พื้นดิน และ นํ้าเข้าด้วยกัน เมื่อผู้ใช้บริการได้เข้า มาในสปาจะรับรู้ได้ถึงบรรยากาศประเพณี ยี่เป็งเหล่านั้นทั้งแสงไฟ และสระนํ้าที่ รายล้อมไปทั่วบริเวณห้องสปา
ARCHIGRAPHIC 2012
THAI ARCHITECTURAL DESIGN 1
สถาปัตยเรขา 2555
262 105
02530037_นางสาวภาวินี คงวัฒนเศรษฐ
102 | 103
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
PROJECT DESIGN : วัดเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จเจ้าฟ้ า กรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์
ในวาระครบรอบประสูติกาล ๑๕๐ ปี เป็นการจัด สร้างวัดขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนาเป็นที่รวบรวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนและ เป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ในฐานะที่ทรงมีคุณูปการด้านการ ออกแบบสถาปัตยกรรมไทย เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาคติ แนวความคิด และ การก่อสร้างของงานสถาปัตยกรรมไทยแบบประเพณี ที่เกี่ยวเนื่องกับทางศาสนา โดยเน้นไปถึงลักษณะ เฉพาะ รูปแบบ สัดส่วน โครงสร้าง วัสดุ ตลอดจน แนวทางการนําไปใช้ในการออกแบบด้วยการฝึก ปฏิบัติการออกแบบ เขียนแบบและศึกษานอกสถานที่
การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 2
02530056_นายกรวิชญ์ คุณากรบดินทร์
แนวความคิด : เข้าถึงโดย " โลกียวิมุตติ " หรือเข้าถึงโดย " โลกุตตรวิมุตติ " ก็มีจุดหมายปลายทางคือ " วิมุตติ " เช่นเดียวกัน ความหลุดพ้นไม่ได้เกิดจากสิ่งใด เกิดจากใจของเราเองทั้งสิ้น . . .
ARCHIGRAPHIC 2012
THAI ARCHITECTURAL DESIGN 2
สถาปัตยเรขา 2555
262 108
104 | 105
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
262 108
THAI ARCHITECTURAL DESIGN 2
การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 2
แนวความคิด : การเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยที่ส่งผล ในการออกแบบของสมเด็จครู ที่แบ่งออก เป็นสามยุคอย่างชัดเจนจึงได้ดึงเอกลักษณ์ จุดเด่นในการออกแบบของสมเด็จครูมาใช้ ในการออกแบบครั้งนี้ เช่น การใช้ซุ้มต่างๆ ผังแบบจัตุรมุก ชายคาปีกนก ยื่นคอสอง และการใช้มิติและระนาบในการรับรู้ ทั้งรูปทรงอาคารที่มีขนาดปานกลางไม่ ใหญ่จนเกินไป และตีความถึงการสร้างงาน ในยุคปัจจุบันของสมเด็จ น่าจะมีลักษณะ เรียบง่าย เน้นรูปทรง ประโยชน์ใช้สอย การออกแบบเพื่อแก้ปัญหา และตอบ สนองต่อความต้องการที่จะเปิดพื้นที่ต่อ สังคมเป็น Landmark ให้ผู้คนได้รู้จัก สมเด็จครู และ ให้ความเข้าใจ เข้าถึง พุทธศาสนาที่ปัจจุบันน้อยคนที่จะเข้าใจถึง แก่นของศาสนา ซึ่งก็คือ สติ จึงเป็นการ รับรู้โดยลําดับขึ้นการเข้าถึง เป็นเส้นตรง เพื่อเข้าใจ และ จากทางด้านข้างเพื่อเข้าถึง และจุดที่ว่างระหว่างอาคารที่เป็นสนาม หญ้าตรงกลางเพื่อ รับรู้
02530081_นายอรรถพร ปาละวัธนะกุล
แนวความคิด : สติปัฏฐาน ๔ : ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ ประกอบด้วย กายานุปัสสนา เวทนานุปัสสนา จิตตานุปัสสนา ธรรมมานุปัสสนา การทําจิตให้สงบด้วยอารมณ์แห่งธรรม เป็นการใช้สติเพื่อพิจารณา กาย เวทนา จิตตา ธรรมมา ให้เห็นตามธรรม(ธรรมชาติ) เพื่อให้เกิดปัญญา
02530059_นางสาวจินตพร แซ่ล้อ
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
PROJECT DESIGN : วัดเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จเจ้าฟ้ า กรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์
106 | 107
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
262 107
DRAWING OF THAI ORNAMENTATION
ลายไทยในงานสถาปัตยกรรม
02530078_นางสาวสิรินันท์ มีจั่น
องค์ประกอบในงานสถาปัตยกรรมไทย
02530079_นายอภิวัฒน์ ประทีบเรืองเดช
ARCHIGRAPHIC 2012
ORNAMENTS IN ARCHITECTURE
สถาปัตยเรขา 2555
262 115
108 | 109
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
02530048_นายสิรณัฐ พุทธิพิพัฒน์ขจร
การก่อสร้างอาคาร 4
ศึกษาวิธีการออกแบบ และก่อสร้างอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ ระบบโครงสร้าง และ อุปกรณ์อาคารที่เกี่ยวเนื่อง รวมไปถึงการเตรียม เอกสาร และรายละเอียดประกอบแบบต่างๆจากนั้น ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการเขียนแบบก่อสร้าง และ มีการศึกษางานก่อสร้างจริงนอกสถานที่
02530016_นายดิษย์ แสงทองสุข
ARCHIGRAPHIC 2012
CONSTRUCTION 4
สถาปัตยเรขา 2555
263 109
110 | 111
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
02530007_นางสาวชวิศา ฉายอินทร์ 02530016_นายดิษย์ แสงทองสุข 02530049_นายสุกฤษฎิ์ หาญพิชิตวิทยา 02530081_นายอรรถพร ปาละวัฒนกุล
263 207
COMPUTER AIDED ARCHITECTURAL DESIGN 2
คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 2
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
ศึกษาในเรื่องของวิธีการสร้างองค์ประกอบ 3 มิติ และการแสดงงานในลักษณะ 3 มิติ โดยเน้นในเรื่อง การนําคอมพิวเตอร์ไปช่วยในการศึกษารูปทรงและที่ว่าง ทางสถาปัตยกรรม พร้อมทั้งศึกษาการแสดงแบบด้วย วิธีทางคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างบรรยากาศ และการสื่อสาร ให้เสมือนบรรยากาศจริง
112 | 113
3
rd Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
264 101
SITE PLANNING
การวังผังที่ตั้งโครงการ
ศึกษาทฤษฎีของสิ่งแวดล้อม และธรรมชาติ การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ สิ่งที่สัมพันธ์กับผังที่ตั้ง ทรัพยากร สิ่งอุปโภค-บริโภค การเก็บบันทึกข้อมูล ที่ได้จากการสํารวจที่ตั้งโครงการ และการแสดงข้อมูล เชิง 2 มิติที่เกี่ยวข้องกับการวางผังที่ตั้ง จากนั้นให้ นักศึกษาทดลองปฏิบัติตามทฤษฎี เพื่อฝึกฝน และ ทบทวนความเข้าใจในเรื่องการวางผังที่ตั้งโครงการ
Site Plan
Site Analysis
House Type
Site Zoning
ARCHIGRAPHIC 2012
02530001_นายกรกฏ สิริโพธิคุณ 02530008_นายชัชชัย โชควนิช 02530017_นายธนธรณ์ ศิลปโสภณ
สถาปัตยเรขา 2555
แนวความคิด : รีสอร์ทสําหรับการปฏิบัติธรรม ผู้ใช้จะเกิดปฏิสัมพันธ์กัน โดยมีการจัดการเข้าถึงให้มีพื้นที่ส่วนกลางเป็นลําดับ โดยแจกจ่ายไปยังลานเล็กของแต่ละกลุ่มบ้าน มีการแบ่งลานสําหรับกิจกรรมที่แตกต่างกัน โดยแบ่งตามความเป็น Public และ Private คือ ลานพักผ่อน ลานส่วนกลาง ลานของกลุ่มบ้าน ลานเสวนาธรรมและลานนั่งสมาธิซึ่งมีความเป็นส่วนตัว มากที่สุด
ผลงานนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2555 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
4LINE th
FACULTY OF ARCHITECTURE SILPAKORN UNIVERSITY
“
โรงเรียนสถาปัตยกรรมโดยทั่วไปสอนให้นักศึกษาสถาปัตย์ฝึกคาดการณ์ล่วงหน้า
คิดถึงสิ่งที่อยู่ในอนาคต สอนให้ออกแบบศึกษาความเป็นไปได้ถงึ สิง่ ทีย่ งั ไม่ได้สร้าง ไม่เคยเกิดขึ้นจริง ถ้าเปรียบเทียบกับ Tense ภาษาอังกฤษก็อาจกล่าวได้ว่า โรงเรียน สถาปัตยกรรมโดยส่วนใหญ่สอนให้คุณเขียน Future Tense ในขณะที่การเรียนการสอน วิชาสถาปัตยกรรมไทย โดยเฉพาะที่คณะเรา มีทิศทางค่อนข้างจะแตกต่าง ในทัศนะผม ภาควิชาศิลปสถาปัตยกรรม สอนสิ่งที่เป็นพัฒนาการมาจากอดีต-อดีตที่เชื่อกันว่าเป็นราก เหง้าของเราเอง- อาจมีบางคนบอกว่าการเรียนการสอนสถาปัตยกรรมไทยก็เป็นการทํา โปรเจคถือเป็น “อนาคต” ที่ยังไม่เกิดขึ้นเช่นกันก็ตาม แต่อนาคตนั้นก็เป็นอนาคตที่ พัฒนาขึ้นมาจากอดีต เป็น Present Perfectense ที่มีที่มาที่ไปจากสิ่งที่เป็น รากฐานของเราเอง
“
”
Outline
ไม่แน่ใจว่าสิ่งที่จะพูดต่อไปนี้เกี่ยวกับ หรือเปล่า คืออย่างนีน้ ะ ผมรู้สึกว่า เวลาอาจารย์ / นักศึกษาสถาปัตย์ หรือสถาปนิกอ้างว่ากําลังทดลองทําสิ่งใหม่ สิ่งที่ยัง ไม่เคยมีใครทํา มาก่อน เป็น New Architecture อะไรทํานองนี้เป็นวาทกรรม ที่สร้างขึ้นมาทั้งนั้น วาทกรรมเหล่านี้เป็นมรดกที่เรารับมาจากสถาปนิก Modernist ซึ่งแรงบันดาลใจสําคัญต่อการสร้างสรรค์งาน Modernist Architecture ของพวกเขา คือการพิจารณาสถาปัตยกรรมแบบ Progessive Development พูดสั้นๆคือ การพยายามตัดสิ่ง ที่ทําขึ้นในปัจจุบันออกจากอดีต แต่ในที่สุดเราก็พบว่าวาทกรรมเช่นนี้ มีความจริงอยู่น้อยมาก สิ่งที่ถือว่าใหม่ในยุคนั้นคือการพัฒนาการมาจากสิ่งที่เคยเกิดขึ้น มาก่อนแล้วทั้งนั้น ไม่มีใครเกิดขึ้นมาด้วยข้อมูลเท่ากับศูนย์ การใช้ชีวิตของผู้คนใน ทุกวันนี้ก็ใช้ข้อมูลที่พัฒนาขึ้นมาจากสิ่งที่คนในอดีตทําไว้โดยรู้ตัวบ้างไม่รู้ตัวบ้าง อดีตจึง อยู่กับเราและ มาหาเราเสมอ ทีนี้กลับมาที่หัวข้อ Outline
”
“
ถ้า Outline ในทีน่ ี้ ต้องการจะสื่อถึงการคิดนอกกรอบ นอกเส้นทางที่มีคนเคย ตีกรอบไว้ Outline นั้นก็คงเป็น กรอบที่มีคนเคยแหกออกไป มากบ้างน้อยบ้างแล้วทั้งนั้น
ÍอÒา¨จÒาÃรÂย ´ดÃร.¾พÔิ¹นÑัÂย ÊสÔิÃรÔิàเ¡กÕีÂยÃรµตÔิ¡กØุÅล ÀภÒา¤คÇวÔิªชÒาÈศÔิÅล»ปÊส¶ถÒา»ป ˜µตÂย¡กÃรÃรÁม
118 | 119
4
th Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 201
ARCHITECTURAL DESIGN 6
การออกแบบสถาปัตยกรรม 6
แนวความคิด : การแทรกตัวของเส้นสายธรรมชาติและของอาคาร สื่อความหมายโดยตรงถึงการอยู่ร่วมกันของ ธรรมชาติและคน ที่มีผลให้วิถีชีวิตของแต่ละชาติแตกต่างกันออกไป
02520046_นายมณฑล เกษมกรกิจ
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 PROJECT DESIGN : ASEAN Museum&Information Center
แนวความคิด : “The Great Assembling” - Circulation heading to the center - Dashed up form joins together & pathway sloping down to the center - Crossed rising rooftops makes the grand space at the center
02520050_นางสาวรินทราย เลี้ยงฤทัย
120 | 121
4
th Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 201
ARCHITECTURAL DESIGN 6
การออกแบบสถาปัตยกรรม 6
02520050_นางสาวรินทราย เลี้ยงฤทัย แนวความคิด : “Linkage” Green Space Links - Concentrating on the grandeur of the grand hall dash up building’s form - Inform magnification exposing garden layout
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 PROJECT DESIGN : ASEAN Convention Center
แนวความคิด : มีแนวความคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของคนกับ พื้นดินโดยการทําให้คนเดินผ่านประสบการณ์จากระดับ ต่างๆของพื้นดิน ทั้งภายใน และภายนอกอาคาร
02520020_นางสาวธนภัทร ตันติ์จธัม
122 | 123
4
th Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
PROJECT DESIGN : Condominium แนวความคิด : เริ่มกระบวนการออกแบบโดยคํานึงถึงปัญหาของการอยู่รวมกันในทางตั้งของคนเมือง ที่เกิดสภาพความสัมพันธ์แตกสลาย ผู้คนไม่รู้จักกัน จึงออกแบบ ที่ว่าง ที่เหมาะสมและกระตุ้นให้ผู้คนใช้ชีวิตให้ช้าลงและมาทําความรู้จักกัน โดยพื้นที่ภายในได้เปิดให้ แสงธรรมชาติได้เข้ามาอย่างเต็มที่ทําให้พื้นที่ในอาคาร แลดูมีชีวิตมากยิ่งขึ้น
02520046_นายมณฑล เกษมกรกิจ
การออกแบบสถาปัตยกรรม 7
แนวความคิด : มีการคว้าน mass อาคารเพื่อให้เกิดพื้นที่ ส่วนกลาง ที่สามารถใช้ได้ร่วมกัน โดยแต่ละชั้น จะมีการเว้าที่ลดหลั่นกันไป ก่อให้เกิดการ interact กันในแต่ละชั้น และยังไม่บังมุมมองต่อกันอีกด้วย
02520050_นางสาวรินทราย เลี้ยงฤทัย
ARCHIGRAPHIC 2012
ARCHITECTURAL DESIGN 7
สถาปัตยเรขา 2555
261 202
124 | 125
4
th Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
THAI ARCHITECTURAL DESIGN 3
262 201 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 3
แนวความคิด : “ พญานาค “ สัตว์ในตํานานของไทยที่มีลักษณะ คล้ายงูขนาดใหญ่ จึงศึกษาการเลื้อยของงูเพื่อนํามา เป็นเครื่องมือในการสร้างรูปทรงของอาคาร ที่เลื้อย ผ่านต้นไม้เดิมในพื้นที่โครงการโดยไม่ตัดทิ้ง
02520068_นางสาวกมลทิพย์ จันทร์สว่าง
ARCHIGRAPHIC 2012
แนวความคิด : ยุทธะทั้งสามอย่าง คือยุทธศาสน์ ยุทธเศรษฐ ยุทธศึก (ศาสนา การค้า การรบ) สามอย่างที่ ประกอบเข้าด้วยกัน ทําให้ลุ่มแม่นํ้าเจ้าพระยา แห่งนี้มีศาสนาที่เปี่ยมไปด้วยแรงศรัทธาเป็นจุดศูนย์ รวมการเมืองที่แข็งแรง การค้าที่มั่นคงรุ่งเรือง
สถาปัตยเรขา 2555
PROJECT DESIGN : Chaophraya Museum
02520078_นางสาวภรณ์วรัตน์ หวังร่วมมิตร
ผลงานนักศึกษาชั้นปีที่ 5 ปีการศึกษา 2555 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
5LINE th
FACULTY OF ARCHITECTURE SILPAKORN UNIVERSITY
“
การเรียนในระดับมหาวิทยาลัยไม่ใช่เพื่อการมาเอาคําตอบ ตรงกันข้าม
มาเพื่อฝึกฝนวิธีคิดเพื่อนําไปสู่วิธีการหาคําตอบ ในเมือ่ จะต้องการวิธหี าคําตอบ ก่อนอืน่ ก็ต้องรู้จักถามคําถามที่เข้าท่า แล้วคําถามอะไรที่เข้าท่า? นี่็เป็นคําถามที่สําคัญในตัวมันเอง ไม่ใช่คําถามเพื่อแสดงออกว่าเรารู้คําตอบอยู่แล้ว ไม่ใช่คําถามที่ทําให้คนถามดูฉลาด แต่เป็นคําถามที่เราคิดแล้วเกิดความสงสัยว่าทําไมมันเกิดอย่างนั้นอย่างนี้ ไม่ต้องเป็นคําถาม สลับซับซ้อนวุ่นวายลึกซึ้ง หัดถามคําถามเสียก่อน ซึ่งต้องใช้ทั้งความกล้าหาญและ ความรู้พื้นฐานสิ่งที่มหาวิทยาลัยสอนได้คือความรู้พื้นฐานและครูอาจารย์มาช่วยแนะนํา วิธีคิด จัดการกับความรู้ที่มีอยู่ ย่อยความรู้ ถ่ายทอดความรู้ของคนอื่นมาเป็นของเรา เชื่อมโยงความรู้เข้าด้วยกันเพื่อสะสมขุมพลังความรู้ของเราเองเฉพาะตัวไม่เหมือนของใครอื่น ส่วนความกล้าที่จะถามนั้นเป็นคุณสมบัติเฉพาะตัวที่ต้องฝึกฝนเอาเองเพราะบรรยากาศ การเรียนการสอนนั้นไม่เอื้อมาแต่ไหนแต่ไร เนื่องด้วยวัฒนธรรมที่ไม่ชอบการท้าทาย อํานาจเบื้องสูงก็คือครูอาจารย์ ก็น่าเห็นใจนักเรียน สงสัยอยากถามก็ไม่ค่อยถาม เกรงว่า เพื่อนนักเรียนจะหมั่นไส้เพราะคนอื่นเขาไม่ถามกัน ร้ายกว่าคือเกรงอาจารย์จะว่าสู่รู้ท้าทาย นี่ก็เป็นคําถามหนึ่งที่ค้างใจมาตลอดหลายสิบปีของการสอน คือจะทําอย่างไรให้คนเรียน กล้าถาม ทดลองมาแล้วหลายวิธีมากก็ยังไม่ได้คําตอบที่น่าพอใจ เวลามีใครถามคําถาม ในห้องทีก็จะดีใจเพราะแสดงว่าฟังแล้วคิดตามเกิดความสงสัย ส่วนเรื่องความรู้พื้นฐานนั้น ไม่ค่อยห่วงเพราะนักเรียนเรามีความรู้ความสามารถสูง ในเรื่องที่ตัวเองสนใจก็จะหาความรู้ ได้ง่ายและเร็วมากจากความรู้ที่แพร่หลายทั้งที่เป็นโครงข่าย และกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป เพียงรู้จักหา รู้จักเลือก และนํามาย่อยสังเคราะห์ให้ใช้ได้ แต่ไม่ใช่คว้าสิ่งแรกที่เห็นเท่านั้น เมื่อถามเป็นแล้วก็ฝึกหัดวิธีหาคําตอบ ก็คือวิธีหาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ จะได้รู้ว่าจะเข้าสู่ปัญหา เรียนรู้วิธีคิด สร้างมุมมองเกี่ยวกับปัญหานั้น การฝึกหัดความ สร้างสรรค์เกิดตั้งแต่ตอนนี้ ไม่ใช่เฉพาะแต่ตอนสร้างคําตอบ (หรือการออกแบบ) เท่านั้น วิธีและกระบวนการแก้ปัญหานั้นโรงเรียนก็สอนก็บอกให้ เป็นวิธีการเดิมๆที่ใช้ได้ผลกันมา แต่ปัญหาที่เรากําลังพยายามตอบนั้นมีความเฉพาะตัวไม่เคยเหมือนกัน ดังนั้นวิธีหาคําตอบ ที่เรียนในโรงเรียนก็เป็นแค่การฝึกหัด ไม่มีถูกมีผิด คนสอนอยากให้นักเรียนแต่ละคนมีวิธีคิด วิธีการเป็นเฉพาะตัว มีความสร้างสรรค์ส่วนตัว คําตอบที่ได้มีความสําคัญน้อยกว่าที่เราให้ ความสําคัญกันมาก เราให้ค่ากับคําตอบกันมากเหลือเกิน จนทําให้ตกหลุมพรางกันไป คนตอบส่วนหนึ่งพยายามตอบอยู่ในกรอบที่คิดเอาเองว่าคนส่วนใหญ่นึกว่าต้องเป็นอย่างนั้น (Stereotype) อีกส่วนหนึ่งพยายามดัดแปลงคําตอบให้หนีออกจากกรอบเดิมๆนั้น ด้วยคิดว่าความแปลกของคําตอบที่ไม่เหมือนใครจะช่วยให้หลุดจากกรอบที่จําเจได้
เช่นการใช้รูปทรงแปลกๆแหวกแนวทั้งหลาย สรุปก็คือตกหลุมไปอยู่อีกกล่องหนึ่งอยู่ดี อันนี้อาจเรียกว่าหลุมพรางการออกแบบ (Design Fallacy) แบบหนึ่งที่จุดหมายสุดท้าย คือ พยายามออกแบบสิ่งที่ไม่เหมือนใครเพียงเพื่อความแตกต่าง ( for the sake of being difference) เท่านั้น ที่พูดมาทั้งหมดนี้กําลังจะบอกว่า ความสร้างสรรค์เกิดตั้งแต่เมื่อเรามอง ปัญหาจากแง่มุมที่สร้างสรรค์ เข้าสู่ปัญหาและสร้างกระบวนการหาคําตอบ อย่างสร้างสรรค์ บนฐานของข้อมูล สาระที่มั่นคงและครอบคลุม จากจุดเริ่มต้น ทิศทางที่เราเลือกเดินไป และสิ่งที่เลือกเก็บมาใช้และที่โยนทิ้งไประหว่างทางนั้นเป็นความสร้างสรรค์ จะนําไปสู่ ปลายทางที่มีความหมายและเป็นพิเศษ ไม่ใช่ออกจากจุดเริ่ม เดินไปในทิศทางเดิมๆ หลับตาเดินไปจนถึงปลายทางแล้วค่อยมาดิ้นรนวาดลวดลายเอาตรงปลายทางให้มันแปลก ให้ได้ แปลกอย่างไรมันก็เป็นที่เดิมๆนั่นแหละ การเรียนการสอนสถาปัตยกรรมในประเทศไทยมีมานานหลายสิบปีแล้ว มีสถาปนิก ภูมิสถาปนิก นักออกแบบชุมชนเมือง นักผังเมือง รวมๆเรียกว่านักออกแบบสภาพแวดล้อม รวมๆกันก็หลายพันหรือเป็นหมื่นคน คําถามที่อยู่ในใจหลายคนคือทําไมบ้านเมือง สภาพแวดล้อมของเรามันช่างไม่สวย ไม่ดีงามน่าอยู่เอาเสียเลย และพวกเรานักสร้างสรรค์ ทั้งหลายพันคนทําไมไม่ช่วยให้มันดีขึ้นได้ ส่วนที่ดีสวยงามที่สุดของเมืองก็คือส่วนที่สร้างมา เมื่อนานมาแล้วตั้งแต่ยังไม่มีโรงเรียนสอนออกแบบสิ่งแวดล้อม เราต้องทนอยู่ในสภาพ แวดล้อมที่ไม่เหมาะกับชีวิตคนและชีวิตสรรพสิ่งบนโลกแบบนี้ไปอีกนานเท่าไร หรือเราต้อง รอคอยให้สิ่งที่เราออกแบบ สร้าง ทํา ในวันนี้มันเก่าแก่เสียก่อนมันถึงจะดีได้ ที่สําคัญที่สุด เราเชื่อด้วยความจริงใจว่าแต่ละสิ่งที่เราสร้างสรรค์ให้ดีที่สุดแล้วจะทําให้ชีวิตดีขึ้น เรากําลังพา กันมุ่งหน้าไปทางไหน?
¼ผÈศ.´ดÃร.ÃรØุ¨จÔิâโÃร¨จ¹น Íอ¹นÒาÁมºบØุµตÃร ÀภÒา¤คÇวÔิªชÒา¡กÒาÃรÍอÍอ¡กáแºบºบáแÅลÐะÇวÒา§ง¼ผÑั§งªชØุÁมªช¹นàเÁม×ืÍอ§ง
130 | 131
5
th Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 204
ARCHITECTURAL DESIGN 8
การออกแบบสถาปัตยกรรม 8
02510048_นางสาวศรีภัทรา 02510036_นายภูวน 02510018_นางสาวนันทพร 02510058_นางสาวอรุณโรจน์ 02510041_นายวรวิทย์ 02510043_นางสาววัชราภรณ์ 02510038_นางสาวรัตนา 02510003_นายเกริกไกร 02510004_นายเกียรติศักดิ์ 02510013_นางสาวธนทรัพย์
วันเดีย คิดถูก สิโยพุทธวงศ์ สุปรียาพร เลียงวีระเดช เอียบสกุล รุ่งสิริวิทูร ตั้งโคมแสงทอง สุดเสือ อภิวรรณรัตน์
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 PROJECT DESIGN : On / Above Ground
ศึกษา และทําการสํารวจข้อมูลของชุมชนต่างๆย่านชุมชนเมืองเขตบางกอกน้อย ฝั่งธนบุรี จังหวัดกรุงเทพมหานครตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากนั้นนํามาวิเคราะห์ประเด็นที่น่าสนใจของพื้นที่นั้นๆ และสังเคราะห์ออกมาในการออกแบบจนเกิดเป็นรูปแบบในการ ออกแบบพื้นที่ และงานสถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของแต่ละกลุ่มนักศึกษา โดยยังคํานึงถึงความสอดคล้องกับกลุ่มอื่นๆ
132 | 133
5
th Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 207
THESIS
วิทยานิพนธ์
่ ด ิ ทีค Space Without Definition “ที่คิด” space without definition เป็นวิทยานิพนธ์ทศี่ กึ ษารูปแบบสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อการ รับรู้ ตระหนัก เพื่อให้เกิด การตั้งคําถามและเห็นทางเลือกอื่นๆของคําตอบในสิ่งต่างๆ โดยมี Library , Art gallery และ Retail เป็นเครื่องมือในการสร้าง การซ้อนทับ การบิดเบือน การอยู่ผิดที่ผิดทางกันของพื้นที่ และกิจกรรม เพื่อทําให้เกิดความไม่ชัดเจน และสร้างความรู้สึกไม่คุ้นชิน และเชื้อเชิญให้ผู้ใช้งานเกิดการตั้งคําถาม การคิดต่อยอดจากโปรแกรมตัวงานที่ไม่ได้สร้างบทสรุป หรือคําตอบสุดท้ายไว้ตายตัว แต่โยกย้ายหน้าที่นั้นไปสู่ผู้ใช้ภายในพื้นที่แทน
02510028_นางสาวพิมพ์ชนก วิศิษฐชัญชาญ
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
134 | 135
5
th Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
วิทยานิพนธ์เรื่อง “รอยต่อ l พืน้ ทีแ่ ห่งการ เปลี่ยนผ่าน” (Threshold space) มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขอบเขตของ พื้นที่สองพื้นที่ ด้วยการมองกิจกรรมเป็นจุด เปลี่ยนผ่าน ซึ่งมุ่งหวังให้เกิดกระบวนการก่อรูป สถาปัตยกรรมแบบใหม่ แทนวิธีการแบ่ง แยก กั้น หรือสร้างความแตกต่างระหว่างพื้นที่ โดยออกแบบโปรแกรมสองขั้วคือ โปรแกรมที่จุดเปลี่ยนผ่านเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกับหน่วยพื้นที่ (Merge System) : Airport Terminal ศึกษาลําดับการเข้าถึง (sequence) ของการ เดินทางขาเข้า-ขาออกภายในอาคารผู้โดยสาร สนามบิน เพื่อหาวิธีการสร้างปฏิสัมพันธ์ของ กิจกรรมระหว่างทาง ่ ห่งการเปลีย่ นผ่าน : รอยต่อ_พื้นทีแ Threshold space
02510041_นายวรวิทย์ เลียงวีระเดช
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
261 207
THESIS
วิทยานิพนธ์ โปรแกรมที่จุดเปลี่ยนผ่านแยกตัว ออกมาจากหน่วยพืน้ ที่ (SeperatSystem) Co-housing ศึกษาการนําพื้นที่กิจกรรม ส่วนกลางมาเชื่อมต่อหน่วยของการ อยู่อาศัย(living unit) แทนการใช้ระบบ circulation แบบเดิม
136 | 137
5
th Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
261 207
THESIS
วิทยานิพนธ์
แบบสถาปัตยกรรมจําลอง 1:1 มองว่างานสถาปัตยกรรมจริงเป็นหุ่นจําลอง ขนาด 1 : 1 เป็นไปได้หรือไม่ที่งานสถาปัตยกรรม จริงที่มีระบบความซับซ้อนอยู่ภายใน จะสามารถ สื่อสารมิติและภาพรวม ได้เหมือนกับหุ่นจําลอง ซึ่งอาจทําให้เกิดความเข้าใจในภาพรวม ที่นําไป สู่ความเป็นไปได้ของการใช้ การอยู่ การรับรู้ สถาปัตยกรรมจริง ที่สมบูรณ์คล้ายกับการรับรู้ สถาปัตยกรรมจําลอง โดยทดลองกับ 3 โปรแกรม ที่มีระดับความซับซ้อนแตกต่างกัน คือ หอศิลป์กรุงเทพ สร้างระบบพื้นที่ ขนาด ลําดับการเข้าถึง ทิศทางการเดินในการจัดนิทรรศการได้อย่าง หลากหลายตามความต้องการของผู้จัด นิทรรศการ
02510037_นายยศเรศ บัญชากร
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555 ตึกคณะสถาปัตย์ฯ ศิลปากร สร้างระบบความสัมพันธ์ภายในใหม่ เพื่อเอื้อ ให้เกิดการพบปะกันของแต่ละชั้นปี และการใช้งานที่หลากหลายและสะดวก มากยิ่งขึ้น
ลา วิลล่า อารีย์ สร้างระบบทางสัญจรเพื่อให้เกิดการ มองเห็นและความต่อเนื่องกันของพื้นที่ ภายใน
138 | 139
5
th Line
FACULTY OF ARCHITECTURE | SILPAKORN UNIVERSITY
วัดนริศ | Watnarit
3 2
ปัญญา (สมอง)
1
สมาธิ (จิต)
ศีล (กาย)
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
262 209
THAI ARCHITECTURAL THESIS
วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมไทย
02510076_นายมธุตฤณ แพทย์ชีพ
ภาคผนวก กิจกรรมนักศึกษาในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รายละเอียดหลักสูตรและวิชา
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
INDEX ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
Y OUNG ARCHITECT SU ยุวสถาปนิกอาสา พัฒนาชนบท
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
ชื่อโครงการ โครงการยุวสถาปนิกอาสาพัฒนาชนบท อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์ปองพล ยาศรี ผู้รับผิดชอบ นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ชั้นปีที่ 3 สถานที่ดําเนินงาน โรงเรียนบ้านสามหลัง อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ช่วงเวลาที่ดําเนินการ พฤศจิกายน พ.ศ.2555 ถึง พฤษภาคม พ.ศ.2556
144 | 145
Y OUNG ARCHITECT SU ยุวสถาปนิกอาสา พัฒนาชนบท หลักการและเหตุผล ั ฑิตมี จากประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย ซึง่ กําหนดเป้าประสงค์ให้บณ คุณลักษณะ เฉพาะโดดเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร และตอบสนองความต้องการของสังคม และตามยุทธศาสตร์ที่ 2 การปรับปรุงและพัฒนาด้านกิจการนักศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ระบบคุณค่าและมีความ รับผิดชอบต่อสังคมนั้น กิจกรรมการออกค่ายอาสาเพื่อพัฒนาชนบทของนักศึกษาของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เป็นกิจกรรมหนึ่งซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาด้านสถาปัตยกรรมของคณะฯ ซึ่งนอกจากนักศึกษาจะได้ฝึก ประสบการณ์วิชาชีพจากการนําความรู้ในชั้นเรียนไปใช้ในการออกแบบและก่อสร้างอาคารในสถานที่จริงอันเป็น การส่งเสริมพัฒนาทางวิชาการแล้ว นักศึกษายังได้พัฒนาทักษะจากการปฏิบัติงานในสถานที่ก่อนสร้างร่วมกับ อาจารย์ผู้สอน ช่างในชุมชน และบุคลากรจากหน่วยงานส่วนท้องถิ่นอีกด้วย ทั้งนี้กิจกรรมการออกค่ายอาสาเป็นการ ส่งเสริมให้นักศึกษามีบทบาทในการให้บริการทางวิชาการแก่สังคมชุมชนร่วมกับคณะฯ และยังเป็นจุดเริ่มต้นที่สถาน ศึกษาสามารถส่งเสริมการพัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบต่อสังคมได้เป็นอย่างดี ด้วยเห็นถึงประโยชน์ทั้งด้านการจัดการศึกษา ด้านการพัฒนากิจการนักศึกษาให้บัณฑิตของคณะฯมีคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ และเรียนรู้ถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ดังกล่าวข้างต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์จึงได้จัดทําโครงการ “ยุวสถาปนิกอาสาเพื่อพัฒนาชนบท” ขึ้น เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสเดินทางไปยังชนบทที่ห่างไกลและใช้ความรู้ ความสามารถไปก่อสร้างอาคารขนาดเล็กตามที่ชุมชนต้องการ ภายใต้คําแนะนําของอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อให้ชุมชน ได้ใช้ประโยชน์ในการทํากิจกรรมต่างๆ
1. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ใช้ความรู้ความสามารถจากการเรียนสาขาวิชาสถาปัตยกรรมมาใช้ในการ ออกแบบก่อสร้างจริง อันเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาได้รับการพัฒนาทางวิชาการและ ทักษะในการปฏิบัติวิชาชีพในภายหน้า ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่อสังคม 2. เพื่อสร้างอาคารขนาดเล็กให้ชุมชนที่ห่างไกลได้ใช้ประโยชน์อันเป็นการนําความรู้ในชั้นเรียนตอบสนอง ความต้องการของท้องถิ่น
เป้าหมายตามตัวชี้วัด 1. เชิงปริมาณ - นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จํานวน 50 คน - อาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จํานวน 20 คน - ชาวบ้านในชุมชน และบุคลากรจากหน่วยงานส่วนท้องถิ่น จํานวน 30 คน 2. เชิงคุณภาพ ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการจากแบบประเมินโครงการไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 70
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
วัตถุประสงค์ของโครงการ
146 | 147
Y OUNG ARCHITECT SU ยุวสถาปนิกอาสา พัฒนาชนบท อาคารใจดี ศรีศิลปากร เนื่องด้วยผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านสามหลัง อ.หนองปรือ จ.กาญจนบุรี ได้ส่งหนังสือมาถึง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อขอความช่วยเหลือในการก่อสร้างห้อง พยาบาลแห่งใหม่ เนื่องจากห้องพยาบาลเดิมนั้นใช้ร่วมกับห้องสมุดซึ่งไม่สะดวกในการใช้งาน ทางคณะกรรมการนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงได้จัดโครงการ ยุวสถาปนิกอาสาพัฒนาชนบท ปีพ.ศ. 2556 ขึ้นที่โรงเรียนบ้านสามหลัง อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ซึ่งมีการดําเนินการการออกแบบตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 และมีการร่วมกันก่อสร้าง ห้องพยาบาลในวันที่ 1-20 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
ขั้นแรกกลุ่มนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรส่วนหนึ่ง ได้เดินทางไป ร.ร. บ้านสามหลัง กับอาจารย์ปองพล และพี่ๆฝ่ายธุรการคณะฯ ที่สนใจเข้าร่วม กิจกรรม เพื่อไปสํารวจพื้นที่โครงการที่จะออกแบบ และพูดคุย สอบถามความต้องการด้านการใช้สอยในอาคารพยาบาลจาก ผู้อํานวยการโรงเรียน และทําความรู้จักกับชาวบ้านในระแวกนั้น
เมื่อรวบรวมข้อมูลแล้วจึงได้ ทําการออกแบบอาคารพยาบาล ซึ่งคณะนักศึกษา ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมได้ทําการประชุมกันเพื่อระดมแนวความคิด และทําการตัดหุ่น จําลองศึกษาพื้นที่, เขียนแบบเบื้องต้น
พื้นที่รองรับผู้ป่วย และปฐมพยาบาล
ARCHIGRAPHIC 2012
พื้นที่พักฟื้นไข้ สําหรับนักเรียน 4 เตียง
สถาปัตยเรขา 2555
แนวความคิดเบื้องต้นในการออกแบบพื้นที่ใช้สอยของอาคารพยาบาล
ทางเข้าจากถนน ที่เชื่อมจากทาง เข้าร.ร. สําหรับ เกิดเหตุฉุกเฉินที่ ต้องใช้รถขนส่ง นักเรียนไปโรง พยาบาล พื้นที่พักผ่อน สําหรับนักเรียนแล ะ คุณครู และเป็น พื้นที่ให้ติดประกาศ
ทางเข้าหลักของนักเรียน จากอาคารเรียน
หลังจากเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม เบื้องต้นเสร็จสิ้นจึงนําแบบอาคารพยาบาลไปให้ พี่เป็ดวิศวกรจากบริษัท G4 Architect ตรวจสอบ และคํานวณโครงสร้างเพิ่มเติม
จากนั้นจึงทําการตัดหุ่นจําลองขนาด 1:25 เพื่อนําไปําเสนอให้กับผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านสามหลังได้แสดงความคิดเห็น เพิ่มเติม หรือปรับเปลี่ยนส่วนที่ต้องการปรับแก้ไข
148 | 149
Y OUNG ARCHITECT SU ยุวสถาปนิกอาสา พัฒนาชนบท
หลังจากที่วิศวกรได้คํานวณโครงสร้าง และออกแบบฐานราก, โครงสร้างบันได, การวางแผ่นพื้นคอนกรีตสําเร็จ แล้วจึง เป็นส่วนของการเขียนและปรับแก้แบบ ก่อสร้างให้สามารถนําไป ประมาณราคา และก่อสร้างได้จริง
จัดทําโปสเตอร์ขอเงินสนับสนุนโครงการ และคิดชือ่ เล่นของโครงการ พร้อมทัง้ ทําโปสเตอร์และ คลิปวิดโี อ สําหรับเชิญชวน เพื่อน รุ่นพี่ รุ่นน้อง และผู้สนใจเข้าร่วม พร้อมทั้งออกแบบเสื้อยืดโครงการยุวสถาปนิกอาสาพัฒนาชนบท ประจําปี 2556 ไว้แจกให้ กับผู้ที่เข้าร่วมค่ายอาสา
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
วางแผนการก่อสร้างและคํานวณค่าใช้จ่าย ในการรับประทานอาหาร ค่าเครื่องดื่ม สิ่งอุปโภค ต่างๆ และคิดกิจกรรมเพิ่มเติมให้กับนักเรียน เพื่อการมีส่วนร่วมกับนักศึกษา และสร้างสัมพันธไมตรีแก่ชุมชน
การดําเนินงานส่วนก่อสร้าง
ช่วงแรกช่างท้องถิ่นได้ทําการวางฐานรากให้ก่อนเดินทางมาถึง เมื่อนักศึกษามาถึงจึงทําการกลบดินถมหลุมฐานราก
ผูกเหล็กเสริมในคานรอการตีแบบหล่อคอนกรีต
150 | 151
Y OUNG ARCHITECT SU ยุวสถาปนิกอาสา พัฒนาชนบท
ตีแบบไม้เพื่อใช้ในการหล่อคอนกรีตทําคาน
ทีมงานตีแบบไม้หล่อคอนกรีต เมื่อตีแบบเสร็จแล้วจึงทําการเทคอนกรีตลงในแบบ และรอ ถอดแบบ
ทําการพ่นสีกันสนิมเหล็กรอคอนกรีต แข็งตัว
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
คานคอนกรีตที่หล่อหลังการถอดแบบ
วัดและตัดเหล็กเตรียมไว้สําหรับตั้งเสา อะเส จันทัน และแป
กิจกรรมคู่ขนาน จัดเพื่อสันทนาการและ เป็นกิจกรรมสร้างสัมพันธ์คือ คุณครูอาสา การทําแผนผังโรงเรียนใหม่ และ Paint wall for Child ซึ่งเป็นกิจจกรรมที่ให้น้องๆ ปี 2-3 รวมถึงรุ่นพี่ปี 4 ได้ร่วมกันทําเพื่อสร้างความ คุ้นเคยกัน
152 | 153
Y OUNG ARCHITECT SU ยุวสถาปนิกอาสา พัฒนาชนบท วางพื้นคอนกรีตสําเร็จรูปบนคานที่หล่อไว้แล้ว รวมทั้งตัดแต่งแผ่นพื้นให้วางได้มั่นคงและลงตัว
หลังจากวางแผ่นพื้นแล้วจึง ตีแบบแล้วเทคอนกรีต บนแผ่นพื้น เพื่อทําTopping
ช่างและกลุ่มนักศึกษาช่วยกันตั้งเสาเหล็กและอะเสเหล็กด้วยการ คํ้าด้วยท่อนเหล็กเพื่อช่วยยึดเสาไม่ให้เอน
ช่างทําการติดตั้งแปเหล็ก โดยมีนักศึกษาคอยช่วยเหลือและ เชื่อมแปให้ก่อนยกขึ้นบนหลังคา
นักศึกษาอีกกลุ่มทําการก่อผนังด้วยคอนกรีตบล็อก
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
เมื่อโครงสร้างสร้างหลังคาเสร็จสิ้น แล้วจึงทําการวางกระเบื้องหลังคา พร้อมติดเชิงชายไม้เทียม
ตั้งแบบและหล่อคอนกรีตเพื่อทําบันได
ก่อผนังเสร็จแล้วจึงทําการฉาบเพื่อความสวยงาม
ตั้งเคร่าผนังเหล็กหลังจากทําผนังก่อเสร็จเรียบร้อย
154 | 155
Y OUNG ARCHITECT SU ยุวสถาปนิกอาสา พัฒนาชนบท ปิดยึดผนังไม้ conwood กับโครงเคร่าเหล็กที่เชื่อมไว้
ติดตั้งวงกบประตูและหน้าต่างไปพร้อมกับการติดตั้ง ผนัง
ภาพอาคารพยาบาลที่เสร็จสมบูรณ์
ยุ ว ส ถ า ป นิ ก อ า ส า พั ฒ น า ช น บ ท 2 5 5 6
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
156 | 157
รายละเอียดของหลักสูตร
ชาสถาปัตยกรรม หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (5 ปี) สาขาวิ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ 2. ชื่อปริญญา ชื่อเต็มภาษาไทย ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ ชื่อย่อภาษาไทย ชื่อย่อภาษาอังกฤษ
หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต Bachelor of Architecture Program in Architecture สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต Bachelor of Architecture สถ.บ. B. Arch.
3. จํานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 172 หน่วยกิต 4. รูปแบบของหลักสูตร 4.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี 4.2 ภาษาที่ใช้ การจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยโดยส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนเป็น ภาษาอังกฤษในบางรายวิชา 4.3 การรับเข้าศึกษา รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ 4.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ที่จัดการเรียนการสอน โดยตรง 4.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สําเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาเดียว 5. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสําเร็จการศึกษา 1. สถาปนิกในสํานักงานสถาปนิก 2. สถาปนิกในหน่วยงานของรัฐ 3. อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา 4. อาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น ผู้รับเหมาก่อสร้าง ที่ปรึกษาโครงการก่อสร้าง ที่ปรึกษาควบคุมการก่อสร้าง ที่ปรึกษาการบริหารโครงการ นักออกแบบวางผังนักวางแผนภาค และผังเมือง นักผลิตสื่อที่เกี่ยวเนื่องกับสถาปัตยกรรม นักอนุรักษ์สถาปัตยกรรม เป็นต้น 6. สถานที่จัดการเรียนการสอน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ที่อยู่ 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 และ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ ที่อยู่ 6 หมู่ที่ 1 ถ.ราชมรรคาใน ต.พระปฐมเจดีย์ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000
1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบการศึกษา ข้อกําหนดต่างๆให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยการศึกษาระดับ ปริญญาบัณฑิต พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก ก) ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ คือ ภาคการศึกษาต้นและภาคการศึกษาปลายโดยแต่ละ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์การจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน กําหนดให้มีระยะเวลาศึกษาประมาณ 8 สัปดาห์ 2. การดําเนินการหลักสูตร 2.1 วัน – เวลา ในการจัดการเรียนการสอน ภาคการศึกษาต้น เดือนมิถุนายน – กันยายน ภาคการศึกษาปลาย เดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ ภาคการศึกษาพิเศษฤดูร้อน เดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้สําเร็จการศึกษาขั้นเตรียมอุดมศึกษาหรือประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายของ กระทรวงศึกษาธิการ หรือผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตรอื่นที่มหาวิทยาลัยยอมรับว่าเทียบเท่า และได้รับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามระเบียบว่าด้วยการศึกษาในมหาวิทยาลัยศิลปากร 3. หลักสูตร 3.1 จํานวนหน่วยกิต หลักสูตรปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรรมเป็นแบบศึกษาเต็มเวลา ให้ศึกษาได้ไม่เกิน 10 ปีการศึกษา และสําเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน 10 ภาคการศึกษาปกติ โดยมีจํานวนหน่วยกิตขั้นตํ่ารวมตลอดหลักสูตรจํานวนไม่น้อยกว่า 172 หน่วยกิต 3. 2 โครงสร้างของหลักสูตร แบ่งหมวดวิชาออกเป็นดังนี้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จํานวนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ประกอบด้วย 1. รายวิชาบังคับ 9 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาภาษา 2. รายวิชาบังคับเลือก 9 หน่วยกิต โดยเลือกจากทุกกลุ่มต่อไปนี้ จํานวนไม่น้อยกว่ากลุ่มละ 3 หน่วยกิต - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ - กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ - กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ 3. รายวิชาที่กําหนดโดยคณะวิชา 9 หน่วยกิต 4. เลือกศึกษาจากรายวิชาต่างๆที่เปิดสอนในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัย รวมแล้วไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 136 หน่วยกิต 1. รายวิชาบังคับ 127 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาหลัก 52 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาพื้นฐาน 21 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาเทคโนโลยี 33 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาสนับสนุน 21 หน่วยกิต 2. รายวิชาเลือก รวมแล้วจํานวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี รวมแล้วจํานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ARCHIGRAPHIC 2012
ะบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
สถาปัตยเรขา 2555
ร
158 | 159
รายวิชา 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1.1) วิชาบังคับ จํานวน กลุ่มวิชาภาษา รายวิชา 081 101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai for Communication) 081 102 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน (English for Everyday Use) 081 103 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ (English Skill Development)
จํานวนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 9 หน่วยกิต หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(2-2-5)
1.2) วิชาบังคับเลือก จํานวน 9 หน่วยกิต โดยเลือกจากทุกกลุ่มต่อไปนี้ จํานวนไม่น้อยกว่ากลุ่มละ 3 หน่วยกิต กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 082 101 มนุษย์กับศิลปะ 3(3-0-6) (Man and Art) 082 102 มนุษย์กับการสร้างสรรค์ 3(3-0-6) (Man and Creativity) 082 103 ปรัชญากับชีวิต 3(3-0-6) (Philosophy and Life) 082 104 อารยธรรมโลก 3(3-0-6) (World Civilization) 082 105 อารยธรรมไทย 3(3-0-6) (Thai Civilization) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 083 101 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) (Man and His Environment) 083 102 จิตวิทยากับมนุษยสัมพันธ์ 3(3-0-6) (Psychology and Human Relations) 083 103 หลักการจัดการ 3(3-0-6) (Principles of Management) 083 104 กีฬาศึกษา 3(2-2-5) (Sport Education) 083 105 การเมือง การปกครองและเศรษฐกิจไทย 3(3-0-6) (Thai Politics, Government and Economy) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 084 101 อาหารเพื่อสุขภาพ 3(3-0-6) (Food for Health) 084 102 สิ่งแวดล้อม มลพิษและพลังงาน 3(3-0-6) (Environment, Pollution and Energy) 084 103 คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3(3-0-6) (Computer, Information Technology and Communication)
3(3-0-6)
1.3) วิชาที่กําหนดโดยคณะวิชา จํานวน 9 หน่วยกิต รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 263 102 คณิตศาสตร์ 3(3-0-6) (Mathematics) 265 201 ภาษาอังกฤษสําหรับงานสถาปัตยกรรม 1 3(2-2-5) (English for Architecture I) 265 202 ภาษาอังกฤษสําหรับงานสถาปัตยกรรม 2 3(2-2-5) (English for Architecture II) 1.4) เลือกศึกษารายวิชาต่างๆที่เปิดสอนในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัยรวมแล้ว ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 2) หมวดวิชาเฉพาะ 136 หน่วยกิต 2.1) วิชาบังคับ 127 หน่วยกิต กลุ่มวิชาหลัก 52 หน่วยกิต รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 261 102 การออกแบบสถาปัตยกรรม 1 4(2-6-4) (Architectural Design I) 261 103 การออกแบบสถาปัตยกรรม 2 4(2-6-4) (Architectural Design II) 261 104 การออกแบบสถาปัตยกรรม 3 4(2-6-4) (Architectural Design III) 261 106 การออกแบบสถาปัตยกรรม 4 5(2-9-4) (Architectural Design IV) 261 107 การออกแบบสถาปัตยกรรม 5 5(2-9-4) (Architectural Design V) 261 201 ทฤษฎีแนวความคิดเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Architectural Theories and Concepts) 261 202 การออกแบบสถาปัตยกรรม 6 5(2-9-4) (Architectural Design VI) 261 203 การออกแบบสถาปัตยกรรม 7 5(2-9-4) (Architectural Design VII) 261 206 การออกแบบสถาปัตยกรรม 8 5(2-9-4) (Architectural Design VIII) 261 208 เตรียมวิทยานิพนธ์ 3(0-6-3) (Thesis Preparation) 261 209 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9) (Thesis)
ARCHIGRAPHIC 2012
3(3-0-6)
สถาปัตยเรขา 2555
084 104 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจําวัน (Mathematics and Statistics in Everyday Life) 084 105 โลกแห่งเทคโนโลยีและนวัตกรรม (World of Technology and Innovation)
160 | 161
กลุ่มวิชาพื้นฐาน 21 หน่วยกิต รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 261 101 การออกแบบเบื้องต้น 3(1-6-2) (Basic Design) 262 102 การเขียนแบบสถาปัตยกรรมเบื้องต้น 3(1-4-4) (Basic Architectural Delineations) 262 104 การแสดงแบบทางสถาปัตยกรรม 1 3(1-4-4) (Architectural Presentation I) 262 105 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 3(2-3-4) (Thai Architectural Design) 262 108 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมไทย 1 3(3-0-6) (History of Thai Architecture I) 262 202 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมสมัยอียิปต์ ถึงบารอค 3(3-0-6) (History of Architecture from Egypt to Baroque) 262 204 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมสมัยนีโอคลาสสิคถึงสมัยใหม่ 3(3-0-6) (History of Architecture from Neoclassicism to Modernism) กลุ่มวิชาเทคโนโลยี 33 หน่วยกิต รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 261 105 สถาปัตยกรรมกับสภาพแวดล้อม 3(2-2-5) (Architecture and Environment) 263 101 วัสดุและการก่อสร้าง 1 3(2-3-4) (Materials and Construction I) 263 103 วัสดุและการก่อสร้าง 2 3(2-3-4) (Materials and Construction II) 263 104 การก่อสร้างอาคาร 1 3(2-3-4) (Construction I) 263 105 ระบบโครงสร้างในงานสถาปัตยกรรม 1 3(3-0-6) (Structural System in Architecture I) 263 106 การก่อสร้างอาคาร 2 3(2-3-4) (Construction II) 263 107 การก่อสร้างอาคาร 3 3(2-3-4) (Construction III) 263 108 ระบบโครงสร้างในงานสถาปัตยกรรม 2 3(3-0-6) (Structural System in Architecture II) 263 109 การก่อสร้างอาคาร 4 3(2-3-4) (Construction IV) 263 110 อุปกรณ์อาคาร 3(3-0-6) (Mechanical Equipment) 263 111 ระบบโครงสร้างในงานสถาปัตยกรรม 3 3(3-0-6) (Structural System in Architecture III)
0(ไม่น้อยกว่า 210 ชม.หรือเทียบเท่า) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6)
2.2) วิชาเลือก เลือกจากกลุ่มวิชาใดก็ได้ รวมแล้วจํานวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาหลักสาขา รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 261 210 สัมมนางานสถาปัตยกรรมร่วมสมัย 3(2-2-5) (Seminar in Contemporary Architecture) 261 213 การวิเคราะห์การออกแบบอาคาร 3(3-0-6) (Building Design Analysis) 261 214 การศึกษารายบุคคลในงานสถาปัตยกรรม 3(1-4-4) (Individual Study in Architecture) 261 215 การออกแบบและปฏิบัติงานสถาปัตยกรรมต่างวัฒนธรรม 3(2-2-5) (Cross-cultural Workshop in Architectural Design) กลุ่มวิชาพื้นฐาน รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 261 108 การแสดงแบบทางสถาปัตยกรรม 2 3(1-4-4) (Architectural Presentation II) 261 110 การสร้างหุ่นจําลอง 3(2-2-5) (Model Making) 262 111 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมไทย 2 3(3-0-6) (History of Thai Architecture II) 262 109 ลายไทยในงานสถาปัตยกรรม 3(1-4-4) (Thai Ornaments in Architecture) 262 115 สถาปัตยกรรมกับบริบททางวัฒนธรรมในเอเชีย 3(3-0-6) (Architecture as a Culture Context in Asia)
ARCHIGRAPHIC 2012
21 หน่วยกิต 21 หน่วยกิต หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 3(3-0-6)
สถาปัตยเรขา 2555
กลุ่มวิชาพื้นฐาน กลุ่มวิชาสนับสนุน รายวิชา 261 204 การศึกษาขั้นต้นก่อนงานออกแบบ (Studies of Pre-design Services) 261 205 การฝึกงานสถาปัตยกรรม (Architectural Training) 261 207 หลักปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม (Architectural Practice) 263 202 การก่อสร้างระบบอุตสาหกรรม (Industrialized Building) 264 101 การวางผังที่ตั้งโครงการ (Site Planning) 264 102 ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture) 264 201 วิวัฒนาการของชุมชนเมือง (Evolution of Human Settlements) 264 202 การวางผังเมืองเบื้องต้น (Introduction to Urban Planning)
162 | 163
262 118 พื้นฐานสถาปัตยกรรมไทย (Principles of Thai Architecture) 262 119 ประณีตศิลป์ (Thai Traditional Arts and Crafts) 262 121 การเขียนแบบสถาปัตยกรรมไทย (Delineations in Thai Architecture) 262 210 สถาปัตยกรรมร่วมสมัยในเอเชีย (Contemporary Asian Architecture) 262 214 การศึกษารายบุคคลในงานสถาปัตยกรรมไทย (Individual Study in Thai Architecture) 262 215 การปรับปรุงอาคารเพื่อการใช้สอย (Building Re-Use and Rehablitation) 262 216 การศึกษากลุ่มในงานสถาปัตยกรรมไทย (Group Study in Thai Architecture)
3(1-4-4) 3(2-2-5) 3(1-4-4) 3(3-0-6) 3(1-4-4) 3(2-2-5) 3(1-4-4)
กลุ่มวิชาเทคโนโลยี รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 261 211 การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจําลองสภาพแวดล้อมในงานสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Building Environment Simulation) 261 216 อาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) (Green Building) 263 113 คอนกรีตเทคโนโลยีในงานสถาปัตยกรรม 3(2-3-4) (Concrete Technology in Architecture) 263 204 การศึกษารายบุคคลในงานเทคโนโลยีอาคาร 3(1-4-4) (Individual Study in Building Technology) 263 210 นวัตกรรมเทคโนโลยีทางอาคาร 3(3-0-6) (Building Innovation Technology) 263 211 การวินิจฉัยสภาพอาคาร 3(3-0-6) (Building Diagnosis) 263 212 การออกแบบสถาปัตยกรรมสําหรับภัยพิบัติ 3(3-0-6) (Architectural Design for Disasters) 263 213 อุโฆษวิทยาสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Architectural Acoustics) กลุ่มวิชาสนับสนุน รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 261 109 สถาปัตยกรรมภายใน 3(2-2-5) (Interior Architecture) 261 111 สถาปัตยกรรมชุมชน 3(2-2-5) (Community Architecture) 261 212 กฎหมายในงานสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Laws and Regulations in Architecture) 263 114 คอมพิวเตอร์ในงานสถาปัตยกรรม 3(2-3-4) (Computer in Architecture)
3) วิชาเลือกเสรี รวมแล้วจํานวนไม่น้อยกว่า เลือกจากรายวิชาศึกษาทั่วไปหรือรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยศิลปากร
6
3(3-0-6) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(1-4-4)
3(1-4-4) 3(3-0-6) 3(1-4-4) 3(1-4-4) 3(1-4-4) หน่วยกิต
3.1.4 แผนการศึกษา ในแผนการศึกษาและในคําอธิบายรายวิชา นั้น ก่อนลงทะเบียนเรียนบางรายวิชานักศึกษาต้องมี พื้นความรู้มาก่อน เรียกว่า “วิชาบังคับก่อน” ซึ่งจะแสดงไว้เป็นเครื่องหมาย ดังนี้ * หมายถึง รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน ** หมายถึง รายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และผ่านการประเมินผลปลายภาคของรายวิชา แต่ไม่จําเป็นต้องสอบผ่าน ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น
ARCHIGRAPHIC 2012
3(2-2-5)
สถาปัตยเรขา 2555
263 205 การประมาณราคา (Cost Estimation) 263 206 การบริหารงานก่อสร้าง (Construction Management) 263 207 คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 1 (Computer Aided Architectural Design I) 263 208 คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 2 (Computer Aided Architectural Design II) 263 209 การศึกษารายบุคคลด้านการใช้คอมพิวเตอร์ในงานสถาปัตยกรรม (Individual Study in Computer Application in Architecture) 264 203 สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมมนุษย์ 3(3-0-6) (Environment and Human Behavior) 264 204 การศึกษารายบุคคลในงานภูมิสถาปัตยกรรม และการออกแบบชุมชนเมือง (Individual Study in Landscape Architecture and Urban Design) 264 205 การออกแบบสภาพแวดล้อมที่ยั่งยืน (Design for Sustainable Environment) 264 206 การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน (Sustainable Community Development) 264 207 การออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design) 264 208 การศึกษาภาคสนามในด้านการออกแบบชุมชนเมืองและภูมิสถาปัตยกรรม (Field Study in Urban Design and Landscape Architecture)
164 | 165
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น
166 | 167
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาพิเศษฤดูร้อน
ปีที่ 5 ภาคการศึกษาปลาย
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
ปีที่ 5 ภาคการศึกษาต้น
168 | 169
รายละเอียดของหลักสูตร
ชาสถาปัตยกรรมไทย หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (5 ปี) สาขาวิ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ 2. ชื่อปริญญา ชื่อเต็มภาษาไทย ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ ชื่อย่อภาษาไทย ชื่อย่อภาษาอังกฤษ
หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรมไทย Bachelor of Architecture Program in Thai Architecture สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถาปัตยกรรมไทย) Bachelor of Architecture (Thai Architecture) สถ.บ. (สถาปัตยกรรมไทย) B. Arch. (Thai Architecture)
3. จํานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 172 หน่วยกิต 4. รูปแบบของหลักสูตร 4.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี 4.2 ภาษาที่ใช้ การจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยโดยส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนเป็น ภาษาอังกฤษในบางรายวิชา 4.3 การรับเข้าศึกษา รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ 4.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ที่จัดการเรียนการสอน โดยตรง 4.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สําเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาเดียว 5. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสําเร็จการศึกษา 1. สถาปนิกในสํานักงานสถาปนิก 2. สถาปนิกในหน่วยงานของรัฐ 3. อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา 4. อาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น ผู้รับเหมาก่อสร้าง ที่ปรึกษาโครงการก่อสร้าง ที่ปรึกษาควบคุมการก่อสร้าง ที่ปรึกษาการบริหารโครงการ นักออกแบบวางผังนักวางแผนภาค และผังเมือง นักผลิตสื่อที่เกี่ยวเนื่องกับสถาปัตยกรรม นักอนุรักษ์สถาปัตยกรรม เป็นต้น 6. สถานที่จัดการเรียนการสอน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ที่อยู่ 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 และ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ ที่อยู่ 6 หมู่ที่ 1 ถ.ราชมรรคาใน ต.พระปฐมเจดีย์ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000
1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบการศึกษา ข้อกําหนดต่างๆให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยการศึกษาระดับ ปริญญาบัณฑิต พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก ก) ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ คือ ภาคการศึกษาต้นและภาคการศึกษาปลายโดยแต่ละ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์การจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน กําหนดให้มีระยะเวลาศึกษาประมาณ 8 สัปดาห์ 2. การดําเนินการหลักสูตร 2.1 วัน – เวลา ในการจัดการเรียนการสอน ภาคการศึกษาต้น เดือนมิถุนายน – กันยายน ภาคการศึกษาปลาย เดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ ภาคการศึกษาพิเศษฤดูร้อน เดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้สําเร็จการศึกษาขั้นเตรียมอุดมศึกษาหรือประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายของ กระทรวงศึกษาธิการ หรือผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตรอื่นที่มหาวิทยาลัยยอมรับว่าเทียบเท่า และได้รับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามระเบียบว่าด้วยการศึกษาในมหาวิทยาลัยศิลปากร 3. หลักสูตร 3.1 จํานวนหน่วยกิต หลักสูตรปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรรมเป็นแบบศึกษาเต็มเวลา ให้ศึกษาได้ไม่เกิน 10 ปีการศึกษา และสําเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน 10 ภาคการศึกษาปกติ โดยมีจํานวนหน่วยกิตขั้นตํ่ารวมตลอดหลักสูตรจํานวนไม่น้อยกว่า 172 หน่วยกิต 3. 2 โครงสร้างของหลักสูตร แบ่งหมวดวิชาออกเป็นดังนี้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จํานวนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ประกอบด้วย 1. รายวิชาบังคับ 9 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาภาษา 2. รายวิชาบังคับเลือก 9 หน่วยกิต โดยเลือกจากทุกกลุ่มต่อไปนี้ จํานวนไม่น้อยกว่ากลุ่มละ 3 หน่วยกิต - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ - กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ - กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ 3. รายวิชาที่กําหนดโดยคณะวิชา 9 หน่วยกิต 4. เลือกศึกษาจากรายวิชาต่างๆที่เปิดสอนในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัย รวมแล้วไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 136 หน่วยกิต 1. รายวิชาบังคับ 127 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาหลัก 52 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาพื้นฐาน 21 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาเทคโนโลยี 33 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาสนับสนุน 21 หน่วยกิต 2. รายวิชาเลือก รวมแล้วจํานวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี รวมแล้วจํานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ARCHIGRAPHIC 2012
ะบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
สถาปัตยเรขา 2555
ร
170 | 171
รายวิชา 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1.1) วิชาบังคับ จํานวน กลุ่มวิชาภาษา รายวิชา 081 101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai for Communication) 081 102 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน (English for Everyday Use) 081 103 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ (English Skill Development)
จํานวนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 9 หน่วยกิต หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(2-2-5)
1.2) วิชาบังคับเลือก จํานวน 9 หน่วยกิต โดยเลือกจากทุกกลุ่มต่อไปนี้ จํานวนไม่น้อยกว่ากลุ่มละ 3 หน่วยกิต กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 082 101 มนุษย์กับศิลปะ 3(3-0-6) (Man and Art) 082 102 มนุษย์กับการสร้างสรรค์ 3(3-0-6) (Man and Creativity) 082 103 ปรัชญากับชีวิต 3(3-0-6) (Philosophy and Life) 082 104 อารยธรรมโลก 3(3-0-6) (World Civilization) 082 105 อารยธรรมไทย 3(3-0-6) (Thai Civilization) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 083 101 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) (Man and His Environment) 083 102 จิตวิทยากับมนุษยสัมพันธ์ 3(3-0-6) (Psychology and Human Relations) 083 103 หลักการจัดการ 3(3-0-6) (Principles of Management) 083 104 กีฬาศึกษา 3(2-2-5) (Sport Education) 083 105 การเมือง การปกครองและเศรษฐกิจไทย 3(3-0-6) (Thai Politics, Government and Economy) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 084 101 อาหารเพื่อสุขภาพ 3(3-0-6) (Food for Health) 084 102 สิ่งแวดล้อม มลพิษและพลังงาน 3(3-0-6) (Environment, Pollution and Energy) 084 103 คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3(3-0-6) (Computer, Information Technology and Communication)
3(3-0-6)
1.3) วิชาที่กําหนดโดยคณะวิชา จํานวน 9 หน่วยกิต รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 263 102 คณิตศาสตร์ 3(3-0-6) (Mathematics) 265 201 ภาษาอังกฤษสําหรับงานสถาปัตยกรรม 1 3(2-2-5) (English for Architecture I) 265 202 ภาษาอังกฤษสําหรับงานสถาปัตยกรรม 2 3(2-2-5) (English for Architecture II) 1.4) เลือกศึกษารายวิชาต่างๆที่เปิดสอนในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัยรวมแล้ว ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 2) หมวดวิชาเฉพาะ 136 หน่วยกิต 2.1) วิชาบังคับ 127 หน่วยกิต กลุ่มวิชาหลัก 54 หน่วยกิต รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 262 103 พื้นฐานการออกแบบสถาปัตยกรรม 3(1-6-2) (Architectural Design Fundamental) 262 107 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 1 4(2-6-4) (Thai Architectural Design I) 262 110 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 2 4(2-6-4) (Thai Architectural Design II) 262 112 การออกแบบและการก่อสร้างสถาปัตยกรรมร่วมสมัย 1 4(2-6-4) (Contemporary Architectural Design and Construction I) 262 113 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 3 4(2-6-4) (Thai Architectural Design III) 262 114 การออกแบบและการก่อสร้างสถาปัตยกรรมร่วมสมัย 2 4(2-6-4) (Contemporary Architectural Design and Construction II) 262 116 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 4 4(2-6-4) (Thai Architectural Design IV) 262 201 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย 1 5(2-9-4) (Contemporary Thai Architectural Design I) 262 203 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย 2 5(2-9-4) (Contemporary Thai Architectural Design II) 262 205 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย 3 5(2-9-4) (Contemporary Thai Architectural Design III) 262 207 เตรียมวิทยานิพนธ์ 3(0-6-3) (Thesis Preparation) 262 208 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9) (Thesis)
ARCHIGRAPHIC 2012
3(3-0-6)
สถาปัตยเรขา 2555
084 104 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจําวัน (Mathematics and Statistics in Everyday Life) 084 105 โลกแห่งเทคโนโลยีและนวัตกรรม (World of Technology and Innovation)
172 | 173
กลุ่มวิชาพื้นฐาน 21 หน่วยกิต รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 262 101 พื้นฐานการออกแบบ 3(1-6-2) (Design Fundamental) 262 102 การเขียนแบบสถาปัตยกรรมเบื้องต้น 3(1-4-4) (Basic Architectural Delineations) 262 104 การแสดงแบบทางสถาปัตยกรรม 1 3(1-4-4) (Architectural Presentation I) 262 108 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมไทย1 3(3-0-6) (History of Thai Architecture I) 262 111 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมไทย 2 3(3-0-6) (History of Thai Architecture II) 262 115 สถาปัตยกรรมกับบริบททางวัฒนธรรมในเอเชีย 3(3-0-6) (Architecture as a Cultural Context in Asia) 262 202 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมสมัยอียิปต์ถึงบารอค 3(3-0-6) (History of Architecture from Egypt to Baroque) กลุ่มวิชาเทคโนโลยี 25 หน่วยกิต รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 263 101 วัสดุและการก่อสร้าง 1 3(2-3-4) (Materials and Construction I) 263 103 วัสดุและการก่อสร้าง 2 3(2-3-4) (Materials and Construction II) 263 104 การก่อสร้างอาคาร1 3(2-3-4) (Construction I) 263 105 ระบบโครงสร้างในงานสถาปัตยกรรม 1 3(3-0-6) (Structural System in Architecture I) 263 108 ระบบโครงสร้างในงานสถาปัตยกรรม 2 3(3-0-6) (Structural System in Architecture II) 263 110 อุปกรณ์อาคาร 3(3-0-6) (Mechanical Equipment) 263 111 ระบบโครงสร้างในงานสถาปัตยกรรม 3 3(3-0-6) (Structural System in Architecture III) 263 112 การก่อสร้างอาคารสาธารณะ 4(2-6-4) (Public Building Construction) กลุ่มวิชาสนับสนุน รายวิชา 261 204 การศึกษาขั้นต้นก่อนงานออกแบบ (Studies of Pre-design Services) 261 205 การฝึกงานสถาปัตยกรรม (Architectural Training) 261 207 หลักปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม (Architectural Practice)
27 หน่วยกิต หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 3(3-0-6) 0(ไม่น้อยกว่า 210 ชม. หรือเทียบเท่า) 3(3-0-6)
3(1-4-4) 3(1-4-4) 3(2-2-5) 3(2-3-4) 3(2-2-5) 3(3-0-6)
2.2) วิชาเลือก เลือกจากกลุ่มวิชาใดก็ได้ รวมแล้วจํานวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาหลักสาขา รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 262 118 พื้นฐานสถาปัตยกรรมไทย 3(1-4-4) (Principles of Thai Architecture) 262 119 ประณีตศิลป์ 3(2-2-5) (Thai Traditional Arts and Crafts) 262 121 การเขียนแบบสถาปัตยกรรมไทย 3(1-4-4) (Delineations in Thai Architecture) 262 209 การศึกษาวิเคราะห์งานออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 3(2-2-5) (Thai Architectural Design Analysis) 262 212 การจําลองแบบอาคาร 3(2-3-4) (Model Replica of Building) 262 213 คติสัญลักษณ์ในงานสถาปัตยกรรมไทย 3(3-0-6) (Iconography in Thai Architecture) 262 214 การศึกษารายบุคคลในงานสถาปัตยกรรมไทย 3(1-4-4) (Individual Study in Thai Architecture) 262 215 การปรับปรุงอาคารเพื่อการใช้สอย 3(2-2-5) (Building Re-use and Rehabilitation) 262 216 การศึกษากลุ่มในงานสถาปัตยกรรมไทย 3(1-4-4) (Group Study in Thai Architecture)
ARCHIGRAPHIC 2012
3(1-4-4)
สถาปัตยเรขา 2555
262 106 การใช้คอมพิวเตอร์ในงานสถาปัตยกรรมไทย (Computer in Thai Architecture) 262 109 ลายไทยในงานสถาปัตยกรรม (Thai Ornaments in Architecture) 262 117 การปฏิบัติภาคสนามเพื่อการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไทย (Field Work Training for Supporting Thai Architectural Conservation) 262 206 สัมมนางานสถาปัตยกรรมไทย (Seminar in Thai Architecture) 264 101 การวางผังที่ตั้งโครงการ (Site Planning) 264 102 ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture) 264 202 การวางผังเมืองเบื้องต้น (Introduction to Urban Planning)
174 | 175
กลุ่มวิชาสนับสนุนสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย รายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 261 105 สถาปัตยกรรมกับสภาพแวดล้อม 3(2-2-5) (Architecture and Environment) 261 109 สถาปัตยกรรมภายใน 3(2-2-5) (Interior Architecture) 261 201 ทฤษฎีแนวความคิดเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Architectural Theories and Concepts) 261 213 การวิเคราะห์การออกแบบอาคาร 3(3-0-6) (Building Design Analysis) 261 215 การออกแบบและปฏิบัติงานสถาปัตยกรรมต่างวัฒนธรรม 3(2-2-5) (Cross-Cultural Workshop in Architectural Design) 261 216 อาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) (Green Building) 262 120 สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นกับนิเวศวัฒนธรรม 3(3-0-6) (Vernacular Architecture and Cultural Ecology) 262 204 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมสมัยนีโอคลาสสิคถึงสมัยใหม่ 3(3-0-6) (History of Architecture from Neoclassicism to Modernism) 262 210 สถาปัตยกรรมร่วมสมัยในเอเชีย 3(3-0-6) (Contemporary Asian Architecture) 262 211 สถาปัตยกรรมกับสังคมไทยยุคสมัยใหม่ 3(3-0-6) (Architecture and Modern Thai Society) 263 210 นวัตกรรมเทคโนโลยีทางอาคาร 3(3-0-6) (Building Innovation Technology) 263 212 การออกแบบสถาปัตยกรรมสําหรับภัยพิบัติ 3(3-0-6) (Architectural Design for Disasters) 263 213 อุโฆษวิทยาสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Architectural Acoustics) 264 203 สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมมนุษย์ 3(3-0-6) (Environment and Human Behavior) 264 205 การออกแบบสภาพแวดล้อมที่ยั่งยืน 3(3-0-6) (Design for Sustainable Environment) กลุ่มวิชาสนับสนุนวิชาชีพสถาปัตยกรรมและการก่อสร้าง 261 108 การแสดงแบบทางสถาปัตยกรรม 2 (Architectural Presentation II) 261 212 กฎหมายในงานสถาปัตยกรรม (Laws and Regulations in Architecture) 263 113 คอนกรีตเทคโนโลยีในงานสถาปัตยกรรม (Concrete Technology in Architecture) 263 114 คอมพิวเตอร์ในงานสถาปัตยกรรม (Computer in Architecture) 263 202 การก่อสร้างระบบอุตสาหกรรม (Industrialized Buildings)
3(1-4-4) 3(3-0-6) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(2-3-4)
กลุ่มวิชาภูมิสถาปัตยกรรมและการออกแบบชุมชนเมือง 264 201 วิวัฒนาการของชุมชนเมือง (Evolution of Human Settlements) 264 204 การศึกษารายบุคคลในงานภูมิสถาปัตยกรรมและการออกแบบชุมชนเมือง (Individual Study in Landscape Architecture and Urban Design) 264 206 การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน (Sustainable Community Development) 264 207 การออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design) 264 208 การศึกษาภาคสนามในด้านการออกแบบชุมชนเมืองและภูมิสถาปัตยกรรม (Field Study in Urban Design and Landscape Architecture)
3(3-0-6) 3(2-3-4) 3(2-3-4) 3(1-4-4) 3(3-0-6)
3(3-0-6) 3(1-4-4) 3(1-4-4) 3(1-4-4) 3(1-4-4)
3) วิชาเลือกเสรี รวมแล้วจํานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต เลือกจากรายวิชาศึกษาทั่วไปหรือรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยศิลปากร 3.1.4 แผนการศึกษา ในแผนการศึกษาและในคําอธิบายรายวิชานั้น ก่อนลงทะเบียนเรียนบางรายวิชานักศึกษาต้องมี พื้นความรู้มาก่อน เรียกว่า “วิชาบังคับก่อน” ซึ่งจะแสดงไว้เป็นเครื่องหมาย ดังนี้ * หมายถึง รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน ** หมายถึง รายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และผ่านการประเมินผลปลายภาคของรายวิชาแต่ไม่จําเป็น ต้องสอบผ่าน ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น
ARCHIGRAPHIC 2012
3(2-2-5)
สถาปัตยเรขา 2555
263 205 การประมาณราคา (Cost Estimation) 263 206 การบริหารงานก่อสร้าง (Construction Management) 263 207 คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 1 (Computer Aided Architectural Design I) 263 208 คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 2 (Computer Aided Architectural Design II) 263 209 การศึกษารายบุคคลด้านการใช้คอมพิวเตอร์ในงานสถาปัตยกรรม (Individual Study in Computer Application in Architecture) 263 211 การวินิจฉัยสภาพอาคาร (Building Diagnosis)
176 | 177
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาฤดูร้อน
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น
178 | 179
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาพิเศษฤดูร้อน
ปีที่ 5 ภาคการศึกษาปลาย
ARCHIGRAPHIC 2012
สถาปัตยเรขา 2555
ปีที่ 5 ภาคการศึกษาต้น